The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทความวิชาการ การจัดการความรู้จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Tpso10 Network, 2021-01-11 03:19:56

บทความวิชาการ เรื่อง การจัดการความรู้จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ

บทความวิชาการ การจัดการความรู้จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ

กำรจดั กำรควำมรู้ ... สำนกั งำนสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ ำกำร 10
ปี 2564 ฉบบั ที่ 1
จำกทฤษฎสี กู่ ำรปฏบิ ตั ิ
วนั ท่ี 11 มกรำคม 2564
(Knowledge Management Implementation)

แน่นอนว่าการจัดการความรู้ (Knowledge Management) โดยเป้ าหมายของการจัดการความรเู้ พื่อใหค้ น
ไม่ใช่เรื่องใหม่ที่เกิดขึ้น มีหลายองค์กรหรือในหน่วยงานหลายแห่ง ในองคก์ รไดค้ ิดเป็ น ทาเป็ น นาไปส่กู ารทางาน
ไดน้ าการจัดการความรไู้ ปปรับใชเ้ ป็ นแนวทางในการพัฒนาองค์กร ท่ีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และองค์กร
สู่เป้ าหมาย และท่ามกลางสถานการณ์สังคมในปั จจุบันที่มี สามารถขบั เคล่อื นงานไดอ้ ยา่ งบรรลเุ ป้ าหมาย
การเปลี่ยนแปลงเกิดข้ึนอย่างรวดเร็วและไม่หยุดน่ิง “ความร้”ู
จึงเป็ นสิ่งท่ีมีคณุ ค่าและมีความสาคัญกับทกุ องค์กร หากองค์กร ระบบกำรจดั กำรควำมรใู้ นองคก์ ร
สามารถเขา้ ถึงความรู้ และนาความรทู้ ี่ไดน้ ั้นมาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ (Knowledge Management System)
“ความร”ู้ จะเป็ นเครื่องมือสาคัญท่ีจะนาไปส่กู ารปรับใชแ้ ละพัฒนา เป็ นกระบวนการท่ีจะช่วยใหเ้ กิดพัฒนาการของ
องค์กรไดท้ ันต่อสถานการณ์ และเป็ นส่วนหน่ึงในการสนับสนุน ความรู้ หรือการจัดการความร้ทู ่ีจะเกิดข้ึน
การบรรลุเป้ าหมายในการขับเคล่ือนงานขององค์กรนั้นๆ ได้ ภายในองค์กร ประกอบดว้ ย 6 ขั้นตอน ไดแ้ ก่
ปัจจบุ ันมีหลายองค์กรไม่ว่าจะเป็ นองค์กรภาครัฐ หรือองค์กร 1) กาหนด Key Organization Knowledge
ภาคเอกชน มีการนาเกณฑ์หรือมาตรฐานไปใชใ้ นการพัฒนาการ 2) สรา้ งความรนู้ ้นั ใหเ้ กิดขนึ้
บริหารจัดการองค์กร ไม่ว่าจะเป็ นเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ 3) จัดเก็บความรนู้ น้ั เขา้ ถึงความรู้
(THAILAND QUALITY AWARD - TQA) มาตรฐาน ISO 9001 : 2015 4) นาความรนู้ น้ั ไปใชง้ าน
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) เป็ นต้น 5) ปรับปรงุ ความรนู้ น้ั ใหท้ ันสมยั
ซึ่งต่างได้ระบุในเร่ืองของการวิเคราะห์และการจัดการความรู้ 6) ตรวจสอบความรนู้ น้ั วา่ สอดคลอ้ งกับ Key
เป็ นขอ้ กาหนดหนง่ึ ทีต่ อ้ งดาเนนิ การดว้ ย Organization Knowledge

กำรจดั กำรควำมรู้
สา ม า รถ นา ไปใ ช้ได้กับองค์กรทุกประเภทและทุกขนาด
(Knowledge Management) เป็ นการจัดการเพื่อให้คน (Right
ท้ังองคก์ รภาครัฐ ภาคเอกชน
People) ที่ต้องการใช้ความรู้ได้รับความรู้ (Right Knowledge)
เป็ นบรรทดั ฐานสาหรบั การประเมนิ ตนเองขององคก์ ร
ทีต่ อ้ งการใชใ้ นเวลา (Right Time) ที่ตอ้ งการ เพื่อใหบ้ รรลเุ ป้ าหมาย
ในการทางาน ผ่านการรวบรวมองค์ความร้ทู ่ีมีอยู่ ซึ่งกระจัด
กระจายอย่ใู นตัวบคุ คลหรือเอกสาร มาพัฒนาใหเ้ ป็ นระบบ เพื่อให้
ทกุ คนในองคก์ รสามารถเขา้ ถงึ ความรแู้ ละพฒั นาตนเองใหเ้ ป็ นผรู้ ู้

สรลั [Type here]

ควำมรู้ (Knowledge) คืออะไร ??? การจดั การความรใู้ นองคก์ ร ประกอบดว้ ย 3 ขนั้ ตอน
ความรู้ คือ สารสนเทศท่ีผ่านกระบวนการคิด  การหาความรทู้ ่จี าเป็ น (Knowledge) โดยพิจารณาจาก
เปรียบเทียบ เชื่อมโยงกับความรู้อ่ืนจนเกิด 1) วิสยั ทศั น์ พันธกจิ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์
เป็ นความเขา้ ใจและนาไปใช้ประโยชน์ในการสรุป 2) ความร้ทู ่ีสาคัญต่อองค์กร เช่น ความรเู้ ก่ียวกับลูกคา้
และตัดสินใจในสถานการณ์ต่างๆ โดยไม่จากัด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ค ว า ม รู้ที่ อ ง ค์ ก ร สั ่ง ส ม ค ว า ม รู้ท่ี มี อ ยู่ใ น
ช่วงเวลาโดยความร้ทู ี่นามาจัดการเป็ นความรู้ บคุ ลากร ความรสู้ าคญั เรง่ ด่วนขององคก์ ร หรือเรือ่ งฉกุ เฉิน
ประกอบดว้ ย ทตี่ อ้ งเรง่ ดาเนนิ การ
3) ปัญหาขององค์กร อะไรที่เป็ นปัญหาขององค์กร จัดการ
 ความร้ทู ี่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ความรเู้พือ่ แกไ้ ขปัญหา
เป็ นความรู้ท่ีสามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้
โดยผ่านวิธีการต่างๆ เช่นการบันทึกเป็ นลาย  จดั การ (ความร)ู้ (Management) โดยใชก้ ระบวนการ :
ลักษณอ์ กั ษร เอกสาร ทฤษฎี ค่มู อื กฎ ระเบยี บ วิธี 1) กระบวนการจัดการความรู้ (KM Process)
ปฏิบัติงาน ระบบ สื่อต่างๆ เช่น วิดีทั ศน์
อนิ เตอรเ์ นต็ เป็ นตน้ เป็ นกระบวนการหน่ึงท่ีช่วยใหอ้ งค์กรเขา้ ใจถึงข้ันตอนที่ทาให้
เกิดกระบวนการจัดการความรู้ หรือพัฒนาการของความรู้
 ค ว า ม รู้ ท่ี ฝั ง อ ยู่ ใ น ค น (Tacit ทีจ่ ะเกดิ ขนึ้ ภายในองคก์ ร ประกอบดว้ ย 7 ขนั้ ตอน
Knowledge) เ ป็ น ค ว า ม รู้ที่ ไ ด้ จ า ก ป ร ะ ส บ
ป ร ะ ก า ร ณ์ ทั ก ษ ะ ค ว า ม คิ ด พ ร ส ว ร ร ค์
สัญชาตญาณของแต่ละบุคคลในการทาความ
เ ข้า ใ จสิ่งต่า งๆ เ ช่น ทักษ ะใ นกา รทา ง า น
แนวความคิด ประสบการณต์ า่ งๆ เป็ นตน้

ที่มา : สถาบันเพม่ิ ผลผลติ แห่งชาติ

สรลั [Type here]

2) กระบวนการบริหารการเปลีย่ นแปลง ท่ีมา : สถาบนั เพิ่มผลผลิตแหง่ ชาติ
(Change Management Process) เป็ นกรอบความคิดแบบ
หน่ึงเพื่อให้องค์กรที่ตอ้ งการจัดการความร้ภู ายใน  ทาใหเ้ กดิ วงจรเรียนรู้ (Learning Cycle) :
องค์กรไดม้ ่งุ เนน้ ถึงปัจจัยแวดล้อมภายในองค์กร 1) ผลักดนั ใหน้ าความรไู้ ปใช้
ที่จะมีผลกระทบโดยวิธีการฝึ กอบรมและการเรียนรู้ 2) นาความรไู้ ปใช้ ก่อนทางาน ขณะทางาน และหลังจบ
การวัดผลการยกย่องชมเชยและการใหร้ างวัลการใช้ การทางาน
กระบว นกา รและเ ค รื่อ งมือ กา รส่ือ สา ร และ 3) นาความรทู้ ี่ได้ ท้ังความรใู้ นงานและปัญหาอปุ สรรค
การเตรียมการและปรับเปลีย่ นพฤตกิ รรม จากการทางานเก็บเขา้ คลังความรู้
4) คลังความรทู้ ่ีรวบรวมทั้ง ความรทู้ ่ีชัดแจง้ (Explicit
ทมี่ า : สถาบนั เพิ่มผลผลติ แหง่ ชาติ Knowledge) และความรทู้ ่ีฝังอยใู่ นคน (Tacit Knowledge)
5) ปรับโครงสรา้ งของคลงั ความรใู้ หเ้ หมาะกบั การใชง้ าน

KM Roadmap เพื่อม่งุ กำรเป็ นองคก์ ำรแหง่ กำรเรยี นรู้ ประกอบดว้ ย :
1) KM Awareness ทาความเขา้ ใจ KM และสอื่ สารใหค้ นในองคก์ รเขา้ ใจและเห็นความสาคญั
2) Knowledge Sharing & Capture รวบรวมความรจู้ ากผรู้ ู้ ผเู้ ชี่ยวชาญ ผ่านกิจกรรมการแลกเปลี่ยน
เรยี นรแู้ ละบนั ทึกความรู้ รวมถึงการสรา้ งแกนนาดา้ น KM หรอื ผทู้ ี่รวบรวมองคค์ วามรู้
3) Integrate Knowledge into work system/process บูรณาการ KM กับกระบวนการทางานขององค์กร
เพือ่ คน้ หา Best Practice ผลกั ดนั การต่อยอดองคค์ วามรสู้ ่นู วัตกรรม
4) Knowledge bare Organization พัฒนาส่อู งคกรแห่งการเรียนรู้ ประเมินระบบ KM ขององคร์ พรอ้ มทง้ั
ปรบั ปรงุ และพฒั นาอย่างตอ่ เนอื่ ง

สรลั [Type here]

กำรแลกเปล่ียนเรียนรู้ (Knowledge Sharing) พ้นื ฐานของการแบง่ ปัน
และแลกเปลี่ยนเรยี นรู้
การท่ีกล่มุ คนที่มีความสนใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่งร่วมกัน มารวมตวั กัน
และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ดว้ ยความสมคั รใจ เพ่ือร่วมสรา้ งความเขา้ ใจหรือพัฒนา  ความรัก (Love)
แนวปฏิบตั ิในเรือ่ งนนั้ ๆ  ความเอาใจใสก่ นั (Care)
 ความไวว้ างใจกัน (Trust)
องค์ประกอบหลักของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประกอบดว้ ย คนท่ีมี  ความปลอดภยั (Safety)
ประสบการณม์ าเล่าแลกเปล่ียนประสบการณใ์ หแ้ ก่กัน กระบวนการและสถานท่ี
มีสถานท่ีและบรรยากาศท่ีดีและเหมาะสมในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ส่ิงอานวย
ความสะดวก ทชี่ ่วยใหก้ ารแบ่งปันและแลกเปล่ยี นเรียนรเู้ กิดไดง้ า่ ยและสะดวกข้นึ

ปั จจัยหลักขอ งกา ร
แ บ่ ง ปั น แ ล ะ ก า ร เ รี ย น รู้
ประกอบดว้ ย สรา้ งแรงจงู ใจ
เหมาะสม เป้ าหมายชัดเจน
ความรทู้ ี่ใชใ้ นงานประจาวันได้
ผนู้ าเป็ นแบบอย่าง วฒั นธรรม
อ ง ค์ ก ร เ ห ม า ะ ส ม ส ร้า ง
เครือขา่ ยผปู้ ฏบิ ตั ิ

The SECI Model - Modes of Knowledge Transfer ที่มา : สถาบนั เพ่มิ ผลผลติ แหง่ ชาติ
โ ม เ ด ล เ ซ กิ ( SECI Model) โ ด ย Nonaka

และ Takeuchi นาเสนอแผนภาพแสดงความสัมพันธ์
การหลอมรวมความรใู้ นองคก์ รระหว่างความรทู้ ี่ฝังลึก
( Tacit Knowledge) กั บ ค ว า ม รู้ ชั ด แ จ้ ง ( Explicit
Knowledge) ใน 4 กระบวนการ เพ่ือยกระดับความรู้
ให้สูงข้ึนอย่างต่อเนื่องเป็ นวัฏจักร เร่ิมจากการ
แลกเปล่ียนเรียนรู้ (Socialization) การสกัดความรู้
ออกจากตัวคน (Externalization) การควบรวมความรู้
(Combination) และการผนึกฝังความรู้ (Internalization)
และวนกลับมาเ ร่ิม ต้นทาซ้า ท่ีกระบว นกา รแ ร ก
เพื่อพัฒนาการจัดการความรใู้ หเ้ ป็ นงานประจาท่ียงั่ ยนื

สรลั [Type here]

สาหรบั เครอ่ื งมอื และวิธีการเพอ่ื แลกเปล่ยี นเรียนรู้ ประกอบดว้ ย คอv’องคก์ ร  บรรลเุ ป้ ำหมำย คน
 การบนั ทกึ : การบันทึกความรู้ บทเรยี นความสาเร็จ บนั ทึกภาพ/เสยี ง องคก์ ร
 การเล่า/พดู คยุ : ชมุ ชนนกั ปฏิบตั ิ (COP) การเลา่ เร่อื ง เสวนา กำรทำงำน  มปี ระสทิ ธิภำพ เติบโต
 การปรึกษาจากผรู้ ู้ : การใชท้ ่ีปรกึ ษาหรอื พี่เล้ียง เพอ่ื นชว่ ยเพือ่ น คน  คดิ เป็ นทำเป็ น อย่ำง
 ใหน้ าเสนอผลงาน : การสัมมนาเร่ืองความรตู้ ่างๆ ยง่ั ยืน

ตวั อย่าง : การแบง่ ปันและแลกเปลย่ี นเรียนรดู้ ว้ ย... ท่ีมา : สถาบนั เพิม่ ผลผลติ แหง่ ชาติ
ชมุ ชนนกั ปฏิบัติ Communities of Practice (COP) “กล่มุ คนที่
ท้ังนี้ KM จึงเป็ นรากฐานที่สาคัญของ
มีความสนใจเร่ืองใดเรื่องหน่ึงมารวมตัวกันและแลกเปลี่ยน องค์กรท่ีจะนาไปส่กู ารสร้างองค์ความร้ใู หม่
เรยี นรดู้ ว้ ยความสมคั รใจ เพอื่ ร่วมสรา้ งความเขา้ ใจหรือพัฒนา เพอ่ื การพัฒนา ปรับปรงุ แบบต่อเน่ือง นามาซึ่ง
แนวปฏิบัติในเรื่องนนั้ ” ซ่ึงจะเป็ นเครื่องมือท่ีทาใหค้ นในองคก์ ร นวัตกรรมใหม่ สานักงานส่งเสริมและสนับสนุน
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรตู้ ลอดเวลาจนกลายเป็ นวฒั นธรรมของ วิชาการ 10 (สสว.10) ไดด้ าเนินการถอดบทเรียน
องคก์ ร โดยสมาชิก COP ประกอบดว้ ย : ค ว า ม ส า เ ร็ จ ใ น พ้ื น ที่ รั บ ผิ ด ช อ บ แ ล ะ จั ด ท า
1) Sponsor : ผบู้ ริหารท่ีเห็นความสาคัญและให้การสนับสนุน เป็ นชดุ ความรู้ รวมถึงไดร้ วบรวมองค์ความรู้
การแลกเล่ียนเรยี นรตู้ ามเป้ าหมายองคก์ ร ของ สสว. 1 -11 ในช่องทางต่างๆ อาทิ
2) Facilitator : ผู้อานวยการให้กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Website หนว่ ยงาน (งานวิชาการ) และช่องทาง
ดาเนินไปไดต้ ามเป้ าหมาย Blockdit “ศนู ยบ์ รกิ ารวชิ าการ 10”
3) Historian : ผบู้ นั ทกึ ความรู้ เพอื่ ใหห้ นว่ ยงานทีส่ นใจ 
จากกิจกรรมแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ไดน้ าองคค์ วามรไู้ ปใชพ้ ฒั นา
4) Member : ผปู้ ฏิบัตงิ านหรอื มคี วามรู้ องคก์ รต่อไป
และประสบการณใ์ นเรอื่ งทแ่ี ลกเปล่ยี น
ท้ายที่สุดน้ี ถึงเวลาหรือยังที่เราจะนา
ที่มา : สถาบนั เพิ่มผลผลิตแหง่ ชาติ องค์ความรทู้ ี่อย่รู ายลอ้ มรอบตวั มาเช่ือมรอ้ ย
ผ่านกระบวนการต่างๆ นามาสู่การเป็ น
นอกจากน้ี การประเมินการจัดการความรู้ขององค์กร องคค์ วามรใู้ หม่ ที่ทกุ คนสามารถเขา้ ถึงความรู้
(Knowledge Management Assessment) เป็ นเคร่ืองมือตรวจประเมิน นาองค์กรไปส่กู ารเป็ นองค์กรแห่งการเรียนรู้
ระดับพัฒนาการของระบบการจัดการความรู้ (KM System เพื่อยกระดับศักยภาพขององค์กรไปส่เู ป้ าหมาย
Maturity) โดยใชก้ รอบแนวคิดของของเกณฑร์ างวัลคณุ ภาพแห่งชาติ ท่อี งคก์ รวางไว.้ ..
(TQA) ในการสรา้ งแบบประเมินเพ่ือพิจารณาจดุ แข็ง (Strength) และ
โอกาสในการปรับปรงุ (Opportunities for Improvement) ผลลัพธ์ของการ
ประเ มิ นสา ม า ร ถ ใ ช้เ ป็ นข้อ มู ล ป ระ กอ บ ใ น กา ร ก า ห น ด
กลยุทธ์สาหรับการวางแผนและพัฒนาการจัดการ ความรู้
เป็ น KM Roadmap ทเี่ หมาะสมกับองคก์ รได้

ที่ปรึกษา : นางสาวมนดิ า ลม่ิ นจิ สรกลุ ผอู้ านวยการสานักงานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 10
นายพงษภทั ร แสงพทิ รู หัวหนา้ กลมุ่ การวจิ ัยและการพฒั นาระบบเครือขา่ ย

เรียบเรยี งโดย : นางสรลั ชนา หงษว์ วิ ฒั น์ นกั สังคมสงเคราะหช์ านาญการ
สานกั งานสง่ เสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 10

สรลั [Type here]


Click to View FlipBook Version