การบรจิ าคเบ้ยี ยงั ชพี 1
คานา
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
เปน็ การรวบรวมองค์ความรทู้ ่ีมีอยู่ในองค์กร ซ่ึงกระจัดกระจายอยู่
ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนใน
องคก์ ร สามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้ง
ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมี
ความสามารถเชิงแข่งขันสูงสุด โดยเป้าหมายท่ีสาคัญของการ
จัดการความรู้มุ่งพัฒนาใน 3 ประเด็น ได้แก่ พัฒนางาน พัฒนา
คน และการเป็นองค์กรหลักในการส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ
ด้านการพัฒนาสังคมแก่ภาคีเครือข่ายในระดับพื้นที่ ศึกษา
วิเคราะห์ สถานการณ์เพื่อคาดการณ์แนวโน้มสถานการณ์ทาง
สังคมและผลกระทบ การถ่ายทอดความรู้ด้านการพัฒนาสังคมใน
ระดับพื้นที่ รวมถึงเป็นศูนย์เรียนรู้ ศูนย์บริการวิชาการในระดับ
พ้ืนที่กลุ่มจังหวัด โดยมีจังหวัดพ้ืนท่ีรับผิดชอบ 7 จังหวัด ได้แก่
จังหวัดสุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง พังงา กระบ่ี ภูเก็ต และ
จังหวดั นครศรีธรรมราช
การบริจาคเบยี้ ยังชพี 2
สาหรับการดาเนินงานในปี 2563 สานักงานส่งเสริมและ
สนับสนุนวิชาการ 10 ได้ดาเนินโครงการศูนย์บริการวิชาการ
พัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคม โดยมีกิจกรรม การจัดการ
ความรู้และการถ่ายทอดความรู้ โดยการศึกษาจากการจัดการ
ดาเนินโครงการตามนโยบายของรัฐบาลเร่ืองของการบริจาคเบี้ย
ยังชีพผู้สูงอายุเพื่อช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ด้อยโอกาสทางสังคมมา
จัดทาเป็นชุดความรู้เพื่อถ่ายทอดให้กับผู้ท่ีสนใจที่จะเข้าร่วม
โครงการบริจาคเบ้ยี ยังชีพ
ในโอกาสนี้ สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10
ขอขอบคุณ นายกิตติ อินทรกุล พัฒนาสังคมสังคมและความ
มั่นคงของมนุษย์จังหวัดภูเก็ต และผู้ใหญ่ใจดี ท่ีให้การสนับสนุน
องค์ความรู้และข้อมูลสาหรับการจัดการความรู้ในครั้งน้ี และ
ขอขอบคุณ นางสาวซาราห์ บินเย๊าะ ผู้อานวยการสานักงาน
ส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 ที่ให้คาแนะนาและสนับสนุน
การจัดการความรใู้ นครงั้ น้ี
ท้ังน้ี คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า การจัดการความรู้
ในครงั้ นี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจหรือผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้อง และ
สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการเชิญชวนหรือผ้สู ูงอายทุ สี่ นใจท่ี
จะเข้าร่วมโครงการบริจาคเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุเพื่อให้การช่วยเหลือ
ผูส้ ูงอายุทีด่ อ้ ยโอกาสทางสังคมตอ่ ไป
การบรจิ าคเบ้ยี ยังชีพ 3
สารบัญ หนา้
บทนา 5
ผู้สงู อายุเป็นใคร 7
บรกิ ารของรฐั ทีจ่ ัดให้ผู้สงู อายุ 8
สวัสดิการเบ้ยี ยงั ชพี ผู้สงู อายุ 10
สถติ ผิ ้สู งู อายรุ ับเบี้ยภาคใตต้ อนบน 11
การบรจิ าคเบี้ยมาได้อยา่ งไร 13
ผูใ้ หญ่ใจดี 16
มมุ มองของคนพ้นื ท่ี 20
ข้อเสนอแนะ 23
บทสรปุ 25
ภาคผนวก
ข้ันตอนการบริจาค
แบบคาขอบรจิ าค
หนังสือมอบอานาจ
แบบคาขอยกเลิกการบริจาค
การบริจาคเบ้ยี ยังชพี 4
การบรจิ าคเบี้ยยังชีพ 5
“การให.้ ..เพ่ือชวี ติ ท่ดี ีกว่า”
บทนา
ผู้สูงอายุเป็นบุคคลท่ีมีช่วงอายุที่อยู่ในช่วงปลายของชีวิต เป็นผู้ท่ี
ได้มีการสั่งสมวิชาความรู้ต่างๆ มามากมายตลอดชีวิต สังคมไทย
ในปัจจุบันได้ยอมรับความสามารถของผู้สูงอายุมากข้ึน มีการยก
ย่องเชิดชูผู้สูงอายุมากข้ึน เพราะถือว่าผู้สูงอายุคือ ขุมทรัพย์ของ
สังคม เป็นปราชญ์ของสังคม ผู้สูงอายุเป็นผู้ท่ีเต็มไปด้วย
ประสบการณ์ สามารถท่ีจะเชื่อมประสบการณ์สร้างสัมพันธ์กับวัย
อื่นๆ ได้ ไม่ใช่เป็นคนแก่ท่ีไร้ค่าของสังคม หรือเสื่อมคุณภาพ
เปรียบได้ว่าผู้สูงอายุเป็นเสาหลักของครอบครัว และเป็นคลัง
ปัญญาในการถ่ายทอดวิชาความรู้ ประสบการณ์ท่ีมีอยู่ให้คงไว้ชั่ว
ลูกหลาน ผู้สูงอายุจึงเป็นท่ีเคารพนับถือและเป็นที่พ่ึงทางใจ
เปรียบดั่งร่มโพธ์ิร่มไทรของลูกหลาน ของสังคมวัฒนธรรมไทยมา
แตโ่ บราณ
การบริจาคเบีย้ ยังชพี 6
จากข้อมูลประชากรของประเทศไทยปี 2562 จานวน
ประชากรในประเทศไทยอยู่ที่ 66,558,935 คน เป็นผู้ท่ีมีอายุ 60
ปีข้ึนไป 11,136,059 คน หรือ ซ่ึงคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 16.73
ของประชากรทัง้ หมด (ทม่ี า : สานักทะเบียน กรมการปกครอง ณ
วันท่ี 31 ธนั วาคม พ.ศ. 2562) นน้ั หมายถึง ประเทศไทยก้าวเข้าสู่
สงั คมผูส้ ูงอายุแลว้ และคาดการณว์ ่าในปี 2564 ไทยจะเข้าสู่สังคม
ประชากรสูงวัยแบบสมบูรณ์ โดยมีผู้ท่ีอายุมากกว่า 60 ปี เกิน
20% ของจานวนประชากรท้ังหมด ผลท่ีตามมาคือมีผู้สูงอายุมาก
ข้ึน มีวยั แรงงานลดลง ทาใหม้ กี ารเพมิ่ รายจ่ายมากข้ึน และรายรับ
ลดลง ดงั นน้ั รฐั บาลต้องสนับสนุนงบประมาณด้านสวัสดิการให้แก่
ผู้สูงอายุมากขึ้น อีกทั้งเกิดปัญหาสังคมตามมา เช่น ผู้สูงอายุถูก
ทอดทิ้ง สภาพจิตใจย่าแย่ และความเสื่อมโทรมทางร่างกาย
จาเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่ ดังน้ันการเตรียมความพร้อม
เพ่ือเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุควรจะร่วมมือกันท้ังภาครัฐและเอกชน
ต้ังแต่ระดับบุคคล ชุมชนและประเทศเพ่ือให้ตระหนักถึง
ความสาคัญของการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ให้ความรู้สังคมและ
สนับสนุนใหผ้ ู้สูงอายมุ งี านทามากข้ึน สนับสนุนให้มีการเตรียมวาง
แผนการออม การใช้ชีวิตในบั้นปลาย และจากจานวนผู้สูงอายุท่ีมี
แนวโน้มจะเพิ่มมากข้ึนรัฐบาลได้ให้ความสาคัญของการดารงชีวิต
อย่ใู นสงั คมของผู้สงู อายุ จงึ มีแนวคดิ ทาโครงการบริจาคเบ้ยี ยังชีพ
การบรจิ าคเบี้ยยังชีพ 7
ผู้สูงอายุเขา้ กองทุน เพื่อช่วยเหลือผู้สูงอายุท่ีด้อยโอกาสทางสังคม
โดยการช่วยเหลือผ่านบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ เพ่ือทาให้ผู้สูงอายุ
รูส้ กึ วา่ ตัวเองมีคณุ ค่าเพ่ือไม่ใหเ้ ปน็ ภาระสังคมต่อไป
ผสู้ งู อายเุ ป็ นใคร
ผสู้ งู อายุคอื ผ้ทู ่มี อี ายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปและเป็นวัยท่ีมีความ
แตกต่างจากวัยอื่น เป็นวัยที่เข้าสู่บ้ันปลายของชีวิต ดังนั้นปัญหา
ของผู้สูงอายุมีอยู่ในทุกด้านโดยเฉพาะด้าน
สังคมและสาธารณสขุ จึงแตกต่างจากคน
ในวัยอ่ืน ปัจจุบันจานวนผู้สูงอายุเพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็วต่อเนื่องท้ังใน
ประเทศไทย และต่างประเทศ รัฐบาลได้ให้ความสาคัญในเรื่อง
ของผู้สูงอายุ จึงมีความพยายามท่ีจะให้มีการรณรงค์อย่างต่อเนื่อง
เพ่ือให้ทุกคน ได้ตระหนัก เข้าใจ และพร้อมดูแลผู้สูงอายุให้
ทดั เทยี มเชน่ เดยี ว กบั การดแู ลประชากรในวยั อ่ืน
ผู้สูงอายุในพ้ืนท่ี 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ได้แก่ จังหวัด
สุราษฎร์ธานี, นครศรีธรรมราช, ชุมพร, ระนอง, พังงา, กระบ่ี และ
จังหวัดภเู กต็ มผี ูส้ ูงอายจุ านวน 1,382,155 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 31
ธนั วาคม 2562) โดยแยกเปน็ รายจังหวัดตามตารางแผนภมู ิดังนี้
การบริจาคเบ้ยี ยงั ชพี 8
160,000 ชาย
140,000 หญิง
120,000
100,000
80,000
60,000
40,000
20,000
0
(ขอ้ มลู ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2562)
บรกิ ารท่ีรฐั ใหก้ บั ผสู้ งู อายุ
จากสถานการณ์ผู้สูงอายุท่ีมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มมากข้ึน
อย่างต่อเนือ่ งรฐั บาลให้ความสาคัญถึงการไดร้ ับสิทธิและประโยชน์
ของผู้สูงอายุท่ีจะพ่ึงมีพ่ึงได้ในการคุ้มครอง ส่งเสริมและสนับสนุน
ตามกฎหมายในด้านต่างๆ คือ
1. การบรกิ ารทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสุขทีจ่ ดั ไว้
โดยให้ความสะดวกและรวดเร็วแกผ่ สู้ ูงอายุเปน็ กรณีพิเศษ
2. การศึกษา การศาสนา และข้อมูลข่าวสารท่ีเป็น
ประโยชนต์ ่อการดาเนนิ ชวี ิต
3. การประกอบอาชพี หรอื ฝึกอาชพี ที่เหมาะสม
การบรจิ าคเบ้ียยงั ชีพ 9
4.การพัฒนาตนเองและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทาง
สังคม การรวมกลุ่มในลักษณะเครอื ขา่ ยหรือชมุ ชน
5.การอานวยความสะดวกและความปลอดภัยโดยตรงแก่
ผูส้ งู อายุในอาคาร สถานท่ี ยานพาหนะหรอื การบริการสาธารณะอ่นื
6.การช่วยเหลือด้านค่าโดยสารยานพาหนะตามความ
เหมาะสม
7. การยกเวน้ คา่ เขา้ ชมสถานทข่ี องรัฐ
8.การช่วยเหลือผู้สูงอายุซึ่งได้รับอันตรายจากการถูก
ทารุณกรรม หรือถูกแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมาย
หรือถกู ทอดท้งิ
9. การให้คาแนะนา ปรึกษา ดาเนินการอื่นที่เก่ียวข้อง
ในทางคดี หรือในทางการแกไ้ ขปัญหาครอบครวั
10. การจัดที่พัก อาหารและเคร่ืองนุ่งห่มให้ตามความ
จาเปน็ อย่างท่วั ถึง
11. การจ่ายเงินเบ้ียยังชีพเป็นรายเดือนอย่างทั่วถึงและ
เปน็ ธรรม
12. การสงเคราะห์ในการจดั การศพตามประเพณี
การบรจิ าคเบ้ยี ยังชพี 10
13. การจัดบริการสถานที่ท่องเท่ียว การจัดกิจกรรม
กีฬาและนันทนาการตามที่คณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ
ประกาศกาหนด
14. การจัดบริการเพื่ออานวยความสะดวกด้าน
พิพิธภัณฑ์ โบราณสถาน หอจดหมายเหตุแห่งชาติ และการจัด
กิจกรรมด้านศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม ตามท่ีคณะกรรมการ
ผู้สูงอายุแห่งชาตปิ ระกาศกาหนด
15. ด้านการลดหยอ่ นภาษีเงินได้ และการลดหย่อนภาษี
ใหแ้ ก่ผู้บรจิ าคทรัพยส์ นิ เงนิ ใหแ้ กก่ องทนุ ผูส้ งู อายุ
สวสั ดิการเบ้ียยงั ชีพผสู้ งู อายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุเริ่มข้ึนจากแนวคิดของกรมประชา
สงเคราะห์ เม่อื ปี พ.ศ. 2535 ทจ่ี ัดสวัสดกิ ารใหก้ ับผสู้ ูงอายุท่ีมีอายุ
ต้ังแต่ 60 ปีขึ้นไป โดยการมีส่วนร่วมจากองค์กรภาครัฐ คือ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ และองค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นและรัฐบาลได้เริ่มจัดต้ังเป็นกองทุนสวัสดิการ
ผ้สู งู อายุในชุมชน เมื่อปี พ.ศ. 2536 เพื่อให้เงินช่วยเหลือผู้สูงอายุ
ท่ีมีฐานะยากจน เดือนละ 200 บาท นับเป็นจุดเร่ิมต้นในการจัด
สวัสดิการสังคมให้แก่ผู้สูงอายุ และเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2549
คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบให้มีการปรับเพ่ิมเงินช่วยเหลือผู้สูง
อายุเพ่ือการยังชีพจากคนละ 200 บาทต่อเดือน เพ่ิมเป็นคนละ
500 บาทตอ่ เดือนเพ่อื ใหเ้ พียงพอตอ่ การดารงชพี และหลังจากน้ัน
สมัยนางสาวยง่ิ ลกั ษณ์ ชินวตั ร ดารงตาแหนง่ นายกรฐั มนตรี เม่ือปี
การบรจิ าคเบ้ยี ยังชพี 11
พ.ศ. 2554 ได้มีการปรับเปล่ียนการจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาเป็น
แบบข้ันบันได เพื่อให้เหมาะสมและรับกับสภาพทางเศรษฐกิจท่ีมี
ค่าครองชพี ได้ปรบั ตวั สูงข้ึน คือ
ผสู้ งู อายุ ท่ีมอี ายุ 60-69 ปี ใหไ้ ด้รับเบ้ยี ในอตั รา 600 บาท/เดอื น
ผู้สงู อายุ ท่ีมีอายุ 70-79 ปี ใหไ้ ดร้ ับเบี้ยในอตั รา 700 บาท/เดอื น
ผ้สู งู อายุ ที่มีอายุ 80-89 ปี ให้ไดร้ บั เบี้ยในอัตรา 800 บาท/เดอื น
ผู้สงู อายุ ที่มีอายุ 90 ปีขน้ึ ไป ให้ไดร้ ับเบ้ยี ในอตั รา 1,000 บาท/เดอื น
โดยมหี ลักเกณฑว์ ่า ผทู้ ี่จะได้รับเบี้ยยงั ชพี ผ้สู งู อายุต้องมีสญั ชาติ
ไทย มอี ายตุ ้งั แต่ 60 ปีขน้ึ ไป มีช่ืออยใู่ นทะเบียนบ้านในเขตพนื้ ที่
ทย่ี ืน่ คาขอ และต้องไมเ่ ป็นผู้ได้รบั สวัสดิการอน่ื ใดมาก่อน
สถิติผสู้ งู อายรุ บั เบ้ียภาคใตต้ อนบน
จากการสารวจข้อมูลสถิติจานวนผู้สูงอายุท่ีอาศัยอยู่ใน
พื้นท่ี 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบนพบว่า มีผู้สูงอายุรวมทั้งสิ้นจานวน
1,382,155 คน แต่มีผู้สูงอายุที่ได้รับเบี้ยยังชีพจานวน 607,115
คน (คดิ เป็นรอ้ ยละ 43.92) โดยแยกเป็นรายจงั หวดั ดังน้ี
การบรจิ าคเบย้ี ยงั ชีพ 12
23,513 คน 77,488 คน
40,171 คน
139,007 คน
235,657 คน
39,447 คน
51,832 คน
เน่ืองจากเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุเป็นบริการที่รัฐจัดให้แก่
ผู้สูงอายุต้ังแต่ 60 ปีขึ้นไป และจัดให้กับผู้สูงอายุทุกคนท่ีไม่เป็น
ผู้ได้รับสวสั ดกิ ารอืน่ ใดมาก่อน จงึ มีผูส้ ูงอายุบางรายท่ีรับเบ้ียยังชีพ
แต่ไม่ได้ประสบปัญหาความเดือดร้อนที่ รัฐบาลจึงคิดโครงการรับ
บริจาคเบี้ยยงั ชีพผ้สู ูงอายุเพอ่ื จา่ ยเปน็ เงนิ ชว่ ยเหลอื ผู้สงู อายุท่ี
ดอ้ ยโอกาส
การบรจิ าคเบี้ยยังชพี 13
การบรจิ าคเบ้ียมาไดอ้ ยา่ งไร....
การบริจาคเบีย้ ยังชีพเกิดขนึ้ จากการที่คณะรัฐมนตรีได้มี
การประชุมและลงมตเิ ห็นชอบรว่ มกนั เม่ือวันท่ี 23 พฤษภาคม 1
สิงหาคม และวันที่ 7 พฤศจกิ ายน 2560 ใหด้ าเนินโครงการ
บริจาคเบย้ี ยังชพี ผสู้ ูงอายุเขา้ กองทนุ ผู้สงู อายุ และใหเ้ รมิ่ โครงการ
ต้ังแต่วันท่ี 1 ธันวาคม 2560 โดยการนาเงินที่ได้จากการบริจาค
มาจ่ายเป็นเงินช่วยเหลือผู้สูงอายุที่มีรายได้น้อยในโครงการ
ลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ จานวน 3.6 ล้านคน (ปี 2561)
ผ่านบัตรสวัสดิการ ซ่ึงเป็นส่วน
ห นึ่ ง ข อ ง ม า ต ร ก า ร ใ ห้ ก า ร ช่ ว ย
เหลือผู้สูงอายุท่ีมีรายได้น้อย โดย
กาหนดให้กองทุนผู้สูงอายุ ภายใต้
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ นามาจ่าย
เป็นเงินช่วยเหลือเพ่ือการยังชีพให้แก่ผู้สูงอายุ 60 ปีข้ึนไป โดย
ผู้เข้าร่วมโครงการบริจาคจะต้องเป็นผู้สูงอายุ 60 ปีที่ได้รับเบ้ียยัง
ชีพ และให้ถือว่าเป็นการจัดสวัสดิการสังคมจากรัฐบาลท่ีจัดสรร
ให้กับผู้สูงอายุด้อยโอกาสผ่านการมีส่วนร่วมจากภาครัฐ และ
องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ
การบริจาคเบีย้ ยงั ชพี 14
และจากการท่ีรัฐบาลได้มีแนวนโยบายในการรับบริจาค
เบ้ียยังชีพผู้สูงอายุเข้ากองทุนผู้สูงอายุ เพื่อเป็นการช่วยเหลือ
ผ้สู งู อายทุ ม่ี ีรายได้น้อยหรอื ผูส้ งู อายุทม่ี ฐี านะยากจน ตามโครงการ
ลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐผ่านบัตรสวัสดิการนั้น ปรากฏว่า
มีผู้เข้าร่วมโครงการบริจาคท่ัวประเทศจานวน 1,002 ราย โดยได้
แยกในสว่ นของผู้สงู อายุทบี่ ริจาคเบ้ยี ยังชพี ในเขตพน้ื ท่ี 7 จงั หวัด
ภาคใต้ตอนบน มีผู้สงู อายทุ ่เี ขา้ ร่วมจานวน 36 คน (ข้อมูลวันที่ 31
ตุลาคม 2562) แยกเป็นรายจังหวัดดังนี้ จังหวัดนครศรีธรรมราช
12 คน, สุราษฎร์ธานี 8 คน, ชุมพร 7 คน, ภูเก็ต 4 คน, กระบี่
3 คน, พงั งา 1 คน และจังหวัดระนอง 1 คน
ดงั นน้ั เมอ่ื เปรียบเทียบสัดส่วนจานวนของผู้ท่ีได้รับเบี้ยยัง
ชพี ผูส้ งู อายุ (607,115 คน) กับผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการบริจาค
เบ้ียยังชีพผู้สูงอายุ (36 คน) เข้ากองทุนเพ่ือผู้สูงอายุท่ีมีรายได้
น้อยแล้วเปน็ สัดส่วนทีน่ อ้ ยมาก (คิดเป็นรอ้ ยละ 0.005)
ทาให้เราสนใจที่จะศึกษาแนวความคิด หรือทัศนคติ
พฤติกรรมของผู้สูงอายุว่าทาไมผู้สูงอายุที่ได้รับเบ้ียยังชีพตัดสินใจ
เข้าร่วมกับโครงการน้อย เป็นเพราะโครงการไม่มีความต่อเน่ือง
หรือเป็นเพราะโครงการไม่มีความสอดคล้องกับการดารงชีวิต
ประจาวันของผู้สูงอายุท่ียังอยู่กับวัฒนธรรมและจารีตประเพณี
แบบเดิมๆ ซึ่งการช่วยเหลือเก้ือกูลหรือการพ่ึงพาอาศัยกันเฉพาะ
การบรจิ าคเบีย้ ยังชพี 15
ในชุมชน หมู่บ้าน หรือเพียงแค่กับคนท่ีรู้จักคุ้นเคยกันเท่าน้ัน
จากการศึกษาพบว่าการใช้ชีวิตประจาวันของผู้สูงอายุคือการอยู่
กับบ้าน ช่วยดูแลเด็ก หรือทางานบ้านให้กับบุตรหลานที่ออกไป
ทางานนอกบ้าน เวลาท่ีเหลือก็ใช้พักผ่อนโดยการอ่านหนังสือ ฟัง
วิทยุ ดูโทรทศั น์ เล่นดนตรี หรอื เขยี นหนังสือ อาจจะมีการสมาคม
พบปะพูดคุย หรือทากิจกรรมร่วมกับผู้สูงอายุด้วยกันบ้างใน
บางคร้ังบางเวลาแต่จะอยู่ในบริเวณบ้านใกล้เรือนเคียงเท่าน้ัน
หรือไม่ก็น่ังๆ นอนๆ เพ่ือรอเวลาที่บุตรหลานจะกลับมาจากท่ี
ทางาน จึงทาให้การรับรู้ข้อมูลข่าวสารมีอยู่ในวงจากัด ไม่ได้รับรู้
ขา่ วสารจากภายนอก อกี ประเด็น คือ ผู้สูงอายุมองว่า การที่พวก
เขาบริจาคเงินไปให้กับรัฐแล้วเงินท่ีบริจาคอาจจะไปไม่ถึงมือ
ผ้สู งู อายทุ ด่ี อ้ ยโอกาสจริงๆ จะดีกว่าไหมถ้าจะขอใช้สิทธิรับเบี้ยยัง
ชีพแล้วนาเงินที่ได้ไปทาบุญอย่างอื่น หรือให้ทาน หรือบริจาค
ใหก้ ับคนทเ่ี หน็ กนั อยู่วา่ เดือดร้อนจริงๆ จะรสู้ กึ สบายใจกว่า
จากประเด็นดังกล่าวเราจึงได้ทาการลงพ้ืนท่ีเพื่อศึกษาถึง
แนวคิดหรือมุมมองของคนพื้นท่ีว่าการบริจาคเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ
เข้ากองทุนเพ่ือส่งต่อให้กับผู้ด้อยโอกาสท่ีไม่ได้รู้จัก ไม่รู้เป็นใคร
อยทู่ ่ีไหนของประเทศไทย ผ้บู ริจาคจะมีมุมมองหรือมีความคิดเห็น
อย่างไร แต่ในทางกลับกันไม่ใช่ผู้สูงอายุทุกคนท่ีมีแนวคิด หรือ
การบรจิ าคเบยี้ ยงั ชีพ 16
ทัศนคติ ของการ บริจาคเบี้ยยังชีพไปในทางที่ไม่เห็นด้วย แต่ยังมี
ผู้สูงอายุบางกลุ่ม หรือบางคนที่เห็นด้วยกับโครงการบริจาคเบ้ีย
ยังชีพเข้ากองทุนเพื่อช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทางสังคม เราจึง
ทาการศึกษาเพ่ิมเติมถึงแรงจูงใจหรือแรงบันดาลใจท่ีทาให้บุคคล
เหลา่ นไี้ ดเ้ ขา้ มาเป็นสว่ นหน่งึ ของสังคมกับการใหช้ วี ิตผทู้ ีด่ ้อยโอกาสกวา่
ซง่ึ เปน็ ความยิ่งใหญ่ ความอบอ่นุ ใจ ความช่วยเหลือเกื้อกูล ความ
เอื้ออาทรท่ีจะช่วยเหลือซ่ึงกันและกันของคนในสังคม เพื่อให้ผู้ท่ี
ลาบากกวา่ หรือผูท้ ่ีดอ้ ยโอกาสกว่าไดม้ ีชวี ิตทด่ี ีขึ้น หรอื สามารถทจี่ ะ
พ่ึงตนเองได้ และอยูใ่ นสงั คมได้อย่างมีศักดิ์ศรขี องความเปน็ มนุษย์
อย่างกรณขี อง 2 สามภี รรยา จากจังหวัดภเู ก็ต
ผใู้ หญ่ใจดี....
นายภูมิใจ (นามสมมติ) อายุ 75 ปี และนางสุขใจ (นาม
สมมติ) อายุ 72 ปี สองสามีภรรยา ตาบลไม้ขาว อาเภอถลาง
จังหวัดภูเก็ต มีอาชีพเป็นเกษตรกรทา สวนยาง มีบุตรและธิดา
ด้วยกัน 3 คน เป็นคนจังหวัดภูเก็ตแต่กาเนิดและการที่ทั้ง 2 คน
ได้เข้ามาสู่เส้นทางของการบริจาคเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุ โดยเริ่มจาก
นางสุขใจ ท่านได้เข้ามาเป็นจิตอาสาทางานเป็นอาสาสมัคร
สาธารณสขุ ของตาบลไม้ขาว อาเภอถลาง และอยู่มาวันหนึ่งท่าน
ได้รับเชิญให้เข้าร่วมการประชุมอาสาสมัครสาธารณสุข ณ
การบรจิ าคเบ้ียยังชีพ 17
ศูนย์บริการการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุจังหวัดภูเก็ต เม่ือปี
พ.ศ. 2560 และได้ทราบถึงนโยบายการรับบริจาคเบี้ยยังชีพของ
ผสู้ งู อายุของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
ท่านก็เลยให้ความสนใจกับโครงการดังกล่าว เนื่องจากว่าเดิม
ก่อนจะทราบว่ามีโครงการท่านได้ช่วยเหลือ หรือบริจาคเงินทอง
ส่ิงของ ที่จาเป็นให้กับผู้ด้อยโอกาสทางสังคมเป็นประจาอยู่แล้ว
เม่ือได้รับทราบถึงนโยบายดังกล่าวของกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความม่ันคงของมนุษย์ จึงกลับมาปรึกษาหารือกับนายสมคิด
ดีเสมอ ผู้ซึ่งเป็นสามี และสามีก็เห็นชอบมีความยินดีท่ีจะให้การ
บริจาค ทั้ง 2 ท่านจึงได้ตกลงชักชวนกันเข้ามาร่วมโครงการ
บริจาคเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุเพ่ือนาเงินเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุท่ีได้รับใน
แต่ละเดือนส่งเข้ากองทุนผู้สูงอายุช่วยเหลือผู้ที่ด้อยโอกาสทาง
สังคม โดยผ่านองค์การบริหารส่วนตาบลไม้ขาว อาเภอถลาง
ท่านได้เล่าด้วยสีหน้าอันเต็มเป่ียมไปด้วยความสุขว่า การบริจาค
เงินดังกล่าวทาให้ผู้บริจาคเกิดความสบายใจ อบอุ่นใจ มี
ความสขุ ใจ โดยไม่ไดค้ านึงถึงวา่ เงินที่เขาได้บริจาคนั้นจะไปตกอยู่
ตรงไหน หรือให้กับใครแล้วใครจะเป็นผู้ได้รับบ้าง และท่านยังได้
กลา่ วว่า หากท่านได้บริจาคเงินไปเข้าในกองทุนผู้สูงอายุแล้ว ทาง
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เอาไป
แจกจ่ายหรือช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทางสังคมแล้ว พวกเขา
การบริจาคเบ้ียยังชีพ 18
เหล่านั้นจะได้รับกันทั่วถึงกว่าที่ท่านจะช่วยเหลือหรือบริจาคด้วย
ตัวเอง ซึ่งอาจจะไม่ได้รับกันทุกคนที่ลาบาก และท่านยังได้กล่าว
อีกว่าการบริจาคเบี้ยผู้สูงอายุไม่ได้มีผลเสียหรือผลท่ีไปกระทบกับ
ความเป็นอยู่ในชีวิตประจาวันของท่านเลย สุดท้ายท่านทั้งสอง
ตง้ั ใจไว้วา่ จะบรจิ าคเบย้ี ยังชีพทไ่ี ด้รบั ไปจนตลอดชวี ติ
นอกจาก 2 ตายายจากภูเก็ตแล้ว ยังมีผู้มีจิตเมตตาต้องการให้
ความช่วยเหลือผู้อ่ืนท่ีตกทุกข์ได้ยากจากจังหวัดสุราษฎร์ธานีที่
มองเห็นถึงความสาคัญในการให้โอกาสทางสังคมกับผู้สูงอายุบาง
กลุ่ม โดยให้บุคคลซ่ึงเรียกว่าปราชญ์ของชุมชน หรือภูมิปัญญา
ของท้องถิ่น ลูกหลาน ได้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข และท่าน
ยังได้กล่าวไว้ว่า มีความยินดีเป็นอย่างย่ิงที่รัฐบาลได้ดาเนิน
โครงการบริจาคเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุเพื่อการสนับสนุนช่วยเหลือ
ให้กับผู้สงู อายุทด่ี อ้ ยโอกาสกวา่ หรือไมส่ ามารถช่วยเหลือตัวเองได้
การบรจิ าคเบย้ี ยังชีพ 19
โดยท่านผู้นี้ชื่อว่า นายดี (นามสมมติ) อายุ 72 ปี บ้านอยู่ตาบล
ไทรโสภา อาเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี อาชีพเป็น
เกษตรกรชาวสวนยาง มบี ุตรธิดารวม 5 คน ภรรยาได้เสียชีวิตไป
เม่ือ 2 ปมี าแล้ว ทา่ นยงั ไดก้ ลา่ ววา่ ฐานะครอบครัวไม่ได้ร่ารวย แต่
ก็ไม่ได้ลาบาก เนื่องจากปัจจุบันได้ปลูกพืชผักสวนครัว เล็กๆ น้อยๆ
บริเวณบ้าน ใช้ชีวิตตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง ส่วนลูกๆ
ทั้ง 5 คน มีครอบครัวและมีงานทากันทุกคนสามารถช่วยเหลือ
ดูแลตวั เองได้แล้ว ท่านจึงไม่ได้เป็นห่วงหรือเดือดร้อนค่าใช้จ่ายใน
ชีวิตประจาวัน จึงไม่ลังเลท่ีจะทาความดีในป้ันปลายของชีวิต
ตัดสินใจนาเงินท่ีได้รับจากเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุในแต่ละเดือนมา
บริจาคเพ่ือให้คนท่ีลาบากกว่า ซ่ึงจุดเริ่มต้นของการเข้ามาเป็นผู้
บริจาคเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุมาจากการท่ีองค์การบริหารส่วนตาบล
ไทรโสภาได้ออกประกาศและมีหนังสือเชิญชวนให้ผู้สูงอายุท่ีได้รับ
เบย้ี ยงั ชีพได้เข้าร่วมโครงการตามแนวนโยบายของรัฐบาล ท่านจึง
ตัดสนิ ใจทนั ทีทจ่ี ะใหก้ ารแบง่ ปนั นี้กบั เพือ่ นมนุษย์ด้วยกันโดยไม่ได้
คานึงถึงว่าเงินท่ีบริจาคไปน้ัน รัฐบาลจะนาไปบริหารจัดการ
อย่างไร ให้กับใคร หรือบุคคลที่ได้รับเงินนั้นอาศัยอยู่ในจังหวัดใด
เพียงส่ิงเดียวที่คิดคือรัฐจะต้องนาเงินท่ีได้รับจากการบริจาคไปใช้
ประโยชน์และให้ความสาคัญกับผู้ที่ลาบากหรือด้อยโอกาสทาง
สงั คมให้มีความเป็นอย่ทู ี่ดีข้นึ และสงิ่ ทเ่ี กดิ ขึน้ ภายในจิตใจของท่าน
การบริจาคเบยี้ ยงั ชพี 20
คือความสบายใจ ความอบอุ่นใจ ความอิ่มเอม และภาคภูมิใจท่ีได้
แบ่งปันความสุข และยังมีความต้ังใจไว้เช่นเดียวกันว่าจะแบ่งปัน
ความสุขนไี้ ปจนตลอดชีพ
ม ุมมอง...ของคนพ้ืนท่ี
เส้นความยากจนอยู่ตรงไหน......Matching กนั ในพน้ื ทดี่ ีกว่าไหม...
เมอ่ื วนั ท่ี 25 มนี าคม 2563 ได้ลงพ้ืนท่ีเพ่ือศึกษาข้อมูลการบริจาค
เบี้ยยังชีพของผู้สูงอายุในพ้ืนที่จังหวัดภูเก็ตกับการ ส่งต่อ
ช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ด้อยโอกาสทางสังคม และเราได้พบกับ
บริหารระดับจังหวัดของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ
มั่นคงของมนุษย์ นายกติ ติ อินทรกุล พัฒนาสังคมและความม่ันคง
ของมนุษย์จังหวัดภูเก็ต ได้ให้มุมมองแนวคิดเกี่ยวกับนโยบายการ
รับบรจิ าคเบย้ี ยงั ชพี ผู้สงู อายุเขา้ กองทุนช่วยเหลอื ผดู้ ้อยโอกาสทาง
สังคม โดยผ่านบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ซ่ึงท่านได้มีมุมมองไว้ว่า
“การบริจาคเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุเป็นแนวนโยบายท่ีดีที่ให้ผู้ด้อย
โอกาสทางสังคมได้มีชีวิตที่ดีขึ้นและสามารถท่ีจะพ่ึงพาตนเองได้
และเป็นการลดการพง่ึ พิงจากทางภาครฐั แตใ่ นทางกลับกันวิธี
การดาเนินงานกลับไปที่ส่วนกลาง เช่น คนภูเก็ตบริจาค เงินที่
บริจาคก็ควรจะกลับมาให้กับคนของภูเก็ตเลย อาจจะเป็นระบบ
ของการบริจาคแต่ทาเรื่องของการ Matching เช่น เรามีผู้สูงอายุ
การบริจาคเบีย้ ยงั ชพี 21
บริจาค 10 คน เราไป Matching กับผู้สูงอายุที่ยากจนในจังหวัด
10 คน เช่น ผู้สูงอายุยากจนเดิมรับอยู่ 1,000 บาท เขาก็จะได้รับ
เงินเพิ่มข้ึนเป็น 2,000 บาท หรือ 2,500 บาท และพอกระทรวง
การพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ไปเติมเงินในการ
ช่วยเหลือก็จะทาให้ไม่ต้องเติมเยอะ เพราะเราคานวณที่ฐานของ
เสน้ ความยากจน ฉะนน้ั การทาระบบ Matching พอเงนิ กลับไปที่
ส่วนกลางแล้วเราจะไม่รู้ว่าเงินบริจาคท่ีคนภูเก็ตบริจาคไปจะได้
กลับคืนลงมาให้กับคนท่ีภูเก็ตกี่คนเราไม่สามารถรู้ได้ แต่ถ้าหาก
เรา Matching กันที่จังหวัดให้รับเข้าสู่กองทุนเหมือนเดิมแล้วหา
คนที่จะ Matching ในกันพื้นที่เลยแล้ว คิดว่าคนจะต้องบริจาค
เยอะขน้ึ กว่าท่เี ป็นอย่เู พราะเป็นตวั เลขทส่ี ามารถเห็นได้ชัดว่าเงินที่
เขาได้บริจาคน้ันไปตกให้กับใคร ท่ีไหน อย่างไร ซึ่งคนท่ีเขา
บริจาค อาจจะได้ลงพื้นท่ีไปเย่ียมผู้ที่เขาได้บริจาคด้วยตัวเอง
โดยตรงว่าผู้เดือดร้อนคนน้ีมีจริงนะ บางทีคนมีเงินเขาอาจจะให้
มากกว่าเงินที่เขาบริจาคหรือเงินเบ้ียยังชีพ ถ้าเขาได้ไปเห็นบ้าน
ยากจน เห็นชีวิตความเป็นอยู่ประจาวัน อาจจะให้หรือบริจาค
มากกว่าเงิน เช่น เสื้อผ้า อาหาร ยารักษาโรค หรือเคร่ืองอุปโภค
บริโภค ความจาเป็นข้นั พน้ื ฐาน”
การบรจิ าคเบี้ยยงั ชพี 22
จา ก กา ร ดา เ นิน โ คร ง กา ร บริ จ า คเ บ้ี ยยั ง ชีพ ผู้ สู ง อ ายุ ต าม แ น ว
นโยบายของรัฐบาล ได้ทาการค้นหาข้อมูลจากผู้บริจาค และจาก
การสบื ค้นข้อมูลจาก Web site หรอื Social Media ต่างๆ พบว่า
มีทั้งผู้ท่ีเห็นด้วย และไม่เห็นด้วยกับการดาเนินงานตามโครงการ
โดยผ้ทู ่ีเห็นด้วยจะเห็นถึงความสาคัญของการให้ แม้ว่าจะเป็นเงิน
เพยี งเลก็ นอ้ ยแต่มคี ณุ ค่าและมีความหมายกับผู้ด้อย โอกาส หรือผู้
ประสบปัญหาความเดือดร้อนที่ยังมีอยู่ในสังคม โดยไม่ได้คานึงถึง
การนาไปใช้กับใคร ต้ังถิ่นฐานอยู่จังหวัดใดแต่ในทางตรงกันข้ามก็
ยังมีผู้สูงอายุบางคน บางกลุ่ม อาจจะคิดว่าเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุที่
รัฐบาลได้จัดสรรให้น้ันเป็นสิทธิที่เขาควรจะได้รับ หรืออยาก
ตัดสินใจบริจาคด้วยตนเองกับมือ และอาจจะไม่มั่นใจว่าเงินท่ี
บริจาคไปนั้นจะไปอยู่ท่ีไหน ผู้สูงอายุที่ด้อยโอกาสทางสังคมจะได้
จริงรบั หรอื ไม่
การบรจิ าคเบ้ียยังชีพ 23
ขอ้ เสนอแนะ
โครงการบรจิ าคเบี้ยยังชีพผู้สงู อายุของรัฐบาล ถอื วา่ เป็น
นโยบายท่ีดีทีใ่ ห้ผสู้ งู อายุที่รับเบ้ียยังชีพและมีฐานะทางครอบครัว
เปน็ ผมู้ ีอันจะกิน หรือผู้ท่มี ีฐานะดี แต่ต้องการชว่ ยเหลือเพ่ือน
มนษุ ย์ดว้ ยกันที่ดอ้ ยโอกาสกว่า หรอื มีฐานะยากจน ให้พวกเขา
เหลา่ น้ัน ได้มคี วามเป็นอยู่ที่ดีขน้ึ สามารถพึ่งพาตนเองได้ และอยู่
ในสงั คมไดอ้ ย่างมีคุณคา่ มคี วามสขุ และมีศักด์ิศรขี องความเปน็
มนษุ ย์ แตท่ วา่ โครงการยังมีขอ้ จากัดในเรื่องของ “ผู้ให.้ ..ผรู้ บั ”
ซึ่งผใู้ หเ้ ต็มใจที่จะให้แต่เม่ือให้ไปแล้วเงนิ บริจาคนั้นจะไปอยู่ทไ่ี หน
อยกู่ ับใคร ไม่สามารถร้ไู ด้เลย และในทางท่ีกลบั กัน ผ้ใู หถ้ า้ มอบให้
ดว้ ยตวั เอง ย่นื ใหก้ ับมือตวั เอง เขาจะรูว้ ่าคนที่เขาบริจาคให้นน้ั
เปน็ ใคร สามารถลงไปเย่ยี มหรืออาจจะดแู ลไดม้ ากกว่าที่บริจาค
เพยี งแค่เงนิ เบ้ยี ยังชพี ผ้สู งู อายุ ดงั น้นั หากจะต้องดาเนินโครงการ
บริจาคเบี้ยยงั ชพี ผูส้ งู อายใุ หด้ าเนินต่อไปได้
1. การประชาสมั พันธโ์ ครงการบริจาคเบี้ยยงั ชีพผ้สู งู อายุ
ต้องเปน็ ไปอยา่ งตอ่ เน่ือง
2. ผบู้ ริจาคเบย้ี ยงั ชพี ผู้สูงอายุ บริจาคเขา้ กองทุนในชุมชน
หรือกองทนุ จงั หวดั ด้วยตวั เอง
การบรจิ าคเบ้ียยงั ชพี 24
3. ถ้าจาเป็นต้องบรจิ าคเบย้ี ยังชีพผสู้ งู อายเุ ขา้ กองทุน
ผสู้ งู อายุของกระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่ันคง
ของมนษุ ย์ เงนิ ท่ีบริจาคให้นาสง่ กลับคืนกับผสู้ ูงอายดุ ้อย
โอกาสทางสังคมในพน้ื ทจี่ ังหวัด
การบริจาคเบยี้ ยงั ชีพ 25
บทสรุปก็คือ ไม่ว่าจะเป็นการบริจาคเงินเข้ากองทุนตาม
นโยบายของรัฐหรือบริจาคด้วยตัวเองล้วนแต่เป็นการ
ช่วยเหลือผู้สูงอายุด้อยโอกาส หรือผู้สูงอายุเดือดร้อน
ประสบปัญหาทางสังคม ให้ได้มีคุณภาพชีวิตท่ีดี อยู่ใน
สังคมได้อย่างมีความสุข มีคุณค่า และมีศักดิ์ศรีของ
ความเปน็ มนุษยเ์ หมอื นกนั
การบริจาคเบี้ยยงั ชพี 26
การบริจาคเบี้ยยังชพี 27
ภาคผนวก
การบริจาคเบี้ยยงั ชพี 28
การบริจาคเบย้ี ยงั ชพี 29
การบรจิ าคจะตอ้ งทาอยา่ งไรบา้ ง....
การบริจาคเบี้ยยงั ชพี 30
การบริจาคเบีย้ ยังชีพ 31
แบบคาขอบริจาคเบยี้ ยังชพี ผ้สู ูงอายเุ พื่อสง่ เข้ากองทุนผูส้ งู อายุสาหรบั จ่ายเงินสงเคราะห์
เพอื่ การยงั ชีพให้แก่ผู้สงู อายุท่ีมีรายไดน้ อ้ ย
ข้อมลู ผสู้ ูงอายุ
เขียนท.่ี ...................................................
วนั ท.่ี .............เดอื น.................................พ.ศ.....................
ด้วยขา้ พเจ้า(นาย/นาง/นางสาว)ชื่อ...............................นามสกุล..............................
เกิดวนั ท.ี่ ...........เดอื น...............................พ.ศ....................อายุ................ปี สญั ชาติ
...........................มชี ื่ออยู่ในสาเนาทะเบยี นบ้านเลขที่.........................หมทู่ ี่/ชมุ ชน
.....................................ตรอก/ซอย..............................ถนน......................................ตาบล/แขวง
........................................อาเภอ/เขต...................................จงั หวดั ............................................
รหัสไปรษณีย์................................... โทรศพั ท์.........................................................
หมายเลขบัตรประจาตัวประชาชนของผู้สงู อายุที่ย่นื คาขอ - - --
ทอ่ี ยู่ปจั จุบัน (หากไมเ่ หมอื นทอี่ ยใู่ นสาเนาทะเบียนบา้ นกรุณากรอก) เพอ่ื การจัดสง่
ใบเสรจ็ รบั เงนิ และเหรยี ญเชิดชเู กยี รตสิ าหรบั ผ้บู รจิ าคเบ้ียยังชพี ผสู้ ูงอายุ
......................................................................... จังหวดั ..................... รหสั ไปรษณยี ์ ..............
สถานภาพการรบั เงินเบ้ียยงั ชีพผ้สู งู อายุ
ได้รับเงินเบีย้ ยังชีพผ้สู ูงอายอุ ยใู่ นปัจจุบัน จาก องคก์ ารบริหารสว่ นตาบล
................................. จงั หวดั ................................. เทศบาล .................................... จังหวัด
................................. กรงุ เทพมหานคร เขต ................................ เมอื งพทั ยา
การแจ้งความประสงค์
มคี วามประสงคข์ อบรจิ าคเบี้ยยังชีพผสู้ งู อายุทัง้ จานวนท่ไี ด้รบั ต้ังแตเ่ ดือนถัดจากเดอื นท่ีได้
แจ้งความประสงคเ์ ปน็ ตน้ ไป จนกว่าจะแสดงความประสงคข์ อยกเลกิ การบริจาค
ท้งั นกี้ ารตดั เบ้ียยังชีพเปน็ เงนิ บรจิ าคจะดาเนนิ การเมอื่ ได้มกี ารตรวจสอบความถกู ตอ้ งของ
ข้อมูลแล้ว และ
การยกเลิกการบริจาคจะดาเนินการได้เมื่อบริจาคมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน พร้อมแนบ
เอกสาร ดังนี้
กรณแี จ้งดว้ ยตนเอง: สาเนาบัตรประจาตวั ประชาชน หรอื สาเนาบัตรอน่ื ทอี่ อกโดยหน่วยงาน
ของรฐั ท่มี ีรูปถา่ ย
การบริจาคเบยี้ ยงั ชพี 32
กรณแี จ้งมอบอานาจ: หนงั สอื มอบอานาจพรอ้ มสาเนาบัตรประจาตัวประชาชนของผ้มู อบ
อานาจและผรู้ บั มอบอานาจ
“ข้าพเจา้ ขอรบั รองวา่ ขอ้ ความดังกล่าวข้างตน้ เป็นความจริงทกุ ประการ”
(ลงชอ่ื )................................................. (ลงช่อื )...........................................
(......................................) (.........................................)
ผูย้ ื่นคาขอ/ผรู้ ับมอบอานาจยน่ื คาขอ เจ้าหนา้ ท่ีผ้รู ับ
ลงทะเบยี น.
หมายเหตุ ใหข้ ีดฆ่าขอ้ ความท่ไี ม่ตอ้ งการออก และทาเครอื่ งหมาย ในชอ่ ง หนา้ ข้อความ
ทตี่ ้องการ
เฉพาะกรณผี สู้ ูงอายมุ อบอานาจใหบ้ คุ คลอืน่ มาย่ืนคาขอฯ แทน
ผยู้ น่ื คาขอฯ แทนตามหนังสือมอบอานาจ เก่ียวข้องเป็น.................................................กบั
ผู้สูงอายทุ ี่ขอลงทะเบยี น ชอื่ -สกุล (ผรู้ ับมอบอานาจ)
.................................................................................เลขประจาตวั ประชาชนผูร้ บั มอบอานาจ
-- - - ท่อี ย.ู่ ................................................................................
........................................................โทรศัพท์................................................................
การบรจิ าคเบย้ี ยังชพี 33
หนงั สอื มอบอานาจ
เขียนท.ี่ ...................................................
วันท.่ี .............เดอื น.................................พ.ศ.....................
โดยหนงั สอื ฉบับน้ี ข้าพเจา้ .........................................................อายุ................ปี
เช้ือชาต.ิ .......................สญั ชาติ....................บา้ นเลขท่ี............................หมทู่ ี.่ ......................
ตรอก/ซอย..............................ถนน.............................ตาบล/แขวง........................................
อาเภอ/เขต...................................จังหวดั ....................... เบอรโ์ ทรศัพท.์ ..............................
ได้มอบอานาจให.้ .......................................................................อาย.ุ ...............ปี
เชื้อชาต.ิ .......................สญั ชาติ....................บ้านเลขที่............................หมทู่ ี.่ ......................
ตรอก/ซอย..............................ถนน.............................ตาบล/แขวง........................................
อาเภอ/เขต...................................จังหวดั ..........................เบอรโ์ ทรศัพท์..............................
เป็นผมู้ อี านาจดาเนินการแจ้งบรจิ าค/แจ้งยกเลกิ การบรจิ าคเบ้ียยงั ชพี ผสู้ ูงอายเุ ขา้ กองทนุ
ผูส้ งู อายแุ ทนข้าพเจา้
ขา้ พเจ้าขอรบั รองวา่ การกระทาทีผ่ รู้ ับมอบอานาจไดก้ ระทาไปนนั้ ใหถ้ อื เสมือนหนงึ่
เปน็ การกระทาของขา้ พเจ้า และเพอื่ เปน็ หลักฐานรบั รองหนังสือฉบับนี้ ผมู้ อบอานาจ และผ้รู บั
มอบอานาจต่างได้ลงลายมอื ช่ือไวเ้ ปน็ สาคญั ต่อหนา้ พยาน
(ลงชื่อ)...............................................ผมู้ อบอานาจ
(...........................................) ตวั บรรจง
(ลงชอ่ื ).............................................ผรู้ ับมอบอานาจ
(...........................................) ตัวบรรจง
การบริจาคเบีย้ ยังชพี 34
(ลงชอื่ ).............................................ผรู้ บั มอบอานาจ
(...........................................) ตัวบรรจง
(ลงช่ือ).............................................ผู้รับมอบอานาจ
(...........................................) ตัวบรรจง
การบรจิ าคเบ้ยี ยงั ชพี 35
แบบคาขอยกเลิกการบรจิ าคเบี้ยยังชพี ผสู้ งู อายุ
ขอ้ มลู ผ้สู งู อายุ
เขยี นท.่ี ...................................................
วนั ท.ี่ .............เดอื น.................................พ.ศ.....................
ดว้ ยข้าพเจา้ (นาย/นาง/นางสาว)ช่ือ...............................นามสกุล..............................
เกดิ วนั ที.่ ...........เดือน................................พ.ศ....................อายุ................ปี สญั ชาติ.................
มีช่ืออยู่ในสาเนาทะเบียนบา้ นเลขที.่ ..........................หมทู่ ี่/ชมุ ชน..........................................
ตรอก/ซอย..............................ถนน............................ตาบล/แขวง........................................
อาเภอ/เขต...................................จงั หวดั ....................................รหสั ไปรษณีย์....................
โทรศัพท.์ ........................................................
หมายเลขบัตรประจาตวั ประชาชนของผ้สู งู อายุท่ียื่นคาขอ - - --
ข้าพเจา้ ได้บริจาคเบ้ยี ยังชีพเขา้ กองทุนผูส้ งู อายุมาแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 12 เดือน และมีความ
ประสงค์ขอยกเลกิ การบรจิ าคตง้ั แตเ่ ดอื นถดั จากเดือนท่ไี ดแ้ จง้ ความประสงค์ และขอรับเบี้ยยัง
ชพี ผู้สงู อายตุ ่อไป โดยวธิ ดี งั ตอ่ ไปนี้ (เลอื ก 1 วธิ )ี
รบั เงนิ สดด้วยตนเอง รบั เงนิ สดโดยบคุ คลที่ได้รบั มอบอานาจจากผมู้ สี ิทธิ
โอนเขา้ บญั ชเี งนิ ฝากธนาคารในนามผู้มสี ทิ ธิ โอนเขา้ บัญชเี งินฝากธนาคารในนาม
บุคคลท่ีไดร้ ับมอบอานาจจากผู้มสี ทิ ธิ
พร้อมแนบเอกสารดังน้ี
สาเนาบัตรประจาตวั ประชาชน หรอื สาเนาบัตรอน่ื ท่อี อกโดยหน่วยงานของรฐั ท่ีมีรปู ถา่ ย
สาเนาสมดุ บญั ชเี งนิ ฝากธนาคาร (ในกรณีผขู้ อรบั เงนิ เบี้ยยังชพี ผ้สู ูงอายุประสงค์ขอรับเงนิ
เบย้ี ยงั ชีพผ้สู ูงอายุผา่ นธนาคาร)
หนังสอื มอบอานาจพรอ้ มสาเนาบัตรประจาตวั ประชาชนของผมู้ อบอานาจและผูร้ ับมอบ
อานาจ
ท้งั น้ี การจ่ายเบย้ี ยังชีพจะดาเนนิ การเมอื่ ไดม้ กี ารตรวจสอบราคาถกู ตอ้ งของข้อมลู แลว้
*หน่วยงานรบั แจ้งบรจิ าคเปน็ ผจู้ ัดทาสาเนาให้
การบรจิ าคเบ้ียยงั ชีพ 36
*ข้าพเจ้ารับรองว่าขอ้ ความดังกลา่ วขา้ งตน้ เป็นความจรงิ ทกุ ประการ*
(ลงชอ่ื )................................................. (ลงชื่อ)...........................................
(......................................) (.........................................)
เจ้าหน้าทีผ่ รู้ บั แบบคาขอ
ผู้ย่ืนคาขอ/ผรู้ ับมอบอานาจยน่ื คาขอ หนว่ ยงาน.................................
(ลงช่อื )...........................................
(......................................)
เจา้ หนา้ ทีผ่ รู้ ับลงทะเบียน
(อบต. เทศบาล กทม. พทั ยา)
หมายเหตุ ให้ขดี ฆ่าขอ้ ความที่ไม่ต้องการออก และทาเคร่อื งหมาย / ในช่อง
หน้าขอ้ ความที่ตอ้ งการ
เฉพาะกรณผี ูส้ ูงอายมุ อบอานาจให้บุคคลอน่ื มายน่ื คาขอฯ แทน
ผยู้ นื่ คาขอฯ แทนตามหนงั สือมอบอานาจ เก่ียวข้องเป็น.................................................
กับผสู้ ูงอายทุ ข่ี อลงทะเบยี น
ชื่อ-สกลุ (ผู้รับมอบอานาจ) ......................................................... เลขประจาตัวประชาชน
ผรู้ ับมอบอานาจ
-- - - ทอ่ี ยู่....................................................................
........................................................โทรศพั ท์................................................................
การบรจิ าคเบย้ี ยงั ชีพ 37
คณะผู้จัดทา
คณะทปี่ รกึ ษา
นางสาวซาราห์ บนิ เยา๊ ะ ผู้อานวยการสานักงานส่งเสรมิ
และสนบั สนนุ วชิ าการ 10
นายกติ ติ อินทรกุล พัฒนาสังคมและความมนั่ คง
ของมนุษย์จงั หวัดภูเก็ต
คณะทางาน
นางสาวปยิ ะนาถ ทองสง่ โสม นกั พัฒนาสังคมชานาญการ
จัดพิมพแ์ ละเผยแพร่
สานกั งานส่งเสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 10
สานกั งานปลัดกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์
33 หมู่ 1 ตาบลขนุ ทะเล อาเภอเมือง จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี 84100
โทรศัพท์ 0-7735-5022 โทรสาร 0-7735-5705
E-mail : [email protected]
http://tpso-10.m-society.go.th
ปีท่ผี ลติ พฤษภาคม 2563
พิมพ์ที่ : สานกั งานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 10