The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

KM หัวใจนำทาง สู่การเสริมสร้าง คุณภาพชีวิตเด็กภายใต้วิถีชุมชนชาวเล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Tpso10 Network, 2020-08-20 04:36:07

KM หัวใจนำทาง สู่การเสริมสร้าง คุณภาพชีวิตเด็กภายใต้วิถีชุมชนชาวเล

KM หัวใจนำทาง สู่การเสริมสร้าง คุณภาพชีวิตเด็กภายใต้วิถีชุมชนชาวเล

คำนำ

ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม รู้ ( Knowledge Management : KM)
เป็นการรวบรวมองค์ความรู้ท่ีมีอยู่ในองคก์ ร ซ่ึงกระจัดกระจายอยู่ในตัว
บุคคล หรือเอกสารมาพัฒนาให้เป็นระบบ เพ่ือให้ทุกคนในองค์กร
สามารถเข้าถึงความรู้และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงาน
ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพอนั จะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถเชิงแข่งขัน
สูงสุด โดยเป้าหมายที่สาคัญของการจัดการความรู้มุ่งพัฒนา
ใน 3 ประเด็น ได้แก่ พัฒนางาน พัฒนาคนและการเป็นองค์กร
แห่งการเรียนรู้ สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 เป็นองค์กร
หลักในการส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการด้านการพัฒนาสังคมแก่ภาคี
เครือข่ายในระดับพื้นที่ ศึกษา วิเคราะห์ สถานการณ์เพื่อคาดการณ์
แนวโน้มสถานการณ์ทางสังคมและผลกระทบ การถ่ายทอดความรู้
ดา้ นการพัฒนาสังคมในระดบั พ้ืนที่ รวมถึงเป็นศนู ยเ์ รยี นรู้ ศนู ย์บริการ
วิชาการในระดับพ้ืนที่กลุ่มจังหวัด โดยมีจังหวัดพื้นท่ีรับผิดชอบ
7 จงั หวัด ได้แก่ สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง พังงา กระบี่ ภูเก็ต และ
นครศรธี รรมราช

สาหรับการดาเนินงานในปี 2563 สานักงานส่งเสริม
และสนับสนุนวิชาการ 10 ไดด้ าเนินโครงการศูนยบ์ ริการวิชาการพัฒนา
สังคมและจัดสวัสดิการสังคม โดยมีกิจกรรมการจัดการความรู้
และการถ่ายทอดความรู้ ซ่ึงได้พิจารณาคัดเลือกกระบวนงานของทีม
One Home พม. จังหวัดภูเก็ต ในการขับเคล่ือนงานเพื่อส่งเสริม
คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ก ลุ่ ม เ ด็ ก ช า ว เ ล ใน พ้ื น ท่ี เพ่ื อ น า ม า จั ด ท า เป็ นชุ ด ค ว ามรู้

สาหรับถ่ายทอดให้แก่หน่วยงานและพื้นที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์
ได้ต่อไป

ในโอกาสนี้ สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10
ขอขอบคุณนายกิตติ อินทรกุล พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์
จังหวัดภูเก็ต นางสาวจิตรลดา สังข์ประพันธ์ นักพัฒนาสังคมชานาญ
การพิเศษ นางสาวนิรามน ขอศานติวิชัย นักพัฒนาสังคมชานาญการ
และนางสาวอุไรไมดุเก็ม ผู้ช่วยผู้อานวยการมูลนิธิหมู่บ้านเด็กตะวันฉาย
ที่ให้การสนับสนุนองค์ความรู้และข้อมูลสาหรับการจัดการความรู้
ในคร้ังนี้ และขอขอบคุณนางสาวซาราห์ บินเย๊าะ ผู้อานวยการ
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 ท่ีให้คาแนะนาและ
สนับสนนุ การจัดการความรู้ดงั กล่าว

ท้ังนี้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า การจัดการความรู้
ในครั้งน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ท่ีสนใจหรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง และ
สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนางานหรือประยุกต์ใช้ในการ
ทางาน เพื่อให้สอดคลอ้ งตามบรบิ ทงานได้อย่างเหมาะสมตอ่ ไป

ผู้จดั ทำ
สำนักงำนส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชำกำร 10

สำรบัญ 5

เสนห่ ์ทางใต้ 7

ชวี ติ ท่เี ลยี บเล 10
12
เด็กนอ้ ยในชุมชน 13
เมือ่ ถกู มองเป็นชายขอบ ...
 จดุ เลก็ ๆ ท่ีไม่อาจมองข้าม ... 17
17
จากใจสง่ ถงึ ใจ 26
 เรม่ิ ต้นดว้ ยหวั ใจ 34
 จากวิถชี วี ิตสู่กิจกรรม 36
 ประมวลภาพกจิ กรรม 37
 บรู ณาการส่คู วามสาเร็จ 39
 ความร่วมมือที่ไมเ่ สยี เปลา่
 เสียงสะท้อนจากชายฝั่ง 40

กลไกการขับเคลื่อน 46

ปจั จยั แห่งความสาเร็จ

ขอ้ ท้าทายที่เผชิญ 47
ความคาดหวงั ในอนาคต 49
สารจากภูเกต็ 50

เสน่หท์ ำงใต.้ ..

เมื่อกล่าวถึงเกาะที่มีขนาดใหญ่ท่ีสุดในประเทศไทย
คงเป็นท่ีไหนไปไมไ่ ด้นอกจาก “จังหวัดภูเก็ต” ซ่ึงเป็นเพียงจังหวัดเดียว
ในประเทศไทยท่ีมีลักษณะภูมิประเทศเป็นเกาะต้ังอยู่ในทะเลอันดามัน
และถือเป็นแหล่งท่องเท่ียวที่มีชื่อเสียงไม่เพียงแต่ในประเทศเท่านั้น
แต่ยังมีช่ือเสียงไปถึงระดับโลก และเป็นท่ีรู้จักของผู้คนท้ังชาวไทยและ
ชาวต่างชาติ เนื่องจากเป็นสถานที่ที่เล่ืองลือในเสน่ห์ความงดงาม
ทางท้องทะเล ที่เป็นปัจจัยดึงดูดให้ผู้คนจากหลากหลายเชื้อชาติหรือ
หลากหลายวัฒนธรรมได้มาเข้ามาช่ืนชมธรรมชาติแห่งท้องทะเลที่แสน
งดงาม จนทาให้จังหวัดภูเก็ตเป็นหน่ึงในจังหวัดที่มีความเติบโตทาง
เศรษฐกจิ การทอ่ งเทย่ี วอย่างไม่มอี ะไรมาหยุดย้งั

“รำไวย์” เป็นช่ือหาดแห่งหน่ึงท่ีตั้งอยู่บนพ้ืนที่จังหวัด

ภูเก็ต และคงเป็นชื่อท่ีหลายๆ คนรวมถึงนักท่องเที่ยวคุ้นหูเป็นอย่างดี

แม้จะเทียบไม่ได้กับความคึกคักของหาดป่าตอง แต่หาดราไวย์ก็มี

มนเสน่ห์ในความเรียบง่ายและน่าดึงดูด

ใจไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน เพราะหาด

ราไวย์ถือเป็นแหล่งอาหารทะเลสาหรับ

เกาะภูเก็ตเลยก็ว่าได้ และเต็มไปด้วย

บรรยากาศที่คึกคักสาหรับการจับจ่ายใช้

สอย เป็นแหล่งรวมของอาหารทะเลสด

ใหม่ทเ่ี พ่ิงขึน้ จากเรือ สาหรบั นามาทาเป็น

อ า ห า ร เ ลิ ศ ร ส พ ร้ อ ม ท่ี จ ะ เ สิ ร์ ฟ ใ ห้ แ ก่

ทม่ี า :https://sites.google.com/site/ นักท่องเที่ยวที่ปรารถนาและอยากจะลิ้ม
papatsorn23223 ลองอาหารทะเลท่มี ีความสดใหม่ รวมถึง

หัวใจนำทำง สูก่ ำรเสรมิ สรำ้ ง … 5|Page
คุณภำพชีวติ เด็กภำยใต้วถิ ชี ุมชนชำวเล “ภูเกต็ ”

เป็นแหล่งรวมของนักท่องเท่ียวในการตามหาสินค้าของที่ระลึกท่ีทามา
จากเปลือกหอยน้อยใหญ่รายเรียงกันไป นอกจากการเป็นครัวแห่ง
อาหารทะเลแล้ว หาดราไวย์ยังนับว่าเป็นอีกจุดหนึ่งสาหรับ
นั ก ท่ อ ง เ ท่ี ย ว ต้ อ ง ก า ร ขึ้ น เ รื อ เ พื่ อ ท่ี จ ะ ไ ป เ ท่ี ย ว ต า ม เ ก า ะ ต่ า ง ๆ
อีกมากมาย

ท่ า ม ก ล า ง ค ว า ม ท่ีมา : dmiceplanner.businesseventsthailand.com
เคล่ือนไหวของผู้คนสีสันจากแสง ทมี่ า : www.paiduaykan.com
ไฟที่สะท้อนของตลาด ร้านอาหาร
ที่พัก ที่เปิดบริการนักท่องเที่ยว ท่มี า : Facebook Phuket Guide by Phukhao
สองฝั่งถนนริมชายหาด ตลอดจน
ก า ร สั ญ จ ร ข อ ง ผู้ ค น ห รื อ
นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว ท่ี ค ล า ค ล่ า บ น
ท้องถนน แต่หากเราละทิง้ สายตา
จากความจอแจจากภาพตรงน้ัน
แล้วเดินลึกเข้าไปจากหาดราไวย์
ไปอีกไม่กี่ร้อยเมตร เราอาจจะ
ต้องแปลกใจกับอีกสภาพแวดล้อม
รูปแบบหนึ่งซ่ึงเป็นภาพที่ผกผันกัน
อ ย่ า ง ส้ิ น เ ชิ ง จา ก แ ส ง ไฟ ของ
ร้านต่างๆ ที่สาดส่องบนท้องถนน
ภาพความจอแจของนักท่องเท่ียว
หลากหลายเช้ือชาติบนท้องถนน
ค่อยๆ จางหายไป หมดสิ้นไป
กลับกลายเป็นภาพความเป็นอยู่
ของผู้คนที่อาศัยกันอย่างแออัด

หัวใจนำทำง สู่กำรเสรมิ สรำ้ ง … 6|Page
คุณภำพชวี ติ เด็กภำยใตว้ ถิ ชี ุมชนชำวเล “ภูเกต็ ”

บา้ งทาดว้ ยไม้ บา้ งทาด้วยสังกะสีท่เี รยี งรายติดกันอย่างไม่มีระยะห่าง
ออกจากกัน มีเพียงกลุ่มคนผิวดาหลากหลายรุ่นไม่ว่าจะเป็นกลุ่มผู้สูง
วัยชายหญิงหนุ่มสาวจนมาถึงรุ่นเด็ก บ้างก็น่ังจับกลุ่มคุยกัน บ้างก็นั่ง
คัดปลาทเี่ พงิ่ นาขึ้นจากเรือ บา้ งกท็ าความสะอาดเครื่องมือทามาหากิน
บางก็วิ่งเล่นไปมา ซ่ึงกลุ่มคนเหล่าน้ีเป็นกลุ่มชาติพันธุ์เล็กๆ กลุ่มหนึ่งที่
อาศัยบนหาดราไวย์ท่ีเรียกกันว่า “ชาวไทยใหม่” หรือที่เรียกกันอีกช่ือ
หนึ่งวา่ "ชาวเล"

ชีวิตท่เี ลยี บเล...

เม่ือพูดถึงกลุ่มชาติพันธ์ุในประเทศไทยแล้วนั้น อาจจะมี
น้อยคนนักที่รู้จักกลุ่มชาติพันธ์ุทุกกลุ่มในประเทศไทย ซึ่งกลุ่มชาติพันธ์ุ
ดังกล่าวอาศัยรวมกันเป็นชนกลุ่มน้อยซ่ึงกระจัดกระจายตามพ้ืนท่ีหรือ
ตามภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ ซ่ึงวิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธ์ในแต่ละ
กลมุ่ กจ็ ะแตกต่างกันไปตามบรบิ ทของพื้นท่ีที่ดารงชวี ิต และในแตล่ ะกลุ่ม
ล้วนมีวัฒนธรรม ภาษา ศาสนา วิถีชีวิตเป็นของตนเอง โดยจากแผน
แม่บทการพัฒนากลุ่มชาติพันธ์ุในประเทศไทย (พ.ศ. 2558 –2560)
ได้จาแนกกลมุ่ ชาติพันธุ์ตามลักษณะการตั้งถนิ่ ฐาน 4 ลักษณะ คือ กลุ่ม
ชาตพิ ันธบ์ นพื้นท่ีสงู หรือ “ชนชาวเขา” กล่มุ ชาตพิ ันธตุ์ ้งั ถิ่นฐานในพ้ืนท่ี
ราบ กลุ่มชาติพันธ์ุท่ีอาศัยอยู่ในป่า กลุ่มชาติพันธุ์ท่ีตั้งถ่ินฐานในทะเล
หรือ “ชาวเล” ซ่ึงกลุ่มชาวเลดังกล่าวยังสามารถจาแนกได้จานวน
3 กลุม่ ชาติพนั ธุ์ ได้แก่ มอแกน มอแกลน และอรู กั ลาโว้ย กลุ่มดงั กล่าว
จะตั้งถิ่นฐานตามหมู่เกาะหรือชายฝ่ังทะเล ดารงชีวิตอยู่ท้ังบนบกและ

หวั ใจนำทำง สูก่ ำรเสริมสร้ำง … 7|Page
คุณภำพชวี ติ เดก็ ภำยใตว้ ิถชี มุ ชนชำวเล “ภเู กต็ ”

ในทะเล ประกอบอาชีพประมงเป็นหลัก (ท่ีมา : รายงานวิจัยฉบับ
สมบูรณ์ การผูกทุนทางวัฒนธรรมแบบข้ ามพ้ืนที่ในการส่งเสริม
ความมั่นคงทางสังคมของกลุ่มชาติพันธ์อูรักลาโว้ย กรณีศึกษาจังหวัด
ภูเกต็ , กันยายน 2559)

เ ช่ น เ ดี ย ว กั น กั บ พ้ื น ท่ี ข อ ง ห า ด ร า ไ ว ย์ บ น เ ก า ะ ภู เ ก็ ต
ที่นอกจากจะเปน็ สถานที่ทอ่ งเท่ียวของนักทอ่ งเทีย่ วแล้วนน้ั ยงั คงเปน็ ที่
พักพิงหรือที่อยู่อาศัยของกลุ่มชาวเล โดยพ้ืนท่ีดังกล่าวมีการแบ่งโซน
ตามสภาพของพ้ืนท่ีออกเป็นสามโซน ชาวบ้านต่างเรียกขานกันว่า
ปะบน ปะกลาง และปะตก สาหรับชาวเลบนพื้นที่หาดราไวย์มีจานวน
ครัวเรือนประมาณ 255 ครัวเรือน ประชากรโดยรวมท้ังสิ้นกว่า 1,300 คน
ประกอบไปด้วยกลุ่มชาติพันธุ์ชาวเลท้ัง 3 กลุ่ม โดยกลุ่มแรกเป็นกลุ่ม
มอแกนท่ีอยู่ฝ่ังปะตกติดกับถนนใหญ่ ส่วนกลุ่มมอแกลนมักจะเป็นกลุ่ม
ลูกสะใภ้หรือลูกเขยท่ีเข้ามาอยู่ในครอบครัว สาหรับกลุ่มท่ีมีประชากร
มากที่สุดบนพื้นที่หาดราไวย์จะเป็นกลุ่มอูรักลาโว้ย วิถีชีวิตของกลุ่มชน
ชาวเลจากเดิมจะมีญาติพี่น้องไปมาหาสู่กันอย่างต่อเน่ืองมีประเพณี
ประจาปี เช่น พิธีลอยเรือ พิธีแก้บนหรือพิธีอ่ืนๆ ของหมู่บ้าน ท่ีทาให้
ชาวเลได้มารวมตัวกันประกอบพิธีกรรมต่างๆ จากเดิมวิถีชาวเล
มีการเคล่ือนท่ีหรือออกทะเลพักแรมเป็นระยะเวลานานๆ แต่ในบริบท
ของ สัง คมปัจจุบัน มี ก า รป รั บ วิ ถีชี วิต ใ ห้เ ข้ ากั บ ส ภ า พข อง สัง ค ม เ พ่ื อ
ความอยู่รอดในการดารงชีวิต ชาวเลส่วนใหญ่ต้ังถิ่นฐานถาวร
อยู่บริเวณชายฝั่ง โดยมีวิถีชีวิตเพื่อการดารงอยู่จากการออกหาปลา
เพื่อทากินเป็นอาหาร รวมถึงหาเล้ียงชีพด้วยการทาการประมง ดาน้า
หาหอย ทาลอบลงอวนดักปลา แต่ด้วยสภาพการเปลี่ยนแปลงท่ี
รวดเรว็ ของพ้ืนท่ีทางเศรษฐกิจ ธรุ กิจ สถานประกอบการที่นาพาความ
เจริญเข้ามาไม่ขาดสาย การทาประมงของกลุ่มชาวเลก็ไม่อาจสู้แรง

หัวใจนำทำง สู่กำรเสริมสรำ้ ง … 8|Page
คณุ ภำพชวี ติ เดก็ ภำยใตว้ ถิ ีชมุ ชนชำวเล “ภเู กต็ ”

กาลังของการประมงพาณชิ ย์ได้ กลุม่ คนหน่มุ สาวชาวเลบางสว่ นจึงต้อง
ผันตัวไปเป็นแรงงานในธุรกิจท่องเท่ียวการขับเรือ พานักท่องเท่ียว
ดาน้า เนื่องจากชาวเลโดยส่วนใหญ่มีทักษะการว่ายน้าและดาน้าเป็น
ทกั ษะคูก่ าย รายไดอ้ น่ื ๆ มาจากนักทอ่ งเทีย่ วที่เข้าเย่ียมชมหมบู่ ้านของ
ชาวเล และในขณะที่พ่อแม่หรือคนวัยหนุ่มสาวกาลังทางานเพื่อหา
รายได้มาเพ่ือการดารงชีวิตอยู่รอดของครอบครัว แล้วกลุ่มเด็กชาวเล
จะมีวถิ ีความเป็นอยู่อยา่ งไรกนั ... !!!

หวั ใจนำทำง ส่กู ำรเสรมิ สร้ำง … 9|Page
คุณภำพชวี ิตเด็กภำยใต้วิถีชุมชนชำวเล “ภเู กต็ ”

เด็กน้อยในชมุ ชน...

ทุกวันที่ 20 พฤศจิกายนของทุกปี เกือบทุกประเทศ
ทั่วโลกได้ร่วมลงสัตยาบรรณกาหนดให้วันดังกล่าวเป็น “วันสิทธิเด็กสากล”
(Universal children’s day) เหตุผลเพื่อต้องการให้ทุกคนได้ตระหนักถึง
ความสาคัญของเด็ก ร่วมกันพิทักษ์สิทธิเด็กอย่างเข้มแข็งให้อยู่รอด
ปลอดภัย และมีพัฒนาการท่ีพร้อมเพื่อสืบทอดมรดกวัฒนธรรม
ให้ยั่งยืนต่อไป โดยสิทธิตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (Convention
on the Right of the Child) ที่บังคับใช้ในประเทศไทย ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2535
ครอบคลุมสิทธิเด็กโดยรวม 4 ด้าน ได้แก่ สิทธิในการมีชีวิต สิทธิที่จะ
ได้รับการปกป้องคุ้มครอง สิทธิในด้านพัฒนาการ และสิทธิในการมี
ส่วนร่วม (ที่มา : มูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก) สิทธิดังกล่าวจึงเป็นสิ่งท่ี
เด็กทุกคนควรจะได้รับโดยไม่ถูกขีดจากัดด้วยเพศ เช้ือชาติ ศาสนา
แลว้ ในสงั คมปจั จบุ ันจะยังมเี ดก็ สักกคี่ นทีย่ งั เขา้ ไม่ถึงสิทธิเหล่านั้น...!!!

หัวใจนำทำง สูก่ ำรเสริมสรำ้ ง … 10 | P a g e
คณุ ภำพชีวิตเด็กภำยใตว้ ถิ ีชมุ ชนชำวเล “ภเู กต็ ”

หัวใจนำทำง สู่กำรเสรมิ สรำ้ ง … 11 | P a g e
คณุ ภำพชีวิตเด็กภำยใต้วถิ ชี ุมชนชำวเล “ภเู ก็ต”

 เม่ือถูกมองเป็นชายขอบ ...

แต่หากมองย้อนกลับไปบนพื้นที่หาดราไวย์ กลับมีเด็ก
กลุ่มหนง่ึ ทแ่ี ทบจะหลุดออกจากวงโคจรของการเข้าถึงสิทธิต่างๆ ตามท่ี
เด็กคนหน่ึงพึงได้รับ เฉกเช่นเดียวกับเด็กชาวเลของชุมชนหาดราไวย์
ท่ีอาจเข้าไม่ถึงสิทธิดังกล่าวข้างต้นซึ่งหากมองภาพบนพ้ืนท่ีชุมชน
ชาวหาดราไวยแ์ ล้วนั้น จะเห็นเดก็ กลมุ่ หน่งึ ที่วิง่ เลน่ บนทอ้ งถนน วิง่ ตาม
ริมชายหาดท่ีทอดยาว เนื้อตัวผิวสีค่อนข้างเข้ม บ้างก็หน้าตาเปรอะเป้ือน
บางคนสวมใส่เสื้อ บางคนไม่มีเสื้อผ้าสวมใส่ บางคนสวมรองเท้า บาง
คนไม่มีรองเท้าสวมใส่ มีวิถีชีวิตที่อยู่เคียงคู่กับทะเลต้ังแต่ลืมตาข้ึนมา
พบเจอโลก เดก็ ชาวเลเกือบทกุ คนมที กั ษะการว่ายน้า ดานา้ ท่ีตดิ ตวั มา
มีกิจกรรมท่ีไม่อาจแยกจากทะเลไม่ว่าจะเป็นการจับปลา จับปู จับ
ปลาหมึกที่อยู่ในรู แทบจะไม่เคยออกไปสัมผัสพ้ืนที่นอกชุมชนเลยก็ว่า
ได้ ซึ่งโดยส่วนใหญ่ล้วนแต่เข้าไม่ถึงสิทธิที่เด็กพึงจะได้รับ ประกอบกับ
ความเคยชินกับการใช้วิถีชีวิตรูปแบบเดิม หรือการต้องออกไปทางาน
ของผใู้ หญใ่ นครอบครวั มผี ลใหก้ ารใหค้ วามสนใจในเรอ่ื งของการศึกษา
สุขอนามัยต่างๆ การเสริมสร้างพัฒนาการตามวัยของเด็ก ลดน้อยลง
บ้างถูกปล่อยปละละเลยท้ังจากครอบครัว จากชุมชน และแม้แต่สังคม
ที่แทบมองไม่เห็นหรือมองเห็นในลักษณะที่ผิดแปลกออกจากสังคมก็ว่า
ได้ จนกลายเป็นกลุ่มชายชอบท่ีค่อยถูกลบเลือนจากภาพของสังคม
และจากถูกละเลยจากครอบครัวท่ีเป็นหน่วยที่เล็กท่ีสุด ชุมชม
ประกอบกับหน่วยงานภาครัฐท่ีมองข้าม เป็นผลทาให้เด็กชาวเล
บางกลุ่มมีพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสม พฤติกรรมเบี่ยงเบนออกจาก
บรรทัดฐานที่สังคมได้วางไว้ เด็กไม่มีสุขภาพอนามัยตามท่ีควรจะเป็น
เด็กเคี้ยวหมากตามผู้ใหญ่ เด็กตัวเล็กๆต่างเดินหิ้วถุงชาถุงกาแฟเย็น

หวั ใจนำทำง สู่กำรเสริมสร้ำง … 12 | P a g e
คุณภำพชวี ติ เด็กภำยใต้วถิ ีชุมชนชำวเล “ภเู กต็ ”

ซง่ึ มนั ยอ้ นแยง้ กบั ส่งิ ท่ีเด็กควรจะไดบ้ รโิ ภคอาหารท่ีมีประโยชน์ ถกู ต้อง
ตามหลกั โภชนาการเช่นเดียวกับเด็กคนอื่นๆ ในสังคม และยิ่งไปกว่าน้ัน
เด็กชาวเลส่วนหน่ึงไม่สามารถอ่านออกเขียนได้ เน่ืองจากเด็กจะไม่ไป
โรงเรียน โดยให้เหตุผลว่าไม่มีเงินไปโรงเรียน แม้ว่ามีโรงเรียน
ในละแวกดังกล่าวจะอยู่ห่างจากบ้านเรือนไปเพียง 100 - 200 เมตร
เท่าน้ัน แต่ในทางกลับกันก็มีเด็กชาวเลท่ีไปโรงเรียนแล้วเด็กๆ กลับ
สัมผัสได้ถึงความรู้สึกว่าเขาเป็นกลมุ่ ท่ีผิดแปลกจากสังคม ประกอบกับ
การทเ่ี ด็กชาวเลไมไ่ ด้รับแรงจงู ใจเชงิ บวกจากสถาบันการศึกษาท่ีจะเป็น
ตัวช่วยในการสร้างแรงขับให้เด็กชาวเลกลุ่มดังกล่าวอยากเข้ามาเป็น
ส่วนหนึ่งของสถาบันการศึกษาหรือมองเห็นความสาคัญของการศึกษา
จึงทาให้เด็กกลุ่มดังกล่าวค่อยๆ ถอยห่างจากระบบการศึกษายิ่งไป
กวา่ เดมิ

 จดุ เลก็ ๆ ท่ีไมอ่ าจมองข้าม ...

ซึ่งแน่นอนว่าการท่ีเด็กกลุ่มดังกล่าวหลุดออกจากวงโคจร
ของระบบการศึกษา ท้ังท่ีอยู่ในการศึกษาภาคบังคับ แต่เด็กส่วนใหญ่
ไม่ไปเรียนหนังสือ ช่วงเวลาของชั่วโมงนาทีท่ีควรใช้ไปกับการเรียน
ใ น โ ร ง เ รี ย น ก ลั บ ถู ก ท ด แ ท น ด้ ว ย ก า ร แ ส ด ง อ อ ก ซ่ึ ง พ ฤ ติ ก ร ร ม ท่ี ไ ม่
เหมาะสม ตามท่ีได้สะท้อนออกมาทางส่ือสังคมออนไลน์ (Social
Media) พบว่าบนพ้นื ที่หาดราไวย์พบพฤติกรรมเด็กที่เดินตามเกาะแขน
ขานักท่องเที่ยวจนกว่าจะได้เงิน บ้างก็ใช้พฤติกรรมท่ีรุนแรง
โดยการกระชากกระเป๋า กระชากแขน ดึงขา และย่ืนมือขอเงิน
นักท่องเที่ยว บริเวณท่าเทียบเรือราไวย์ เพราะบริษัทท่องเที่ยวจะนา
นักท่องเที่ยวมาลงเรือตรงจุดดังกล่าว ซึ่งหากนักท่องเท่ียวไม่ให้เงิน
เด็กจะแสดงพฤติกรรมด้วยการตะโกน ตะคอกใส่เสียงดัง และว่ิงตาม

หวั ใจนำทำง สู่กำรเสริมสร้ำง … 13 | P a g e
คุณภำพชีวิตเด็กภำยใต้วิถีชุมชนชำวเล “ภูเกต็ ”

จนกว่านักท่องเท่ียวจะให้เงินดังกล่าว โดยมีความมุ่งหมายท่ีจะนาเงิน
ทีไ่ ดไ้ ปซอ้ื ขนม เล่นเกมส์ และบางสว่ นนาเงนิ ไปใหค้ รอบครวั

สาหรับวิถีชีวิตของเด็กชาวเลหาดราไวย์นี้มีการแบ่งตาม
โซนของสภาพพ้ืนท่ีเป็น 3 โซน ตามที่ชาวบ้านแถวน้ันได้เรียกพ้ืนที่โซน
ต่างๆ กันว่า ปะบน ปะกลาง และปะตก (ปะ ภาษาใต้แปลว่า ข้าง
ด้าน ส่วน) ซึ่งพ้ืนท่ีของปะบนและปะกลางเด็กชาวเลบางส่วนยังมี
การไปเรียนหนังสือกันบ้าง แต่สาหรับเด็กที่อาศัยในพื้นท่ีโซนปะตกน้ัน
บ้านจะอยู่ติดริมถนนที่รถสัญจรไปมา สถานที่วิ่งเล่นทากิจกรรมของ
เด็กก็ไม่ใช่พ้ืนที่อ่ืนใด เพราะพวกเขาใช้ถนนเป็นสถานท่ีวิ่งเล่น หรือจะ
อาจกล่าวได้ว่าถนนท่ีรถวิ่งและสถานที่ว่ิงเล่นของเด็กๆ เป็นสถานที่
เดียวกันก็ว่าได้ ประกอบกับปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจท่ีส่งผลกระทบต่อ
ครอบครัว ผู้ปกครองต้องไปทางาน ไม่มีเวลาดูแล ครอบครัวมีรายได้
ไม่เพียงพอ มีหน้ีสิน เด็กไม่มีเงินอยากได้เงินไปซื้อของแบบคนอ่ืนๆ
จึงทาให้เกิดพฤติกรรมการขอเงินจากนักท่องเที่ยวเกิดข้ึน โดยเหตุผล
ของการกระทาสามารถจาแนกได้ 3 รูปแบบ ไดแ้ ก่

พฤติกรรมเลียนแบบ ซึ่งจะพบกรณีน้ีเป็นส่วนใหญ่
เนื่องจากเด็กบางคนบางคนมีบ้านหรือที่อยู่อาศัยท่ีติด
ถนนใหญ่ บ้างออกมาวิ่งเล่นท่ีถนน พอเห็นเพ่ือนทาแล้ว
ได้เงินตนเองจึงอยากทาบ้าง บางรายพ่อแม่ไม่ทราบ
พฤติกรรมการขอเงินของลูก บางรายทราบมีการห้าม
ปรามแต่เด็กไม่ฟัง และมีกรณีที่พ่อแม่ของเด็กบางราย
เ ห็ น ลู ก ส า ม า ร ถ ห า เ งิ น ไ ด้ ก็ ไ ม่ ไ ด้ ห้ า ม ป ร า ม แ ต่ ก ลั บ
สง่ เสริมให้มีการกระทาดังกลา่ วตอ่ ไป

หวั ใจนำทำง สูก่ ำรเสรมิ สร้ำง … 14 | P a g e
คณุ ภำพชวี ติ เดก็ ภำยใต้วิถีชุมชนชำวเล “ภเู ก็ต”

ครอบครวั สั่งใหท้ ำ กรณดี งั กล่าวมจี านวนน้อย โดยพ่อ
แม่บางคนรู้เห็นการกระทาของเด็กเมื่อเห็นว่าเด็กทา
แล้วได้เงินจึงสั่งให้เด็กมาทา หากไม่ได้เงินจะถูก
ครอบครวั ลงโทษด้วยการทุบตีท่ีรนุ แรง

กระทำดว้ ยเหตจุ ำเป็น เน่ืองจากครอบครัวยากจนไม่มี
อาชีพ ส่งผลให้ครอบครัวไม่มีรายได้ จึงมีความจาเป็น
ที่ต้องขอเงินจากนักท่องเท่ียวเพ่ือนาเงนิ มาหาซ้ืออาหาร
เครือ่ งอปุ โภคบรโิ ภคเพ่ือการยังดารงชีวิต

จากสภาพปัญหาเด็กขอเงินนักท่องเท่ียวหาดราไวย์ที่ถูก
เผยแพร่ในสื่อสังคมออนไลน์ท่ีเกิดในปัจจุบัน ก่อให้เกิดเป็นภาพลบ
ของพ้ืนท่ี รวมถึงสร้างความรบกวนทางด้านจิตใจให้แก่นักท่องเที่ยว
ในละแวกดังกล่าว และปัญหาท่ีเกิดข้ึนยังคงเป็นปัญหาท่ีเกิดข้ึนมา
ยาวนานและเรื้อรัง บางครอบครัวอาจรับได้และไม่รู้สึกต้องตระหนัก
ถึงหรือกังวลตอ่ สถานการณ์ปญั หาท่เี กิดข้ึนดังกลา่ วเนือ่ งจากครอบครัว
มองวา่ เดก็ กไ็ ดเ้ งิน แต่กลับไม่ทันคิดถึงปัญหาท่ตี ามมาในระยะยาว แต่
ในขณะเดยี วกันชาวบา้ นในชุมชนอกี กลุ่มหนึ่งกไ็ มไ่ ดน้ ง่ิ นอนใจและเห็นว่า
การกระทาดังกล่าว ไม่เพียงแต่เป็นปัญหาที่กระทบต่อภาพลักษณ์
การท่องเท่ียวในพ้ืนท่ีชุมชนชาวไทยใหม่ หรือพ้ืนท่ีหาดราไวย์ที่มี
นักเที่ยวเฉล่ยี เข้ามาทอ่ งเที่ยวมากกว่า 1,000 คนต่อวันเทา่ น้นั แต่ยงั มี
ผลกระทบต่อวิถีชีวิตหรือความเหมาะสมต่อพัฒนาการในตัวของเด็ก
กลุ่มดังกล่าว ที่อาจจะมีผลกระทบเร้ือรังนาไปสู่พฤติกรรมท่ีไม่
เหมาะสมในอนาคตอีกด้วย ทั้งนี้ แม้เราจะมีความพยายามอย่างย่ิง
ในการกู้คนื ชือ่ เสยี ง ภาพลักษณ์ที่ดีของจังหวัดภเู ก็ตกลบั มา แตส่ ิ่งท่ีมี
ความสาคญั ไมไ่ ด้ย่งิ หย่อนไปกว่าภาพลักษณ์ของจงั หวดั นั่นคอื

หวั ใจนำทำง ส่กู ำรเสริมสร้ำง … 15 | P a g e
คุณภำพชวี ิตเด็กภำยใตว้ ถิ ีชมุ ชนชำวเล “ภเู ก็ต”

“ทำอย่ำงไรให้กลุ่มเด็กชำวเลในพื้นท่ี
หำดรำไวย์เข้ำถึงสิทธิท่ีพึงได้รับ รวมถึง
กำรส่งเสริมหรือผลักดันให้เด็กชำวเล
มีที่ยืนในสังคม มีพ้ืนที่ในกำรแสดงออก
ไ ด้ รั บ ก ำ ร ย อ ม รั บ จ ำ ก สั ง ค ม ทั่ ว ไ ป
โ ด ย เ ฉ พ ำ ะ อ ย่ ำ ง ยิ่ ง มี พั ฒ น ำ ก ำ ร
ในกำรเจริญเติบโตที่เหมำะสมกับวัยเฉก
เช่นเดก็ ทั่วไปในวัยเดยี วกัน”

หัวใจนำทำง สูก่ ำรเสริมสร้ำง … 16 | P a g e
คุณภำพชีวิตเด็กภำยใตว้ ิถชี มุ ชนชำวเล “ภูเกต็ ”

จำกใจสง่ ถึงใจ...

เด็ก...ไม่ว่าจะต่างเพศ เชื้อชาติ ศาสนา สัญชาติ หรือ
ชาติพันธ์ุใดๆ ถึงอย่างไรเขาก็คือเด็ก ซ่ึงต้องได้รับการคุ้มครองสิทธิ
ตั้งแต่กาเนิด ท้ังน้ี การดาเนินการเพื่อให้เด็กทุกคนได้รับการคุ้มครอง
และเข้าถึงสิทธิต่างๆ จึงไม่ได้เป็นเพียงหน้าที่ของผู้ปกครองเด็กเท่าน้ัน
แต่เป็นหน้าที่ของผู้ใหญ่ทุกคน พ่อแม่ เครือญาติ ครอบครัว ชุมชน
รวมถึงหน่วยทางสังคม ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม
เพื่อที่จะเป็นกลไกการขับเคล่ือนให้เด็กๆ ทุกคนจะได้มีโอกาส
ในการเติบโตและมีพัฒนาการอย่างเหมาะสมกับช่วงวัยของตนเองได้
เช่นเดียวกับเด็กชาวเลในพื้นที่หาดราไวย์ท่ีเป็นเด็กอีกกลุ่มหนึ่งท่ีสังคม
ไม่ควรเพิกเฉยและการสร้างทัศนคติเชิงบวกให้แก่สังคม เพ่ือ
การส่งเสริมให้เด็กเหล่านั้นได้เข้าถึงสิทธิด้านต่างๆ เพื่อที่เด็กชาวเล
กลุ่ ม น้ี จ ะเ ติบ โ ตเ ป็ น ผู้ ใ หญ่ ที่ มี ค ว าม พร้ อ ม ใ น ก าร ดา รง ชี วิ ต ภ า ย ใ ต้
กฎเกณฑห์ รือบรรทัดฐานของสังคมได้ตอ่ ไป

 เรม่ิ ต้นด้วยหัวใจ ...

 การแสดงออกซึ่งพฤติกรรมของเด็กท่ีขอเงินจาก
นักท่องเท่ียวในพื้นท่ีหาดราไวย์เป็นปัญหาเรื้อรังมาอย่างยาวนาน
ต้ังแต่ปี 2558 เป็นต้นมา ได้รับการร้องเรียนจากนักท่องเที่ยวและ
ผู้คนในละแวกดังกล่าวเข้ามาอย่างต่อเนื่อง เจ้าหน้าท่ีสังกัดกระทรวง
การพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดภูเก็ต (One Home
จังหวัดภูเก็ต) พร้อมท้ังหน่วยงานภาคีท่ีเกี่ยวข้องได้ลงพ้ืนท่ีกวดขัน

หัวใจนำทำง สกู่ ำรเสริมสรำ้ ง … 17 | P a g e
คณุ ภำพชวี ติ เด็กภำยใตว้ ิถีชมุ ชนชำวเล “ภเู ก็ต”

พฤติกรรมดังกล่าว ต่อมาเม่ือมีการบังคับใช้พระราชบัญญัติควบคุม

ขอทาน พ.ศ. 2559 หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องได้บูรณาการดาเนินการ

ตามมาตรการจัดระเบียบคนขอทานและคนไร้ท่ีพึ่งอย่างสม่าเสมอ

เจ้าหน้าที่จัดทีมลงพ้ืนที่จัดระเบียบในพ้ืนท่ีอย่างต่อเน่ือง แต่ก็ยังคงก็

ไดร้ ับการร้องเรียนเชน่ เดิม แมเ้ จ้าหน้าท่ีจะมีความพยายามอย่างเต็มที่

ในการจัดระเบียบและกวดขัน แต่สิ่งที่ได้รับกลับมาอย่างมากท่ีสุด

ในช่วงเวลาน้ัน คือ การทาได้แค่เพียงเก็บข้อมูลข้อเท็จจริงเบ้ืองต้น

จากการลงพ้ืนท่ีไปเพื่อ สำรวจหำข้อเท็จจริง (Fact Finding)

ก า ร เ ก็ บ ภ า พ ถ่ า ย พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร แ ส ด ง อ อ ก ข อ ง เ ด็ ก ท่ี เ กิ ด ข้ึ น เ พื่ อ

ประกอบการวางแผนในการจัดการ

แก้ไขปัญหาดังกล่าวต่อไป การลงไป

พูดคุยกับผู้คนแวดล้อมพ้ืนท่ีดังกล่าว

แ ต่ เ นื่ อ ง จ า ก ก ลุ่ ม ดั ง ก ล่ า ว มี วิ ถี

ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต ที่ เ ป็ น ก ลุ่ ม เ ล็ ก ๆ

ก า ร ด า เ นิ น ก า ร เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ ต า ม

วัตถุป ระสง ค์ จึง ต้อง ใช้วิธีการ

ร ว ม ก ลุ่ ม เ พื่ อ ก า ร เ รี ย ก ร้ อ ง

เช่นเดียวกันหากมีหน่วยงานหรือมี ทีม่ า : www.khaophuket.com
กลุ่มคนแปลกหน้าเข้ามาในพ้ืนที่เพื่อ

ปรับเปลี่ยนวิถีการดาเนินชีวิต ก็จะมีการรวมตัวกันเกิดข้ึน แต่น่ันคง

ไม่ใช่สิ่งท่ีพวกเขาเองอยากเป็นเช่นกัน แต่อาจเป็นเพราะผลสะท้อน

ท่ีมาจากการท่ีพวกเขาไม่ได้รับความจริงใจจากหน่วยงานภายนอก

จึงเป็นท่ีมาว่าหน่วยงานในพ้ืนท่ีบางหน่วยจึงไม่ได้ให้ความสาคัญ

ปล่อยปละละเลย และไม่ได้ลงพื้นที่ดาเนินการเพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหา

ดงั กลา่ วอยา่ งจรงิ จงั

หัวใจนำทำง สูก่ ำรเสริมสร้ำง … 18 | P a g e
คุณภำพชวี ิตเดก็ ภำยใต้วิถชี มุ ชนชำวเล “ภูเก็ต”

 แมใ้ ครมองไม่เห็นแต่เรามองเห็น...เจ้าหน้าท่ี One Home
จังหวัดภูเก็ต ประกอบด้วย สำนักงำนพัฒนำสังคมและควำมมน่ั คง
ของมนุษย์จังหวัดภูเก็ต ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจังหวัดภูเก็ต
บ้ำนพักเด็กและครอบครัวจังหวัดภูเก็ต จึงได้จัดต้ังทีมเจ้าหน้าท่ีข้ึน
โดยมีกลไกในการขับเคลื่อนที่สาคัญเร่ิมต้นจาก “หัวใจ” จากการท่ี
เจ้าหน้าท่ีได้แลกเปล่ียนประสบการณ์จากที่เคยได้ทางานกับกลุ่มคน
เร่ร่อนที่หาดป่าตอง แล้วนาข้อมูลข้อเท็จจริงท่ีได้จากการลงพื้นที่มา

ประกอบการ ประเมินสภำพปัญหำ (Assessment) ที่เกิดขึ้นกับ

กลุ่มเด็กในพื้นท่ีหาดราไวย์ สาเหตุของพฤติกรรมของเด็กท่ีมาจาก
การปล่อยปละละเลยของครอบครัวและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง และ
การมีพฤติกรรมเลียนแบบ จึงทาให้เด็กมีพฤติกรรมดังกล่าวๆ ตามกัน
มา แม้ว่าจะมีหน่วยงานภาครัฐลงไปดาเนินงานจับกุมเข้มงวด แต่เม่ือ
เด็กหรือชุมชนยังไม่เห็นถึงผลกระทบท่ีเกิดข้ึนหรืออาจจะส่งผลกระทบ
ตามมาในอนาคต ส่งผลให้พวกเขาก็ยังขาดความตระหนักและยังคง
มีพฤติกรรมเช่นเดิม จากการที่เจ้าหน้าท่ีร่วมกันพิจารณาข้อมูลพร้อม
ท้ังประเมินสภาพปัญหาเบ้ืองต้น จึงทาให้เจ้าหน้าท่ีมีแนวความคิด
ในการทางานรปู แบบใหม่โดยปรับวิถคี ิดและใช้มุมมองเชิงบวกในการลง
พื้นท่ี ภายใต้วิธีคิดท่ีว่า “เปลี่ยนจำกจับ...เป็นเข้ำถึงใจ ” ซึ่งเป็น
วิธีการท่ีเจ้าหน้าที่ต้องเข้าไปสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องให้แก่ชุมชน
โดยชุมชมอยากปรับเปล่ียนพฤติกรรมด้วยตนเอง ตระหนักและ
มองเห็นปัญหาผลกระทบท่ีเกิดข้ึนต่อตนเองและต่อสังคมด้วยตนเอง
ชุมชนเกิดความรักและอยากหวงแหนในชุมชน ปัญหาดังกล่าวจะได้
หมดไป แต่ก่อนท่ีทีมเจ้าหน้าท่ีจะลงพ้ืนที่เพ่ือไปปฏิบัติงาน ต่างก็ได้รับ
ข้อมลู ในเชิงลบมากมาย เพราะมหี นว่ ยงานภาครัฐหลายหน่วยงานท่ีลง
พ้ืนท่ีไปแล้วไม่ได้รับการต้อนรับอย่างฉันมิตร บ้างโดนล้อมรถ บ้างถูก
ใช้ถ้อยคาท่ีไม่เหมาะสม ซึ่งปฏิเสธไม่ได้ว่าเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานต่างมี

หวั ใจนำทำง สู่กำรเสริมสรำ้ ง … 19 | P a g e
คุณภำพชีวิตเดก็ ภำยใต้วิถชี ุมชนชำวเล “ภเู กต็ ”

ความกังวลใจในการลงพื้นที่ดังกล่าวอยู่ไม่น้อย แต่ในเม่ือทุกคน
มีเป้าหมายหรือมีธงร่วมกันท่ีจะร่วมกันแก้ไขปัญหาเพื่อสร้างคุณภาพ
ชีวิตท่ีดีกว่าให้แก่เด็กๆ ทุกคนก็พร้อมที่จะดาเนินการโดยใช้หัวใจ
ในการนาทาง...

 ข้อเท็จจริงจากข้อมูลเชิงประจักษ์ท่ีมาพร้อมกับ
ขอ้ คดิ เหน็ ต่างๆ ประกอบกับการประเมินสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น นามาสู่

การหารือของทีมเจ้าหน้าที่เพ่ือ วำงแผนกำรดำเนินงำน (Planning

for Intervention) สาหรับการลงพื้นที่และวิธีการจัดการกับปัญหา

ท่ีอาจเกิดขึ้น โดยเจ้าหน้าท่ีในทีมมีความเห็นพ้องกันว่าเราจะใช้
วิธีกำรเชิงบวก มาทดแทนมาตรการกวนขันหรือปราบปราม
โดยการลงพ้ืนท่ีเพื่อสร้างความคุ้นชิน สร้างสัมพันธภาพระหว่าง
เจ้าหน้าท่ี เด็กๆ และชุมชน เพ่ือนามาสู่การขับเคลื่อนกิจกรรมใน
การปรับเปล่ียนพฤติกรรมของเด็ก สาหรับการแก้ไขปัญหาดังกล่าว
ซึ่งก่อนท่ีทีมเจ้าหน้าท่ีจะดาเนินการลงพ้ืนที่เพื่อดาเนินการทากิจกรรม
ต่างๆ ลาดับแรกจึงต้องทาความเข้าใจกับพ้ืนท่ีหรือชาวบ้านชุมชน
ซึ่งชาวบ้านหลายกลุ่มก็ไม่ได้สนับสนุนพฤติกรรมของเด็กกลุ่มดังกล่าว
และไม่อยากให้ชุมชนถูกตีตรา หรือมีภาพลักษณ์ท่ีไม่ดีเผยแพร่ออกไป
จริงอยู่ท่ีในชุมชนไม่ได้มีเพียงปัญหาเด็กขอเงินจากนักท่องเที่ยวเพียง
อย่างเดียว แต่ยังคงมีปัญหาอ่ืนที่ลึกลงไปและหน่วยงานเราอาจจะเขา้
ไม่ถึง แต่เม่ือทางทีมเจ้าหน้าที่มีจุดยืนเพียงต้องการส่งเสริมคุณภาพ
ชีวิตให้กลุ่มเด็กดังกล่าว จึงเป็นเร่ืองที่ไม่ยากท่ีเราจะเข้าไปทางาน
ในชมุ ชนนัน้ ได้

 เม่ือชุมชนในละแวกดังกล่าวเห็นความสาคัญและ
สนับสนุนการดาเนินกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว เจ้าหน้าที่
One Home จังหวัดภูเก็ตทั้ง 3 หน่วย ร่วมลงพื้นที่บูรณาการ

หัวใจนำทำง ส่กู ำรเสรมิ สร้ำง … 20 | P a g e
คุณภำพชวี ติ เดก็ ภำยใต้วถิ ชี มุ ชนชำวเล “ภเู กต็ ”

ดำเนินกำร (Intervention) โดยใช้วิธีการลงพื้นที่คลุกคลีกับเด็กๆ

เพ่ือสร้างความคุ้นเคยให้เกิดข้ึน ในขณะเดียวกันก็ได้แสวงหา
ข้อเท็จจริงเชิงลึกในพื้นที่ของเด็กๆ คู่ขนานกันไป แต่แน่นอนว่า
ในช่วงแรกๆ ท่ีเจ้าหน้าท่ีลงพื้นท่ีไปดาเนินการก็เป็นเหมือนคนแปลก
หน้าที่เด็กๆ ไม่รู้จัก เด็กก็ยังไม่ได้ให้ความร่วมมือ แต่การสร้าง
สัมพันธภาพต้องใช้เวลาเจ้าหน้าที่ลงพื้นที่อย่างต่อเน่ือง ซึ่งจากการลง
พ้ืนที่เพ่ือคลุกคลีกับเด็กเร่ือยๆ เจ้าหน้าท่ีพบว่าเด็กส่วนใหญ่ท่ีมี
พฤติกรรมขอเงินจากนักท่องเท่ียว มีสาเหตุส่วนใหญ่มาจากทาตาม
เพื่อน มพี ฤติกรรมลอกเลียนแบบจากเพื่อน มเี วลาว่างไปวิ่งเลน่ พอเห็น
เพ่ือนทาแล้วได้เงินจึงทาตามบ้าง ซึ่งพฤติกรรมการเลียนแบบดังกล่าว
สามารถอธิบายตามทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม (Social Learning Theory)
ของแบนดูรา ได้ว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ส่วนมากนั้นเป็นการสังเกต
จนเกิดการเลียนแบบเพราะมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมรอบตัว
อยู่ตลอดเวลา ไม่ว่าเด็กจะเห็นพ่อ แม่ เพื่อน หรือแม้กระท่ังบุคคล
จากสื่อต่างๆ ทาพฤติกรรมเช่นใด เด็กเหล่าน้ันก็จะซึมซับพฤติกรรม
เช่นนั้น (ท่ีมา: www.petcharavejhospital.com/th/Article/article_detail/child-
copybehavior)

การปรับแก้ไขพฤติกรรมดังกล่าวจงึ สามารถทาไดแ้ ต่ตอ้ งใช้
ระยะเวลาในการแก้ไขปัญหา และเม่ือทีมเจ้าหน้าท่ีได้มีการลงพื้นท่ี
บ่อยขน้ึ ทาให้เกิดการพูดคุยกับเด็กและส่ิงที่สะท้อนกลับมาจากเด็ก คือ
เด็กไม่มีพฤติกรรมที่ต่อต้านเจ้าหน้าท่ี ประกอบกับทาให้เจ้าหน้าท่ีได้รู้
ข้อมูลว่าตัวเด็กๆ เองไม่เคยทราบว่าพฤติกรรมการขอเงินของ
นักท่องเที่ยวเป็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ผิดกฎหมาย และส่งผล
กระทบต่อตนเอง ครอบครัวและชุมชนอย่างไร ไม่เคยมีใครเข้ามา
พูดคุยหรืออธิบายทาความเข้าใจ ซึ่งพฤติกรรมท่ีเกิดขึ้นส่วนหน่ึงอาจ
เป็นผลมาจากการที่ผู้ปกครองไม่มีเวลาดูแลบุตรหลาน เด็กขาดพื้นที่

หวั ใจนำทำง ส่กู ำรเสริมสร้ำง … 21 | P a g e
คุณภำพชีวิตเดก็ ภำยใตว้ ิถีชมุ ชนชำวเล “ภูเก็ต”

สร้างสรรค์ในการทากิจกรรม หรือขาดทุนทางสังคมท่ีสนับสนุนให้เดก็
ได้ทากิจกรรมในทางท่ีสร้างสรรค์ เมื่อได้ข้อมูลเชิงลึกจากตัวเด็กๆ
ถึ ง เ ห ตุ ผ ล ข อ ง ก า ร ก ร ะ ท า พ ฤ ติ ก ร ร ม ดั ง ก ล่ า ว ผ่ า น ก า ร พู ด คุ ย
ทีมเจ้าหน้าที่ทั้ง 3 หน่วยงาน ได้ลงพ้ืนที่เพ่ือสร้างการเรียนรู้
ปรับทศั นคติ สรา้ งพฤติกรรมเชิงบวก ให้แก่เดก็ ชาวเลหรือชาวไทยใหม่
ในพ้ืนท่ีตาบลราไวย์สัปดาห์ละ 2 คร้ัง ในวันอังคารและวันพฤหัสบดี
โดยเริ่มจากกระบวนการ...

สร้ำงควำมเข้ำใจ
(Create more understanding)
กับเด็กในชุมชนท้ังวัตถุประสงค์ในการลงพ้ืนที่
เพ่ือทากิจกรรม เพราะเจ้าหน้าท่ีไม่ได้ลงพ้ืนท่ีเพ่ือมา
จับผิด แต่เราลงพื้นที่เพ่ือทากิจกรรม ส่งเสริม
พัฒนาการ สร้างการมีส่วนร่วม รวมถึงสร้างความ
เข้าใจว่าพฤติกรรมการขอเงินจากนักท่องเท่ียวเป็น
พฤติกรรมทไ่ี มเ่ หมาะสมและผิดกฎหมาย

หัวใจนำทำง สู่กำรเสรมิ สรำ้ ง … 22 | P a g e
คณุ ภำพชวี ติ เดก็ ภำยใต้วิถีชมุ ชนชำวเล “ภูเก็ต”

สรำ้ งสมั พันธภำพ (Make relationship)
ลงพ้ืนที่พูดคุยกับเด็ก ผ่านการทากิจกรรม เพื่อเข้าไป
เป็นส่วนหนึ่งในชุมชน เพ่ือสร้างความสัมพันธ์กับเด็กๆ โดย
ระยะแรกมีท้ังกลุ่มเด็กท่ีเริ่มไว้วางใจ และเด็กกลุ่มท่ียัง
ไม่ไว้วางใจ โดยก่อนที่จะลงทากิจกรรมกับเด็กเจ้าหน้าท่ี
จะหารือเพ่ือวางแผนสร้างกจิ กรรมขึ้น โดยกิจกรรมส่วนใหญ่
จะเน้นการเสริมสร้าง พัฒนาการควบคู่ไปกับวิธีการ
ดารงชีวิตในสังคม โดยเน้นทรัพยากรที่มีอยู่ในพ้ืนท่ีและ
ในสานักงาน ซึ่งเจ้าหน้าท่ีจะเตรียมวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ
สาหรบั นามาออกแบบกจิ กรรม โดยเนน้ 3 ดา้ น
 กิจกรรมนันทนำกำร วาดภาพระบายสี งานศิลปะ
ประดิษฐ์สง่ิ ของ
 กิจกรรมวชิ ำกำร แบบฝกึ เชาวน์ปัญญา เสรมิ สร้างทักษะ
การคดิ วเิ คราะห์
กิจกรรมส่งเสริมวิถีกำรดำรงชีวิต การสอนทากับข้าว
เมนูง่ายๆ แล้วทานอาหารร่วมกัน การใช้ชีวิตในสังคม
การดแู ลตนเองโดยเฉพาะเด็กผู้หญิง การทากจิ กรรมบนท้อง
ถนนที่จะทาให้เกิดอุบัติเหตุ ป้ายสัญลักษณ์ต่างๆ การให้
ความรู้เรอื่ งสุขภาพอนามัย เปน็ ต้น

หัวใจนำทำง ส่กู ำรเสรมิ สร้ำง … 23 | P a g e
คณุ ภำพชวี ติ เดก็ ภำยใต้วิถีชุมชนชำวเล “ภูเก็ต”

กระตุน้ กำรมสี ว่ นรว่ ม
(Encourage participation)
สร้างแรงจูงใจให้แก่เด็กๆ ให้อยากมีส่วนร่วม
และเป็นส่วนหนึ่งในการทากิจกรรมหรือการปรับ
พฤติกรรมของตนเอง และมองเห็นถึงศักยภาพ
ความสามารถของตนเองท่ีจะมาส่ือสารผ่านการทา
กจิ กรรมเชิงบวกได้

สรำ้ งควำมตระหนัก (Raise awareness)
ทั้งในตัวเด็ก ครอบครัว ชุมชน เด็กบางคน

ไม่เคยรับรู้ข่าวท่ีชุมชนตนเองถูกเผยแพร่ เม่ือมีการ
รับรู้และรับทราบผลกระทบที่เกิดข้ึนต่อชุมชนตนเอง
เขาก็รักในความเป็นตัวเขา ในความเป็นชุมชนของ
เขาเอง ต่อมาเมื่อมีการตระหนักในความสาคัญ
ดังกล่าว ทาให้เราได้สายลับของพ้ืนท่ี (Spy) คอย
ส่งข่าวให้แก่เจ้าหน้าท่ี หากมีลูกบ้านไหน หรือมีเด็ก
คนไหนมีพฤติกรรมขอเงนิ นักทอ่ งเท่ียวอกี

หัวใจนำทำง สู่กำรเสริมสรำ้ ง … 24 | P a g e
คุณภำพชวี ิตเดก็ ภำยใต้วิถีชมุ ชนชำวเล “ภเู กต็ ”

 จากคนแปลกหนา้ ทีไ่ มร่ ู้จักและไมไ่ วว้ างใจ ความสัมพนั ธ์
ท่ีเริ่มต้นจากศูนย์ระหว่างเจ้าหน้าที่และตัวเด็กชาวเลในชุมชน แต่เมื่อ
มีกระบวนการของกิจกรรมเป็นส่ือกลางในการสร้างความเข้าใจ เช่ือม
สายใยความผูกพันเกิดขึ้น วันละเล็กวันละน้อย จนนามาสู่สัมพันธภาพ
ที่ดีข้ึนเร่ือยๆ ทาให้เจ้าหน้าที่ได้ข้อมูลข้อเท็จจริงเพิ่มมากข้ึน เด็กมี
ความไว้วางใจในตัวของเจ้าหน้าท่ีมากขึ้น แม้เราจะไม่มีแบบฟอร์ม
ในการประเมินผลการดาเนินงานกับเด็กกลุ่มดังกล่าวเป็นรูปแบบ

เอกสาร แต่เจ้าหน้าที่ได้ ติดตำมหรือประเมินผล (Follow up &

Evaluation) ผา่ นการสงั เกตพฤติกรรมการกระทาของเด็กทเ่ี ปลี่ยนไป

โดยสะท้อนได้อย่างชดั เจนจากวันหรือเวลาท่ีทีมเจ้าหน้าท่ีลงพื้นที่เด็กๆ
ต่างมาช่วยกันขนวัสดุ อุปกรณ์ ภาพที่เคยมีจากเมื่อก่อนเป็นคนแปลก
หน้าลงพื้นที่กลุ่มเด็กๆ หรือคนในชุมชนจะมาล้อมรถได้เลือนหายไป
เหลือเพียงแต่รอยยิ้มคาทักทายจากเด็กๆ วิ่งมาพร้อมกับกาลังแรง
กายและใจของเด็กท่ีมาช่วยกันขนของเพ่ือทากิจกรรม รวมถึงเข้ามา
มีส่วนร่วมในการทากิจกรรมทุกครั้งท่ีทีมเจ้าหน้าท่ีลงพ้ืนท่ี แม้ว่า
การทากิจกรรมดังกล่าวอาจใช้ช่วงระยะเวลาที่ยาวไปถึงค่าแต่เด็ก
ทุกคนก็ไม่ท้อถอย เน่ืองจากทีมเจ้าหน้าที่มีงานประจาและต่างมีภาระ
งานการมาลงพื้นที่ทากิจกรรมในแต่ละครั้งจึงเป็นช่วง 15.00 – 21.00 น.
แต่เด็กทุกคนก็ต้ังใจและรอคอยแม้ว่าเมื่อถึงเวลากลางคืนไฟในละแวก
ดังกล่าวจะมืดดับหมด แต่เราก็มีการทากิจกรรมโดยใช้ตะเกียง เด็กๆ
ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีจนกว่ากิจกรรมจะเสร็จลง และเมื่อเด็ก
เข้าใจผลกระทบที่เกิดข้ึน พฤติกรรมดังกล่าวในชุมชนก็ค่อยๆลดลงไป
และเอาเวลาดงั กล่าวมาทากจิ กรรมร่วมกันกบั เพอื่ นแทน

หัวใจนำทำง สู่กำรเสรมิ สรำ้ ง … 25 | P a g e
คุณภำพชีวิตเด็กภำยใต้วิถีชมุ ชนชำวเล “ภูเกต็ ”

 จำกวิถีชีวิตสกู่ จิ กรรม ...

จากการสานสัมพันธภาพจนเข้าไปถึงใจของเด็กๆ ผ่าน
กระบวนการในการทากิจกรรมร่วมกัน ตลอดระยะเวลา 4 ปี
ท่ีเจ้าหน้าที่ One Home จังหวัดภูเก็ตลงทากิจกรรมต่างๆ เป็นส่ิงที่
สะท้อนให้เห็นว่าเด็กชาวเลดังกล่าวไม่ได้ต่างจากเด็กทั่วๆ ไป เขามี
ความฝัน มีศักยภาพ มีความเป็นอัตลักษณ์ในตัวตน ต้องการ
การยอมรับจากสังคม ต้องการพื้นที่ในสังคม ทุกคนต่างอยากมีชีวิต
ท่ีดีข้ึน ขาดแต่เพียงโอกาสการได้รับการสนับสนุน หรือพ้ืนท่ีแห่ง
การแสดงออก สาหรับกลุ่มเด็กชาวเลดังกล่าว เขามีศิลปวัฒนธรรม
ท่ีเป็นเอกลักษณ์โดดเด่นในพ้ืนที่ นั่นก็คือ การรารองเง็ง เด็กชาวเล
ชอบเลน่ ฟุตบอล ทีมเจา้ หน้าทเี่ จ้าหนา้ ทจ่ี ึงร่วมกันวางแผนและประสาน
หน่วยงานที่เก่ียวข้องในพ้ืนที่สาหรับการสนับสนุนเด็กๆ เหล่าน้ัน โดย
ดึ ง จ า ก ค ว า ม ต้ อ ง ก า ย ภ า ย ใ น น่ั น คื อ ส่ิ ง ที่ เ ข า มี ส่ิ ง ที่
เขาเป็น และส่ิงท่ีเขาต้องการ แต่การท่ีจะสร้างความย่ังยืนให้เกิดข้ึน
ไม่เพียงแต่การออกแบบกิจกรรมให้แก่เด็กๆ เท่าน้ัน แต่ครอบครัวยัง
เป็นส่วนสาคัญในการสร้างความย่ังยืนให้เกิดขึ้นได้ เพราะเมื่อ
ครอบครัวเข็มแข็ง ชุมชนก็เข้มแข็งตามมา นอกเหนือจากการจัด
กิจกรรมท่ีตอบสนองความต้องการของกลุ่มเดก็ แลว้ การสร้างใหเ้ ขาได้
เรียนรู้สังคมภายนอกชุมชนก็มีส่วนสาคัญต่อการดารงชีวิตในสังคมที่มี
ความเป็นพลวัตร ทีมเจ้าหน้าท่ีจึงได้จัดกิจกรรมขึ้นนอกเหนือจากการ
ลงไปจัดกิจกรรมในพื้นท่ีซ่ึงเป็นสถานท่ีท่ีเค้าคุ้นเคยอยู่แล้ว แต่หาพื้นท่ี
ใหม่เพ่ือเป็นการสร้างโอกาสให้แก่เด็กๆ และครอบครัวได้ออกมาทา
กิจกรรมนอกสถานที่ ให้เรียนรู้สภาพแวดล้อมท่ีต่างไปจากเดิม และ
สร้างปฏิสัมพันธ์กับคนอ่ืนๆ ประกอบกับการใช้ชีวิตสังคมภายนอกด้วย
โดยสร้างกิจกรรมจากความต้องการของเด็กในชมุ ชนเป็นสาคัญ อาทิ :

หัวใจนำทำง สู่กำรเสรมิ สรำ้ ง … 26 | P a g e
คณุ ภำพชวี ติ เดก็ ภำยใตว้ ิถีชุมชนชำวเล “ภูเกต็ ”

 ส่งเสริมกีฬำ
กำรแข่งขันฟุตบอล ภำยใต้
โครงกำร CSR กีฬำสร้ำง
ฝัน โดยสานักงานพัฒนาสังคม
แ ล ะ ค ว า ม ม่ั น ค ง ข อ ง ม นุ ษ ย์
จังหวัดภูเก็ตร่วมกับกลุ่ม GIVE
A HUG สุขใจท่ีให้กัน รวมพล
หน่วยงานท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ที่มีความสนใจ
อยากที่จะสนับสนุนงานท่ีเกี่ยวกับด้านเด็ก เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการ
สนับสนุนกิจกรรมการจัดกีฬาแข่งขันฟุตบอลดังกล่าว โดยทีม
ที่เข้าแข็งขันเป็นเด็กชาวเลจากชุมชนหาดราไวย์ จานวน 10 คน และ
จากกลุ่มเด็กชาวเลพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลเกาะแก้ว 10 คน
โดยมีหลายหน่วยงานทใ่ี ห้การสนบั สนุน โดยโครงการดังกล่าวได้จัดขึ้น
ร ะ ย ะ เ ว ล า 2 วั น โ ด ย UWC Thailand International School
สนับสนุนพื้นท่ีจัดกิจกรรม องค์การบริหารส่วนตาบลเกาะแก้ว
สนับสนุนชุดกีฬา มูลนิธิบ้านฟุตบอลสนับสนุนอุปกรณ์กีฬา ชมรม

BORN FREE TO RUN สนบั สนนุ
โค้ชให้แก่เด็กๆ ซึ่งส่ิงค้นพบจาก
การจัดกิจกรรมดังกล่าวพบว่าจาก
เดิมเด็กกลุ่มดังกล่าว ชอบ เตะ
ฟุตบอลอยู่แล้ว แต่เป็นเพียงกีฬาท่ี
เล่นกันในชุมชน ใส่เส้ือเล่นบ้าง
ถอดเส้ือเล่นบ้าง แต่พวกเขาก็สนุก
แม้จะเล่นฟุตบอลดว้ ยเท้าเปลา่ แต่พวกเขาไม่เคยมโี อกาสไดเ้ ข้าแข่งขัน
ฟุตบอลแบบจริงจัง หรือการเตะบอลในสนามฟุตบอลจริงจัง เม่ือมี
การจัดกิจกรรมน้ีข้ึน เด็กๆ ทุกคนมีความสุขเพราะเป็นกิจกรรมท่ีมา

หัวใจนำทำง สู่กำรเสริมสรำ้ ง … 27 | P a g e
คุณภำพชีวติ เดก็ ภำยใตว้ ิถชี มุ ชนชำวเล “ภูเก็ต”

จากความต้องการของเด็กๆ และกีฬาถือเป็นการสร้างแรงบันดาลใจ
ให้แก่เดก็ ๆ ใหม้ ีการใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ได้อีกส่วนหนึ่ง

แต่จากการจัดกิจกรรมดังกล่าวขึ้น แม้จะได้ผลตอบรับเชิง
บวกจากการจัดกิจกรรมที่มาจากความต้องการของเด็ก แต่สิ่งหนึ่งท่ี
ทีมเจ้าหน้าที่ให้ความสาคัญไม่ย่ิงหย่อนไปกว่าตัวเด็ก คือ “ครอบครัว”
เพราะหากเด็กเข้มแข็ง แต่ครอบครัวอ่อนแอ ความเป็นชุมชนก็ไม่อาจ
เข้มแข็งได้ และผลที่ตามมาอาจวกกลับสู่วงจรเดิมก็เป็นได้ ดังนั้น จึง
เป็นที่มาของการต่อยอดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมสานสัมพันธ์ภายใน
ครอบครัวข้ึน

 กิจกรรมค่ำยครอบครัวห่วงใย รวมใจเป็นหนึ่ง
มีแนวคิดมาจากการทางานท่ีผ่านมาว่าเรายังไม่ได้มีการเติมเต็มให้
ครอบครัวเข้ามามีบทบาทหรือส่วนร่วมอย่างจริงจัง ครอบครัวรับรู้
เพียงว่าเด็กๆ จะมาทากิจกรรมกับพี่ๆ ที่คุ้นเคยที่เคยเคยทากิจกรรม
ด้วยกันเท่านั้น แต่ไม่เคยรับรู้เลยว่าลูกๆ ของพวกเขามีศักยภาพหรือมี
ความสามารถอย่างไรบ้าง ท้ังเดก็ และครอบครวั ไม่เคยถูกเติมเต็มหรือ
ความเข้าใจในเรื่องทักษะ
การใช้ชีวิตในสังคม รวมไป
ถึงการสร้างความสัมพันธ์
ในครอบครัว ซ่ึงก่อนที่จะมี
ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ค่ า ย
ครอบครัวดังกล่าวขึ้น ทีม
เ จ้ า ห น้ า ท่ี ไ ด้ ส ร้ า ง ค ว า ม

หวั ใจนำทำง สู่กำรเสรมิ สร้ำง … 28 | P a g e
คุณภำพชีวิตเด็กภำยใต้วิถชี มุ ชนชำวเล “ภเู กต็ ”

เ ข้ า ใ จ ผ่ า น ก า ร ส่ื อ ส า ร แ ล ะ
ประชาสัมพันธ์ทาความเข้าใจกับ
ผู้ปกครองทุกบ้าน โดยใช้วิธีการ
เดินอธิบายผู้ปกครองทุกบ้าน
ทุกครอบครัว เพื่อให้พ่อแม่
ผู้ปกครองเข้าใจตรงกันเห็นถึง
ประโยชน์ของกิจกรรม สา น
สัมพันธ์ดังกล่าว จึงเป็นท่ีมาว่าทาไมพ่อ แม่ ผู้ปกครองสามารถปรับ
มุมมองของตนเองกลับมาให้ความสนใจกิจกรรมมากข้ึน จนนามาสู่
การจดั กิจกรรมค่ายครอบครวั ดงั กล่าวข้ึน โดยนาเด็กและผปู้ กครองไป
ทากิจกรรมทัศนศึกษานอกสถานที่จัดกิจกรรมเพ่ือสร้างความสัมพันธ์
ในครอบครัว โดยบูรณาการร่วมกับทีม One Home และทีมเครือข่าย
ภาครัฐและเอกชนในพื้นที่จัดกิจกรรมดังกล่าวขึ้น ระหว่างวนั ที่ 17 – 18
สิงหาคม 2562 ณ โรงแรมภูเก็ต ออร์คิด รีสอร์ทแอนด์สปา ตาบล
กะรน อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต มีการทากิจกรรมร่วมกัน สอดแทรก
เนอื้ หาความรู้ ควบคูไ่ ปกบั การเปิดโลกทศั น์ใหม่ๆ ซ่งึ พ่อ แม่ ผูป้ กครอง
ของเด็กๆ ต่างให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี บ้างก็ลางานเพ่ือมาร่วม
กิจกรรม 2 วัน 1 คืน ซ่ึงจากกิจกรรมที่เกิดขึ้น เด็กๆ และครอบครัว
ต่างต่ืนเต้นและมีความสุข เด็กได้มีโอกาสทากิจกรรมท่ีเหมาะสม
ตามวัย ได้รับการสร้างแรงบันดาลใจ มีความรู้สึกภูมิในท่ีได้ทา
กิจกรรมแล้วพ่อแม่ของตนเองได้เห็น เด็กปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในเชิง
บวก ไม่เพียงเท่านั้นพ่อแม่ได้มาเห็นลูกๆ ของตนเองทากิจกรรม
ด้านกีฬา ซึ่งเป็นครั้งแรกที่พ่อแม่เห็นว่าลูกๆ ของเขาสามารถทา
กิจกรรมต่างๆ ท่ีพ่ีทีมงานจัดเตรียมไว้ได้ ลูกของตนก็มีความสามารถ
ในด้านต่างๆ เช่นกัน เพราะปกติโดยส่วนใหญ่ครอบครัว อาจจะขาด
การส่ือสารกัน เด็กๆ ต่างมีความฝันที่อยากจะทาสิ่งนั้นสิ่งน้ีเหมือนกับ

หวั ใจนำทำง ส่กู ำรเสริมสร้ำง … 29 | P a g e
คุณภำพชวี ิตเด็กภำยใตว้ ิถีชุมชนชำวเล “ภูเกต็ ”

เด็กคนอ่ืนๆ ท่ัวไป เพียงแต่ครอบครัวอาจจะไม่ได้รับฟัง ที่ผ่านมาเด็ก
ไม่เคยได้รบั การสนบั สนุนในสงิ่ ท่ีเขาอยากทา ทีมเจ้าหน้าที่จงึ เป็นกลไก
หน่ึงในการดึงศักยภาพและเติมเต็มได้ในส่วนหนึ่ง แต่ส่วนท่ีเหลือ
ต้องขึ้นอยู่กับครอบครัวที่เป็นหน่วยสาคัญท่ีสุด นอกจากนี้ ไม่เพียง
เฉพาะเด็กๆ และครอบครัวเท่านั้นท่ีรับประโยชน์จากกิจกรรมดังกล่าว
แต่เราหรือทีมเจ้าหน้าที่ก็ได้มองเห็นสิ่งดีๆ ในครอบครัวชุมชนเช่นกัน
มีหลายครอบครัวที่ได้สะท้อนวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของเขา มีหลาย
ครอบครัวท่ีมีวินัยในการออมที่ดี มีวินัยทางการเงิน และทุกครอบครัว
ท่ีมาร่วมกิจกรรมกับลูกมีทัศนะคติร่วมกันคือไม่อยากให้ลูกของตนเอง
เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด คาดหวังให้ลูกมีพฤติกรรมท่ีเหมาะสม
จากการส่ือสารกันไปมาสองหรือสามทางผ่านการอยู่ในค่ายร่วมกัน
ทาให้เจ้าหน้าท่ีและครอบครัวมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน รู้จักกันมากขึ้น
ต่อมาเมื่อเจ้าหน้าที่มีกิจกรรมต่างๆ เพียงแค่โทรศัพท์ไปหา หรือ
สื่อสารผ่านช่องทาง Line Application ท้ังเด็กและครอบครัวก็พร้อม
ท่จี ะเข้ามามีส่วนรว่ มกับกิจกรรมดังกล่าว

 กิจกรรมส่งเสรมิ กำรกล้ำแสดงออกและกำรเรียนรู้
ภำยนอกชุมชน จากการที่ทีมเจ้าหน้าท่ีได้ลงพื้นท่ีเพ่ือทากิจกรรม
ร่วมกับเด็กๆ พบว่า สิ่งที่ควร
เติมเต็มให้แก่เด็กสาหรับการ
เตรียมความพร้อมในการใช้
ชีวิตในสังคม คือ ความกล้า
แสดงออก และการใช้ชีวิตใน
สังคมภายนอก นอกเหนือจาก
ชุมชนของตนเอง เด็กบางคน
ไม่เคยเดินห้างสรรพสินค้า

หวั ใจนำทำง สู่กำรเสริมสร้ำง … 30 | P a g e
คณุ ภำพชวี ิตเด็กภำยใต้วถิ ชี ุมชนชำวเล “ภูเก็ต”

บางคนไม่เคยแม้แต่การข้ึนบันไดเล่ือน ซ่ึงนั่นไม่ใช่ความผิดของเด็ก
หรือน่ันไม่ใช่ส่ิงท่ีน่าขาขันสาหรับคนท่ัวไป เพราะนั่นไม่ใช่วิถีชีวิต
โดยปกติของพวกเขา หากให้พวกเราไปดาน้าแข่งกับพวกเขาเราก็คง
ทาไม่ได้เช่นกัน แต่เราในฐานะท่ีเป็นทีมเจ้าหน้าที่จากกระทรวง พม.
ซึ่งถือเป็นกลไกหน่ึงท่ีสาคัญที่จะสนับสนุนให้พวกเขาหรือเด็กกลุ่ม
เหล่าน้ันเข้าถึงสิทธิตามท่ีพวกเขาควรจะได้รับท้ังสิทธิในการได้รับ
การพัฒนา และสิทธิในการมีส่วนร่วม เพ่ือให้เขาเป็นส่วนหน่ึงและ
ไม่รู้สึกแปลกแยกจากสังคม เดิมในชุมชนหาดราไวย์เคยมีพื้นที่ในการ
แสดงกิจกรรม แต่ต่อมาในช่วงหลังเม่ือความเจริญเข้าครอบงาพื้นท่ี
การแสดงออกซึ่งวัฒนธรรมในชุมชนกลับหายไปกลายเป็นสถานท่ี
สาหรับร้านค้าพาณิชย์ต่างๆ ทีมเจ้าหน้าที่จึงมีความเห็นกันว่าไม่ควร
ส่งเสริมเฉพาะด้านการกีฬาหรือการสร้างสถาบันครอบครัวเท่าน้ัน
แต่ควรส่งเสริมด้านความกล้าในการแสดงออกในพ้ืนที่ชุมชน ภายใต้
อัตลักษณ์วัฒนธรรมที่งดงามในท้องที่ และในเมื่อเขามีศิลปวัฒนธรรม
เป็นทุนทางสังคมที่ดีอยู่แล้ว เจ้าหน้าที่จึงมีหน้าท่ีในการสนับสนุน
ให้เด็กๆ เหล่านั้นมีพื้นท่ีในการแสดงออกทางวัฒนธรรม เช่นเดียวกับ
“กำรรำรองเง็ง” เม่ือมีการจัดงานหรือมีกิจกรรมใดๆ เกิดขึ้น
ในจังหวัด ทางทีมเจ้าหน้าท่ีประสานเพื่อให้เด็กๆ ได้แสดง
ความสามารถสาหรับการเตรียมการแสดงในแต่ละคร้ัง ก็ได้รับ
การสนับสนุนจากเจ้าหน้าท่ี
เช่นเดิม ไม่ว่าจะเป็นการรับ
เด็กๆ ท้ังทาในรูปแบบทาง
ราชการหรือแม้กระทั่งขับรถ
ตนเองไปรับไปส่งเด็กๆ ใน
ชุมชน การแต่งหน้า ทาผม
แต่งตัว ก็ได้รับการสนับสนุน

หัวใจนำทำง สูก่ ำรเสรมิ สร้ำง … 31 | P a g e
คณุ ภำพชวี ติ เดก็ ภำยใตว้ ิถชี ุมชนชำวเล “ภเู ก็ต”

พืน้ ทีข่ องสานักงานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์จงั หวัดภูเก็ต
และจากความร่วมมือและการสนับสนุนทรัพยากรของเจ้าหน้าท่ี
ในสานักงานทุกคน ท่ีอยากจะสนับสนุนให้เด็กๆ ทุกคนได้มีทักษะและ
มคี วามกล้าแสดงออกในการแสดงศลิ ปวัฒนธรรมทเี่ ขามี

น อ ก จ า ก ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม
ค ว า ม ก ล้ า แ ส ด ง อ อ ก ท า ง
วัฒนธรรมของเด็กๆ ในชุมชน
แ ล้ ว เ จ้ า ห น้ า ที่ ยั ง ใ ห้
ความสาคัญกับการเรียนรู้จาก
ภายนอกชุมชน การเรียนรู้จาก
พื้นท่ีจริง โดยได้จัด “กิจกรรม
ทัศนศึกษำเสริมกำรเรียนรู้
นอกสถำนที่” ซึ่งเป็นกิจกรรมหน่ึงที่ตอบสนองต่อการเรียนรู้ของเด็ก
ได้เป็นอย่างดี เพราะเป็นการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง เพราะ
การพาเด็กออกนอกสถานท่ี ไม่ว่าจะเป็นด้านวิชาการหรือด้าน
นันทนาการเด็กต่างมีความสนใจ กระตือรือร้นที่จะเข้าร่วมกิจกรรม
และสามารถจดจาสิ่งท่ีพบเห็นได้เป็นอย่างดี ดังที่ Jean-Jacques
Rousseau (ฌอง จาค รุซโซ่) นักปราชญ์ชาวฝร่ังเศส เช่ือว่าเด็ก
ควรจะเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อม จากธรรมชาติ และ
กิจกรรมต่างๆ ตระหนักว่าการเรียนรู้ของเด็กเกิดข้ึนจากประสบการณ์
นอกจากนี้ ยังมีแนวคิดของ Jean Piaget (ฌอง เพียเจต์) ซึ่งอธิบาย
เพิ่มเติมเร่ืองของข้ันตอนพัฒนาการทางสติปัญญา กล่าวว่า ประเภท
ความรู้ที่เด็กสร้างข้ึนมี 3 ประเภท ได้แก่ ความรู้ที่เกิดจากการ
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ความรู้ทางกายภาพ ความรู้ทางตรรกศาสตร์
(ที่มา : การศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต)

หัวใจนำทำง ส่กู ำรเสรมิ สร้ำง … 32 | P a g e
คณุ ภำพชีวิตเดก็ ภำยใต้วถิ ีชมุ ชนชำวเล “ภูเก็ต”

ซึ่งการทัศนศึกษานอกสถานท่ี
จึ ง จ ะ เ ป็ น ส่ ว น ห น่ึ ง ท่ี ใ ห้ เ ด็ ก ๆ
ได้เรียนรู้วิถีชีวิตอ่ืนๆ ในสังคม
ร ว ม ถึ ง เ ลื อ ก จ ด จ า แ ล ะ น า สิ่ ง ที่
ค น ทั่ ว ไ ป อ า จ ม อ ง ว่ า เ ล็ ก น้ อ ย
สามารถมาปรับใช้กับพฤติกรรม
ไ ด้ อ ย่ า ง เ ห ม า ะ ส ม ร ว ม ถึ ง
มีพัฒนาการท่ีเหมาะสมตามวัย
อันควร

หวั ใจนำทำง สู่กำรเสรมิ สร้ำง … 33 | P a g e
คณุ ภำพชวี ติ เด็กภำยใต้วถิ ชี ุมชนชำวเล “ภเู ก็ต”

 ประมวลภำพกิจกรรม...

หัวใจนำทำง สู่กำรเสรมิ สรำ้ ง … 34 | P a g e
คณุ ภำพชวี ติ เดก็ ภำยใต้วถิ ีชมุ ชนชำวเล “ภเู ก็ต”

หัวใจนำทำง สู่กำรเสรมิ สรำ้ ง … 35 | P a g e
คณุ ภำพชีวิตเด็กภำยใต้วถิ ชี ุมชนชำวเล “ภเู ก็ต”

 บรู ณำกำรสู่ควำมสำเร็จ ...

หวั ใจนำทำง สู่กำรเสรมิ สรำ้ ง … 36 | P a g e
คณุ ภำพชวี ิตเด็กภำยใต้วิถชี ุมชนชำวเล “ภเู ก็ต”

 ควำมร่วมมอื ท่ไี ม่เสียเปลำ่ ...

จากความร่วมมือที่เกิดข้ึนไม่เพียงแต่เป็นความร่วมมือ

ของเจ้าหน้าที่ One Home จังหวัดภูเก็ตเท่าน้ัน แต่ความร่วมมือที่ว่านี้

หมายรวมถึงความร่วมมือจากหลายช่องทางไม่ว่าจะเป็นทีมเจ้าหน้าที่

เด็ก พ่อแม่ ผู้ปกครอง รวมถึงชุมชนชาวเลหาดราไวย์ ที่เป็นส่วน

สาคัญในการเปิดใจ เปิดโอกาส และยอมให้ทีมเจ้าหน้าที่ได้เข้าไป

เป็นส่วนหนึ่งของชุมชน ได้เรียนรู้ซึ่งกันและกัน สร้างสัมพันธภาพ

ผา่ นการทากิจกรรม โดยมเี ปา้ หมายท่ีสาคัญคือการแกไ้ ขปัญหาเด็กขอ

เงินในพื้นที่ พร้อมท้ังกู้คืนภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่ชุมชนชาวเลหาดราไวย์

ซ่ึงจากการลงพ้ืนที่ในการทากิจกรรมของเจ้าหน้าท่ีอาจจะไม่มีแบบ

ประเมิน แบบวัด แบบทดสอบ ท่ีจะสามารถหาผลลัพธ์ที่วัดมาตรา

ส่วนหรืออัตราส่วนได้ แต่ส่ิงที่สะท้อนอย่างเห็นได้ชัด กลับมาในรูปแบบ

ของปฏิสัมพันธ์ การ

แ ส ด ง อ อ ก ซ่ึ ง

พฤติกรรมของ  เด็ก มีพฤติกรรมการขอเงินจากนักท่องเที่ยว
เด็กๆ และคน ลดลง แม้อาจจะไม่ครบทั้ง 100 เปอร์เซ็นต์ แต่
ใ น ชุ ม ช น เพียงแคป่ ริมาณลดลงนั้นก็ถือว่าเป็นเสียงตอบรบั ที่
ดังกล่าว ดีอย่างหน่ึง และไม่เพียงเท่านั้น พฤติกรรมของ

เด็กมกี ารเปลีย่ นแปลง พดู จาไพเราะขนึ้ มีระเบยี บ

วินัย และมีทักษะการใช้ชีวิตในสังคม มีการนา

กิจกรรมท่ีได้จาการเรียนรขู้ องพ่ีๆ ไปปรบั ใช่เล่นกนั

กับเพื่อน และยังคงให้ความสนใจให้ความร่วมมือ

เป็นอย่างดหี ากมีการจดั กจิ กรรมเกิดขึ้น

หัวใจนำทำง สกู่ ำรเสรมิ สรำ้ ง … 37 | P a g e
คุณภำพชีวิตเดก็ ภำยใตว้ ิถีชมุ ชนชำวเล “ภเู กต็ ”

 ครอบครัว จากเดิมครอบครัวขาดซ่ึง
ปฏสิ ัมพันธใ์ นครอบครัว กจิ กรรมนามาสกู่ ารสาน
สัมพันธ์ครอบครัวมากข้ึน มีการพูดคุยกันใน
ครอบครัว การปล่อยปละละเลยลดน้อยลงและ
ให้ความสาคัญและให้การรับฟังเด็กๆ มากข้ึน
รวมถึงเห็นถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจาก
พฤติกรรมการขอเงนิ จากนักท่องเทย่ี วดงั กลา่ ว

 ชุมชน จากท่ีต่างคนต่างอยู่ รับรู้แต่ทาอะไรไม่ได้
กลับกลายเป็นเมื่อครอบครัวตระหนักและเล็งเห็นถึง
ความสาคญั ของปัญหาทไ่ี ม่เพียงจะกระทบต่อภาพลกั ษณ์
ของชุมชนเท่านั้น แต่ยังคงกระทบต่อลูกหลานคนใน
ชุมชนด้วย ความต่ืนตัวและความตระหนักรู้ร่วมกันใน
ชุมชนจึงเกิดขึ้น จึงทาให้ทีมเจ้าหน้าที่มีสายลับในชุมชน
หรือที่เรยี กกนั ว่า Spy ก็วา่ ได้ เพราะจะช่วยกันสอดสอ่ ง
ดูแลลูกหลาน หากพบพฤติกรรมทไ่ี มเ่ หมาะสมทางชุมชน
กจ็ ะแจง้ ทางทีมเจ้าหน้าทันที

หัวใจนำทำง สกู่ ำรเสริมสรำ้ ง … 38 | P a g e
คณุ ภำพชีวติ เด็กภำยใตว้ ถิ ีชุมชนชำวเล “ภเู ก็ต”

 เสียงสะทอ้ นจำกชำยฝ่งั ...

แม้ในระยะหลังที่ผ่านมาการลงพ้ืนท่ีไปทากิจกรรมกับเดก็
จะไม่ได้ถี่เหมือนเช่นเดิม เนื่องจากพฤติกรรมการขอเงินเด็กดังกล่าว
ลดน้อยลง แต่ทีมเจ้าหน้าท่ียังมีการติดตามความเคลื่อนไหว และมี
การลงพ้ืนท่ีดังกล่าวอย่างต่อเน่ือง หากมีโครงการกิจกรรมเกิดขึ้นก็จะ
นึกถึงกลุ่มดังกล่าวและจะลงไปจัดกิจกรรมให้แก่เด็กๆ ทั้งในและนอก
สถานที่ ตลอดระยะเวลา 4 ปี ที่เจ้าหน้าที่และเด็กๆ ได้ทากิจกรรม
ร่วมกันมา ไม่เพียงเฉพาะเจ้าหน้าที่เท่านั้นที่มีความสุข สนุก และ
มองเห็นความสดใส มีพลังมีศักยภาพในตัวเด็กๆ ในขณะเดียวกันเด็ก
ในชุมชนเหล่านั้นก็สะท้อนความรู้สึกที่มีต่อพ่ีๆที่มาทากิจกรรม แต่
เนือ่ งจากธรรมชาตขิ องเดก็ กลุ่มดังกล่าวมักจะเขินอายไม่กลา้ พูดหรือไม่
กล้าแสดงออก จึงมีตัวแทนเด็กๆ กลุ่มชาวเลชุมชนหาดราไวย์ จานวน
4 คน ท่ีสะท้อนความรู้สึกผ่านถ้อยคาสั้นๆ ให้แก่ทีมเจ้าหน้าที่หรือที่
เด็กๆตา่ งเรยี กกนั ว่าพ่ีๆ เพ่ือขอบคุณและเป็นกาลงั ใจใหแ้ กพ่ ๆ่ี ทกุ คน ...

คิดถงึ พ่ีๆ ดีใจทพ่ี ๆ่ี มาจัด มคี วามสุขทุก
ทุกคน กจิ กรรม ภมู ิใจที่ได้รว่ ม ครง้ั ท่พี ี่ๆมาจัด
กิจกรรม
กิจกรรม

หัวใจนำทำง ส่กู ำรเสรมิ สร้ำง … 39 | P a g e
คุณภำพชีวติ เดก็ ภำยใต้วถิ ชี มุ ชนชำวเล “ภูเก็ต”

กลไกกำรขบั เคลอ่ื น...

งานจะไม่สามารถขับเคล่ือนไปได้หากผู้บริหารไม่ให้
การสนับสนุน ซึง่ จากการทางานของทีมเจา้ หนา้ ที่ One Home จงั หวดั
ภูเก็ต นับว่าเป็นความโชคดีที่ผู้บริหารทั้งระดับจังหวัดและระดับ
หน่วยงานให้ความสาคัญกับประเด็นดังกล่าว หากย้อนกลับไปตั้งแต่
ขณะที่ นางศิวพร ฉั่วสวัสด์ิ รองผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต ซึ่งดารง
ตาแหน่งในขณะน้ัน ได้ประชุมหามาตรการแก้ไขปัญหาขอทานในพ้ืนที่
ตาบลราไวย์ อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ทั้งสถานศึกษา ผู้นาชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หน่วยงาน
ในสังกัดกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์ และภาค
ส่วนอ่นื ๆทเี่ ก่ยี วขอ้ ง

 โดยใช้มาตรการในการปราบปรามก่อน ให้ทาง
เทศบาลตาบลราไวย์และเจ้าหน้าท่ีตารวจตั้งป้อมขึ้นในพ้ืนท่ีดังกล่าว
และจัดให้มีเจ้าหน้าท่ีประจาป้อม พร้อมท้ังหมุนเวียนเดินตรวจตรา
อย่างต่อเน่ืองหากพบเห็นเด็กไปขอเงินจากนักท่องเ ที่ยวต้องเ ข้าไป
ตักเตือนพร้อมเรียกพ่อแม่เด็กมารับทราบพฤติกรรมของลูก รวมถึง
การบังคับใช้กฎหมายจากเบาไปหนัก และหากเห็นว่ายังมีการปล่อย
ปละละเลยพอ่ แม่ตอ้ งรบั ผดิ ชอบ

 ในขณะเดียวกันมาตรการป้องกันให้เป็นหน้าที่ของ
สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ รวบรวมข้อมูล
ความผิดทเ่ี กิดขึ้นเพ่ือนาไปเผยแพร่ให้แกช่ ุมชนได้รบั ทราบ พรอ้ มท้ังให้
มีความถี่ในการลงพื้นที่ไปให้ความรู้เชิงรุก รวมถึงการประสาน
หน่วยงานที่เก่ียวข้องอ่ืนๆ ร่วมทางานเชิงประชาสัมพันธ์สร้างความรู้

หวั ใจนำทำง สู่กำรเสรมิ สร้ำง … 40 | P a g e
คณุ ภำพชีวติ เด็กภำยใต้วิถชี มุ ชนชำวเล “ภูเกต็ ”

ความเข้าใจท้ังกลุ่มชาวเลหาดราไวย์ และกลุ่มนักท่องเท่ียวที่มาเที่ยว
ในพื้นท่ี

นอกจากผู้บริหารในระดับจังหวัดจะให้ความสาคัญแล้ว
ผู้บริหารหน่วยงานในสังกัดกระทรวง พม. จังหวัดภูเก็ต ตั้งแต่อดีต
จนถึงปัจจุบัน ต่างขานรับนโยบายและขับเคลื่อนการดาเนินงานอย่าง
ทันท่วงที เร่ิมตั้งแต่ในช่วงท่ี นางพิมพร ขอศานติวิชัย ดารงตาแหน่ง
พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดภูเก็ต ในขณะนั้น
ได้ตระหนักถึงความสาคัญและให้ความสาคัญต่อผลกระทบที่เกิดข้ึน
ต่อกลุ่มเป้าหมายเด็ก ครอบครัว ชุมชน และสังคม ในพ้ืนท่ีหาดราไวย์
จึงได้ตามติดปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างใกล้ชิด สนับสนุนทีมเจ้าหน้าท่ี วัสดุ
อุปกรณ์ ทรัพยากรท่ีจาเปน็ ต้องใช้ท่ีมีในพ้นื ที่ ประกอบกับการแสวงหา
ความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อลงพื้นที่ดาเนินการเชิงรุก
จนทาให้สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึนได้ และเจ้าหน้าที่สามารถเข้าไป
เป็นส่วนหนึ่งของชุมชนและทากิจกรรมรวมถึงมีสายสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน
มาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน นอกจากน้ี นายกิตติ อินทรกุล พัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดภูเก็ต ในปัจจุบัน ได้ตระหนัก
ถึงการแก้ไขปัญหาดังกล่าวในรูปแบบองค์รวม ซ่ึงไม่ได้เน้นเพียงเพื่อ
การสร้างความเข้มแข็งให้แก่เด็กในชุมชนอย่างเดียวเท่านั้น แต่เด็กจะ
เข้มแข็งได้ ครอบครัว ชุมชนก็มีส่วน จึงได้เสริมสร้างความเข้มแข็งท้ัง
ครอบครัวและชุมชน จึงต่อยอดกิจกรรมทางด้านการส่งเสริมมิติ
ครอบครัว การดึงอัตลักษณ์ของวัฒนธรรมในชุมชน รวมถึงสร้าง
การยอมรบั ใหเ้ กดิ ขึ้นสังคม...

หวั ใจนำทำง สู่กำรเสรมิ สร้ำง … 41 | P a g e
คณุ ภำพชีวติ เดก็ ภำยใตว้ ิถชี มุ ชนชำวเล “ภเู กต็ ”

“เราต้องปรับทัศนคติท่ีมีต่อเขา ดึงจุดเด่นของเขา
อ อ ก ม า ก ลุ่ ม ช า ว เ ล เ ป็ น ค น ท่ี รั ก บ้ า น
รักครอบครัว รักกีฬา มีอัตลักษณ์ของกลุ่มเขาเอง
เราต้องดึงจุดเด่นเหล่านั้นออกมาอะไรท่ีหน่วยงาน
ภาครัฐควรเติมแล้วเสริมให้ถูกทาง แต่ไม่ใช่การ
แทรกแซง”

นายกิตติ อินทรกุล
พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดภูเก็ต

หัวใจนำทำง สกู่ ำรเสริมสรำ้ ง … 42 | P a g e
คณุ ภำพชีวติ เดก็ ภำยใตว้ ถิ ชี ุมชนชำวเล “ภูเก็ต”

โดยการดาเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหาพฤติกรรมการขอเงินของเด็กควบคู่
กับการส่งเสริมคุณภาพชีวิตเด็กชาวเลกลุ่มดังกล่าว ได้น้อมนาแนวคิด
หรือ “หลักการทรงงาน” ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระมหากษัตริยร์ ชั กาลท่ี 9

ภูมิสังคม การพัฒนาต้องคานึงถึงสภาพภูมิประเทศของบริเวณน้ันๆ ว่า
เป็นอย่างไร และสังคมวิทยาเก่ียวกับลกั ษณะนสิ ัยใจคอของคน ตลอดจน
ประเพณีวัฒนธรรมในแต่ละท้องถิ่นที่มีความแตกต่างกัน และใช้หลัก
ในการปรับตัวใหอ้ ยกู่ บั ธรรมชาตใิ หไ้ ด้

ระเบิดจำกข้ำงใน หมายความว่า ต้องสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนที่เรา
เข้าไปพัฒนาให้มีสภาพพร้อมที่จะรับการพัฒนาเสียก่อน แล้วจึงค่อย
ออกมาสู่สังคมภายนอก มิใช่การนาเอาความเจริญหรือบุคคลจากสังคม
ภายนอกเขา้ ไปหาชมุ ชนทยี่ งั ไม่ทนั ได้มโี อกาสเตรยี มตัว หรือตง้ั ตัว อย่าให้
โดยที่ผู้รบั ยังไม่พรอ้ มที่จะใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งเต็มที่
เขำ้ ใจ เข้ำถงึ พัฒนำ
เข้ำใจ ทาอะไรต้องต้องเข้าใจปัญหา เข้าใจหนทางแก้ไข เข้าใจ
กระบวนการจัดการและปรับความเข้าใจระหว่างผู้ให้ ผู้รับเสียก่อน ให้
เขา้ ใจซึ่งกันและกัน
เข้ำถึง เม่ือเข้าใจระหว่างกันทุกประการครบถ้วนแล้ว ต้องเข้าถึงการ
กระทาสร้างความร่วมมือจากผู้ที่เก่ียวข้อง เข้าถึงเคร่ืองไม้เคร่ืองมือและ
วัสดุอุปกรณ์ และความสามัคคีร่วมจิตร่วมใจของผู้ปฏิบัติ ร่วมไม้ร่วมมือ
กันทางาน
พัฒนำ เม่ือต่างฝ่ายต่างเข้าใจกันแล้ว เข้าถึงกันและ การพัฒนาก็จะ
ดาเนินการไปอย่างยั่งยืน ไม่ส่งผลกระทบท่ีติดลบต่อระบบเศรษฐกิจ
สงั คม ส่ิงแวดล้อม และการเมอื ง หากแตน่ าไปสคู่ วามสมดลุ มั่นคง ยงั่ ยืน

หวั ใจนำทำง สู่กำรเสริมสร้ำง … 43 | P a g e
คณุ ภำพชวี ติ เด็กภำยใตว้ ถิ ีชมุ ชนชำวเล “ภเู ก็ต”

และเมื่องานไม่ได้จบเพียงแค่เวลาส่ีโมงเย็นเท่าน้ัน...
สาหรับทีมเจ้าหน้าที่สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
บ้านพักเด็กและครอบครัว และศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พ่ึง จังหวัดภูเก็ต
ถือเป็นกลไกสาคัญในการประสานความร่วมมือ และเมื่อมีสถานการณ์
ปัญหาทางสังคมที่เด็กมีพฤติกรรมขอเงินจากนักท่องเท่ียวด้วยวิธีการ
ที่ไม่เหมาะสมเกิดขึ้น ทางทีมเจ้าหน้าท่ีจึงมีเป้าหมายที่จะแก้ไขปัญหา
ดังกล่าวคู่ขนานไปกับการส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้แก่เด็กชาวเลหาด
ราไวย์

เ มื่ อ มี

เป้าหมายเดียวกัน “เราเร่ิมต้นการทางานจากที่ไม่มีอะไรเลย

ทางทีมเจ้าหน้าท่ี เรามีพลังใจกับคาว่าอยากจะช่วยกันทา

จึ ง ไ ด้ เ ร่ิ ม ต้ น พอเกิดปัญหาเราก็ช่วยกันแก้เป็นเร่ืองๆ แต่

ขับเคล่ือนงาน เรา พู ดไ ด้เต็ม ปา กว่าเราทาได้ 90

โ ด ย เ ริ่ ม จ า ก เปอร์เซ็นต์ เด็กเห็นความสาคัญ ”

การทางาน หน่ึงในทีมเจ้าหน้าที่กล่าว

ท่ีเป็นศูนย์ หรือ

เร่ิมจากการท่ีไม่มีอะไรเลย ทุกคนต่างมีภาระงานประจา แต่ทุกคนมี

พลังใจท่ีนามาสู่การขับเคลื่อนแรงกายท่ีอยากจะช่วยกันทาและแก้ไข

ปัญหาดังกล่าว โดยทางทีมเจ้าหน้าที่เริ่มต้นจากการหารือและได้

ข้อสรุปร่วมกันคือการใช้วิธีการเชิงบวกในการเข้าไปสร้างสัมพันธภาพ

เรารู้จักเขา เขารู้จักเรา เกิดความไว้วางใจ โดยผ่านกระบวนการทา

กิจกรรมตา่ งๆ แมภ้ าระงานประจาของเจา้ หน้าท่ีทม่ี ากล้น แต่ในทกุ เช้า

ของวันอังคารและวันพฤหัสบดี เจ้าหน้าท่ีจะมีการวางแผนและเตรียม

กิจกรรมให้แก่เด็กๆ ในชุมชน แม้ว่าการดาเนินกิจกรรมดังกล่าวจะไม่มี

งบประมาณเฉพาะการทากิจกรรม แต่ในเมื่อเจ้าหน้าท่ีมีใจประกอบการ

หัวใจนำทำง สูก่ ำรเสริมสรำ้ ง … 44 | P a g e
คณุ ภำพชีวติ เดก็ ภำยใตว้ ิถีชมุ ชนชำวเล “ภเู กต็ ”

จัดการอย่างเป็นระบบจึงใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ในสานักงานสาหรับเป็น
เคร่ืองมือในการจัดกิจกรรมให้แก่เด็กๆ และเม่ือถึงเวลา 15.00 น.
ในวันดังกล่าวเจ้าหน้าท่ีก็จะลงพ้ืนท่ีเพื่อทากิจกรรมกับเด็ก จนถึงเวลา
20.00 - 21.00 น. ขึ้นอยู่กับกิจกรรม แม้ว่าเม่ืออาทิตย์ตกดินชุมชน
แห่งนั้นจะมืดลงทันที แต่จากความพร้อมของเจ้าหน้าท่ีประกอบกับ
ความร่วมมือของเด็กๆ น่ันไม่ใช่อุปสรรค ซึ่งทุกคนสามารถทากิจกรรม
ได้โดยมีเพียงแสงสว่างจากตะเกียงท่ีเจ้าหน้าที่เตรียมไว้ได้ และ
เมอ่ื กิจกรรมดาเนินการเสร็จสนิ้ เดก็ ๆ ทกุ คนตา่ งแยกย้ายกลับเข้าบ้าน
ของตนเมื่อเวลาไม่ใช่อุปสรรค แม้ว่าทีมเจ้าหน้าที่จะได้รับแจ้ง
ในช่วงเวลาดึกแค่ไหนก็ตาม แต่เมื่อได้รับข้อมูลว่าพบว่ามีเด็กที่ขอเงิน
นักท่องเท่ียวในช่วงเวลาใด เจ้าหน้าที่จะรวบรวมทีมเพื่อรีบดาเนินการ
ลงพื้นทเี่ พื่อสารวจขอ้ เท็จจรงิ ทันที

“เรามี SPY ในพ้ืนท่ี เราทางานกันอย่างสนุก เช่น มีคนแจ้ง
ข้อมูลมา 21.00 น. เราก็ข้ึนรถลงพ้นื ท่ีทันที ตามหาว่าเด็กใน
รูปอยู่บ้านไหน เราก็ตามไปถึงบ้าน ไปบอกผู้ปกครองเขา”
หนึ่งในทีมเจ้าหน้าที่กล่าว

แมว้ า่ การลงพื้นท่อี าจจะไม่ถ่ีเหมือนทีผ่ ่านมา แต่เรายังมี Spy ในชุมชน
เรามีเครือข่ายในชุมชน และคนในชุมชนก็ให้การต้อนรับทีมเจ้าหน้าที่
เป็นอย่างดี ไม่ว่าจะลงไปดาเนินการอย่างไรหรือจะไปต่อยอดกิจกรรม
ใดๆ เพราะพวกเขามองว่าทมี เจ้าหน้าที่เป็นส่วนหน่ึงในชุมชนเขาเช่นกัน
...

“เม่ือเราใช้หัวใจนาทาง...เรากไ็ ด้พบกับหวั ใจ...”

หวั ใจนำทำง สกู่ ำรเสรมิ สร้ำง … 45 | P a g e
คุณภำพชวี ติ เดก็ ภำยใต้วิถชี ุมชนชำวเล “ภเู ก็ต”

ปัจจัยแห่งควำมสำเรจ็ ...

1. ผู้บริหารระดับจังหวัด ระดับหน่วยงานกระทรวง
การพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดภูเก็ตตระหนักและ
ให้ความสาคัญต่อสถานการณ์สังคมท่ีเกิดขึ้น มีความพยายามอย่างยิ่ง
ในการบูรณาการหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว
รวมถึงร่วมเป็นที่ปรึกษา สนับสนุนการดาเนินกิจกรรมท่ีจะนาไปสู่
การแกไ้ ขปญั หา โดยไมไ่ ดม้ เี ปา้ หมายเพียงแค่การแกไ้ ขภาพลักษณ์ของ
จังหวัดเท่าน้ัน แต่เป้าหมายท่ีสาคัญยิ่งคือการส่งเสริมให้เด็กมี
พัฒนาการตามวัยที่เหมาะสม มีครอบครวั และชุมชนทเี่ ข้มแข็ง

2. ทีมเจ้าหน้าที่ใช้ใจในการขับเคลื่อนการทางาน โดย
ไม่ได้มองว่าต้องทางานตามหน้าที่หรือทางานตามเวลาเท่านั้น มีความ
สามัคคี มีการวางแผนกิจกรรมร่วมกันก่อนลงพื้นที่ และประสาน
แบ่งปันข้อมูลอย่างต่อเน่ือง สามารถจัดกิจกรรมหรือบริหารจัดการ
ภายใต้ทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจากัดไม่ว่าจะเป็นเร่ืองงบประมาณ
บุคลากร วัสดุอุปกรณ์ และเวลา ได้เป็นอย่างดี นาไปสู่การสร้าง
สมั พันธภาพทีด่ ีท้งั กับตัวเด็ก ครอบครัว และชมุ ชนชาวเลหาดราไวย์

3. ครอบครวั ชุมชนรักในถ่ินทอ่ี ยู่อาศัยของตนเอง และไม่
อยากให้เกิดภาพลบต่อชุมชน อยากให้เด็กทุกคนมีพฤติกรรมที่เหามะ
สมตามวัย รวมถึงให้ความร่วมมือกับหน่วยงาน One Home จังหวัด
ภูเก็ตเป็นอย่างดี ทั้งในส่วนที่สนับสนุนให้เด็กๆในครอบครัวได้มาร่วม
ทากจิ กรรม และครอบครวั เองกม็ ามีส่วนร่วมในทากจิ กรรมเชน่ กนั

หวั ใจนำทำง ส่กู ำรเสรมิ สร้ำง … 46 | P a g e
คุณภำพชีวิตเด็กภำยใต้วิถชี มุ ชนชำวเล “ภูเก็ต”

อุปสรรค/ข้อทำ้ ทำยที่เผชญิ ...

1. กลุ่มชาวเลในพ้ืนท่ีหาดราไวย์หรือแม้แต่พ้ืนที่อ่ืนๆ
ถูกสงั คมหรอื หน่วยงานมองว่าเป็นกลมุ่ คนชายขอบ สงั คมมที ศั นคติเชิง
ลบต่อกลุ่มดังกล่าว ส่งผลให้กลุ่มชาวเลเข้าไม่ถึงสิทธิด้านต่างๆ และ
หน่วยงานภาครัฐบางหน่วยงานไม่ได้ให้ความสาคัญในการเข้าไปแก้ไข
ปัญหาท่ีเกิดขึน้ อยา่ งจิงจงั

2. ความไม่ต่อเนื่องของนโยบายในการแก้ไขปัญหา
ดังกล่าว เนื่องจากการดาเนินการเพ่ือแก้ไขปัญหาคน ชุมชน สังคม
หรือการสร้างความเข้มแข็งให้แก่กลุ่มดังกล่าวต้องใช้ระยะเวลานาน
และตอ้ งทาอยา่ งต่อเน่อื ง

3. เจ้าหน้าท่ีต้องทางานท่ามกลางทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่าง
จากัดไม่ว่าจะเป็นด้านบุคลากร วัสดุอุปกรณ์ รวมถึงยัง ไม่มี
งบประมาณ กิจกรรรม โครงการที่สนับสนุนการให้แก่กลุ่มชาวเล
โดยเฉพาะสาหรับแก้ไขปัญหาและการส่งเสริมคุณภาพชีวิตเด็กชาวเล
ในระยะยาว

4. เจ้าหน้าทท่ี ่ีลงพืน้ ท่ีทากิจกรรมต้องมกี ารสรรหา สร้าง
ออกแบบกิจกรรมใหม่ๆ ท่ีเหมาะสมเพื่อให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต
วัฒนธรรม และความต้องการของเด็ก ครอบครัว ชุมชนอย่าง
สมา่ เสมอ

หวั ใจนำทำง สู่กำรเสรมิ สร้ำง … 47 | P a g e
คณุ ภำพชวี ติ เด็กภำยใตว้ ถิ ชี มุ ชนชำวเล “ภูเกต็ ”

5. ความยากลาบากในการเข้าถึงข้อมูล ส่งผลให้บาง
ครอบครัวขาดทักษะและเทคนิคในการอบรมเลี้ยงดูลูก เด็กไม่ได้รับ
การดแู ลที่เหมาะสมและมีผลต่อการแสดงออกทางพฤติกรรม

6. การสร้างความเข้าใจกบั นักท่องเท่ียวในการมองเด็กใน
มุมมองท่ีน่าสงสารส่งผลให้ยังมีนักท่องเท่ียวที่ให้เงินเด็ก ซ่ึงเป็นปัจจัย
ดึงดูดให้เดก็ กลบั เขา้ สวู่ งจรการของเงินนกั ท่องเที่ยวเช่นเดมิ

7. กลุ่มชาวเลมีข้อจากัดและมีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย ในขณะ
ท่ีประเทศหรือพื้นที่ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวดังกล่าวได้พัฒนาอย่าง
รวดเร็วโดยเฉพาะด้านการท่องเที่ยวในพื้นที่อันดามัน หน่วยงาน
ภาครัฐทุกหน่วยงานจึงเป็นส่วนสาคัญในการหนุนเสริมให้ท้ังกลุ่มเด็ก
ผู้ใหญ่ชาวเล สามารถปรับตัวและมีวิถีชีวิตท่ามกลางการเปล่ียนแปลง
ของสงั คมได้

หัวใจนำทำง สกู่ ำรเสรมิ สรำ้ ง … 48 | P a g e
คณุ ภำพชวี ิตเด็กภำยใตว้ ิถีชุมชนชำวเล “ภูเก็ต”

ควำมคำดหวังในอนำคต...

1. มีนโยบายสาหรับการส่งเสริมคุณภาพชีวิตกลุ่มเด็ก
ชาวเลหรือกลุ่มชาวเลโดยเฉพาะ พรอ้ มทงั้ มคี วามต่อเนื่องของนโยบาย
ท่ีจะนามาซ่ึง โครงการ กิจกรรม งบประมาณ สาหรับเอ้ือในการ
ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีในระยะยาว

2. การขยายความร่วมมือในการบูรณาการกับหน่วยงาน
ที่เก่ียวข้องโดยเฉพาะด้านการส่งเสริมการศึกษา การผลักดันให้เด็ก
ชาวเลเข้าสู่ระบบการศึกษา การสร้างทัศนคติเชิงบวกระหว่างกับคม
กับกลุ่มดังกล่าว ผ่านการบูรณาการท่ีเป็นรูปธรรม เพ่ือให้ครอบคลุม
มิติท้ังในมิติการป้องกัน แก้ไขปัญหา รวมถึงพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก
และครอบครวั กลุม่ ชาวเล

3. การจัดการข้อมูลเด็กในชุมชนเป็นรายบุคคล เพ่ือ
จาแนกประเภทและสภาพปัญหา อาทิ ด้านสุขภาพ การศึกษา
ศักยภาพของครอบครัวในการดแู ละเด็ก เพื่อวางแผนการช่วยเหลือเด็ก
ตามกระบวนการทางสังคมสงเคราะห์ท่ีครอบคลุมท้ังชุมชน รวมถึง
ผลักดนั ให้เด็กและครอบครัวได้เขา้ ถึงสิทธิและสวัสดิการที่พึงไดร้ ับ

หัวใจนำทำง สูก่ ำรเสรมิ สร้ำง … 49 | P a g e
คณุ ภำพชวี ิตเดก็ ภำยใตว้ ถิ ีชมุ ชนชำวเล “ภเู กต็ ”

สารจากภูเก็ต... สำรจำกภเู ก็ต

ขอบคุณ สสว.10 มากๆ ค่ะ ท่ีรวบรวมเร่ืองราว

“หัวใจนาทาง......” เป็นรูปเล่มข้ึนมาในฐานะคนทางาน

ปัญหาเด็กขอเงินในชุมชนชาวเลราไวย์เร้ือรังมาหลายสิบปี เด็ก

ผลัดเปล่ียนไปหลายสิบรุ่น มีเด็กเล็กๆ ในชุมชนหมุนเวียนมาขอเงิน

เร่ือยมา หน่วยงาน พม. ในภูเก็ตเองก็ทากันมาหลายรุ่น หลาย

กระบวนการ หลายวิธีการ พลิกแพลงไม่รู้ก่ีตลบก็ไม่สามารถแก้ปัญหา

ระยะยาวได้ แก้ได้แป๊ปๆ ก็กลับมาอีก เหตุการณ์เร่ิมต้นของครั้งน้ี จาได้

คร่าวๆ เด็กเกาะแข้งเกาะขานักท่องเท่ียว จนมีคนถ่ายคลิปไปแชร์ใน

โซเชียล มีความคิดเห็นจากหลายทางค่อนข้างไปทางลบกับเด็กและ

กระทบการท่องเท่ียว ท่านรองผู้ว่าราชการจังหวัด และท่าน พมจ.ใน

สมัยนั้น ลงมาผลักดันหลายภาคส่วนมาร่วมมือกันเท่าท่ีทาได้ โดยเน้น

ย้าไปท่ี “เด็ก” ก็เข้าทาง พม. ค่ะ เราไปทางเดียวกัน แรงกายแรงใจเร่ิม

มา จากท่ีแต่ละหน่วยจดๆ จ้องๆ ก็เร่มิ คุยคิดเป็นจริงเป็นจังมากข้ึน เป็น

จังหวะและความเป็นใจของหลายๆ เร่ือง โดยเฉพาะน้องๆ รุ่นใหม่ไฟแรง

ช่วยกันคิดวิธีการเข้าถึงเด็ก ลุยหาเด็กๆ และปัญหาท่ีหลากหลายใน

ชุมชนชาวเล มาช่วยกันพูดช่วยกันเล่าเร่ืองให้ผู้ใหญ่ใจดีฟัง คิดวิธีการ

กิจกรรม ทาไปข้างหน้า หัวหน้าให้ใช้ทรัพยากรสานักงานเต็มท่ี

บางอย่างซ้ือไม่ได้ก็ช่วยกันออก ช่วงแรก พยายามไปท่ีชุมชนกันให้บ่อยๆ

น้องๆจะได้จาได้ไม่ต่อต้าน พอคุ้นเคยกัน ก็ขอพ่ีๆ เคลียร์งานประจาบ้าง

ฝนตก แดดออก ก็ไปกัน รถแอร์เสีย นั่งพัดกันในรถก็ไปให้ถึง ตอนเช้า

หวั ใจนำทำง สูก่ ำรเสริมสรำ้ ง … 50 | P a g e
คุณภำพชีวติ เดก็ ภำยใตว้ ิถชี ุมชนชำวเล “ภเู ก็ต”


Click to View FlipBook Version