ศ า ส น า ค ริ ส ต์
ประวัติความเป็นมา
ศาสนาคริสต์
เกิดขึ้นบริเวณดินแดนเลแวนต์ ซึ่งปัจจุบันคือ ประเทศอิสราเอลและปาเลสไตน์ ในช่วงกลางคริสศตวรรษที่ 1 ศาสนาคริสต์
ได้เริ่มเผยแผ่ครั้งแรกจากกรุงเยรูซาเลมตลอดจนดินแดนตะวันออกกลาง เช่น ประเทศซีเรีย อัสซีเรีย เมโสโปเตเมีย
ฟินิเชีย อานาโตเลีย ประเทศจอร์แดน และประเทศอียิปต์ ในช่วงคริสศตวรรษที่ 4 ศาสนาคริสต์ได้รับเลือกให้เป็นศาสนา
ประจำชาติโดยราชวงศ์อาร์เมเนียในปี ค.ศ. 301 จอร์เจียในปี ค.ศ.319 อาณาจักรอักซุมในปี ค.ศ.325 และจักรวรรดิโรมันในปี
ค.ศ.380
ต่อมาได้เกิดศาสนเภทขึ้นหลายครั้งในคริสตจักร เริ่มจากสังคายนาเอเฟซัสในปี ค.ศ.431 ที่นำไปสู่ศาสนเภทเนสตอเรียนจน
ก่อให้เกิดคริสตจักรแห่งทิศตะวันออก ต่อมาในปี ค.ศ. 451 เกิดสังคายนาแคลซีดันทำให้คริสตจักรแตกแยกอีกครั้งเป็นฝ่ายอ
อเรียนทัลออร์ทอดอกซ์และฝ่ายแคลซีโดเนียน ต่อมาเกิดมหาศาสนเภทในปี ค.ศ. 1054 ทำให้ฝ่ายแคลซีโดเนียนแตกออก
เป็นคริสตจักรโรมันคาทอลิกและคริสตจักรอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ และการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ได้ก่อให้เกิด
คริสตจักรใหม่ ๆ ขึ้นอีกหลายคณะ
โรมันคาทอริกและอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ได้แพร่หลายทั่วยุโรปในสมัยกลาง ศาสนาคริสต์ขยายตัวทั่วโลกในยุคแห่งการ
สำรวจยุโรป จากยุคฟื้ นฟูศิลปวิทยาเป็นต้นไป กลายเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากที่สุดในโลก
นิกาย
คือ แบ่งสาขาของศาสนาคริสต์ตามแนวปรัชญาและหลักการปฏิบัติ ในแต่ละนิกาย (denomination)
แบ่งย่อยเป็นคริสตจักร (church)
1.นิกายคาทอลิก (Catholicism)
เป็นนิกายสายอนุรักษนิยมและสายปฏิรูปด้านความเป็นสากลใน
ศาสนาคริสต์ตะวันตก เช่น
-คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) ได้แก่
-คริสตจักรละติน (Latin Church)
-คริสตจักรคาทอลิกตะวันออก (Eastern Catholic Church)
-คริสตจักรคาทอลิกเก่า (Old Catholic Church)
-คริสตจักรคาทอลิกแห่งอัครทูต (Apostolic Catholic Church)
นิกาย
คือ แบ่งสาขาของศาสนาคริสต์ตามแนวปรัชญาและหลักการปฏิบัติ ในแต่ละนิกาย (denomination)
แบ่งย่อยเป็นคริสตจักร (church)
2. นิกายออร์ทอดอกซ์ (Orthodoxy)
เป็นนิกายสายอนุรักษนิยมด้านจารีตดั้งเดิมในศาสนาคริสต์ตะวัน
ออก ประกอบด้วย
-คริสตจักรอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ (Eastern Orthodox Church) เช่น
-คริสตจักรกรีกออร์ทอดอกซ์ (Greek Orthodox Church)
-คริสตจักรรัสเซียออร์ทอดอกซ์ (Russian Orthodox Church)
-คริสตจักรเซอร์เบียนออร์ทอดอกซ์ (Serbian Orthodox Church)
เป็นต้น
-คริสตจักรออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์ (Oriental Orthodox Church) เช่น
-คริสตจักรคอปติกออร์ทอดอกซ์ (Coptic Orthodox Church)
-คริสตจักรซีเรียกออร์ทอดอกซ์ (Syriac Orthodox Church) เป็นต้น
นิกาย
คือ แบ่งสาขาของศาสนาคริสต์ตามแนวปรัชญาและหลักการปฏิบัติ ในแต่ละนิกาย (denomination)
แบ่งย่อยเป็นคริสตจักร (church)
3.นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism)
เป็นนิกายสายเสรีนิยม คริสตจักรย่อยที่จัดอยู่ในกลุ่มนี้ก็ได้แก่
-คริสตจักรลูเทอแรน (Lutheran Church)
-คริสตจักรแองกลิคัน (Anglican Churches)
-คริสตจักรอนาแบปทิสต์ (Anabaptist Church)
-คริสตจักรแบปทิสต์ (Baptist Church)
-คริสตจักรเมทอดิสต์ (Methodist Church)
-คริสตจักรเพนเทคอสต์ (Pentecostal Church)
-คริสตจักรเพรสไบทีเรียน (Presbyterian Church)
-คริสตจักรปฏิรูป (Reformed Churchs)
-คริสตจักรปฏิรูปสหพันธ์เยอรมนี (Reformed Alliance in Germany)
-คริสตจักรปฏิรูปเนเธอร์แลนด์ (Netherlands Reformed Churches)
-คริสตจักรปฏิรูปฟื้ นฟู (Restored Reformed Church)
-ลัทธิเอกภาพนิยม (Unitarian)
-คริสตจักรแห่งพระเจ้าผู้ทรงมหิทธิฤทธิ์ (The Church of Almighty God)
นิกาย
คือ แบ่งสาขาของศาสนาคริสต์ตามแนวปรัชญาและหลักการปฏิบัติ ในแต่ละนิกาย (denomination)
แบ่งย่อยเป็นคริสตจักร (church)
3.นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism)
เป็นนิกายสายเสรีนิยม คริสตจักรย่อยที่จัดอยู่ในกลุ่มนี้ก็ได้แก่
-คริสตจักรลูเทอแรน (Lutheran Church)
-คริสตจักรแองกลิคัน (Anglican Churches)
-คริสตจักรอนาแบปทิสต์ (Anabaptist Church)
-คริสตจักรแบปทิสต์ (Baptist Church)
-คริสตจักรเมทอดิสต์ (Methodist Church)
-คริสตจักรเพนเทคอสต์ (Pentecostal Church)
-คริสตจักรเพรสไบทีเรียน (Presbyterian Church)
-คริสตจักรปฏิรูป (Reformed Churchs)
-คริสตจักรปฏิรูปสหพันธ์เยอรมนี (Reformed Alliance in Germany)
-คริสตจักรปฏิรูปเนเธอร์แลนด์ (Netherlands Reformed Churches)
-คริสตจักรปฏิรูปฟื้ นฟู (Restored Reformed Church)
-ลัทธิเอกภาพนิยม (Unitarian)
-คริสตจักรแห่งพระเจ้าผู้ทรงมหิทธิฤทธิ์ (The Church of Almighty God)
คัมภีร์
คำว่า “ไบเบิล” หมายถึง “หนังสือ” พระคัมภีร์ไบเบิลเป็นงานของศาสดาพยากรณ์และผู้เขียนที่ได้รับการดลใจ
หลายคนซึ่งกระทำภายใต้อิทธิพลของพระวิญญาณบริสุทธิ์ พระคัมภีร์ไบเบิลของชาวคริสต์มีสองภาค
รู้จักกันโดยทั่วไปว่า
1. ภาคพันธสัญญาภาคพันธสัญญาเดิมประกอบด้วยบรรดาหนังสือพระคัมภีร์ซึ่งใช้ในหมู่ชาวยิวปาเลสไตน์
ระหว่างการปฏิบัติศาสนกิจของพระเจ้าขณะทรงเป็นมรรตัย
2. ภาคพันธสัญญาใหม่
ภาคพันธสัญญาใหม่ประกอบด้วยงานเขียนในยุคสมัยของอัครสาวกและถือว่ามีความศักดิ์สิทธิ์และสิทธิ
อำนาจเดียวกันกับพระคัมภีร์ชาวยิว. หนังสือต่าง ๆ ของภาคพันธสัญญาเดิมนำมาจากวรรณกรรมของชาติ
ซึ่งครอบคลุมหลายศตวรรษและเขียนในภาษาฮีบรูเกือบทั้งหมด, ในขณะที่หนังสือต่าง ๆ
ของภาคพันธสัญญาใหม่เป็นงานของคนรุ่นเดียวและส่วนใหญ่เขียนในภาษากรีก
คัมภีร์
พันธสัญญาเดิม คือ กฎที่ประทานแก่โมเสสเมื่ออิสราเอล พันธสัญญาใหม่ คือพระกิตติคุณดังที่พระเยซูคริสต์ทรงสอน
ปฏิเสธความสมบูรณ์แห่งพระกิตติคุณซึ่งผู้คนของพระผู้เป็น ไว้
เจ้ามีอยู่นับแต่กาลเริ่มต้นของความเป็นมรรตัย
ในพระคัมภีร์ไบเบิลของชาวฮีบรู ในภาคพันธสัญญาใหม่โดยทั่วไป
(ภาคพันธสัญญาเดิม) หนังสือต่าง ๆ เรียงตามลำดับนี้ : พระกิตติคุณสี่
แบ่งออกเป็นสามหมวด : กฎ, ศาสดา เล่มและกิจการ; สาส์นของเปาโล;
พยากรณ์, และงานเขียน. พระคัมภีร์ สาส์นทั่วไปของยากอบ, เปโตร,
ไบเบิลที่โลกของชาวคริสต์ใช้แบ่ง ยอห์น, และยูดา; และวิวรณ์ซึ่ง
หมวดหมู่หนังสือต่าง ๆ ตามเนื้อ
เรื่อง, เช่น ทางประวัติศาสตร์, บทกวี, ทรงสำแดงแก่ยอห์น
และการพยากรณ์
พิธีกรรมทางศาสนาคริสต์
หรือ เรียกว่า “พิธีศักดิ์สิทธิ์” มีทั้งหมด 7 พิธี ดังนี้
1.พิธีบัพติศมาหรือศีลล้างบาป เป็นพิธีแรกที่ 2.พิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์หรือศีลมหาสนิท เป็
คริสตชนต้องรับโดยมีบาปหลวงใช้น้ำ รพิธีกรรมรับศีลโดยขนมปังและเหล้าองุ่นมา
ศักดิ์สิทธิ์เทลงบนศรีษะพร้อมเจิมน้ำมันคริ รับประทาน โดยเชื่อว่าพระกายและพระโลหิต
สมาที่หน้าผาก ของพระเยซู
6.ศีลอนุกรรม เป็นพิธีสำหรับนักบวช 7.ศีลเจิมคนไข้ เป็นพิธีเจิมคนไข้ 3.ศีลอภัยบาป เป็นการสารภาพบาปต่อ
โดยบาทหลวงจะเจิมน้ำมันลงบน พระเจ้าโดยผ่านบาทหลวง
หน้าผากและมือทั้ง2ข้างของผู้ 4.ศีลกำลัง เป็นพิธีรับศีลโดยเจิมหน้าผาก
ป่วย ให้ระลึกว่าพนะเจ้าจะอยู่กับ เพื่อยืนยันว่าจะนับถือศาสนาคริสต์ตลอดไป
ตนและให้พลังบบรเทสอาการ และได้รับพระพรของพระจิต
เจ็บป่วย
5.ศีลสมรส เป็นพิธีประกอบการแต่งงาน
หลักธรรม
1) บัญญัติ 10 ประการ 2) หลักอาณาจักรพระเจ้า อาณาจักรพระเจ้าเป็น
-อย่ามีพระเจ้าอื่นนอกจากเรา อาณาจักรที่มีแต่ความสุข เป็นอาณาจักรแห่งความ
-อย่าทำรูปเคารพสำหรับตนหรือกราบไว้รูปเหล่านั้น รักอย่างแท้จริง
-อย่าเอ่ยพระนามของพระเจ้าโดยไม่สมเหตุ
-จงถือวันอาทิตย์เป็นวันศักดิ์สิทธิ์ 3) หลักตรีเอกานุภาพ ได้แก่
-จงนับถือบิดามารดา (1) พระเจ้าหรือพระบิดา
-อย่าฆ่าคน (2) พระเยซูหรือพระบุตร
-อย่าผิดประเวณี (3) พระจิตหรือดวงวิญญาณอันบริสุทธิ์ของพระเจ้าทั้งสาม
-อย่าลักทรัพย์ 4หลักความรัก ศาสนาคริสต์ได้ชื่อว่าเป็นศาสนาแห่งความรัก พระเยซู
-อย่าคิดมิชอบ คริสต์ทรงสอนให้รัก
-อย่าโลภสิ่งใดของผู้อื่น เพื่อน มนุษย์เหมือนรักตัวเอง ให้รักแม้กระทั่งศัตรู
วันสำคัญ
วันอาทิตย์ของทุกสัปดาห์ - วันสะบาโต (Sabbath) - วันบริสุทธิ์ หยุดเพื่อพักผ่อนและร่วมทำกิจกรรมที่โบสถ์ แต่เดิมตาม
หลักของชาวยิวคือ ช่วงเวลาตั้งแต่ตะวันตกดินของวันศุกร์ ถึงก่อนตะวันตกดินของวันเสาร์
21 มีนาคม ถึง 25 เมษายน - วันอีสเตอร์ (Easter) และวันสมโภชปัสกา - สมโภชการคืนพระชนม์ของพระเยซู และตรง
กับการระลึกถึงเหตุการณ์ที่พระเจ้าทรงนำชาวยิวออกจากการเป็นทาสในอียิปต์ ในวันอาทิตย์แรกหลังจากพระจันทร์เต็ม
ดวง วันใดวันหนึ่ง ระหว่าง 21 มีนาคม ถึง 25 เมษายน
4 เมษายน จนถึง วันที่ 8 พฤษภาคม - สำหรับนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ เทศกาลอีสเตอร์ศักดิ์สิทธิ์ วันแห่งการคืนพระชนม์ข
พระเยซู ซึ่งเป็นวันแห่งการเฉลิมฉลองวันอาทิตย์แรกของสุริยะคติ จันทรคติแรกแห่งฤดูใบไม้ผลิ
-25 ธันวาคม - วันคริสต์มาส - วันสมโภชพระคริสตสมภพ (การประสูติของพระเยซู)
7 ธันวาคม - วันคริสต์มาส - เทศกาลฉลองวันประสูติของพระเยซูคริสต์เจ้า นิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์
จัดทำโดย
1.นาย กิตติกร แจงเล็ก เลขที่ 2ก
2.นาย ธีรวัตน์ นวพาณิชย์ เลขที่ 5ก
3.นาย ภาณุวัฒน์ บูรพวัฒน์ เลขที่ 7ก
4.นาย ศุภกร มีทรัพย์ เลขที่ 10ก
5.นางสาว เจนจิรา แซ่ลิ้ม เลขที่ 13ก
6.นาวสาว ทยิดา ตนะวัฒน์ เลขที่ 14ก
7.นาย ชารีฟ บุญศิริ เลขที่ 2ข
8.นาย สรณ์สิริ ตันเหลียง เลขที่ 8ข
9.นางสาว กรรณิกา สุกร เลขที่ 11ข
10.นางสาว สุนิษา ขาวมั่นคง เลขที่ 17ข