The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการให้บริการประชาชน พ.ศ. 2565
รวมรวบสวัสดิการทุกกระทรวง ทุกกลุ่มเป้าหมาย
จัดทำโดย สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Tpso10 Network, 2022-02-10 21:47:08

คู่มือการให้บริการประชาชน พ.ศ. 2565

คู่มือการให้บริการประชาชน พ.ศ. 2565
รวมรวบสวัสดิการทุกกระทรวง ทุกกลุ่มเป้าหมาย
จัดทำโดย สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10

คำนำ

สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 จังหวัดสุราษฎร์ธานี สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงการ
พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้จัดทำคู่มือการให้บริการประชาชน ซึ่งได้รวบรวมสทิ ธสิ วัสดิการของ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อาทิ การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม
เงินสงเคราะห์ (เงินอุดหนุน) ต่างๆ ตลอดจนการให้บริการประชาชน ได้แก่ การออกบัตรประจำตัวคนพิการ
เงนิ กู้ผ้สู ูงอายแุ ละคนพกิ าร คา่ จดั การศพตามประเพณี โครงการเงินอดุ หนนุ เพ่อื การเล้ยี งดเู ดก็ แรกเกิด การปรับ
สภาพแวดล้อมและสง่ิ อำนวยความสะดวกของผู้สงู อายุ การจัดหาครอบครัวอุปถัมภ์ ฯลฯ ประจำปีงบประมาณ
2565 เพ่ือใหห้ นว่ ยงานของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ รวมถึงภาคเี ครือข่าย ใช้เป็น
แนวทางในการดำเนินงานให้บรกิ ารประชาชน

สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 จังหวัดสุราษฎร์ธานี หวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือ
การให้บริการประชาชนฉบับนี้ จักเป็นเครื่องมือที่เป็นประโยชน์ต่อเจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงาน ภาคีเครือข่าย
เพื่อให้บริการประชาชนดังกล่าว ให้สามารถดำเนินงานได้อย่างถูกต้องชัดเจน มีมาตรฐานและ เกิดประโยชน์
สงู สุดแก่ประชาชน ท้ังนี้ ขอขอบคณุ ในความร่วมมอื จากทุกหน่วยงานด้วยดเี สมอมา

สำนักงานส่งเสริมและสนบั สนนุ วขิ าการ 10
กุมภาพันธ์ 2565

สารบญั

เรื่อง หน้า

คำนำ 1
สารบัญ 4
กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์ 5
ค่มู ือการให้บริการประชาชน 6
- กรมส่งเสริมและพัฒนาคณุ ภาพชีวิตคนพกิ าร 10
11
1. การออกบัตรประจำตัวคนพกิ าร 14
2. กองทนุ สง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชีวติ คนพิการ 16
3. การรบั คนพกิ ารเขา้ สถานคุ้มครอง 18
4. เงนิ สงเคราะห์คนพิการ 19
5. การกยู้ มื เงินเพื่อการประกอบอาชีพ 20
6. บริการผูช้ ว่ ยคนพกิ าร 24
- กรมกิจการผ้สู ูงอายุ 26
1. เงนิ สงเคราะหผ์ ู้สงู อายุ 26
2. กองทนุ ผูส้ ูงอายุ 27
3. การส่งเข้าอปุ การะในสถานสงเคราะห์ 28
4. จัดตงั้ /ส่งเสริมการจดั กจิ กรรมในศนู ยพ์ ฒั นาคณุ ภาพชีวิตและสง่ เสรมิ อาชพี ผสู้ งู อายุ (ศพอส.) 30
- กรมกจิ การเด็กและเยาวชน 31
1. เงินอุดหนนุ เพอื่ การเล้ียงดเู ด็กแรกเกิด 31
2. กองทุนคมุ้ ครองเด็ก 32
3. เงนิ สงเคราะหเ์ ด็กในครอบครัวยากจน 33
35
4. การคมุ้ ครองสวสั ดภิ าพเบื้องต้น 36
38
5. จดั หาครอบครัวทดแทน 41
6. การรบั เดก็ เป็นบุตรบุญธรรม 41
- กรมกจิ การสตรีและครอบครัว 42
1. เงนิ อดุ หนนุ พัฒนาสตรี 43
2. การคุ้มครองสวัสดิภาพผถู้ ูกกระทำดว้ ยความรุนแรงในครอบครวั 43
3. การสง่ เสรมิ การจัดกจิ กรรมของศนู ยพ์ ฒั นาครอบครวั ในชมุ ชน 44
4. การสง่ ฝึกอาชีพ
- กรมพฒั นาสังคมและสวัสดิการ
1. เงนิ สงเคราะหผ์ ู้มีรายไดน้ อ้ ยและผ้ไู ร้ทพ่ี ่ึง
2. เงนิ สงเคราะห์ผูต้ ิดเชอ้ื เอดสแ์ ละครอบครัว
3. เงนิ สงเคราะหเ์ งนิ ทนุ ประกอบอาชีพสำหรับสตรีท่ตี ดิ เชื้อหรือไดร้ ับผลกระทบจากปญั หาเอดส์

สารบัญ (ต่อ)

เรื่อง หน้า
4. การซอ่ ม/สรา้ งทอ่ี ยูอ่ าศัยตามความเหมาะสม 45
5. การส่งเข้ารับการคุ้มครองในสถานสงเคราะห์/สถานคุ้มครองฯ/ศูนย์ค้มุ ครองคนไรท้ ีพ่ ึ่ง 45
46
- สำนักปลดั กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ 47
1. เงนิ สงเคราะห์ผปู้ ระสบปัญหาทางสงั คมกรณฉี ุกเฉนิ 47
2. เงนิ สงเคราะห์ครอบครวั ผู้ประสบปัญหาทางสังคมกรณีฉุกเฉนิ 48
3. เงินสงเคราะหช์ ่วยเหลือผู้ตกทกุ ข์ไดย้ าก สง่ กลับภูมิลำเนา 49

ขอขอบคุณ

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย์

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นกระทรวงที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติปรับปรุง
กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 ซึ่งเป็นกระทรวงภาคสังคมในการทำหน้าที่เกี่ยวกับการพัฒนาสังคม การสร้าง
ความเป็นธรรมและความเสมอภาคในสังคม การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพและความมั่นคงในชีวิต สถาบันครอบครัว
และชุมชนโดยรวมส่วนราชการด้านนโยบายและการปฏิบตั ิ ประกอบดว้ ย

1. กรมประชาสงเคราะห์ สงั กดั กระทรวงแรงงานและสวัสดกิ ารสงั คม
2. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ และประสานงานเยาวชนแหง่ ชาติ (สยช.)
3. สำนกั งานคณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานสตรีแห่งชาติ (กสส.)
4. สังกัดสำนกั นายกรฐั มนตรี กองพัฒนาสตรี เดก็ และเยาวชน กรมการพัฒนาชุมชน
5. การเคหะแห่งชาติ (กคช.)
6. สังกัดกระทรวงมหาดไทย สถาบันพฒั นาองคก์ รชมุ ชน (พอช.)
7. สงั กัดกระทรวงการคลัง

เป็นส่วนราชการในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เพื่อเป็นองค์การและ
กลไกด้านสังคมในการบรรลุนโยบายของรัฐบาลที่ให้ประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะเด็ก เยาวชน สตรี
ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ มีความมั่นคงในการดำรงชีวิต ให้มีการพิทักษ์และคุม้ ครองสิทธิตามกรอบ
รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 โดยบูรณาการแนวคดิ ทศิ ทาง และการบรหิ ารใหเ้ ปน็ ระบบจาก
ภาคที กุ ภาคส่วนและทกุ ระดบั

 ยุทธศาสตร์กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)
วิสัยทศั น์

สรา้ งสงั คมดี คนมีคณุ ภาพ
พนั ธกจิ

1. พัฒนาคนและสังคมให้มีคุณภาพเต็มศักยภาพและมภี มู ิคมุ้ กันตอ่ การเปล่ยี นแปลง
2. สรา้ งเสริมเครอื ขา่ ยจากทกุ ภาคส่วนในการมสี ว่ นรว่ มพฒั นาสังคม
3. พฒั นาองค์ความรู้ ขดี ความสามารถ และระบบการบรหิ ารจัดการดา้ นการพฒั นาสังคม
4. จดั ระบบสวัสดกิ ารทเ่ี หมาะสมกับบริบทของประเทศไทย เพือ่ ใหป้ ระชาชนมหี ลักประกันและมีความ

ม่นั คงในชวี ติ
ค่านิยมองค์การ

อุทิศตน อาสางาน เอ้อื อาทร อำนวยประโยชนส์ ขุ
ประเด็นยุทธศาสตร์

1. พัฒนาศักยภาพคน ครอบครัว ชุมชนให้มีความเข้มแข็งและสร้างระบบที่เอื้อต่อการพัฒนาคนให้มี
คุณภาพชวี ิตทด่ี ี

2. สรา้ งหลักประกนั ทางสังคมทค่ี รอบคลมุ และเหมาะสมกับกลุ่มเปา้ หมาย
3. สง่ เสริมภาคีเครอื ขา่ ยอย่างเป็นระบบสกู่ ารเป็นหุน้ สว่ นทางสังคม
4. ยกระดับองค์กรสกู่ ารเป็นผูน้ ำทางสงั คม

หนา้ 1

 ยทุ ธศาสตรส์ ำนกั งานปลัดกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์ พ.ศ. 2560 - 2564
วสิ ัยทศั น์

ขบั เคล่ือนและบูรณาการนโยบายและยุทธศาสตรใ์ นการพัฒนาสังคมเพ่ือให้ประชาชนมคี ุณภาพชีวิตท่ีดี
อย่างท่ัวถึง เท่าเทียมและเปน็ ธรรม
พนั ธกจิ

1. เสนอนโยบาย และยุทธศาสตร์ มาตรการ ด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ที่สามารถ
สนองตอบตอ่ การเปล่ยี นแปลงของสังคมไทยและสงั คมโลก

2. บรู ณาการการขบั เคลือ่ นยทุ ธศาสตรแ์ ละการปฏบิ ตั เิ พ่ือการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์
3. พฒั นาองคค์ วามรู้ วิจัย พัฒนา และถา่ ยทอดนวตั กรรมทางสงั คม
4. เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการบริการทางสังคมเพ่ือตอบสนองความต้องการของสงั คมอย่างฉับพลนั
ค่านิยมองค์การ

อุทิศตน อาสางาน เอ้ืออาทร อำนวยประโยชนส์ ขุ
ประเด็นยุทธศาสตร์

1. พฒั นาและขับเคลอื่ นนโยบายและยทุ ธศาสตรด์ ้านการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์
2. ส่งเสริม สนับสนุนการบริหารงานด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในระดับพื้นที่แบบ

บรู ณาการ
3. บรหิ ารจดั การองคก์ รให้มีประสิทธิภาพ

หน้า 2

หนา้ 3

คู่มือการใหบ้ ริการประชาชน

หน้า 4

❖ กรมสง่ เสรมิ และพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพกิ าร

วิสยั ทัศน์
“เป็นองค์กรหลักในการขับเคลื่อนและส่งเสริมให้คนพิการเข้าถึงสิทธิ สวัสดิการ อย่างทั่วถึงและ

เทา่ เทียม สรู่ ะดับสากล”
พนั ธกิจ

1. ขับเคลื่อนและบูรณาการนโยบายด้านการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ภายใต้องค์กรที่มี
สมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล

2. ส่งเสริมให้คนพิการได้เข้าถึงสิทธิ สวัสดิการ และสิ่งอำนวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะอย่างเท่า
เทยี ม

3. สง่ เสริมและสนบั สนนุ องคก์ รและเครือขา่ ยดา้ นคนพิการ ให้มคี วามเขม้ แข็งและมีส่วนรว่ ม
ยทุ ธศาสตร์กับการขับเคล่อื นภารกิจของ พก.

➢ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1
พัฒนานโยบายและการบริหารจัดการด้านคนพิการให้มีผลสัมฤทธิ์และมีธรรมาภิบาล

(Development)
➢ ยุทธศาสตรท์ ่ี 2

เสริมพลังคนพิการให้เข้าถึงสิทธิ สวัสดิการ และสิ่งอำนวยความสะดวกอย่างเท่าเทียม
(Empowerment)
➢ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3

เสริมสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งขององค์กรด้านคนพิการและ เครือข่าย
(Participation)
คา่ นยิ ม
มคี ณุ ธรรม นวัตกรรมดีเด่น เนน้ ทมี งาน ประสานเครือข่าย
การให้ความช่วยเหลือ
1. การออกบัตรประจำตัวคนพิการ

- กรณีการขอมีบัตรประจำตัวคนพกิ าร
- กรณบี ัตรหมดอายุ บัตรชำรุด สูญหายหรอื มกี ารเปลี่ยนแปลงข้อมูลสำคญั ของบัตรประจำตวั

คนพกิ าร
- กรณยี กเลิกการบตั รประจำตวั คนพกิ าร
2. กองทุนส่งเสรมิ และพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ
3. การรับคนพกิ ารเข้าสถานคุ้มครอง
4. เงนิ สงเคราะห์คนพิการ
5. การกูย้ มื เงินเพ่ือการประกอบอาชพี
6. บริการผูช้ ว่ ยคนพกิ าร

หนา้ 5

การออกบตั รประจำตัวคนพกิ าร : กรณีการขอมีบัตรประจำตัวคนพกิ าร

 หลกั เกณฑ์ วิธีการ เงือ่ นไข

1. การย่นื คำขอมีบตั รประจำตัวคนพกิ าร
1) คนพิการซึ่งมีสัญชาติไทยสามารถยื่นคำขอมีบัตรต่อหน่วยงานกระทรวง พม. หรือศูนย์บริการ
คนพิการระดับจังหวัดหรือหน่วยงานของรัฐตามที่อธิบดีหรือผู้ว่าราชการจังหวัดประกาศ
กำหนดแลว้ แต่กรณี
2) คนพิการทยี่ งั ไม่ได้แจ้งเกดิ หรือเปน็ เด็กพิการที่ถกู ทอดท้ิงไม่ปรากฏแนช่ ัดว่า มีสัญชาติไทยต้อง
ดำเนนิ การตามข้นั ตอนของกฎหมายว่าด้วยทะเบียนราษฎร์ก่อน

2. บคุ คลท่ีสามารถยน่ื คำขอมีบัตรประจำตัวคนพกิ าร
1) คนพิการยืน่ คำขอมบี ตั รไดด้ ว้ ยตนเอง
2) การยื่นคำขอมีบัตรแทนคนพิการในกรณีที่คนพิการเป็นผู้เยาว์คนเสมือนไร้ความสามารถหรือ
คนไร้ความสามารถหรือในกรณีที่คนพิการมีสภาพความพิการถึงขั้นไม่สามารถไปย่ืนคำขอด้วย
ตนเองได้ผ้ปู กครองผพู้ ิทักษผ์ อู้ นบุ าลหรือผดู้ ูแลคนพกิ ารแลว้ แต่กรณียน่ื คำขอแทนคนพิการได้
3) การยื่นขอเป็นผู้ดูแลคนพิการโดยผูด้ ูแลคนพิการต้องเป็นผู้ซ่ึงมชี ื่ออยู่ใน ทะเบียนบ้านเดียวกัน
กับคนพิการหรือเป็นผู้ดูแลคนพิการซึ่งคนพิการอาศัยอยู่ด้วยตามความเป็นจริง ในกรณีมีท้ัง
สองประเภทดังกล่าว ให้คนพิการแจ้งชื่อผู้ดูแลคนพิการที่ได้อุปการะหรืออาศัยอยู่ด้วยเป็น
สำคญั

สอบข้อเท็จจริง ถา่ ยรูปคนพิการ
ตามแบบฟอรม์ และ นำรปู เขา้ ระบบ
บันทึกข้อมลู ในระบบๆ คอมพิวเตอร์
2 นาที
10 นาที 3 นาที
ตรวจสอบความถูกต้องของขอ้ มลู
เจา้ หนา้ ทรี่ ับคำรอ้ ง ขนั้ ตอน และพิมพ์บัตรประจำตัวคนพกิ าร
ตรวจสอบหลักฐาน
ประกอบคำขอมีบตั ร 5 นาที

3 นาที มอบบัตรใหค้ นพิการ

คนพิการ/ผปู้ กครอง/ผู้พทิ กั ษ์/
ผ้อู นบุ าล/ผู้ดแู ลคนพิการ

ยน่ื คำรอ้ ง

หน้า 6

อายบุ ตั รประจำตัวคนพกิ าร
1. บตั รประจำตวั คนพกิ ารมอี ายุ ๘ ปี นับแตว่ นั ท่ีออกบัตร
2. กรณีคนพิการทอ่ี ายุครบ ๖0 ปบี รบิ ูรณ์ข้ึนไปหรือมสี ภาพความพกิ ารเปน็ ทเี่ ห็นได้
โดยประจักษใ์ ห้ใช้บตั รนน้ั ไปได้ตลอดชวี ติ

คา่ ธรรมเนยี ม

ไมม่ ีคา่ ธรรมเนียม

 เอกสาร หลักฐานประกอบ

..

1. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน/บัตรประจำตัวข้าราชการ (ใช้ในกรณียื่นคำขอมีบัตรของคน
พิการ/การย่ืนขอแทนคนพกิ าร/การยืน่ ขอเปน็ ผดู้ ูแลคนพิการ)……….. 1 ฉบับ

2. สำเนาทะเบียนบ้าน (ใชใ้ นกรณยี น่ื คำขอมบี ัตรของคนพิการ/การยน่ื ขอแทนคนพกิ าร/การย่ืน
ขอเป็นผดู้ ูแลคนพิการ)………… 1 ฉบับ

3. สำเนาเอกสารรับรองความพิการ (รับรอโดยผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของสถานพยาบาล
ของรัฐหรือสถานพยาบาลเอกชน ที่อธิบดีกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
ประกาศกำหนดลักษณะความพิการ ๗ ประเภท ได้แก่ ความพิการทางการเห็นความพิการ
ทางการได้ยินหรือสื่อความหมายความพิการทางการเคลื่อนไหวหรือทางร่างกายความพิการ
ทางจติ ใจหรอื พฤติกรรมความพิการทางสตปิ ัญญาความพิการทางการเรยี นรู้ และความพิการ
ออทิสติก)………….. ๑ ฉบับ

4. รปู ถ่ายของคนพิการขนาด ๑ นิ้ว……………. ๒ รปู
5. ภาพถา่ ยสภาพความพิการเป็นทีเ่ หน็ ไดโ้ ดยประจกั ษ์
6. หลกั ฐานทแี่ สดงวา่ ได้รบั มอบอำนาจจากคนพิการฉบับจริง………….. ๑ ชดุ
7. หนังสือรับรองการเป็นผู้ดูแลคนพิการฉบับจริง (ผู้มีอำนาจรับรอง ได้แก่ ข้าราชการ

ลูกจ้างประจำพนักงานราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ สมาชิกสภาท้องถิ่น กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน
หรอื ประธานชมุ ชน)

หนา้ 7

การออกบตั รประจำตวั คนพิการ : กรณีบัตรหมดอายุ บตั รชำรุด สูญหายหรอื
มกี ารเปลี่ยนแปลงข้อมลู สำคัญของบตั รประจำตวั คนพิการ

 หลักเกณฑ์ วธิ ีการ เง่อื นไข
1. การยืน่ คำขอมีบัตรประจำตวั คนพกิ าร

• กรณีบตั รหมดอายุ ใหย้ ่ืนคำขอมีบัตรใหม่ภายใน ๓0 วันก่อนบัตรหมดอายุ
• กรณบี ตั รชำรดุ สญู หายหรอื มกี ารเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับคนพกิ ารให้ยืน่ คำขอมบี ตั รใหม่ได้
• คนพิการซึ่งมีสัญชาติไทยสามารถยืน่ คำขอมีบัตรได้ที่กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชีวิตคน

พิการ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ศูนย์บริการคนพิการระดับ
จังหวัด หรือหน่วยงานของรัฐ ตามท่ีอธิบดีหรือผู้ว่าราชการจังหวัดประกาศกำหนดแล้วแต่
กรณี
2. การยื่นคำขอมีบัตรประจำตวั คนพกิ าร
• คนพิการย่ืนคำขอมีบตั รได้ดว้ ยตนเอง
• การยนื่ คำขอมบี ตั รแทนคนพิการ (แล้วแตก่ รณยี น่ื คำขอแทนคนพิการ)
• การยืน่ ขอเปน็ ผดู้ แู ลคนพิการโดยผู้ดูแลคนพิการต้องเป็นผูม้ ีช่ืออยู่ในทะเบยี นบา้ นเดียวกันกับ
คนพิการ หรอื เปน็ ผูด้ แู ลคนพิการซึ่งคนพิการอาศยั อยู่ด้วยตามความเป็นจริงในกรณีมีท้ังสอง
ประเภทดงั กล่าวให้คนพกิ ารแจง้ ช่ือผูด้ ูแลคนพิการที่ได้อุปการะหรอื อาศัยอยูด่ ้วยเป็นสำคญั
3. ข้ันตอนการออกบัตรประจำตัวคนพิการ กรณีบัตรรุด/สญู หาย/มีการเปล่ยี นแปลงข้อมูลสำคัญ
ของบตั รประจำตัวคนพิการ
• รบั คำขอตรวจสอบแบบคำขอมีบัตรประจำตัวคนพิการพร้อมเอกสารหลักฐานและ เสนอออก
บตั รใหแ้ กผ่ ยู้ นื่ คำขอ
• ผู้มีอำนาจออกบัตรพจิ ารณาแบบคำขอมีบัตรพร้อมเอกสารหลักฐาน หากเหน็ วา่ ผู้ยื่นคำขอได้
ดำเนินการถูกต้องครบถ้วนแล้วจึงอนมุ ัตอิ อกบัตรให้ผู้ยนื่ คำขอ
• จัดเก็บขอ้ มูลตามแบบคำขอมีบัตรไว้ในระบบคอมพิวเตอรเ์ พ่ือทำบตั ร
• กรณีไม่อนุมัติออกบัตรเนื่องจากคนพิการไม่มีสัญชาติไทยหรือมีสภาพความพิการไม่ตรงตาม
ค่มู อื การตรวจประเมินและวนิ ิจฉัยความพิการ
4. การย่นื คำขอมีบตั รประจำตวั คนพกิ าร
• บัตรประจำตัวคนพกิ ารมีอายุ ๘ ปีนับแต่ที่ออกบัตร (กรณีบัตรหมดอาย/ุ มีการเปลี่ยนแปลง
ขอ้ มูลสำคัญของบตั รประจำตัวคนพกิ าร)
• บตั รประจำตัวคนพกิ ารมอี ายถุ ึงวนั หมดอายุที่ระบไุ วต้ ามบตั รเดิม (กรณีบัตรชำรดุ /บตั รสญู หาย)
• กรณีคนพิการที่อายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไปหรือมีสภาพความพิการเป็นที่เห็นได้โดย
ประจักษ์ให้ใชบ้ ตั รนัน้ ไปไดต้ ลอดชวี ิต

หน้า 8

การออกบตั รประจำตวั คนพิการ : กรณยี กเลกิ การบัตรประจำตวั คนพิการ

 หลักเกณฑ์ วธิ กี าร เงอื่ นไข
1. กรณีผถู้ อื บตั รถงึ แก่ความตายหรือได้รบั การฟื้นฟูจนไม่มีสภาพความพิการหรือมีความ ประสงค์จะ

ยกเลิกการมีบัตร ให้ผู้ถือบัตรหรือผู้ปกครอง ผู้พิทักษ์ผู้อนุบาล หรือผู้ดูแล
คนพิการ แล้วแต่กรณีแจ้งต่อเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจออกบัตร เพื่อจำหน่ายชื่อออกจากฐานข้อมูล
ทะเบยี นบัตร
2. กรณีผู้ถือบัตรหรือผู้ปกครอง ผู้พิทักษ์ผู้อนุบาล หรือผู้ดูแลคนพิการแล้วแต่กรณี
ไม่ดำเนินการแจ้งว่าผู้ถือบัตรถึงแก่ความตายหรือได้รับการฟื้นฟูจนไม่มีสภาพความพิการ ให้
เจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจออกบัตรแต่งตั้งคณะทำงานตรวจสอบข้อเท็จจริง แล้วเสนอความเห็นต่อ
เจ้าหน้าที่ผู้มอี ำนาจออกบัตรพิจารณาจำหนา่ ยชือ่ ออกจากฐานข้อมูลทะเบยี นบตั ร
3. เจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจออกบัตรมีหนังสือแจ้งให้ผู้ถือบัตรหรือผู้ปกครอง ผู้พิทักษ์ ผู้อนุบาล หรือ
ผู้ดูแลคนพิการแล้วแต่กรณีทราบภายใน ๓๐ วัน นับแต่การจำหน่ายชื่อออกจาก ฐานข้อมูล
ทะเบียนบัตร และแจ้งสิทธิอุทธรณ์ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ไดร้ บั หนังสือ รวมทั้ง มีหนังสือแจ้ง
องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ ซ่งึ เป็นภมู ิลำเนาของบุคคลนั้นดว้ ย

 เอกสาร หลกั ฐานประกอบ
1. สำเนาบตั รประจำตวั ประชาชน (ของคนพิการหรือผู้ท่ีมาย่นื คำขอยกเลิกแทน)……. 1 ฉบบั
2. บัตรประจำตวั คนพิการ ฉบบั จรงิ
3. สำเนาทะเบยี นบา้ น (ของคนพิการหรือผูท้ ม่ี ายื่นคำขอยกเลิกแทน)……. 1 ฉบับ
4. สำเนาใบมรณะบัตร (กรณคี นพิการเสยี ชวี ติ )……. 1 ฉบับ
5. ใบรับรองแพทย์หรือเอกสารรับรองความพิการ (กรณีคนพิการได้รับการฟื้นฟูจนไม่มีสภาพความ

พิการ)
6. ใบมอบอำนาจหรอื หลักฐานอ่นื ท่ีแสดงวา่ มีสว่ นเกย่ี วขอ้ งกับคนพิการฉบับจรงิ

หนา้ 9

กองทุนสง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชีวติ คนพิการ

 ความเปน็ มาของกองทนุ

กองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและ
พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.2550 มาตรา 23 ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งใน สํานักงาน
เรียกว่า “กองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชวี ิตคนพิการ” เพื่อเป็นทุนสําหรบั การใช้จ่ายเกี่ยวกับการ
คุ้มครองและพัฒนาสมรรถภาพคนพิการ การศึกษาและการ ประกอบอาชีพของคนพิการ รวมทั้งการ
ส่งเสริมและการสนับสนุนการดําเนินงานของ องค์กรที่เกี่ยวข้องกับคนพิการ โดยจัดสรรให้อย่างเป็น
ธรรมและท่ัวถึง

 วิสยั ทศั น์  พันธกิจ

เป็นกองทุนสนับสนุนการพัฒนา - พัฒนาศักยภาพด้านอาชีพและ
คุณภาพชีวิตคนพิการให้มีความเข้มแข็งอย่าง การศึกษาของคนพิการและผู้ช่วยเหลือ
ยัง่ ยนื ท่วั ถงึ และเปน็ ธรรม คนพกิ าร

- สนบั สนนุ การดาํ เนินงานขององค์กรและ
เครือขา่ ยที่เก่ียวขอ้ งกับคนพิการ

- พัฒนาระบบบริหารจัดการและบุคลากร
ของกองทนุ ฯ

 รูปแบบการให้บริการ

1. การให้บรกิ ารกยู้ มื เงิน เป็นการบรกิ ารคนพิการ และผู้ดแู ลคนพิการ เพ่อื เป็นทนุ ประกอบอาชีพ
หรือขยายกิจการ รายบุคคลรายละไม่เกิน 60,000 บาท รายกลุ่ม กลุ่มละไม่เกิน 1 ล้านบาท
ผ ่ อ น ช ำ ร ะ ภ า ย ใ น ร ะ ย ะ เ ว ล า ไ ม ่ เ ก ิ น 5 ป ี โ ด ย ไ ม ่ ค ิ ด ด อ ก เ บ ี ้ ย ท ั ้ ง น ี ้ ห า ก มี
ผู้ประสงค์จะกู้ยืมเงินเกินกว่าวงเงินที่กำหนด ให้มีการพิจารณาเป็นราย ๆ ไป โดยไม่เกิน
120,000 บาท

2. การสนับสนุนโครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ เป็นตามระเบียบ
คณะกรรมการสง่ เสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ วา่ ดว้ ยการพจิ ารณาอนุมัติการ
จ่ายเงินเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ และการจัดทำรายงานสถานะการเงิน
และการบรหิ ารกองทนุ สง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คนพิการ พ.ศ. 2552

3. ส่งเสริมการจา้ งงานคนพิการ เพือ่ เป็นการสง่ เสรมิ ใหค้ นพิการมงี านทำ มรี ายได้เพยี งพอสำหรับ
การดำรงชีพ ลดภาระของสงั คม และพัฒนาให้คนพิการมีคณุ ภาพชีวิตที่ดขี ึ้น ตลอดจนสามารถ
ดำรงชวี ิตในสังคมได้อย่างมีศกั ดิ์ของความเปน็ มนุษย์

หน้า 10

การรบั คนพกิ ารเขา้ สถานคุม้ ครอง

 เง่อื นไขเบือ้ งตน้  เงือ่ นไขดา้ นการดแู ลสุขภาพ

✓ มสี ัญชาตไิ ทยหรือเลข 13 หลัก ✓ ไมเ่ ป็นโรคตดิ ต่อร้ายแรง
✓ จดทะเบียนคนพิการแล้ว ✓ ไม่ใส่สายยางให้อาหารลา้ งไต
✓ มเี อกสารแสดงสถานะบุคคล* ✓ ไมด่ ูดเสมหะ
✓ ครอบครัวยากจน ขาดคน อุปการะ ✓ ไม่เปน็ แผลกดทบั ระดบั 2 ข้ึนไป
✓ ไมใ่ สเ่ คร่ืองช่วยหายใจ
เสี่ยงต่อการถกู ทารุณกรรม ✓ ไม่ใช้หตั ถการดแู ลเฉพาะทาง
✓ ปฏิบตั ติ ามกฎของหนว่ ยงานได้

 หลักฐานประกอบการรับคนพิการเขา้ สถานคมุ้ ครอง

✓ หลกั ฐานแสดงสถานะบคุ คล (บตั รประจำตัวประชาชน บตั รประจำตัวคนพิการ
สำเนาทะเบยี นบา้ น)

✓ ใบความเห็นแพทยด์ า้ นสุขภาพ สรปุ ผลการรักษา
✓ ผลการทดสอบเซาวนป์ ญั ญา (กรณพี ิการทางสตปิ ัญญา)
✓ หนังสอื ขออนมุ ัติ อพก. นำส่งคนพิการเขา้ สถานฯ พร้อมหลักฐาน
✓ หนังสอื ยินยอมเข้ารับการอปุ การะในสถานฯ
✓ เอกสารแจ้งย้ายทะเบียนบา้ นของคนพิการเข้าสถานฯ
✓ แบบบันทึกประวตั ิ
✓ หนังสือนำสง่ คนพกิ าร

หนา้ 11

 กระบวนการ/ข้ันตอน

การรบั เขา้

กรณปี กติ
1. หนว่ ยนำส่ง เชน่ ศนู ย์คนพิการจงั หวัด ศูนยช์ ่วยเหลอื สังคม โรงพยาบาล เรือนจำ ประสานกองคุม้ ครอง
2. อธบิ ดีอนุมตั ิการรบั เขา้ สถานคุ้มครองและพฒั นาคนพิการ ตรงตามคุณสมบตั แิ ต่ละสถานคมุ้ ครองฯ
3. สถานคุ้มครองดำเนนิ การ

• ให้หอ้ งแรกรบั (ถา้ ม)ี สอบประวตั ิ ตรวจรา่ งกายตรวจสขุ ภาพ ตรวจทรัพยส์ นิ โดยทมี สหวิชาชีพและ
เฝ้าระวังโรคระยะไม่เกนิ 14 วนั

• ทมี สหวชิ าชพี คัดกรองคนพิการเขา้ อาคารเรือนนอน
4. สถานคุ้มครองและพฒั นาคนพิการขออนมุ ัติผ้วู า่ ราชการจงั หวัด รับคนพิการเขา้ สถานค้มุ ครองฯ

กรณเี ร่งดว่ นฉุกเฉิน (คนพกิ ารถูกละเมิด ถกู ทารณุ กรรม)
1. หนว่ ยนำส่ง เช่น ศนู ยค์ นพกิ ารจงั หวัด 1300 โรงพยาบาลเรอื นจำ ประสานกองค้มุ ครอง
2. สถานคุ้มครองและพัฒนาคนพกิ ารดำเนินการเบื้องต้นและให้การคมุ้ ครองฉุกเฉนิ
3. ให้คนพิการรับเข้าไม่เกิน 15 วัน และดำเนินการด้านเอกสารการตรวจร่างกาย สุขภาพ และ

ใหก้ ารช่วยเหลอื เบอ้ื งตน้
4. สถานคุ้มครองฯ แจง้ ให้ กคพ. ทราบอยา่ งเป็นทางการ และนำเขา้ ในระบบปกติ

การคุ้มครองและให้บรกิ าร

กระบวนการพัฒนา
๑. ประเมิน และคัดกรองคนพิการโดยทมี สหวชิ าชีพ ประเมนิ ความพกิ ารและศักยภาพ
๒. การวางแผนการฟื้นฟรู ายบุคคล (IRP/ IEP)
๓. การบำบัด ฟ้ืนฟู พัฒนา/คุ้มครองคนพกิ ารด้านตา่ งๆ โดยทีมสหวิชาชพี ไดแ้ ก่

• นักสงั คมสงเคราะห์ : ตรวจสอบสทิ ธิ นำพาเขา้ ถึงระบบบริการพื้นฐาน เตรยี มครอบครวั
• นักกายภาพบำบัด : ประเมินและฟื้นฟูทักษะการเคลื่อนไหว การทรงตัว การจัดปรับ

ทา่ ปรับอปุ กรณ์เครอ่ื งชว่ ยคนพิการ
• นักจิตวิทยา : การประเมนิ สภาพจิต ให้คำปรึกษาจดั กิจกรรมกล่มุ บำบัด
• นักส่งเสริมพัฒนาการ : จัดการศึกษาที่เหมาะสม/จัดกิจกรรมกระตุ้นพัฒนาตามโปรแกรมและ

ส่งเสรมิ การศึกษา
• พ่ีเล้ียง : ฝกึ กจิ วตั รประจำวัน (ADL) กีฬา นันทนาการตามความสนใจ
4. การติดตามประเมินผลทกุ 6 เดือน และปรบั แผนการฟ้ืนฟรู ายบคุ คล IRP/IEP
5. จดั เตรียมทักษะสังคม ก่อนส่งกลับ

หน้า 12

การส่งตอ่ คนพิการออกนอกสถาน

๑. กลับครอบครัวเดิม กระบวนการ
๒. เข้าทำงาน เตรยี มความพร้อมคนพิการ
• ทกั ษะการทำงาน
• ทำงานในสถานคุ้มครองฯ • ทักษะการอยรู่ ่วมกบั ผู้อื่น
• ทักษะชวี ติ : การใชเ้ งิน กดATM
• ทำงานในสถานประกอบการ
3. อยู่กบั ครอบครัวทดแทน การเลือกคูค่ รอง

เตรยี มความพรอ้ มสถานประกอบการ

การทดลองงาน

การติดตามเฝ้าระวงั

การจำหน่ายออก
(เมือ่ มพี ร้อม: อยู่กับครอบครัวได/้ มงี านทำและ
อยไู่ ดด้ ว้ ยตนเอง/แตง่ งานสร้างครอบครวั ใหม่)

หน้า 13

เงินสงเคราะห์คนพกิ าร

 คุณสมบตั ิ

• คนพกิ าร/ครอบครัวคนพิการประสบปญั หาเดือดรอ้ น
มีภาวะยากลำบากอยู่ตามลำพงั ฐานะยากจน และไม่มี
รายได้

• เง่ือนไข : ช่วยเหลอื เป็นสิ่งของหรือเป็นเงินครง้ั ละ
ไมเ่ กิน 3,000 บาท ปีละไม่เกนิ 3 ครั้ง

 เอกสารประกอบการยื่น

1. แบบสอบข้อเทจ็ จรงิ ผูป้ ระสบปัญหาสังคม
2. สำเนาบตั รประจำตวั คนพิการ
3. สำเนาบตั รประจำตวั ประชาชน
4. สำเนาทะเบียนบ้าน
5. สำเนาบญั ชธี นาคาร
6. อ่ืนๆ (หลักฐานการเปล่ียนช่ือ ฯลฯ)

 สถานที่ยนื่ ขอรับเงิน

กรุงเทพมหานคร
• ศนู ย์บรกิ ารคนพกิ ารกรงุ เทพฯ (บ้านราชวถิ ี)
สายไหม, มีนบุรี, ออ้ มน้อย, ลาดกระบัง

สว่ นภูมภิ าค
• สำนักงานพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์
จังหวดั (พมจ.) ทว่ั ประเทศ

หน้า 14

 ข้นั ตอนการจ่ายเงิน
ยื่นคำร้อง

สอบข้อเท็จจรงิ /ลงพื้นท่ีฯ
คณะกรรมการพจิ ารณา
ผา่ นการพจิ ารณา (มอบเงินสงเคราะห์ฯ)
ไม่ผ่านการพจิ ารณา (ชแ้ี จงคนพิการ)
บันทกึ ข้อมลู ลงในระบบ
ตดิ ตามใหค้ วามช่วยเหลือเปน็ ระยะ

หน้า 15

การกู้ยืมเงนิ ทุนประกอบอาชพี ของคนพิการและผู้ดูแลคนพิการ

กองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพกิ ารเปน็ กองทนุ หมุนเวียน ที่มาของเงิน ประกอบด้วย
เงินอุดหนุนจากรัฐบาล เงินสมทบจากสถานประกอบการ เงินบริจาค ดอกเบี้ยจากเงินกองทุน โดยเปิด
ใหบ้ รกิ ารก้ยู มื เงนิ เพ่อื ประกอบอาชีพสำหรบั คนพกิ ารและผู้ดแู ลคนพิการ ดงั รายละเอียดตอ่ ไปน้ี

ให้บริการกู้ยืมเงินเพื่อเป็นทุนประกอบอาชีพของคนพิการโดยวงเงินกู้ รายละ 60,000 บาท
ทั้งนี้หากประสงค์จะขอกู้ยืมเงินเกินกว่าวงเงินที่กำหนดให้มีการพิจารณาเป็นรายๆไป รายละไม่เกิน
120,000 บาท และรายกลุม่ ๆ ละไม่เกนิ 1,000,000 บาท โดยไมเ่ สียดอกเบี้ย

 คุณสมบัติผกู้ รู้ ายบคุ คล
กรณีผกู้ ู้เป็นผ้พู กิ าร
๑. มีบัตรประจำตวั คนพกิ าร
๒. มีความจำเปน็ ในการขอรับการสนับสนุนเงนิ กู้ยืมเพ่อื ประกอบอาชีพภายในจงั หวัดท่ยี ่ืนเรื่องกู้
๓. มคี วามสามารถในการประกอบอาชีพในเรื่องท่ีขอรับการสนับสนุน
๔. บรรลุนิติภาวะ (อายุ 20 ปี หรือบรรลุนติ ภิ าวะ โดยการสมรส)
๕. มีชอ่ื ในทะเบียนบา้ นและมถี น่ิ ทอ่ี ย่ถู าวรในท้องท่ีทยี่ ืน่ คำขอก้ไู ม่น้อยกว่า 90 วัน
๖. ไมม่ ปี ระวตั เิ สียหายในการกยู้ มื เงนิ จากกองทุน เว้นแต่ ไดด้ ำเนนิ การแก้ไขมาแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 1 ปี
๗. กรณีมหี น้สี นิ อย่กู บั กองทุนตอ้ งได้ชำระหนม้ี าแลว้ ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 60 ของวงเงินก้ยู ืมทง้ั หมด
๘. มีความสามารถชำระคืนเงนิ ผู้ยมื ไดแ้ ละมบี ุคคลทีน่ ่าเชือ่ ถือได้เปน็ ผคู้ ำ้ ประกนั

กรณีผ้กู ้เู ปน็ ผู้ดแู ลคนพิการ
๑. มีคณุ สมบัติตามขอ้ 2-8
๒. ไมเ่ ปน็ บุคคลลมั ละลาย
๓. ได้รับการรับรองเป็นหนังสือจากผู้แทนองค์กรด้านคนพิการกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้บริหารองค์กรปกครอง

ส่วนท้องถิ่นที่ผู้นั้นมีภูมิลำเนา ข้าราชการระดับ 3 หรือเทียบเท่าขึ้นไป หรือมีหลักฐานเชื่อได้ว่าเป็น
ผอู้ ปุ การะเลีย้ งดคู นพิการที่มบี ตั รประจำตวั คนพกิ าร ซง่ึ มิได้มหี นส้ี ินจากกองทุน
๔. คนพกิ ารซงึ่ อยใู่ นความดูแล เปน็ ผเู้ ยาว์ ผ้ไู ร้ความสามารถหรอื เสมือนไรค้ วามสามารถ หรือเป็นคนพิการ
ทางจิตใจหรือพฤตกิ รรม ออทิสติก สติปัญญา หรือมีสภาพความพิการถงึ ขัน้ ไมส่ ามารถประกอบกิจวัตร
ประจำวนั ได้
๕. ต้องรับการดูแลคนพิการหรอื อุปการะคนพิการมาแล้วไม่น้อยกวา่ 6 เดือน

หนา้ 16

 คณุ สมบตั ผิ ้กู รู้ ายกล่มุ
๑. เป็นกลุ่มคนพิการหรือผู้ดูแลคนพิการที่รวมตัวกันโดยมีผลประโยชน์และวัตถุประสงค์ร่วมกันเพื่อ

ช่วยเหลือหรือสนับสนุนกัน หรือ ทำกิจกรรมอันชอบด้วยกฎหมายและศีลธรรมร่วมกันหรือดำเนินการ
อื่นอันเป็นประโยชน์ร่วมกันของสมาชิก มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องและมีระบบบริหารจัดการและ
การแสดงเจตนาแทนกล่มุ ได้ ทงั้ นี้ ต้องมสี มาชิกกลมุ่ ไม่น้อยกว่า 2 คน
๒. มหี ลักฐานจากสถาบนั การเงินเก่ียวกับ การออมเงินของกลุ่มอย่างสม่ำเสมอ มาแล้วไม่นอ้ ยกวา่ 6 เดือน
ดำเนนิ กจิ การของกลุม่ ในท้องทจ่ี งั หวดั ทย่ี นื่ คำขอต่อเนื่องจนถึงวันย่ืนคำขอแล้ว ไม่น้อยกว่า 6 เดือน
๓. ได้รับการรับรองเป็นหนังสือรับรองจากองค์กรด้านคนพิการที่ เป็นนิติบุคคล หรือหน่วยงานภาครัฐว่า
เปน็ กลุ่ม ทม่ี ผี ลงานนา่ เช่อื ถือจรงิ
๔. มีแผนงานหรือโครงการของกลุ่มท่ีจะดำเนินการต่อไปอย่างชัดเจน

 เอกสารประกอบการกยู้ ืม
๑. รูปถ่ายเตม็ ตัวคนพกิ าร จำนวน 1 รปู
๒. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนและสำเนาบัตรประจำตวั คนพกิ าร จำนวนอย่างละ 1 แผ่น
๓. สำเนาทะเบยี นบา้ น จำนวน 1 แผน่
๔. แผนผงั ทีอ่ ยอู่ าศัย แผนผงั สถานประกอบอาชีพ จำนวนอยา่ งละ 1 แผน่
๕. สำเนาหนงั สือเชา่ บ้าน (ในกรณเี ช่าบา้ นอยู)่ จำนวน 1 แผน่
๖. สำเนาทะเบยี นบา้ น และสำเนาบตั รประจำตัวประชาชนของผคู้ ำ้ ประกนั จำนวนอย่างละ 1 แผ่น
๗. หนังสือรับรองเงินเดอื นของผคู้ ้ำประกนั จำนวน 1 แผน่
๘. หนงั สอื รับรองอุปการะคนพกิ าร จำนวน 1 แผ่น
๙. ใบรับรองแพทย์ (กรณีคนพิการมีสภาพความพิการร้ายแรงและผู้ดูแลคนพิการเป็นผู้ขอกู้แทน

คนพิการ) จำนวน 1 แผน่
๑๐. ประมาณค่าใช้จ่ายในการประกอบอาชีพที่ขอกู้ (การกู้ยืมเงินรายบุคคล)/โครงการประกอบอาชีพ

ของกลุ่ม (การกู้ยมื เงนิ รายกลมุ่ ) จำนวน 1 ชุด

หน้า 17

บริการผ้ชู ว่ ยคนพิการ

 คุณสมบัตผิ พู้ กิ าร
๑. มีบตั รประจำตัวคนพกิ าร
๒. เปน็ คนพิการทม่ี ีความจำเปน็ ตอ้ งใช้ผชู้ ว่ ยคนพิการ เพื่อให้สามารถปฏบิ ตั ิกจิ วตั รทส่ี ำคัญในการ

ดำรงชวี ิตได้
๓. ไมไ่ ดร้ ับความชว่ ยเหลือจากหนว่ ยงานของรัฐอื่น หรอื ไดร้ บั แตไ่ ม่เพียงพอ

 หลักฐานท่ใี ชใ้ นการยื่นคำขอ
คนพกิ ารท่ปี ระสงคจ์ ะยน่ื คำขอมีผูช้ ่วยคนพิการ จะต้องเตรยี มหลักฐานดงั ต่อไปน้ี ไปแสดง
ตอ่ เจ้าหน้าที่ ณ หน่วยรบั คำขอ หรือหนว่ ยบริการในพื้นท่ี
1. สำเนาบัตรประจำตวั ประชาชน พร้อมเซน็ รบั รองสำเนาถูกตอ้ ง
2. รปู ถา่ ย 1 นว้ิ หรอื 2 นิ้ว จำนวน 2 ใบ
3. แบบคำขอมีผู้ช่วยคนพิการ (แบบ ผช.1) จำนวน 1 ชดุ (ดาวนโ์ หลดได้จากเอกสารประกอบ
ด้านลา่ ง)
ในกรณีท่ีคนพกิ ารเปน็ ผู้เยาวห์ รอื มีความพิการถึงขน้ั ท่ีไม่สามารถยน่ื คำขอด้วยตนเองได้
ให้ผดู้ แู ลคนพกิ ารย่ืนคำขอแทนได้

 สถานที่ย่นื คำขอ
1. กรุงเทพมหานคร ย่ืนต่อศูนย์บรกิ ารคนพิการกรุงเทพมหานคร กรมสง่ เสริมและพฒั นาคุณภาพชวี ิต

คนพิการ กระทรวงพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
2. ต่างจงั หวัด ยน่ื ต่อสำนักงานพฒั นาสงั คมปละความม่ันคงของมนษุ ย์จังหวดั หรอื หน่วยบรกิ ารในพน้ื ท่ี

ทีผ่ ูว้ า่ ราชการจังหวดั ประกาศกำหนด

หนา้ 18

❖ กรมกจิ การผสู้ งู อายุ

วสิ ัยทัศน์
ผู้สงู อายมุ ีคณุ ภาพชีวติ ดี มหี ลักประกนั เป็นพลงั ของสังคม "

พนั ธกจิ
1. ผลักดัน นโยบาย มาตรการ กลไก เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและ
สง่ เสรมิ การมสี ่วนร่วมของชมุ ชนและองคก์ รใ์ นการขับเคล่ือนสงั คม
2. พัฒนาศักยภาพ และเตรียมความพร้อมประชากรรองรับสังคมสูงอายุ
3. คุ้มครอง ส่งเสริม สนับสนุน และพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุ ให้เข้าถึงระบบสวัสดิการสังคมอย่างทั่วถึงและ
เป็นธรรม
4. พฒั นาองคก์ ร และรพั ยากรการบริหารงาน องคค์ วามรู้เพอ่ื ยกระดบั ประสทิ ธภิ าพการดำเนนิ งาน

ค่านยิ ม
"สอ่ื สารดี มคี ณุ ธรรม นำสเู่ ป้าหมายรว่ ม"
สื่อสารดี (Communication) หมายถึงการส่งข่าวสารระหว่างบุคคลหรือหน่วยงานทั้งภายใน และ

ภายนอกขององค์การ เพื่อให้เกิดความเข้าใจและสามารถประสานงานให้ฝ่ายต่าง ๆ ได้ปฏิบัติหน้าท่ี
ความรบั ผิดชอบได้ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ขององค์การ และปดิ โอกาสให้ผ้รู ับบริการและผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสียเข้ามา
มีส่วนรว่ มในฐานะ

"หนุ้ ส่วน หรอื ภาคี "
ในการดำเนนิ กิจกรรมของหน่วยงานภาครัฐ มีคณุ ธรรม (Integrity) หมายถึง การยึดมน่ั ในความถูกต้อง
ดีงาม มีความชื่อสัตย์ในหน้าที่ สุจริตใน หน้าที่ โปร่งใส การไม่เลือกปฏิบัติคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของ
ประชาชนและประเทศชาติเปน็ หลักในการปฏบิ ัตงิ าน
นำสู่เป้าหมายร่วม (Collective Goal) หมายถึง การมีเป้าหมายของการทำงานสูงสุดร่วมกัน คือ
คุณภาพชีวิตที่ดขี องผู้สูงอายุ และยึดความต้องการของผู้รับบริการเป็นโจทย์กำหนดการทำงานเพื่อการบริหาร
ราชการ และการให้บริการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และตอบสนองความต้องการของ
ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย และมีความสามารถในการคิดได้หลากหลายแปลกใหม่จากเดมิ และหมาะสมกับ
การใชป้ ระโยชน์นำไปสู่การสรา้ งสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ใหเ้ กิดข้ึนในสังคม เช่น งานวิจยั ใหม่ โครงการใหม่ บริการใหม่ ฯลฯ
การใหค้ วามช่วยเหลือ
1. เงินสงเคราะหผ์ สู้ งู อายุ

- การสงเคราะห์ในการจัดการศพผสู้ งู อายุตามประเพณี
- การปรบั สภาพแวดลอ้ มและสิ่งอำนวยความสะดวกฯ
- การสงเคราะหผ์ สู้ งู อายใุ นภาวะยากลำบาก
2. กองทนุ ผ้สู งู อายุ
- การให้บริการกูย้ มื เงินทนุ เพ่ือประกอบอาชีพ
3. การส่งเขา้ อปุ การะในสถานสงเคราะห์
4. จัดตั้ง/ส่งเสรมิ การจดั กิจกรรมในศนู ย์พฒั นาคณุ ภาพชีวติ และสง่ เสริมอาชีพผสู้ ูงอายุ (ศพอส.)

หนา้ 19

เงินสงเคราะหผ์ สู้ งู อายุ : การสงเคราะหใ์ นการจัดการศพผสู้ งู อายุตามประเพณี

 คณุ สมบัติผู้ที่จะไดร้ ับเงินค่าจดั การศพ
1. มีอายุเกิน 16 ปีบรบิ ูรณ์ขึ้นไป
2. มีสัญชาตไิ ทย
3. เป็นผสู้ งู อายทุ มี่ บี ัตรสวัสดีกรแหง่ รัฐ เว้นแต่ผู้สงู อายุที่มีคณุ สมบัตติ ามเกณฑ์บัตรสวสั ดิการแหง่ รัฐ
แตย่ ังไม่มีบตั รสวสั ดิการแห่งรัฐ หรอื ยงั ไม่ไดล้ งทะเบียน ให้ผอู้ ำนวยการเขต หรือนายอำเภอ หรอื
กำนนั หรอื ผ้ใู หญบ่ า้ น หรือนายกเทศมนตรี หรอื นายกองค์การปรหิ าส่วนตำบล หรือนายกเมือง
พัทยา หรอื ประธานชมุ ชน เป็นผ้รู บั รอง
หมายเหตุ : ร่วมถึงผูส้ ูงอายุที่อยู่ในศูนยพ์ ัฒนาการจดั สวัสดกิ ารสงั คมผ้สู ูงอายุ สถานสงเคราะห์
สถานดูแล สถานคมุ้ ครอง หรือสถานใด ๆ ของรฐั หรอื องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ท่ีดำเนนิ การใน
ลกั ษณะเดยี วกัน ซ่ึงจดั การศพตามประเพณโี ดยมูลนิธิ สมาคมวดั มัสยิด โบสถ์

 เอกสารประกอบการย่นื คำขอ

1. ใบมรณะบตั รของผู้สูงอายุ
2. บตั รสวสั ดกิ ารแห่งรัฐของผ้สู ูงอายุ
3. บัตรประจำตัวประชานหรือบัตรอื่นที่ออกโดยหน่วยงานของรัฐที่มีรูปถ่ายละเลขประจำตัว

ประชาชนขอผูย้ นื่ คำขอ
- กรณกี ารจัดการศพตามประเพณีโดยมลู นิธิ สมาคม วัด มสั ยดิ โบสถ์ ให้แนบหนงั สอื แสดง
- การจดทะเบียน หรืออนุญาตให้สร้าง จัดตั้ง หรือดำเนินงานมูลนิธิ สมาคม วัด มัสยิด

โบสถ์ ด้วย
4. แบบคำขอรับเงินสงเคราะห์และรับรองผู้รับผิดชอบในการจัดการศพผู้สูงอายุตามประเพณี

(คผส.01)
- กรณีผสู้ ูงอายุทม่ี ีคุณสมบัตติ ามเกณฑ์บัตรสวสั ดกิ ารแห่งรฐั แต่ยงั ไม่มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ

หรือยังไม่ได้ลงทะเบียน ให้ผู้อำนวยการเขต หรือนายอำเภอ หรือกำนัน หรือผู้ใหญ่บ้าน
หรือนายกเทศมนตรีหรือนายกองค์การบริหารส่วนตำบล หรือนายกเมืองพัทยา หรือ
ประธานชุมชน เปน็ ผรู้ บั รอง (คผส.02)
- กรณีผู้สูงอายุที่อยู่ในศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ สถานสงเคราะห์ สถาน
ดูแลสถานคุ้มครอง หรือสถานใด 1 ของรัฐหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ดำเนินการ
ในลกั ษณะเดียวกัน ใหห้ ัวหนา้ หน่วยงานเปน็ ผรู้ ับรอง (ศผส.01 และ ศผส.02)

หน้า 20

 สถานท่ยี น่ื คำขอ

ให้ผู้รับผดิ ชอบในการจดั การงานศพผู้สูงอายยุ ่ืนคำขอในท้องที่ทผี่ สู้ ูงอายมุ ชี ือ่ อยใู่ นทะเบียนบ้าน
หรือภูมิลำเนาในขณะถึงแกค่ วามตายดงั ต่อไปน้ี

• จังหวัดอื่น : พมจ. หรือที่ว่าการอำเภอ หรือสำนักงานเทศบาล หรือที่ทำการองค์การบริหาร
สว่ นตำบล หรือศาลาว่าการเมืองพัทยา

• กรงุ เทพฯ : สำนักงานเขต

โดยผยู้ นื่ คำขอตอ้ งย่ืนคำขอ การสนบั สนุนค่าจัดการ
ภายในกำหนด 6 เดือน ศพผสู้ ูงอายตุ าม
ประเพณี เป็นเงนิ
นบั ต้ังแตว่ นั ทอี่ อกใบมรณะบัตร
จำนวน 3,000 บาท

หนา้ 21

เงินสงเคราะห์ผสู้ ูงอายุ : การปรบั สภาพแวดลอ้ มและสิ่งอำนวยความสะดวกฯ

 คุณสมบตั ิ

• มีฐานะยากจน หรอื รายไดไ้ ม่เพียงพอต่อการยังชพี
• ไมไ่ ด้รับการชว่ ยเหลอื จากหนว่ ยงานของรัฐหรือได้รับแต่ไม่เพียงพอ
• ที่อยู่อาศัย ไม่มั่นคง ไม่เหมาะสม หรือไม่ปลอดภัยกับการดำรงชีวิตของผู้สูงอายุ กรณีที่อยู่อาศัย

และ/หรือที่ดินที่เป็นที่ตั้งของที่อยู่อาศัยไม่ได้เป็นของผู้สูงอายุหรือทายาทต้องอาศัยอยู่จริงไม่น้อย
กวา่ หนึง่ ปี และได้รับความยนิ ยอมจากเจา้ ของกรรมสิทธิ์ให้ปรับสภาพแวดลอ้ มท่ีอยู่อาศยั

 สถานท่ยี ่นื คำขอ  เอกสารประกอบการยน่ื คำขอ

• สำนักงานพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์ • บตั รประจำตัวประชาชน
จังหวดั (พมจ.) • ทะเบียนบา้ น
• หนงั สือยนิ ยอมใหป้ รบั ปรุงบา้ น
• ศนู ย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสงั คมผูส้ งู อายุ (ศพส.)
• องค์การบริหารส่วนตำบล
• เทศบาลตำบล เทศบาลเมือง
• เทศบาลนคร เมอื งพทั ยา

 งบประมาณในการปรับปรุง

• ซ่อมแซมบ้านโดยไม่จำเป็นต้องปรับปรุงโครงสร้างรวมท้งั คา่ บริหารจัดการและค่าตอบแทน ในอตั รา
เหมาจา่ ย หลังละไมเ่ กนิ 22,500 บาท โดยถวั จ่ายทุกรายการ

• ซอ่ มแซมบ้านโดยจำเป็นต้องปรบั ปรงุ /เปล่ียนแปลงโครงสร้าง เช่น การย้ายหอ้ งน้ำหรือห้องนอนใหม่
ทำหลังคาใหม่ หรือการเพ่มิ พื้นที่ใชส้ อยทจ่ี ำเปน็ ต่อการใช้ชีวิตของผสู้ งู อายุ รวมทัง้ ค่าบริหารจดั การ
และคา่ ตอบแทน ในอัตราเหมาจา่ ยหลงั ละไมเ่ กิน 40,000 บาท โดยถัวจา่ ยทกุ รายการ

หนา้ 22

เงนิ สงเคราะหผ์ สู้ งู อายุ : การสงเคราะห์ผสู้ ูงอายุในภาวะยากลำบาก

 การขอรับการช่วยเหลือ

• จงั หวัดอื่น : พมจ. 76 จังหวดั ศพ. 11 แหง่ และหนว่ ยงานสงั กัดกระทรวง
การพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์ที่อย่ใู นจงั หวัดนั้น

• กรุงเทพมหานคร : กรมกิจการผู้สูงอายุ กรมกิจการเด็กและเยาวชน
กรมกิจการสตรีและสถาบนั ครอบครวั กรมพฒั นาสังคมและสวัสดิการ

กรมส่งเสริมและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ คนพิการ และศูนย์ช่วยเหลือสงั คม 1300

 หลกั ฐานประกอบการพิจารณา
กรณที ่ี 1 ผู้สูงอายุแจ้งเรอ่ื งเอง
• บัตรประจำตวั ประชาชน/บัตรอืน่ ทีท่ างราชการออกให้
กรณที ่ี 2 บคุ คล/หนว่ ยงานอืน่ ทีพ่ บเห็น
• บัตรประจำตวั ประชาชน/บัตรอน่ื ท่ีทางราชการออกใหข้ องผแู้ จ้งเรอื่ ง
กรณที ี่ 3 กรณีไม่มีหลกั ฐาน
• ให้มีหนังสือรับรองว่าผู้สูงอายุมีถิ่นที่อยู่ในพ้ืนที่นั้นจริงจากนายอำเภอ หรือนายทะเบียน

ท้องถิ่น หรือพนักงานปกครอง หรือกำนัน หรือผู้ใหญ่บ้าน หรือนายกเทศมนตรี หรือนายก
องคก์ ารบริหารส่วนตำบล หรอื ผ้อู ำนวยการเขต หรอื นายกเมอื งพัทยา หรอื ประธานชมุ ชน

 การใหค้ วามช่วยเหลือ
• อาหารและหรอื เครอ่ื งนุง่ ห่ม
• เงิน : ค่าอาหาร ค่าเครื่องนุ่งห่ม ค่ารักษาพยาบาลเบื้องต้น หรือค่าพาหนะเดินทาง

โดยให้พิจารณาช่วยเหลอื ตามความจำเป็นและเหมาะสม

ไม่เกนิ วงเงนิ ครง้ั ละ
3,000 บาท

ไมเ่ กนิ 3 ครัง้ /คน/ปี

หน้า 23

กองทุนผสู้ ูงอายุ : การใหบ้ รกิ ารกู้ยืมเงนิ ทนุ เพื่อประกอบอาชีพ

 ประเภทของการกยู้ ืม
1. รายบคุ คล วงเงนิ ไม่เกินคนละ 30,000 บาท
2. รายกลมุ่ จำนวนไมน่ ้อยกว่า 5 คน วงเงินไม่เกิน 100,000 บาท

การก้ยู มื รายบุคคลและรายกลุ่มต้องชำระคนื เปน็ รายงวดภายในระยะเวลาไมเ่ กิน 3 ปี โดยไม่มีดอกเบีย้

 เอกสารยื่นคำร้อง  คุณสมบตั ิ
ผูก้ ูย้ มื เงนิ ทุนประกอบอาชพี
1. บตั รประจำตวั ประชาชน (ผูก้ ู้ ผคู้ ้ำ) 1. มีอายุ 60 ปีบรบิ รู ณข์ น้ึ ไป
2. ทะเบยี นบ้าน (ผ้กู ู้ ผู้ค้ำ) 2. มีความจำเป็นขอรับการสนับสนุนเงินกู้ยืม
3. หนังสอื รบั รองเงนิ เดอื นผูค้ ำ้ ประกนั
4. ใบสำคัญการสมรส หรอื ใบสำคัญการหยา่ (ถ้า ประกอบอาชีพ
3. มคี วามสามารถในการประกอบอาชีพ
มี) 4. มีสภาพร่างกายแขง็ แรงประกอบอาชีพได้
5. ใบมรณะบัตรกรณคี ่สู มรสเสยี ชวี ิต (ถ้าม)ี 5. มีปจั จยั ในการสนบั สนนุ การประกอบอาชีพ
6. ใบเปลย่ี นช่อื สกลุ (ถา้ มี) 6. มสี ถานทป่ี ระกอบอาชีพอย่จู ังหวดั เดียวกันกับท่ี

กรณีผู้ยื่นคำร้องมีอายุ 80 ปีขึ้นไป ควรมี ยนื่ ขอก้ยู ืม
ใบรับรองแพทย์ และรูปถ่ายเต็มตัวขณะ 7. ไมเ่ ป็นผ้คู า้ งชำระเงินกองทนุ ผู้สงู อายุ
ประกอบอาชีพ ท่านสามารถติดต่อขอรับได้ที่
หน่วยงานที่ให้บริการ หรือสามารถดาวน์โหลด ผคู้ ้ำประกันกู้ยมื เงินทุนประกอบอาชพี
แบบคำรอ้ งได้ท่ี 1. มีอายไุ มเ่ กนิ 59 ปบี รบิ ูรณ์
http://www.olderfund.dop.go.th 2. เปน็ ผูม้ รี ายได้หรอื เงนิ เดือนประจำ
3. มีภูมิลำเนาตามทะเบียนราษฎร์อยู่จังหวัด

เดยี วกบั ผกู้ ู้ยมื
4. ไมอ่ ยูร่ ะหว่างเปน็ ผู้กยู้ ืม
5. ไม่อยู่ระหว่างเป็นผู้ค้ำประกันให้กับบุคคลอื่นท่ี

ขอกู้ยมื

 หนว่ ยงานทใี่ ห้บรกิ าร

1. สว่ นกลาง กองทุนผสู้ ูงอายุ (กรมกจิ การผูส้ ูงอายุ) กรุงเทพมหานคร
โทรศพั ท์ 0 2354 6100 โทรสาร 0 2354 6107 เว็บไซต์ www.olderfund.dop.go.th

2. สว่ นภูมภิ าค สำนกั งานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จงั หวัดทกุ จังหวดั

หน้า 24

 ข้นั ตอนการใหบ้ รกิ าร เย่ียมบ้าน/ วเิ คราะหห์ ลกั เกณฑ์
ยน่ื คำร้องขอกู้ยืม หาขอ้ เท็จจริง
แจ้งผลพจิ ารณา เสนอคณะอนุกรรมการ
เสนอคณะกรรมการ กล่นั กรองฯ
ทำสญั ญา/เบิกจา่ ยเงนิ บรหิ ารกองทุน
ผู้สงู อายุ

ชำระเงนิ กองทนุ

 ช่องทางการชำระเงนิ กู้

1. ชำระเงนิ ดว้ ยตนเอง ณ สำนกั งานพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์ 76 จังหวดั ในสว่ นภูมภิ าค
และสว่ นกลาง ชำระเงนิ ณ กองบรหิ ารกองทนุ ผู้สูงอายุ

2. ชำระผา่ นไปรษณยี ธ์ นาณตั ิ
3. โอนเงินผา่ นบัญชีธนาคารกรงุ ไทย ชอ่ื บญั ชกี องทุนผูส้ งู อายุ (เพ่ือรบั เงินคนื )
4. ชำระผา่ นเคาน์เตอรเ์ ซอรว์ ิส หรอื รา้ นสะดวกซื้อ เซเว่น อีเลฟเวน่ ทกุ สาขา

หน้า 25

การส่งเขา้ อปุ การะในสถานสงเคราะห์

 หลักเกณฑ/์ คณุ สมบัติ

• ผู้สูงอายุ สัญชาติไทย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีความสมัครใจ ประสบปัญหาความเดือดร้อน เช่น
ขาดผ้อู ปุ การะเลีย้ งดู ไมส่ ามารถประกอบอาชีพได้ ไม่มีทีอ่ ยอู่ าศัย มฐี านะยากจน

• ไม่เป็นโรคเรื้อรงั หรอื โรคตดิ ตอ่ ร้ายแรง
• ไมพ่ ิการทุพพลภาพ หรือจิตฟนั่ เฟอื นไม่สมประกอบ
• ไมอ่ ยรู่ ะหวา่ งการดำเนินคดอี าญา
• สามารถชว่ ยเหลอื ตนเองได้ในกิจวตั รประจำวัน

 การใหค้ วามช่วยเหลือ

• ส่งเขา้ รับการอปุ การะในศนู ยพ์ ัฒนาการจดั สวัสดกิ ารสังคมผสู้ ูงอายุ

จัดต้งั /ส่งเสรมิ การจดั กจิ กรรมในศนู ย์พฒั นาคุณภาพชวี ิตและสง่ เสรมิ อาชีพ
ผู้สงู อายุ (ศพอส.)

 หลักเกณฑ/์ คณุ สมบัติ
• จดั ตัง้ เพ่อื เปน็ ศนู ยส์ ง่ เสรมิ การผลิต จำหนา่ ยผลิตภัณฑ์ และการถ่ายทอดภมู ปิ ญั ญาผสู้ งู อายุในชมุ ชน
• เป็นศูนยร์ วมในการจดั กจิ กรรมตา่ ง ๆ เพอ่ื ส่งเสรมิ การดแู ลและการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ผสู้ งู อายุ

 การให้ความช่วยเหลือ
• ผู้สงู อายมุ ีคณุ ภาพชวี ติ ท่ีดีท้งั กาย และจิตใจ
• ผสู้ งู อายุไดม้ ีโอกาสแลกเปลี่ยนประสบการณใ์ นการเรียนร้เู ร่ืองท่ีตอบสนอง

ความต้องการของตนเองหรอื มคี วามสำคัญต่อการดำเนนิ ชีวติ
• ผสู้ ูงอายุได้รวมกล่มุ ทำกิจกรรมของชมรมผ้สู งู อายุที่เป็นประโยชนต์ ่อตนเอง

ชุมชน และสังคม
• ผู้สูงอายุได้รับการฝึกอาชีพ และสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบ

อาชีพ เพิม่ รายไดใ้ ห้กับตนเองและครอบครวั


หนา้ 26

❖ กรมกิจการเด็กและเยาวชน

วสิ ยั ทัศน์
เด็กและเยาวชนมคี วามเป็นพลเมือง เก่ง ดี มสี ขุ และสรา้ งสรรค์

ค่านิยม
มองไกล กา้ วทนั มคี วามเชี่ยวชาญ จิตมุง่ บริการ ยดึ มนั่ คุณธรรม เน้นการมสี ่วนร่วม

พนั ธกิจ
1. พฒั นานโยบายและมาตรการดา้ นเด็กและเยาวชนในเชงิ รกุ
2. สง่ เสรมิ สนับสนุน และพฒั นาเสริมสร้างทักษะชีวิตเด็กและเยาวชนท่จี ำเปน็ ในการดำรงชีวติ ตามชว่ งวัย
3. พฒั นาและเชื่อมโยงระบบคุ้มครองเด็กและเยาวชนให้ครอบคลมุ ทว่ั ประเทศ
4. พัฒนาระบบสวัสดกิ ารเด็กและเยาวชนท่ีเหมาะสมกบั บรบิ ทของประเทศไทย
5. การบรู ณาการภาคีเครือขา่ ยเพ่ือแก้ไขปญั หาเชิงประเดน็ (Agenda Base)
6. พฒั นาบคุ ลากร และระบบบริหารองค์กรใหม้ ีสมรรถนะสงู
การใหค้ วามช่วยเหลือ
1. เงนิ อดุ หนุนเพือ่ การเลี้ยงดูเด็กแรกเกดิ
2. กองทุนคุ้มครองเด็ก
3. เงนิ สงเคราะห์เดก็ ในครอบครัวยากจน
4. การค้มุ ครองสวสั ดภิ าพเบ้ืองต้น
5. จดั หาครอบครวั ทดแทน
6. การรบั เดก็ เป็นบุตรบญุ ธรรม

หนา้ 27

เงินอุดหนุนเพ่อื การเลยี้ งดเู ด็กแรกเกดิ

 คุณสมบัติ

1. ผู้ปกครอง มีสัญชาติไทย เป็นบุคคลที่รับเด็กแรกเกิดไว้ในความอุปการะเด็กแรกเกิดต้องอาศัย
รวมอยูด่ ว้ ย

2. เด็กแรกเกิด มีสัญชาติไทย เกิดตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 58 เป็นต้นไป จนมีอายุครบ 6 ปี อยู่ใน
ครัวเรือนที่มีรายได้น้อย สมาชิกครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ยไม่เกิน 100,000 บาท ต่อคน ต่อปี
ไม่อยู่ในสถานสงเคราะห์ของหนว่ ยงานของรฐั หรือเอกชน

• "เด็กแรกเกิด" หมายถึง เด็กท่ีมสี ญั ชาติไทยและเกดิ ต้งั แต่ วนั ท่ี 1 ตุลาคม 2558 เป็นต้นไปจนอายุครบ
6 ปี มีสัญชาติไทย อาศัยอยู่กับผู้ปกครองในครัวเรือนที่มีรายได้น้อย และไม่อยู่ในสถานสงเคราะห์ของ
หนว่ ยงานของรฐั หรือเอกชน

• "ผู้ปกครอง" หมายถึง บิดา มารดา หรือบุคคลอื่น ที่มีสัญชาติไทยอาศัยอยู่ในครัวเรือนที่มีรายได้น้อย
และเปน็ ผู้เลีย้ งดเู ดก็ แรกเกิดโดยเด็กแรกเกิดพกั อาศยั รวมอยดู่ ้วย

• "ครวั เรือนทม่ี รี ายไดน้ ้อย" หมายถงึ ครวั เรอื นท่ีสมาชกิ มรี ายได้เฉลย่ี ไมเ่ กิน 100,000 บาท ตอ่ คน ต่อปี
โดยสมาชิกตอ้ งมีความสัมพนั ธ์ทางเครอื ญาติหรอื การสมรส หรืออยูก่ นิ ด้วยกันฉนั สามีภริยา หรอื ด้วยเหตุ
อื่นตามกฎหมาย และสมาชิกต้องอาศัยอยูจ่ ริงในครัวเรือนติดต่อกันมาไม่น้อยกวา่ 180 วัน ในรอบปีที่
ผ่านมา แต่ไมน่ ับรวมลกู จา้ งของครวั เรือน

 ผู้มีสทิ ธไิ ดร้ บั เงนิ อดุ หนนุ
1. เด็กที่รับสิทธิรายเดือนในปีงบประมาณ 2559 - 2561 ได้รับเงินต่อเนื่อง จนมีอายุครบ 6 ปี

โดยไมต่ ้องลงทะเบยี นใหม่
2. เด็กที่เกิดตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2558 ที่มีคุณสมบัติและไม่เคยได้รับสิทธิมาก่อน ต้องมาลงทะเบียนท่ี

องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ และจะได้รบั สิทธินบั ตง้ั แตว่ ันท่ีลงทะเบยี นจนมีอายุครบ 6 ปี
3. เด็กที่เกิดตั้งแต่ปังบประมาณ 2562 (1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562) และได้มายื่น

ขอรับสิทธิภายในวันที่ 30 กันยายน 2562 มีสิทธิได้รับเงินเดือนละ 600 บาท นับตั้งแต่เดือนท่ี
เดก็ เกดิ จนมอี ายุครบ 6 ปี แต่หากไม่มาลงทะเบียนภายในกำหนด ให้ได้รบั เงนิ นับตั้งแต่เดือนที่มา
ย่นื ขอรบั สิทธิ จนมีอายุครบ 6 ปี
4. เด็กแรกเกิดที่เกิดตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 เป็นต้นไป ให้ได้รับเงินเดือนละ 600 บาท นับตั้งแต่
เดือนที่ยนื่ ขอรับสทิ ธิ จนมีอายุครบ 6 ปี

 สถานทรี่ บั ลงทะเบยี น

• กรงุ เทพมหานคร ณ สำนักงานเขต
• เมอื งพัทยา ณ ศาลาว่าการเมืองพัทยา
• สว่ นภมู ิภาค ณ ท่ที ำการองค์การบรหิ ารส่วนตำบล หรอื เทศบาล

หนา้ 28

 เอกสารหลกั ฐานประกอบการลงทะเบียน
1. แบบคำรอ้ งขอลงทะเบยี น (ตร.01)
2. แบบรบั รองสถานะของครัวเรอื น (ตร.02)
3. บตั รประจำตวั ประชาชนของผู้ปกครอง
4. สตู ิบตั รเด็กแรกเกดิ
5. สมุดบัญชีเงินฝากของผู้ปกครอง (บัญชีรนาคารกรุงไทย ธนาคารออมสิน หรือธนาคาร

เพื่อการเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร อยา่ งใดอย่างหน่ึงเทา่ นั้น)
6. สมดุ บนั ทึกสุขภาพแม่และเดก็ (เฉพาะหน้าที่ 1 ทม่ี ชี อ่ื ของหญงิ ต้งั ครรภ์)
7. กรณีที่ผู้ยื่นคำร้องขอลงทะเบียนและสมาชิกในครัวเรือนของผู้ยื่นคำร้องขอลงทะเบียน

เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐพนักงานรัฐวิสาหกิจ หรือพนักงานบริษัท ต้องมีเอกสารใบรับรองเงินเดือน
หรือหนังสอื รับรองรายไดข้ องทกุ คนท่ีมีรายได้ประจำ
8. สำเนาเอกสาร หรอื บตั รขา้ ราชการ เจ้าหนา้ ท่ีของรัฐ บตั รแสดงสถานะหรอื ตำแหนง่ หรือเอกสาร
อนื่ ใดทแี่ สดงตนของผรู้ ับรองคนท่ี 1 และผู้รับรองคนท่ี 2

กรณีที่สมาชิกทุกคนในครัวเรือนทีม่ ีอายุเกิน 18 ปีขึ้นไปมีบัตรสวัสดิการแหง่ รัฐ ไม่ต้อง
รับรองสถานะของครวั เรอื น

 การรบั เงิน
โอนเงนิ เขา้ บัญชเี งินฝากของผู้ปกครองบญั ชีออม

ทรัพยธ์ นาคารกรุงไทย บัญชเี งินฝากเผื่อเรียกธนาคารออม
สนิ หรอื บญั ชีเงินฝากออมทรัพย์ธนาคารเพือ่ การเกษตร
และสหกรณ์การเกษตร

หน้า 29

กองทนุ คุ้มครองเด็ก

 กลมุ่ เปา้ หมายที่จะได้รบั การสนบั สนุนจากกองทนุ
1. เด็ก (อายตุ ำ่ กวา่ 18 ปบี รบิ รู ณ์)

• เด็กที่พึงได้รับการสงเคราะห์ (ม.32) เช่น เด็กเร่ร่อน เด็กที่ถูกทอดทิ้ง เด็กที่ผู้ปกครอง
ไม่สามารถเลีย้ งดูได้ หรือประกอบอาชีพไม่เหมาะสม หรือเด็กที่ถูกบังคับใช้เป็นเครื่องมือใน
การแสวงหาประโยชน์ เดก็ พกิ าร

• เดก็ ทพี่ งึ ได้รบั การค้มุ ครองสวสั ดภิ าพ (ม.40) เชน่ เด็กที่ถูกทารุณกรรม
• เด็กท่ีเส่ยี งต่อการกระทำผดิ เดก็ ทีต่ ้องได้รบั

การคุม้ ครองนักเรยี น นกั ศึกษาท่ีพงึ ได้รบั
การส่งเสริมความประพฤติเหมาะสม
2. ครอบครวั , ครอบครัวอุปถมั ภ์ หรอื บคุ คลทอ่ี ปุ การะเลีย้ งดูเด็ก
3. องคก์ รท่ีทำงานต้านเด็ก ไดแ้ ก่ หนว่ ยงานภาครัฐ และองคก์ รภาคเอกชน

 การช่วยเหลือและสนับสนุน

1. รายบุคคล ได้แค่ การชว่ ยเหลอื เด็ก ครอบครวั ครอบครัวอุปถัมภ์ ทไี่ ด้รบั ความเดือดรอ้ นและไมไ่ ดร้ ับ
ความชว่ ยเหลือจากแหล่งอ่ืน หรือไดร้ บั แตไ่ มเ่ พียงพอ

2. รายโครงการ ไดแ้ ก่ การสนับสนนุ งบประมาณใหห้ นว่ ยงานภาครัฐ และองคก์ รภาคเอกชนที่ดำเนนิ งาน
ด้านเดก็

 ประเภทการขอรับการสนับสนนุ

1. รายบุคคล ได้แก่ ค่าเลี้ยงดู ค่าพาหนะ คำใช้จ่ายทางการศึกษา ทุนประกอบอาชีพ ครอบครัว
คา่ รกั ษาพยาบาลกายอปุ กรณ์ สงเคราะหค์ รอบครัว รวมทัง้ คา่ ใช้จ่ายตามคำสง่ั ศาล

2. รายโครงการ ได้แก่ ลักษณะโครงการประเภทส่งเสริมการเลี้ยงดูบุตรตามมาตรฐานข้ันต่ำ โครงการ
เก่ียวกับการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก โครงการเกี่ยวกับการส่งสริมความประพฤติแก่เด็ก รวมท้ัง
การส่งเสริมความเขม้ แขง็ ให้องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ สรา้ งระบบคุ้มครองเด็กในชมุ ชน

 การย่นื ขอรบั การสนับสนนุ  สถานทขี่ อบรจิ าคสมทบเข้ากองทนุ

• เขตกรงุ เทพมหานคร ย่นื ทสี่ ำนักพัฒนา • ส่วนกลาง สำนักพัฒนาสงั คมกรงุ เทพมหานคร
สังคม กรุงเทพมหานคร กองคุ้มครองเด็กและเยาวชน กรมกิจการเด็กและ
เยาวชน
• สว่ นภมู ิภาค ย่ืนที่สำนกั งานพัฒนาสงั คม
และความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวัด • ส่วนภมู ภิ าค สำนกั งานพัฒนาสงั คมและความ
มั่นคงของมนุษย์จังหวดั

หนา้ 30

เงนิ สงเคราะหเ์ ด็กในครอบครวั ยากจน

 หลักเกณฑ์/คุณสมบตั ิ
• เด็กอายไุ ม่เกิน 18 ปี
• เด็กในครอบครัวยากจนขาดแคลนไม่สามารถเล้ยี งดูเดก็ ได้
• เด็กซึ่งพ่อแม่หรือเฉพาะพ่อหรือแม่ หรือผู้ปกครองประสบภาวะอย่างใดอย่างหนึ่งทำให้ไม่สามารถ

ประกอบอาชพี เล้ียงดคู รอบครัวได้ เช่น เจ็บปว่ ย พกิ าร ตอ้ งโทษ ฯลฯ

 การใหค้ วามช่วยเหลือ
• 1,000 บาท/คร้งั ในครอบครวั ท่มี ีเด็ก 1 คน
• ไมเ่ กิน 3,000 บาท/ครง้ั ในกรณีครอบครวั ท่ีมเี ดก็ มากกวา่ 1 คน

การค้มุ ครองสวสั ดภิ าพเบื้องต้น

 หลักเกณฑ/์ คุณสมบัติ

• เดก็ ทถี่ กู ทารุณกรรม
• เดก็ ทเี่ สี่ยงต่อการกระทำผิด
• เด็กที่อยู่ในสภาพท่จี ำต้องได้รบั การค้มุ ครองสวสั ดภิ าพตามที่กำหนดในกฎกระทรวง

 การใหค้ วามช่วยเหลือ

• ส่งเข้าบ้านพักเด็กและครอบครวั เพือ่ ชว่ ยเหลอื ตามกระบวนการ

หน้า 31

การจัดหาครอบครัวทดแทน

 หลักเกณฑ/์ คุณสมบตั ิ
1. กรณีครอบครัวอุปถัมภ์
• ช่วยเหลือครอบครัวผู้เลี้ยงดูเด็กกำพร้า ถูกทอดทิ้ง ไม่สามารถอาศัยอยู่กับบิดา มารดา
ได้เล้ยี งดูเด็กต้ังแตแ่ รกเกดิ ถงึ 18 ปี บริบรู ณ์
• ช่วยเหลือเป็นคา่ ใชจ้ า่ ยในการเลย้ี งดู เดือนละ 2,000 บาท/ครอบครวั /เดก็ 1 คน
2. กรณคี รอบครวั บุญธรรม
• ครอบครัวที่รับเด็กไปดูแลถาวร เพราะต้องการลูก แต่ไม่สารมารถมีลูกได้ มีการประเมิน
ครอบครวั สภาพแวดลอ้ ม
1) บุคคลทีข่ อรบั ต้องอายไุ ม่ตำ่ กว่า 20 ปี อายุมากกวา่ ผู้จะเป็นบุตรบุญธรรมอย่างนอ้ ย 15 ปี
2) ถ้าบตุ รบุญธรรมยังเป็นผ้เู ยาวอ์ ายไุ ม่เกิน 20 ปี ต้องไดร้ บั ความยนิ ยอมจากบิดา มารดา
3) ถา้ ผูเ้ ยาวอ์ ายไุ มถ่ ึง 15 ปี บรบิ รู ณ์ ตอ้ งรับการยนิ ยอมดว้ ย
4) ถา้ ไม่มีผู้มีอำนาจให้ความยินยอมต้องให้ศาลมีอำนาจอนุญาตแทน

 เอกสาร/หลักฐาน
1. บตั รประจำตวั ประชาชน/บัตรประจำตวั ขา้ ราชการหรือพนักงานองคก์ ารของรัฐ (ฉบับจริงและสำเนา)

1 ฉบบั
2. ทะเบียนบา้ น (ฉบับจริงและสำเนา) 1 ฉบบั
3. ทะเบียนสมรส (ฉบับจริงและสำเนา) 1 ฉบับ
4. ใบสำคญั การเปลี่ยนชื่อ (ฉบับจริงและสำเนา) 2 ฉบับ
5. สตู บิ ตั ร (ฉบับจริงและสำเนา) 2 ฉบบั
6. รูปถา่ ย ๑ น้วิ หรอื ๒ นวิ้ ของผอู้ ปุ การะและเดก็
7. แผนที่บา้ น 1 ฉบบั

 การใหค้ วามช่วยเหลือ
• นำเข้าทป่ี ระชุมคณะอนกุ รรมการรบั เดก็ เป็นบุตรบญุ ธรรม และพจิ ารณาอนุมตั ิ

หน้า 32

การรบั เด็กเป็นบตุ รบุญธรรม

 หลกั เกณฑ์/คุณสมบัติ

1. บคุ คลท่ีขอรับตอ้ งอายุไมต่ ำ่ กวา่ 20 ปี อายมุ ากกวา่ ผู้จะเป็นบุตรบญุ ธรรมอย่างน้อย 15 ปี
2. ถา้ บุตรบญุ ธรรมยังเป็นผเู้ ยาว์อายุไม่เกนิ 20 ปี ต้องไดร้ ับความยินยอมจากบิดา มารดา
3. ถา้ ผู้เยาวอ์ ายไุ ม่ถงึ 15 ปี บรบิ ูรณ์ ตอ้ งรบั การยินยอมดว้ ย
4. ถ้าไมม่ ีผ้มู ีอำนาจให้ความยินยอมตอ้ งให้ศาลมีอำนาจอนุญาตแทน

 เอกสาร/หลกั ฐาน
ผ้ยู ่นื คำขอรบั เด็ก
๑. สำเนาบตั รประจำตวั ประชาชน จำนวน 2 ชุด
๒. หลกั ฐานการเปล่ียนชอ่ื – สกุล (ถ้ามี)
๓. สำเนาทะเบียนบ้าน จำนวน 2 ชดุ
๔. ทะเบยี นสมรส / ทะเบียนหย่า / มรณบตั ร ของค่สู มรส จำนวน 2 ฉบบั
๕. ใบรบั รองแพทย์ฉบบั จริงพร้อมสำเนา จำนวน 1 ฉบับ (กรณีทไ่ี มส่ ามารถมบี ุตรได้ จะต้องระบสุ าเหตุ

ของการไมม่ ีบตุ รด้วย)
๖. รปู ถา่ ย 2 นว้ิ จำนวน 2 รูป
เดก็ ทีจ่ ะเปน็ บุตรบญุ ธรรม
๑. สำเนาสูติบตั ร จำนวน 2 ชุด
๒. หลักฐานการเปล่ยี นชอ่ื – สกุล ( ถ้ามี)
๓. สำเนาทะเบียนบา้ นที่มชี ื่อเดก็ จำนวน 2 ชดุ
๔. รปู ถา่ ย 2 นิว้ จำนวน 2 รูป
๕. สำเนาบตั รประจำตวั ประชาชน ( กรณีทีม่ ีอายุ 15 ปีขึ้นไป) จำนวน 2 ฉบับ
ใหน้ ำผู้รบั รองมาดว้ ยอย่างน้อย 1 คน

 ข้นั ตอนการให้บริการ
๑. ตรวจสอบคุณสมบตั ิและความถูกต้องของเอกสาร
๒. เย่ยี มบา้ น สอบข้อเท็จจริง
๓. ส่งคำขอพร้อมรายงานสอบสภาพครอบครัว และเอกสารประกอบการพิจารณาเสนอต่อผู้ว่าราชการ

จงั หวดั
๔. จังหวัดพิจารณารายละเอียด ตรวจสอบความถูกต้องและสรุปความเห็นต่อผู้ว่าราชการจังหวัด

เพ่อื อนุมัติ และมคี ำสั่งให้ผ้ขู อรับเด็ก ทำการทดลองเลี้ยงดเู ด็กตามกฎหมาย ( ไมน่ ้อยกวา่ 6 เดือน)
๕. เยี่ยมดูเด็กและครอบครัว เพื่อติดตามผลการทดลองเลี้ยงดู และทำรายงานเสนอผู้ว่าราชการจังหวัด

ทุก 2 เดือน ต่อ 1 คร้งั พรอ้ มแนบภาพถา่ ยเดก็ กบั ครอบครัวด้วย

หน้า 33

 ขั้นตอนการใหบ้ รกิ าร (ต่อ)
๖. จังหวดั พิจารณารายงานผลการทดลองเล้ียงดู แลว้ เสนอผ้วู ่าราชการจังหวัด เพือ่ ใหค้ วามเห็นชอบก่อน

เสนอคณะอนุกรรมการ การรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมประจำจังหวัด พิจารณาให้จดทะเบียนรับเด็ก
เปน็ บตุ รบญุ ธรรม
๗. จังหวัดแจ้งผู้ขอรับเด็กและประสานแจ้งอำเภอท้องที่ ที่ให้ดำเนินการจดทะเบียนให้กับผู้ขอรับเด็ก
ภายในกำหนด 6 เดือน โดยตรวจสอบว่า ได้มีการจดทะเบียนครบถ้วน ถูกต้อง ตามมติของ
คณะอนุกรรมการฯ
๘. คัดสำเนาทะเบยี นรับบุตรบญุ ธรรมเพอ่ื เกบ็ ไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน 1 ชดุ และสง่ จังหวัด 1 ชุด
๙. ให้ผขู้ อรบั เดก็ ดำเนินการย่นื คำร้องต่ออำเภอท้องท่ี เพือ่ ขอเปล่ยี นชือ่ สกลุ ของเด็กเปน็ ช่ือสกลุ ของบิดา
มารดาบญุ ธรรม

หน้า 34

❖ กรมกจิ การสตรแี ละครอบครัว

วิสัยทศั น์
"สตรแี ละครอบครวั ม่ันคง สงั คมเสมอภาค"

คา่ นิยม
"มืออาชีพ จริยธรรม ภาวะผนู้ ำ ทำงานเปน็ ทีม"

พันธกจิ
1. พฒั นาศักยภาพสตรี สง่ เสรมิ ความเสมอภาคและความเทา่ เทียมระหว่างเพศ
2. คมุ้ ครองพิทกั ษ์สิทธสิ ตรี ผู้แสดงออกท่ีแตกต่างจากเพศโดยกําเนิด และบุคคลในครอบครัว
3. ค้มุ ครองและพัฒนาอาชีพผู้ประสบปัญหาจากการคา้ ประเวณี
4. สง่ เสริม พัฒนา สร้างความเข้มแขง็ ให้แก่สถาบนั ครอบครวั คุม้ ครองสวัสดิภาพบุคคลในครอบครัว
5. ปอ้ งกนั แก้ไข คุ้มครอง พิทักษ์สทิ ธแิ ละจัดสวัสดิการสงั คม
6. เปน็ ศูนย์กลางข้อมูลด้านความเสมอภาคระหวา่ งเพศและด้านครอบครวั
การให้ความช่วยเหลือ
1. เงินอุดหนุนพฒั นาสตรี
2. การคุ้มครองสวสั ดิภาพผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว
3. การส่งเสรมิ การจัดกิจกรรมของศูนยพ์ ฒั นาครอบครัวในชุมชน
4. การสง่ ฝึกอาชีพ

หนา้ 35

เงินอดุ หนุนพัฒนาสตรี

 โครงการทีส่ ามารถขอรบั เงนิ อดุ หนนุ ได้
1. เป็นโครงการท่ีมีประโยชน์ต่อสตรี ผู้ที่ได้รบั ผลกระทบจากการค้าประเวณีหรือจากครอบครวั ซึ่งอยู่ใน

สภาวะยากลำบากหรอื จำเปน็ ตอ้ งไดร้ บั ความชว่ ยเหลือ
2. เป็นโครงการที่เกี่ยวกับการสง่ เสริม คุ้มครอง ป้องกัน แก้ไขปัญหาบำบัดฟื้นฟู และพัฒนาศักยภาพ

สตรีหรือครอบครัว รวมทั้งส่งเสริมความเสมอภาคทางเพศ สนับสนุนผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการค้า
ประเวณแี ละสร้างความเขม้ เขง็ ในสภาบันครอบครวั
3. เป็นโครงการที่มีการจัดทำแผนงาน รวบรวมข้อมูลหรือศึกษาวิจัย ด้านการพัฒนาสตรี ครอบครัว
หรือดา้ นการคา้ ประเวณี
4. เป็นโครงการที่รณรงค์ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์งาน กิจกรรม หรือองค์ความรู้ด้านการส่งเสริมและ
พัฒนาสตรี ครอบครัว รวมทง้ั ดา้ นการปอ้ งกันแก้ไขปัญหาการคา้ ประเวณี
5. เป็นโครงการท่ีพัฒนากลไกความร่วมมือและการประสานงาน ระหว่างกลุ่มสตรี ชมรมสตรี องค์กร
เอกชน มูลนริ ิ สมาคม ศนู ย์พฒั นาครอบครวั ในชุมชนหรือหนว่ ยงานของรฐั เพือ่ ดำเนินกจิ กรรมด้านการ
ส่งเสริม พัฒนาสตรแี ละครอบครัว
6. โครงการอ่ืนดา้ นการส่งเสรมิ พัฒนาสตรแี ละครอบครวั ตามทค่ี ณะกรรมการพจิ ารณา

 ตอ้ งไดร้ ับรองจากหนว่ ยงานหรือองคก์ ร
1. สำนกั งานพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์จังหวัด
2. หนว่ ยงานของรัฐ ทีต่ ั้งอยใู่ นจงั หวัดเดียวกันกบั ผ้ขู อรบั เงนิ อุดหนนุ
3. ศูนยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรีและครอบครัว ท่ีผขู้ อรบั เงนิ อุดหนนุ มีภมู ิลำเนาอยูใ่ นเขตพ้ืนที่รับผิดชอบของ

ศนู ยฯ์ น้ัน
4. สถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพที่ตั้งอยู่ในจังหวัดเดียวกันกับผู้ขอรับเงินอุดหนุน โดยหัวหน้าส่วน

ราชการน้นั ๆ เปน็ ผลู้ งชือ่ รบั รองในหนา้ สุดทา้ ยของแบบขอรบั เงนิ อดุ หนุน (แบบ สค. 01)

 ผทู้ ่ีมีสิทธิข์ อรับเงินอดุ หนุน
1. กลมุ่ /ชมรมสตรี มสี มาชิกหญิงอย่างน้อย 5 คน
2. องค์กรเอกชน ไมแ่ สวงหากำไรในการดำเนินกจิ การ
3. หนว่ ยงานของรฐั ไม่ต่ำกวา่ ระดับของกองหรอื เทยี บเท่า
4. มูลนิธหิ รอื สมาคม มีการจดทะเบียนจดั ตั้งและมฐี านะเป็นนิติบุคคล
5. ศูนยพ์ ฒั นาครอบครัวในชุมชนมกี ารบริหารจดั การและดำเนนิ การในรปู แบบของคณะบุคคล

หนา้ 36

 กรอบวงเงินคา่ ใชจ้ า่ ย
1. โครงการขนาดเลก็ หมายถงึ โครงการทีข่ อรบั เงินอุดหนุนในวงเงนิ คา่ ใช้จา่ ยไมเ่ กนิ ห้าหมนื่ บาท
2. โครงการขนาดกลาง หมายถึง โครงการที่ขอรับเงินอุดหนุนในวงเงินคำใช้จ่ายเกินหมื่นบาท แต่ไม่เกิน

หน่งึ แสนบาท
3. โครงการขนาดใหญ่ หมายถึง โครงการที่พอรับเงินอุดหนุนใน วงเงินค่าใช้จ่ายเกินหนึ่งแสนบาทแต่ไม่

เกินหน่ึงแสนห้าหมื่นบาท
 ขัน้ ตอนการขอรบั เงนิ อดุ หนุนผา่ นสว่ นกลาง
1. ผู้ขอรับเงินอุดหนุน ยื่นแบบขอรับเงินอุดหนุน แบบ สค.01 ด้วยตนเองหรือทางไปรษณีย์ลงทะเบยี น

ตอบรับมายังกรมกิจการสตรแี ละสถามันครอบครวั
2. ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการฯ ตรวจสอบและประเบินความถูกต้อง ตาม

ระเบยี บกรมฯ ว่าดว้ ยเงนิ อดุ หนนุ พ.ศ. 2563 และทแ่ี กไ้ ขเพิม่ เติม
3. จัดประชุมคณะอนกุ รรมการกล่ันกรองโครงการฯ เพอื่ พิจารณาแบบขอรับเงนิ อดุ หนุน แบบ สค. 01
4. จดั ประชมุ คณะกรรมการพิจารณาเงนิ อุดหนนุ สค. เพือ่ ขอความเห็นชอบโครงการท่ขี อรับเงินอุดหนุน
5. แจง้ ผลการพิจารณาโครงการฯ ไปยงั ผขู้ อรบั เงินอดุ หนุนพรอ้ มนัดหมายวนั ทำสญั ญารับเงินอดุ หนุน

หนา้ 37

การคมุ้ ครองสวสั ดิภาพผ้ถู กู กระทำดว้ ยความรุนแรงในครอบครวั

 การกระทำความรนุ แรงในครอบครวั คอื อะไร
การกระทำท่จี ะถือว่าเป็นการกระทำความรนุ แรงในครอบครัว คือ การกระทำทเี่ ข้ากรณีใดกรณีหนงึ่ ไดแ้ ก่
• การกระทำใดทีม่ จี ุดประสงค์ท่ีเปน็ อนั ตรายต่อรา่ งกาย จิตใจ หรอื สุขภาพของบุคคลในครอบครัว
• การกระทำที่มเี จตนาที่อาจเป็นอนั ตรายต่อร่างกาย จิตใจ หรอื สขุ ภาพของบุคคลในครอบครัว
• การใช้อำนาจบังคับใหบ้ ุคคลในครอบครวั อยา่ งผิดทำนองคลองธรรม
บุคคลในครอบครัวที่อยใู่ นข่ายได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายฉบบั นี้ ได้แก่
• คูส่ มรส คสู่ มรสเดิม ผูท้ อ่ี ยู่กนิ หรอื เคยอยกู่ นิ ฉนั สามีภรรยาโดยมไิ ดจ้ ดทะเบียนสมรส บตุ ร บุตรบญุ ธรรม

สมาชิกในครอบครัว รวมทงั้ บุคคลใดๆ ที่ตอ้ งพงึ่ ผาอาศัยและอยู่ในครัวเรือนเดยี วกัน

 โทษทจี่ ะไดร้ บั
• หากผใู้ ดกระทำความรุนแรงในครอบครัวต้องระวางโทษจำคกุ ไมเ่ กิน 6 เดือน หรือปรับไมเ่ กิน ๖,000

บาท หรอื ทั้งจำทั้งปรับ

 กรณที พ่ี บเห็นการกระทำความรุนแรง
• บคุ คลที่พบเหน็ หรอื ทราบการกระทำดังกล่าวมีหนา้ ทแ่ี จง้ ต่อพนักงานเจา้ หนา้ ที่ เพื่อดำเนนิ การต่อไป ซ่งึ

อาจแจ้งโดยวาจา เป็นหนังสือ ทางโทรศัพท์ วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด ในการน้ี
กฎหมาย ได้บัญญัติคุ้มครองผู้ที่แจ้งซึ่งกระทำโดยสุจริตไว้ว่าให้ได้รับความคุ้มครองและไม่ต้อง
รบั ผดิ ชอบทั้งทางแพง่ ทางอาญา และทางปกครอง

 สทิ ธิของผถู้ กู กระทำดว้ ยความรุนแรงในครอบครวั
กฎหมายได้กำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการในการคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงใน
ครอบครัวในข้ันตอนตา่ ง ๆ ไว้ ซึ่งทำใหผ้ ้ถู ูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครวั มสี ทิ ธิต่าง ๆ ดังนี้
1. สิทธิในการได้รับบริการตรวจรักษาและให้คำปรึกษาผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัวมีสิทธ์ิ
ขอให้พนักงานเจ้าหน้าที่จัดให้ตนได้ข้ารับการตรวจรักษาจากแพทย์ และขอรับคำปรึกษาแนะนำจาก
จติ แพทย์ นักจิตวทิ ยา หรือนักสงั คมสงเคราะห์ รวมท้งั ทีพ่ ักทีเ่ หมาะสมและปลอดภยั
2. สิทธิในการร้องทุกข์ดำเนินคดีเพื่อดำเนินคดีต่อผู้กระทำผดิ ฐานกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัวใน
กรณีผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัวประสงค์จะดำเนินคดีกับผู้กระทำผิดให้ร้องทุกข์ตาม
ประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญาแต่ถ้าไม่อยู่ในวสิ ัย หรอื มีไอกาสที่จะร้องทุกข์ไดด้ ว้ ยตนเอง ให้
แจ้งพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อร้องทุกข์แทนโดยตอ้ งแจ้งหรือรอ้ งทุกข์ภายใน ๓ เดือน มิเช่นนั้นคดีเปน็ อัน
ขาดอายคุ วาม

หนา้ 38

 สิทธิของผูถ้ กู กระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว (ต่อ)
3. สิทธิ์ในการร้องขอรับการคุ้มครองสวัสดิภาพในกรณีที่ผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว

ไม่ประสงค์จะดำเนินคดกี ับผกู้ ระทำผดิ แตย่ งั พบว่ามีความเสย่ี งจะถกู กระทำซ้ำ สามารถรอ้ งขอคุ้มครอง
สวัสดิภาพตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัว และวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว
พ.ศ.๒๕๕๓
4. สิทธใิ นการดำเนนิ คดตี ่อผู้กระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว ในกรณีทผ่ี ้ถู กู กระทำด้วยความรุนแรงใน
ครอบครัวมีความประสงค์จะดำเนินคดีต่อผู้กระทำผิด ต้องร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวนภายใน
๓ เดอื นนับจากผถู้ กู กระทำอยใู่ นวิสยั และโอกาสทีจ่ ะรอ้ งทกุ ขไ์ ด้
5. สิทธิในการมีจิตแพทย์ นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์หรือบุคคลที่ตนร้องขอร่วมอยู่ด้วยในขณะ
สอบปากคำเพือ่ ใหค้ ำปรกึ ษา
6. สิทธิในการขอต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ในการออกคำสั่งกำหนดมาตรการหรือวิธีการเพื่อบรรเทาทุกข์
เบอื้ งตน้ เป็นการชวั่ คราวให้ผู้กระทำความรุนแรงในครอบครัวกระทำการ หรือละเวน้ กระทำการ ดงั นี้
• เข้ารบั การตรวจรกั ษาจากแพทย์
• ชดใช้เงินช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ต่อผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัวตามสมควรแก่ฐานะ

สำหรับเงินหรือทรัพย์สินใดๆ ที่ผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัวสูญเสียไป จากผลของ
การกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว ซึ่งรวมทั้งรายได้ที่สูญเสียไปค่าใช้จ่ายในการ
รกั ษาพยาบาล ค่าใชจ้ ่ายในการหาทีอ่ ย่ใู หม่ และค่าใชจ้ ่ายทจี่ ำเป็น
• หา้ มผกู้ ระทำความรุนแรงข้าไปในท่ีพำนักของครอบครัวหรือเข้าใกลต้ ัวบุคคลใดในครอบครวั
• กำหนดวิธีการดูแลบุตร ทั้งนี้ ผู้ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคำสั่งดังกล่าวต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน
3 เดอื น หรอื ปรบั ไมเ่ กิน ๓,๐๐๐ บาท หรอื ท้ังจำท้ังปรบั
7. สิทธิในการยอมความในกรณีที่ผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัวประสงค์จะยอมความถอนคำ
ร้องทุกข์ หรือถอนฟ้องไม่เอาผิด ต่อผู้กระทำผิดสามารถดำเนินการได้ในกรณีที่เหตุการณ์ หรือ
พฤติการณ์ ผู้กระทำผิดเปลย่ี นแปลงไป และมกี ารปฏบิ ัติตามสัญญายอมความ
8. สิทธิได้รับความคุ้มครองมิให้ผู้ใดลงพิมพ์โฆษณา หรือเผยแพร่ต่อสารารณชนด้วยวิธีใดๆ เมื่อผู้กระทำ
ความรุนแรงในครอบครัวมีการร้องทุกข์ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำความรุนแรงใน
ครอบครัวพ.ศ.๒๕๕๐ แล้ว กฎหมายมีข้อกำหนดในการห้ามไม่ให้ผู้ใดก็ตาม นำข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ
กรณคี วามรุนแรงดงั กล่าว ลงพมิ พโ์ ฆษณา หรือเผยแพรต่ ่อสาธารณชนด้วยวิธกี ารใด ๆ กต็ าม
9. สิทธิในการยื่นอุทธรณ์คำสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่หรือศาล ให้ทบทวนคำสั่ง กำหนดมาตรการหรือ
วธิ ีการเพื่อบรรเทาทุกข์ทัง้ หมด หรือแตบ่ างส่วนผู้มสี ว่ นไดเ้ สียเกย่ี วกับคำส่ังกำหนดมาตรการหรือวิธีการ
เพื่อบรรเทาทุกข์ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน เกี่ยวกับคำสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่หรือศาล สามารถย่ืน
อุทธรณ์คำสั่งเป็นหนังสอื ขอให้ศาลทบทวนคำส่งั ได้ภายใน ๓๐ วัน นบั แตท่ ราบคำสง่ั

หนา้ 39

 การแจ้งเหตุ
พบเหน็ ความรนุ แรงในครอบครวั สามารถแจง้ เหต/ุ ขอความช่วยเหลอื /คำแนะนำ ได้ที่
• ศูนย์ปฏิบัติการเพื่อป้องกันการกระทำความรุนแรงในครอบครัวกรุงเทพฯ กรมกิจการสตรีและสถาบัน

ครอบครัว โทร. ๐-๒๖๔๐-๕๐๔๘ ส่วนภูมิภาค : สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
๗6 จงั หวดั
• OSCC ศนู ยช์ ว่ ยเหลือสงั คม โทร. ๑๓๐๐
• สถานีตำรวจ/โรงพยาบาล
• ศาลากลางจงั หวัด/ที่วา่ การอำเภอ
• บ้านพักเด็กและครอบครัว หรือหน่วยงานภาครัฐ หรือองค์กรที่มีพนักงาน เจ้าหน้าที่ตามกฎหมายท่ี
เก่ียวข้อง
• ศนู ยพ์ ัฒนาครอบครวั ในชุมชน/องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น
• ทท่ี ำการกำนนั /ผูใ้ หญบ่ า้ น

หน้า 40

การส่งเสรมิ การจดั กิจกรรมของศนู ย์พฒั นาครอบครวั ในชมุ ชน

 หลกั เกณฑ์/คณุ สมบตั ิ
• ศพค.เสนอโครงการตาม แบบ สค.01 กรอบกิจกรรมการสร้างเสริมความเข้มแข็งของสถาบัน

ครอบครวั และสภาพปญั หาในนั้น
• คณะกรรมการประชุมพิจารณาอนุมัติตามขนาดโครงการ
• จดั ทำสัญญา เบิกจา่ ยงบประมาณ
• จดั กจิ กรรม ติดตามและรายงานผลฯ
• ประกาศจดั ตง้ั เปน็ ศูนย์พฒั นาครอบครวั ในชมุ ชน (ศพค.)

 การใหค้ วามช่วยเหลือ

• เงนิ อดุ หนุนให้กับศูนย์พฒั นาครอบครวั ในชมุ ชน (ศพค.)

• สนบั สนุน ตามขนาดโครงการ SML
S (ตั้งแต่ 0 – 50,000 บาท)
M (ตง้ั แต่ 50,001 – 100,000 บาท)
L (ต้ังแต่ 100,0001 เปน็ ต้นไป)

การส่งฝึกอาชพี

 หลักเกณฑ/์ คณุ สมบัติ

• สตรีที่ประสบปัญหาทางสังคม ไม่มีรายได้ ต้องการฝึกอาชีพ เพื่อเป็นการประกอบอาชีพ เลี้ยงดู
ครอบครัว

• อดุ หนนุ องคก์ รสตรี
• กองทนุ ส่งเสรมิ ความเท่าเทียมระหวา่ งเพศ

 การใหค้ วามช่วยเหลือ

• ส่งเขา้ รับการฝึกอาชีพ ณ ศนู ยเ์ รยี นร้กู ารพัฒนาสตรีและครอบครวั

หนา้ 41

❖ กรมพัฒนาสังคมและสวสั ดิการ

วิสัยทศั น์
“กล่มุ เปา้ หมายเขา้ ถงึ สวสั ดกิ ารพนื้ ฐาน พฒั นาสู่การพึ่งพาตนเอง”

พนั ธกจิ
1. พัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบาย กลไก ระบบสวัสดิการและการจัดบริการ เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงในการ
ดำรงชวี ติ และความเข้มแขง็ ของชุมชนทอ้ งถนิ่
2. เสริมพลังทางสังคมให้แก่ภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน เพื่อการมีส่วนร่วมในการจัดสวัสดิการและพัฒนา
สังคม
3. พฒั นาระบบงานและการจัดการองค์กรเพือ่ การบริหารนโยบายและการบรกิ ารท่มี ีประสทิ ธิภาพ

การใหค้ วามชว่ ยเหลอื
1. เงินสงเคราะหผ์ มู้ ีรายได้น้อยและผู้ไร้ที่พ่ึง
2. เงินสงเคราะห์ผู้ติดเชอื้ เอดส์และครอบครัว
3. เงินสงเคราะหเ์ งนิ ทนุ ประกอบอาชพี สำหรบั สตรที ีต่ ิดเชอื้ หรือไดร้ บั ผลกระทบจากปญั หาเอดส์
4. การซอ่ ม/สรา้ งที่อยู่อาศยั ตามความเหมาะสม
5. การสง่ เขา้ รบั การค้มุ ครองในสถานสงเคราะห์/สถานคุ้มครองฯ/ศนู ยค์ ุ้มครองคนไรท้ ี่พ่ึง

หน้า 42

เงินสงเคราะห์ครอบครัวผมู้ รี ายไดน้ ้อยและผู้ไรท้ ี่พงึ่

 หลักเกณฑ์/คุณสมบัติ
• บุคคลผู้มีสัญชาติไทย ซึ่งไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้เนื่องประสบปัญหาความยากจน ชรา พิการ

ไรท้ ่พี ่ึง ไร้อาชพี ประสบภยั พิบตั ิ เป็นต้น
• บุคคลไม่มีทรัพย์สนิ ส่งิ ของ รายได้ สำหรับการดำรงชีพ และไม่มผี ้ใู ห้พ่ึงพาอาศัย

 การให้ความช่วยเหลือ
• ใหค้ วามชว่ ยเหลือไม่เกิน 3,000 บาท/คน/ครั้ง ช่วยเหลอื ติดต่อกนั ไม่เกนิ 3 คร้ัง/ปี

เงนิ สงเคราะหผ์ ตู้ ดิ เชอื้ เอดส์และครอบครวั

 หลักเกณฑ์/คณุ สมบัติ
• ครอบครัวซ่งึ มีหวั หน้าครอบครวั ติดเชอ้ื หรอื ป่วยด้วยโรคเอดส์ และมผี ู้อุปการะ
• ครอบครัวท่ีมหี วั หนา้ ครอบครัวไม่ติดเช้ือหรือปว่ ยด้วยโรคเอดส์ แต่ตอ้ งอุปการะ สมาชกิ ในครอบครัว

ท่ีติดเชอ้ื หรือป่วยด้วยโรคเอดส์
• ครอบครัวทห่ี ัวหนา้ ครอบครวั เสียชวี ติ ด้วยโรคเอดส์
• ผตู้ ิดเชือ้ หรอื ปว่ ยด้วยโรคเอดสท์ ี่ไมม่ ผี อู้ ปุ การะ

 การใหค้ วามช่วยเหลือ
• ใหค้ วามชว่ ยเหลือไมเ่ กนิ 2,000 บาท/คน/ครงั้

ชว่ ยเหลอื ตดิ ตอ่ กนั ไมเ่ กิน 3 คร้ัง/ปี

หนา้ 43

เงินสงเคราะหเ์ งินทนุ ประกอบอาชพี สำหรับสตรีท่ตี ดิ เชื้อหรอื ไดร้ บั ผลกระทบ
จากปญั หาเอดส์

 หลกั เกณฑ/์ คณุ สมบัติ
• สตรซี งึ่ เปน็ หัวหน้าครวั เรอื นตดิ เช้อื หรือปว่ ยโรคเอดส์และมีผอู้ ยู่ในอปุ การะ
• สตรีซึ่งเป็นหัวหน้าครอบครัวที่ไม่ได้ติดเชื้อหรือป่วยด้วยโรคเอดส์ แต่ต้องอุปการะคนในครอบครัว

ที่ตดิ เชือ้ หรือปว่ ยดว้ ยโรคเอดส์
• สตรที ีต่ ดิ เชื้อหรือปว่ ยด้วยโรคเอดส์ท่ีไมม่ ีผ้อู ุปการะ
• สตรีติดเชอ้ื หรือปว่ ยดว้ ยโรคเอดสท์ ีไ่ ม่มผี ู้อปุ การะเลย้ี งดู

 การใหค้ วามช่วยเหลือ
• ให้ความช่วยเหลือรายละไม่เกนิ 5,000 บาท

 เอกสาร/หลกั ฐาน
• สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน (ไม่หมดอาย)ุ
• สำเนาทะเบยี นบา้ น
• สำเนาหนา้ สมดุ บญั ชีธนาคารผยู้ ่นื คำร้อง
• ใบรบั รองของแพทย์ ซึง่ ระบุความเห็นเป็น ๒ ลกั ษณะ ดังนี้

๑) เป็นโรคเอดส์
๒) เป็นผู้ติดเชือ้ เอชไอวี (อายุไม่เกนิ ๖ เดือน นับจากวันที่แพทย์ออกใบรับรอง)

หนา้ 44

การซ่อม/สรา้ งทอ่ี ย่อู าศยั ตามความเหมาะสม

 หลกั เกณฑ์/คณุ สมบัติ
• ผู้ประสบปญั หาทางสงั คมไม่มที อ่ี ยอู่ าศัยหรือมีแต่สภาพไม่มน่ั คง
• เป็นครอบครวั ทยี่ ากจน ไม่มรี ายไดห้ รือรายได้ไมเ่ พยี งพอต่อคา่ ใชจ้ ่าย

 การใหค้ วามช่วยเหลือ
• เงินสงเคราะห์จำนวน 3,000 บาท/ครอบครัว
• เงนิ สำหรับการปรบั ปรงุ ที่อยู่อาศัยคร้ังละไม่เกิน 20,000.- บาท

ส่งเขา้ รบั การคุ้มครองในสถานสงเคราะห์/สถานคุ้มครองฯ/
ศนู ย์คมุ้ ครองคนไร้ทพี่ ึ่ง

 หลกั เกณฑ/์ คณุ สมบัติ

• บุคคลไร้ที่อยู่อาศัยและไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ และรวมถึงบุคคลที่อยู่ในสภาวะยากลำบาก
และไมอ่ าจพึ่งพาบุคคลอ่ืนได้

• บคุ คลสัญชาติไทยทอี่ าศยั อยูใ่ นที่สาธารณะ หรอื บุคคลท่อี อกมาจากท่ีพักอาศัยเดิมมาตั้งครอบครัวหรือ
มาใช้ชีวิตแบบครอบครัวใหม่ในทส่ี าธารณะ

 การให้ความช่วยเหลือ

• รบั เข้าสถานสงเคราะห/์ สถานคุม้ ครองฯ/ศูนย์คุม้ ครองฯ

หนา้ 45

❖ สำนกั ปลัดกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์

วิสัยทัศน์
สร้างสงั คมดี คนมคี ณุ ภาพ

พนั ธกจิ
1. พัฒนาคนและสงั คมให้มีคุณภาพเต็มศักยภาพและมีภมู คิ ุ้มกันต่อการเปลย่ี นแปลง
2. สรา้ งเสริมเครือข่ายจากทุกภาคส่วนในการมีส่วนรว่ มพฒั นาสงั คม
3. พฒั นาองค์ความรู้ ขดี ความสามารถ และระบบการบริหารจัดการด้านการพัฒนาสังคม
4. จดั ระบบสวัสดกิ ารที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย เพอื่ ให้ประชาชนมีหลกั ประกนั และมีความมัน่ คง

ในชีวติ
คา่ นยิ มองค์การ

อทุ ิศตน อาสางาน เอ้ืออาทร อำนวยประโยชน์สุข
ประเด็นยุทธศาสตร์
1. พฒั นาศักยภาพคน ครอบครัว ชุมชนให้มคี วามเข้มแขง็ และสร้างระบบท่ีเอ้อื ตอ่ การพฒั นาคนให้มคี ุณภาพ

ชีวิตที่ดี
2. สรา้ งหลกั ประกนั ทางสังคมที่ครอบคลุมและเหมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมาย
3. ส่งเสรมิ ภาคีเครือข่ายอยา่ งเป็นระบบสู่การเป็นหนุ้ สว่ นทางสังคม
4. ยกระดบั องค์กรส่กู ารเป็นผนู้ ำทางสังคม
การให้ความช่วยเหลือ

1. เงินสงเคราะหผ์ ู้ประสบปญั หาทางสังคมกรณฉี ุกเฉิน
2. เงนิ สงเคราะหค์ รอบครวั ผปู้ ระสบปญั หาทางสังคมกรณีฉุกเฉนิ
3. เงนิ สงเคราะหช์ ่วยเหลอื ผ้ตู กทุกข์ไดย้ าก สง่ กลบั ภมู ิลำเนา

หน้า 46


Click to View FlipBook Version