40
ทํานายว่าอะไรจะเกิดข้ึนในสถานการณ์อ่ืนนั้น ดังน้ัน ผู้สอนจะหยุดฉายภาพยนตร์เป็นช่วง ๆ เพื่อให้
ผู้เรียนเปรียบเทียบดูวา่ ส่งิ ทตี่ นเองทาํ นายตรงกับเหตุการณ์ของเรื่องหรอื ไม่
Hemei (1997: 45-46) เสนอแนะกิจกรรมไวส้ ำหรบั การสอนภาษาองั กฤษโดยใช้ภาพยนตร์
ในชน้ั เรยี น ดังนี้
1. การดูอย่างจริงจังเพื่อให้เกิดความเข้าใจโดยรวม (Active viewing and global
comprehension) โดยเน้นให้ผู้เรียนสนใจใจความสำคัญของการนําเสนอภาพยนตร์ให้ผู้เรียนได้รับ
แนวคิดท่ัวไปเกี่ยวกับการนําเสนอเน้ือหาภาพยนตร์โดยให้ผู้เรียนตอบคําถามปากเปล่าเก่ียวกับการ
นาํ เสนอภาพยนตร์ท่ีผสู้ อนกำหนดไวก้ อ่ น จากน้ันให้ผ้เู รียนศกึ ษาใบงานเกยี่ วกับตวั แนะหรือตัวแนะใน
การชม ผู้เรียนชมภาพยนตร์ทีละตอนอีกคร้ังเพื่อให้ผู้เรียนดูและฟังรายละเอียดเฉพาะหรือ
ลักษณะเฉพาะทางภาษาท่ีปรากฏในเน้ือหา
2. การหยุดภาพโดยการกดปุ่มนิ่งหรือปุ่มหยุดช่ัวคราว (Freeze framing) และการคาดเดา
เหตุการณ์ การหยุดภาพเพื่อให้ข้อมูลเพิ่มเติมด้านภาษา ท่าทาง การแสดงอารมณ์ การแสดงออกทาง
สีหน้า ปฏิกิริยาการตอบสนองของตัวละครเพ่ือสอนคำศัพท์และสํานวนต่าง ๆ หรือเน้นความสนใจ
ของผู้เรียนบางประเด็น เพ่ือให้ผู้เรียนได้คาดเดาเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นต่อไปจากฉากหรือตอนท่ีดูคร้ัง
แรกเพอ่ื สรุปความหมายของข้อมลู เพ่ิมเติมเกย่ี วกับตวั ละคร โดยอาศัยช่อื ของแต่ละฉาก
3. การดูแบบเงียบ (Silent viewing) โดยให้ผู้เรียนดูแต่ภาพเป็นการกระตุ้นความสนใจและ
ความคดิ ตลอดจนพัฒนาทกั ษะการเดาในการดูคร้ังแรกโดยผู้เรียนใช้ศักยภาพของตนเอง สรุปเนื้อหา
ที่ชม โดยผู้สอนหยุดภาพชั่วคราว ให้ผู้เรียนเดาพฤติกรรมของตัวละครหรือส่ิงที่ตัวละครจะพูด
หลังจากนั้นเปิดให้ผู้เรียนดูท้ังภาพและเสียง เพื่อเปรียบเทียบข้อมูลที่เดาและเหตุการณ์จริงใน
ภาพยนตร์
4. การเปิดเสียงและปิดภาพ (Sound on and vision off) ให้ผู้เรยี นได้ยินแต่เสียงเพอ่ื ให้เดา
หรอื จินตนาการภาพ หรอื เหตุการณ์จากสงิ่ ทีไ่ ดย้ นิ
5. การพูดซ้ำและการแสดงบทบาทสมมติ (Repetition and role-play) มีการหยุดฉาย
ภาพยนตร์ช่ัวคราวเพื่อให้ผู้เรียนพูดซ้ำารายบุคคลหรือรายกลุ่ม คำศัพท์ สํานวน ประโยคและ
โครงสร้างทางภาษาที่ยากหรือสำคัญในฉากน้ัน ให้ผู้เรียนแสดงบทบาทเลียนแบบต้นฉบับใน
ภาพยนตร์น้ัน เมื่อผู้เรียนจำได้หรือเกิดความเข้าใจและมันใจเก่ียวกับศัพท์และโครงสร้างทางภาษา
แล้ว อาจให้ผู้เรยี นแสดงบทบาทสมมติโดยไม่มบี ทพูดของฉากนั้น ทดลองประยุกตจ์ ากส่ิงท่ีเรยี นรู้และ
ปรบั ใหเ้ หมาะสม ตามความรสู้ กึ นึกคดิ ความเขา้ ใจของตนเอง
6. การผลิตคําพูดใหม่ (Reproduction) หลังจากผู้เรียนดูภาพยนตร์ตอนน้ันให้ผู้เรียนสร้าง
อธบิ าย เล่า หรอื สรุปส่ิงที่ไดช้ มใหมอ่ ีกครง้ั เปน็ คู่ ๆ จากนน้ั อาจให้ผเู้ รยี นชมภาพยนตร์ตอนนน้ั อกี สอง
หรือสามคร้ัง แล้วให้ผู้เรียนเล่าเรื่องยอของเนื้อภาพยนตร์เป็นรายบุคคลโดยผู้สอนให้คำแนะนํา
ช่วยเหลอื โดยเขียนคาํ สำคัญหรือตัวแนะให้ก่อน
7. การทำสำเนาแถบบันทึกเสียงหรือแถบบันทึกภาพและเสียง หรือการใส่คําลงในร่องเสียง
ภาพยนตรต์ า่ งประเทศ (Dubbing) โดยใหผ้ ูเ้ รยี นเติมฉากภาพยนตรใ์ ห้สมบูรณ์แทนที่ตน้ ฉบับหลังจาก
การทบทวนเนื้อหาภาพยนตร์ หรือเม่ือผู้เรียนมีความสามารถเพียงพอ แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะคือ
การเปิดฉากหรือตอนของเรื่องในภาพยนตร์อีกคร้ัง ลดเสียงลงให้ผู้เรียนเติมข้อมูลบทสนทนาที่ขาด
หายไปหรือการเลือกฉากสำคัญ น่าสนใจ แล้วปิดเสียงให้ผู้เรียนดูภาพเติมคําหรือบทสนทนาลงใน
สำเนาตน้ ฉบบั โดยอาศัยตวั แนะ คือ ภาพที่ได้เห็น
41
8. กิจกรรมการติดตามประเมินผล (Follow-up activity) โดยการจัดให้ผู้เรียนพูดอภิปราย
เหตุการณ์ บุคลิกภาพของตัวละคร ฯลฯ ตลอดจนหัวข้อเรื่องเพื่อพัฒนาทักษะ ความร่วมมือเป็นกลุ่ม
และการส่อื สาร
นอกจากนี้มีผู้วิจัยหลายท่านได้แนะนำข้ันตอนวิธีการสอนภาษาอังกฤษโดยใช้วีดิทัศน์หรือ
ภาพยนตร์ อาทิ Hemei (1997: 45-46) โดยแบ่งเปน็ 3 ขั้นตอนดงั นี้
1. ข้ันก่อนชม (Pre-viewing) เป็นข้ันการเตรียมความพร้อมเพ่ือให้คุ้นเคยกับหัวข้อ
วีดิทัศน์ บริบท เรียนคำศัพท์ สำนวน เพ่ือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงความคิดโดยใช้ความรู้เดิมและ
ประสบการณ์มาปฏสิ ัมพนั ธก์ บั วีดิทัศนแ์ ละผูส้ อน โดยไมเ่ นน้ ความถกู ตอ้ งของคำตอบ
2. ขั้นชม (Acting-viewing) เป็นข้ันที่ผู้เรียนเรียนเนื้อหาทางภาษาจากวีดิทัศน์และ
กิจกรรมท่ีปฏิบัติระหว่างชม เช่น วิธีการปิดเสียงเปิดภาพหรือดูแบบเงียบ (Sound off/ Vision on
or Silent viewing) เพื่อให้ผูเ้ รียนเดา คำศัพท์ สำนวน และประโยค จากกริยาท่าทางการเคล่อื นไหว
ของริมฝีปากของนักแสดงหรือตัวละครในบางตอน การเปิดเสียงปิดภาพ (Sound on /Vision off)
เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดจินตนาการและพูดบรรยายเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึน ระบุชนิดของบุคคล ท่าทาง
บทบาท ตลอดจนสถานที่แล้วประมวลความคิด ภาพรวม หรือโครงเรื่อง ตลอดจนให้ผู้เรียนดูท้ังเร่ือง
(View a whole segment) เพื่อให้ผู้เรยี นเข้าใจเรอื่ งโดยรวมและเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรม เป็นต้น
นอกจากนี้ยังใช้วิธีการหยุดภาพหรือหยุดเสียง (Pause/Freeze-frame control) เพ่ือเน้น
สถานการณ์โครงสร้างภาษาวัฒนธรรม ประเพณี สำนวน ภาษา โดยให้ผู้เรียนพูดตาม หรือเลียนแบบ
จากเจ้าของภาษาพดู อภิปราย หรอื เรียงประโยคบทสนทนาตามลำดบั เหตุการณ์ในเนือ้ เรื่อง
3. ขั้นหลงั ชม (Post-viewing) เปน็ การพัฒนาระบบความจำของผเู้ รียน และกระตุ้น
ให้ผู้เรียนได้ฝึกและมีทักษะในการพูดเล่าเร่ือง ผู้สอนและผู้เรียนสรุปรูปแบบโครงสร้างและหน้าที่ของ
ภาษาวัฒนธรรม บทบาท ของนกั แสดงในเรื่อง กระตุ้นให้ผู้เรียน ฝกึ แสดงความคิดเห็น ความชอบ ไม่
ชอบเก่ียวกับเร่ืองท่ีชม การแต่งเร่ืองใหม่โดยอาศัยเค้าโครงเร่ือง บทบาท เนื้อหาท่ีใกล้เคียงกับเรือ่ งท่ี
ชมแล้วนำเสนอในลักษณะบทบาทสมมติ เปน็ ต้น
จากการศึกษาเก่ยี วกับขัน้ ตอนการนำภาพยนตร์มาใช้ในการสอนภาษาองั กฤษ สรุปได้ 3
ขัน้ ตอนหลัก ดังนี้
1. ข้ันก่อนฟังและชมภาพยนตร์ (Pre-listening & viewing) ครูกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความ
สนใจโดยใช้รูปภาพ/ภาพนิ่ง เพ่ือให้นักเรียนคาดเดาเร่ืองราวท่ีเกิดขึ้น และใช้คำถามนำ (guided
questions) เพื่อระดมสมอง ดึงความรู้ หรอื ประสบการณ์เดิมของนักเรียนท่ีเกี่ยวกับเร่ืองราวออกมา
ผ่านกิจกรรมการถาม-ตอบแบบไม่เป็นทางการ เน้นการแบ่งปันข้อมูล รวมถึงการแนะนำคำศัพท์
สำคัญ (key vocabulary)
2. ข้ันขณะฟังและชมภาพยนตร์ (While-listening & viewing) เป็นข้ัน รับฟังข้อมูล ตีความ
และทำความเข้าใจเรื่องราว แบ่งออกเป็น3 รอบ โดยมีกจิ กรรมระหว่างการฟังเพื่อใหน้ ักเรียนฟังอย่าง
มจี ดุ มุ่งหมาย ดงั นี้ รอบที่ 1 นักเรียนฟงั เน้ือเรอ่ื งโดยรวมและทำแบบฝกึ บางส่วน รอบท่ี 2 นักเรียนฟัง
และทำแบบฝึกจนเสร็จและรอบท่ี 3 นักเรียนฟังเน้ือเร่ืองอีกคร้ังพร้อมดูคำบรรยาย ครูและนักเรียน
ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของแบบฝึก ตัวอย่างกิจกรรมในแบบฝึก เช่น การตอบคำถามแบบ
ถูกผิด (True/False) คำตอบแบบตัวเลือก (Multiple choices) หรือการเติมคำ (Gap Filling)เป็น
ต้น และการหยุดภาพหรือหยุดเสียง (Pause/Freeze-frame control) หรือให้ดูภาพยนตร์ท้ังเร่ือง
42
(View a whole segment) ซึ่งแต่ละเทคนิคจะทำให้ผู้เรียนเกิดทักษะย่อยต่าง ๆ เช่น การคาดเดา
เหตกุ ารณ์ การเรียงลำดับเหตกุ ารณ์ ตลอดจนการเข้าใจประเดน็ สำคญั ของเรื่อง เปน็ ต้น
3. ข้นั หลังการฟังและชมภาพยนตร์ (Post-listening &viewing)เป็นขน้ั นำภาษาท่ีไดจ้ ากการ
ฟงั ไปใชใ้ นสถานการณ์จริง หลังจากที่มกี ารสรุปโครงสร้างทางภาษาระหว่างผู้สอนกับผู้เรยี นหลังการดู
ภาพยนตร์เสร็จสิ้น โดยใหน้ ักเรยี นได้มโี อกาสในการผลติ ภาษาของตนเองผ่านกิจกรรมที่ครูมอบหมาย
ท้ังกิจกรรมเด่ียว กิจกรรมคู่หรือกิจกรรมกลมุ่ ตามความเหมาะสม เช่น การแสดงบทบาทสมมติ (Role
play) การนำเสนอ (Presentation) หรือการทำผังความคดิ (Mind Mapping) เป็นตน้
4.3 ประโยชนแ์ ละคุณคา่ ของภาพยนตร์
ปัจจุบนั มีการนำภาพยนตรม์ าใช้ร่วมในการจดั การเรยี นการสอนในหลากหลายสาขาวิชาเนื่อง
ด้วยเป็นส่ือท่ีเข้าถึงได้ง่าย มีการนำเสนอบริบทที่ชัดเจน สามารถนำมาใช้ได้สะดวกและง่ายข้ึน
เน่ืองจากความพร้อมของเทคโนโลยีในปัจจุบัน ซ่ึงภาพยนตร์มีประโยชน์และคุณค่าในการเรียนการ
สอนมากมาย ดังนี้
สมาน งามสนทิ (2523, อ้างถึงใน รติ หอมลา, 2553) ได้กล่าวไว้ ดังน้ี
1. ภาพยนตร์ช่วยเชื่อมการเห็นภาพลักษณะเคลื่อนไหวกับเสียงบรรยายประกอบด้วยการใช้
ประสาทรับรู้ถึง 2 อย่างทั้งจากการได้เห็นและการได้ยินในขณะเดียวกันทำให้การเรียนรู้มี
ประสิทธิภาพ
2. ภาพยนตร์ช่วยขจัดอุปสรรคในด้านความสามารถในการเรียนรู้ภาพยนตร์เป็นเสมือนผู้
สื่อสารที่มีแนวคิดท่ีมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะใช้ทักษะการอ่านเพียงเล็กน้อยเท่านั้นเอง นักเรียนที่ประสบ
ปัญหาความยุ่งยากหรือไม่เข้าใจ ประสบการณ์การเรียนรู้บางอย่างท่ีมีความซับซ้อน เช่น เร่ือง
กระแสไฟฟ้าหรือเรื่องปฏิกิริยานิวเคลียร์ ภาพยนตร์จะช่วยแก้ไขปัญหานี้ได้ด้วยเทคนิคการใช้งาน
กราฟิก และเทคนิคการถ่ายทำเข้าช่วยจะทำให้นักเรียนเข้าใจในบทเรียนเก่ียวกับเรื่องดังกล่าวได้
กระจ่าง นอกจากนี้ผู้เรียนท่ีขาดความสนใจในบทเรียนก็สามารถแก้ไขได้ โดยใช้ภาพยนตร์เก่ียวกับ
การแสดง หรือภาพยนตร์สีธรรมชาติ ภาพที่มีลักษณะการเคลื่อนไหว จะทำให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ
ในการเรยี นมากขน้ึ ได้
3. ภาพยนตร์ชว่ ยสร้างส่ิงต่าง ๆ ในอดีตได้ เช่น เหตุการณ์ต่าง ๆ ในประวัติศาสตร์ ทำให้น่า
ต่ืนเตน้ และเช่ือถอื ไดโ้ ดยการแสดงนาฏกรรมตา่ ง ๆ
4. ภาพยนตร์ช่วยสร้างประสบการณ์ “ร่วม” ช่วยเชื่อมประสบการณ์ท่ีแตกต่างกันของ
สมาชิกในกลุ่มได้ เช่น ใช้ภาพยนตร์ท่ีใช้การแสดงบทบาทเพื่อสร้างปัญหาสำหรับการที่ทุกคนจะได้มี
ประสบการณร์ ่วมกัน
5. ภาพยนตร์สามารถแสดงการการกระทำท่ีติดต่อเนื่องกันให้เห็นและทำได้เหมือนสภาพ
ความเป็นจริงตามธรรมชาติได้ ซึ่งสื่อชนิดอ่ืนโดยเฉพาะสื่อทางภาษา หรือสื่อสิ่งพิมพ์ไม่สามารถทำได้
เช่น เทคนิคการถา่ ยทำแบบสโลโมช่นั หรอื เทคนคิ แอนนิเมช่ัน เป็นต้น
6. ภาพยนตร์ทำให้เห็นประสบการณก์ ารเรียนรู้ได้อย่างใกลช้ ิดการสาธติ ของผูท้ รงคุณวุฒิถ่าย
ทำเป็นภาพยนตร์ ทำให้เห็นการแสดงการใช้เคร่ืองมืออุปกรณ์ต่าง ๆ แสดงขั้นตอนประกอบการ
บรรยาย โดยถ่ายแบบระยะใกล้ ทำให้ผู้เรียนทุกคนได้เห็นภาพชัดเจนได้เห็นขั้นตอนต่าง ๆ ของการ
สาธติ วธิ กี ารหรอื ขน้ั ตอนของกระบวนการต่าง ๆ ได้ชดั เจนกวา่ การสอนแบบปกติ
43
7. ภาพยนตร์เอาชนะอุปสรรคทางกายภาพในการเรียนหลายด้าน เช่น สามารถเรียนรู้โลก
ภาพนอกได้กวา้ งขวาง เช่น การศกึ ษาชวี ติ ความเป็นอยขู่ องชาวจนี สเปน ฯลฯ หรือชวี ิตสตั วใ์ ตท้ ะเล
8. ภาพยนตร์บางชนิดสามารถใช้ในการทดสอบได้ด้วยคุณสมบัติของภาพยนตร์ท่ีมีความ
ยืดหยุ่นได้ เช่น ใช้บางตอนไม่จำเป็นจะต้องใช้ท้ังเร่ืองก็ได้ ปิดเสียงบรรยายตามตอนที่ต้องการก็ได้
เราสามารถใช้ภาพยนตร์เป็นเครื่องมือการทดสอบความเจริญก้าวหน้าทางการเรียนรู้ของผู้เรียนตาม
วัตถุประสงค์ด้านตา่ ง ๆ ได้
อรพรรณ สุธาพันธ์ (2551: 22) กล่าวว่า ภาพยนตร์เป็นส่ือที่สามารถนำมาใช้ในการสอน
ภาษาตา่ งประเทศได้ดี เหมาะสมกับการเรียนร้ภู าษา เพราะนักเรียนสามารถมองเห็นภาพไปพร้อมกับ
การฟังได้ และภาพยนตร์นำเสนอภาษาที่ใช้ในสถานการณ์ท่ีสมจริงและเป็นธรรมชาติ ทำให้นักเรียน
เกิดความสนใจและช่วยกระตุ้นให้นักเรยี นเกิดการเรียนรู้ สามารถจดจำข้อมูลที่เป็นเน้ือหาหรือข้อมูล
ทางภาษาได้ดี ส่ิงสำคัญคือ ครูผู้สอนควรเลือกภาพยนตร์ท่ีมีเนื้อหาน่าสนใจ เหมาะสมกับวัย ความรู้
ความสามารถของนักเรียน และนำไปใช้ร่วมกับวิธีการสอนท่ีถูกต้องและเหมาะสม การเรียนการสอน
จึงมปี ระสิทธภิ าพ
Donaghy (2014) ไดก้ ลา่ วถึงประโยชน์ของภาพยนตรท์ ่นี ำมาใชเ้ ปน็ สอ่ื การจัดการเรียนการ
สอน ดงั นี้
1. ภาพยนตร์ช่วยกระตุ้นแรงจูงใจผู้เรียนและให้ความบันเทิง ซึ่งการกระตุ้นแรงจูงใจเป็น
ปัจจยั สำคญั ในการรับรภู้ าษาทีส่ อง และหากเรอ่ื งราวทน่ี ำมาใช้สอนเป็นเรอ่ื งราวเก่ียวกับนกั เรยี นเร่ือง
ใกล้ตัวนกั เรียน จะทำใหน้ กั เรียนมคี วามบนั เทิงและสนกุ สนานมากขนึ้ ในกระบวนการจดั การเรียนรู้
2. ภาพยนตร์นำเสนอภาษาที่เป็นจริง (Authentic) และมีความหลากหลายของภาษาเป็น
ภาษาที่ใช้ในสถานการณ์จริงในชีวิตประจำวัน แม้ว่านักเรียนจะไม่ได้อยู่ใบริบทแวดล้อมท่ีใช้
ภาษาอังกฤษส่ือสารเป็นปกติ แต่นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านภาษาอังกฤษท่ีใช้ในบทสนทนาต่าง ๆ
จากภาพยนตร์ภาษาอังกฤษได้
3. ภาพยนตร์ประกอบด้วยบริบทท่ีสามารถเห็นภาพได้ทำให้นักเรียนสามารถเข้าใจและ
ตีความเรื่องราวได้ อีกท้ังการเห็นบริบทต่าง ๆ เช่น การแสดงสีหน้าอารมณ์ การแสดงท่าทางส่ิง
เหล่านล้ี ้วนส่อื ความหมายและสง่ ผลต่อการทำความเขา้ ใจของเนื้อเรอ่ื งทง้ั สิ้น
4. ภาพยนตร์มีความหลากหลายและความยืดหยุ่น เพราะภาษาท่ีใช้ในภาพยนตร์มีความ
หลากหลายมากกว่าภาษาทใี่ ชใ้ นห้องเรียนเท่าน้ัน ซ่ึงมีสว่ นช่วยในการพัฒนาทัง้ 4 ทกั ษะของนกั เรียน
ท้งั ทักษะการฟังและการอ่าน การใช้เป็นแบบอย่างในการพูดและการเขียน เปน็ ตน้
สรุปได้ว่า ภาพยนตร์เป็นสื่อท่ีมีประโยชน์ต่อการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นสื่อท่ีแสดงให้
เห็นถึงสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้น ลกั ษณะตัวละคร การแสดงออกทางพฤติกรรม ภาษา ทำให้ผู้เรียนเข้าใจ
ในเร่ืองได้ง่ายและชัดเจนขึ้น อีกทั้งยังเสริมสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ ประสบการณ์ร่วม และให้
ความบันเทงิ เกดิ เป็นแรงจงู ใจแกผเู้ รียนอีกด้วย
44
5.สถานการณ์จำลอง
5.1 ความหมายและวัตถปุ ระสงค์ของสถานการณ์จำลอง
นักวชิ าการหลายทา่ นได้ให้ความหมายของสถานการณ์จำลองไว้ ดังน้ี
ทิศนา แขมมณี (2555 : 370) ได้ให้ความหมายของวิธีสอนโดยใช้สถานการณ์จำลอง คือ
กระบวนการท่ีผสู้ อนใชใ้ นการชว่ ยใหผ้ ู้เขยี นเกดิ การเรียนรแู้ ละฝึกฝนตามวัตถุประสงคท์ ี่กำหนดโดยให้
ผู้เรียนแสดงในสถานการณ์ท่ีมีบทบาท ข้อมูล และกติกาการเล่นที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริงและมี
ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่าง ๆ ท่ีอยู่ในสถานการณ์นั้น ข้อมูลท่ีใช้มีสภาพคล้ายกับข้อมูลในความเป็นจริงใน
การตัดสินใจและแก้ปัญหาต่ำง ๆ ซ่ึงการตัดสินใจน้ันจะส่งผลถึงผู้เล่นในลักษณะเตียวกันกับท่ีเกิดขึ้น
ในสถานการณจ์ ริง
อญั ชลี แจม่ เจริญ (2522 : แสดงถึงสถานการณ์จำลองหมายถึง การจัดสถานการณ์เลียนแบบ
สถานการณจ์ รงิ ใหม้ ากท่สี ุดให้นกั เรียนฝกึ แกป้ ญั หาและตัดสนิ ใจกับสิง่ ท่ีกำลงั เผชิญอยู่ดว้ ยตนเอง
ชาญชัย ศรีไสยเพชร (2527 : 132) แสดงถึงสถานการณ์จำลองหมายถึง การจัด
สภาพแวดล้อมเสียนแบบของจริงให้ใกล้เคียงสภาพความเป็นจริงมากที่สุดเพ่ือให้ผู้เรียนได้ฝึกการคิด
แกป้ ญั หาและตัดสนิ ใจจากสภาพการณท์ เี่ ขากำลงั เผชญิ
กรมวิชาการ (2533 : 70) แสดงถึงสถานการณ์จำลอง หมายถึง การเรียนการสอนที่อาศัย
สถานการณ์ท่ีสร้างขึ้นจากเน้อื หาในบทเรียนหรือการจำลองสถานการณท์ ี่เป็นจรงิ มาใช้ในชั้นเรียนโดย
จัดให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ของการเรียนในแต่ละคาบ ๆ ละ 1 สถานการณ์ และสถานการณ์น้ัน
ง่ายต่อการทำความเข้าใจของนักเรียน แล้วให้นักเรียนเข้าร่วมในสถานการณ์นั้น ๆตามบทบาทความ
รับผิดชอบและหน้าที่ท่ีครูมอบหมายให้ นักเรียนจะมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอ่ืนในสถานการณ์ตามที่
ไดร้ ับมอบหมาย
วัตถปุ ระสงคใ์ นการใช้สถานการณจ์ ำลอง
นักวิชาการหลายท่านได้ให้ความมงุ่ หมายในการใชส้ ถานการณ์จำลองได้ ดงั นี้
สุภา กิจจาทร (2529 : 195 - 196) แสดงถึงความมุ่งหมายในการใช้สถานการณ์จำลองใน
การจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ดงั นี้
1. เพื่อให้นักเรียนได้พบและจักการแก้ปัญหาซ่ึงนักเรียนอาจจะพบในอนาคตของชีวิตจริงได้
อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
2. เพือ่ ฝกึ ใหน้ ักเรยี นร้จู กั การหัด สามารถอภิปรายเหตปุ ระกอบการตัดสนิ ใจ
3. เพื่อให้นักเรียนพัฒนาการทำงานเป็นกลุ่ม รู้จักการวิพากษ์วิจารณ์ การอดทนการยอมรับ
ฟังความคิดเห็นของเพื่อนในกลุ่ม ฝึกการมีวินัยในตนเอง เข้าใจในสิทธิและหน้าที่ของตนเองและคน
อ่ืนเพ่ือเปล่ียนรูปแบบการเรียนการสอนจากฟังครูอย่างเดียวมาเป็นการจัดการเรียนการสอนให้
นักเรียนมสี ่วนรว่ มในการเรียนมากขึน้
อัญชลี แจ่มเจริญ และคณะ (2526 : 4) แสดงถึงความมุ่งหมายในการใช้สถานการณ์จำลอง
ในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ดังนี้
1. เพื่อให้นักเรียนได้พบและรู้จักปัญหา การแก้ปัญหา ซึ่งอาจจะเกิดข้ึนในอนาคตได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ
2. เพ่ือให้นักเรียนรู้จักคิด วิเคราะห์และสามารถนำเหตุผลมาอภิปราย เพื่อประกอบการ
ตัดสินปัญหา
45
3. เพื่อพัฒนานักเรียนในการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม ให้รู้จักวิพากษ์วิจารณ์ยอมรับ ความ
คดิ เหน็ ของคนอนื่ มีวนิ ัยในตนเอง ร้หู นา้ ท่ขี องตนเองและผอู้ น่ื
4. เพ่ือเปลี่ยนแปลงกิจกรรมการเรียนการสอน จากฟังครูอย่างเดียวมาเป็นการเรียน โดย
นกั เรียนมีสว่ นรว่ มในการเรียนการสอนมากขนึ้
อาภรณ์ ใจเท่ยี ง (2540 : 126) แสดงถงึ ความมงุ่ หมายของการใชส้ ถานการณจ์ ำลอง ดังน้ี
1. เพื่อฝึกการแก้ปัญหา การวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ การควบคุมปัญหา การตัดสินใจ
แก้ปญั หา ซึ่งนกั เรียนอาจจะพบในชีวิตจริง
2. เพ่ือฝึกการทำงานเป็นกลุ่ม การสร้างความสัมพันธ์กับเพื่อน ๆ ในกลุ่มยอมรับฟัง ความ
คดิ เห็นของคนอนื่ การรกั ษาวินยั ในตนเอง เปน็ ต้น
3. เพื่อฝึกความม่ันใจ ความกล้าแสดงออก กลา้ คิด กล้าทำ นำไปสู่การแก้ปัญหา ด้วยวิธีการ
ท่ีดีและถกู หลักการในสถานการณ์จำลอง
5.2 องค์ประกอบท่สี ำคญั ของวธิ ีการสอนโดยใชส้ ถานการณจ์ ำลอง
1. มผี เู้ รยี นและผ้สู อน
2. มขี อ้ มลู สถานการณ์ กติกาและบทบาททส่ี ะทอ้ นความเป็นจรงิ
3. ผู้เลน่ ในสถานการณ์มปี ฏิสัมพนั ธก์ ัน หรอื วา่ มปี ฏสิ มั พนั ธ์กับปจั จัยตา่ ง ๆ ในสถานการณ์
ต่างๆ
4. ผู้สวมบทบาทหรือผูเ้ ลน่ มีการใช้ขอ้ มลู ท่ีให้ในการตัดสนิ ใจ
5.การตัดสนิ ใจสง่ ผลต่อผูเ้ ล่นในลักษณะเดยี วกนั กับทเ่ี กิดขนึ้ ในสถานการณ์จริง
6.มีการอภิปรายเก่ียวกับข้อมูล สถานการณ์ และกติกาของสถานการณ์ พฤติกรรม การเล่น
วธิ ีการเลน่ และผลการเล่น เพอ่ื การเรยี นรู้
7.มีผลการเรียนรู้ของผเู้ รยี น
ทิศนา แขมมณี (2555 : 370) แสดงถึงวัตถุประสงค์ชองวิธีการสอนโดยใช้สถานการณ์
จำลอง เป็นวิธีการท่ีมุ่งช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้สภาพความเป็นจริงและเกิดความเข้าใจในสถานการณ์
หรือเรอ่ื งทมี่ ตี ัวแปรจำนวนมากทม่ี คี วามสัมพนั ธ์กันอยา่ งชบั ซ้อน
5.3 ขน้ั ตอนและวิธีการเสนอการสร้างสถานการณจ์ ำลอง
นักวชิ าการหลายทา่ นได้แสดงขัน้ ตอนในการสร้างสถานการณจ์ ำลองไว้ดังนี้
สทุ นิ บุญชวี งศ์ (2526 : 56 - 59) กลา่ วถงึ ข้ันตอนการสรา้ งสถานการณจ์ ำลองควร
ประกอบด้วย ดังนี้
1. สำรวจวิเคราะห์ ก่อนการสร้างสถานการณ์จำลองต้องศึกษาและสำรวจจุดประสงค์
กำหนดให้นักเรียนรู้เรื่องใด ศึกษาสถานการณ์ประเภทต่าง ๆ ประเภทใดเหมาะสมกับจุดประสงค์ ที่
กำหนดไว้กำหนดขอบเขตเนื้อหาแล้วนำมาวิเคราะห์ถึงความเหมาะสม สถานการณ์นั้นจะให้ผลตี ต่อ
การเรียนรู้อะไรและให้ผลเสียอะไรบ้าง สถานการณ์ท่ีริเคราะห์นั้นใกล้เคียงกับความเป็นจริงแค่ไหน
เช่น สอนเรื่องความมีน้ำใจไม่เอาเปรียบเพื่อนร่วมงาน ถ้าใช้สถานการณ์จำลองให้เห็นถึงความมีน้ำใจ
ตอ้ งวิเคราะห์ว่าสถานการณ์ชนิดใดท่ีใช้ประโยชน์ต่อการเรียนรู้มากที่สุด เมื่อวิเคราะห์รายละเอียด ดี
แลว้ พิจารณาขั้นตอ่ ไป
2. กำหนดจุดประสงค์สถานการณ์ที่เป็นจริงและสามารถจำลองมาใช้ในห้องเรียน ต้อง
สอดคล้องกับจุดประสงค์น้ันมุ่งให้นักเรียนเปล่ียนพฤติกรรมอะไรบ้าง เมื่อนักเรียนเรียนรู้จาก
46
สถานการณ์แล้ว นักเรียนจะเป็นอย่างไรการสร้างสถานการณ์การจำลองก็ต้องสร้างให้ตรงกับ
จุดประสงคถ์ า้ จุดประสงคช์ ัดเจนการสรา้ งสถานการณ์จำลองกจ็ ะทำใหง้ า่ ยขนึ้
3. คัดเลือกสถานการณ์สถานการณ์ที่เป็นจริงและสามารถจำลองมาใช้ในชั้นเรียน อดคล้อง
กับจุดประสงค์ที่กำหนดไว้ พิจารณาเลือกและสามารถนำสถานการณ์ท่ีเ มาตัดแปลงให้เหมาะสมกับ
การจัดการเรียนการสอนในช้ันเรียน โดยสถานการณ์นั้นเปิดโอกาสให้ นักเรียนได้ฝึกวิเคราะห์
ตัดสินใจ ก่อให้เกิดการเรยี นรู้และทกั ษะทตี่ ้องการ และทใ่ี กล้เคียงกับ ความจรงิ มากทีส่ ุด
4.กำหนดโครงสรา้ งสถานการณก์ ารกำหนดโครงสร้างสถานการณจ์ ำลอง ประกอบดว้ ย ส่ิง
สำคัญ ดังนี้
4.1 กำหนดจดุ ประสงคข์ องสถานการณ์จำลอง
4.2 กำหนดบทบาทของผู้ร่วมกิจกรรมแต่ละคน
4.3 เตรียมขอ้ มลู ข่าวสารท่จี ำเป็นหรือเนอ้ื หา
4.4 กำหนดสถานการณ์ตา่ ง ๆ ให้เหน็ เหมือนจรงิ ในสงั คม
4.5 ลำดับขนั้ ของเหตกุ ารณ์ เวลาและปญั หาจากสถานการณ์
4.6 จบสถานการณ์ สรุปอภิปรายผลการอภิปรายหลังจากการจบสถานการณ์
จำลอง เป็นข้ันตอนท่ีสำคัญทีส่ ุดที่ทุกฝ่ายจะต้องร่วมกันอภปิ รายโดยพยายามคันหาว่าจะเกิดข้นึ และ
ทำไมจึงเกิดสภาพการณ์นั้น การอภิปรายจะช่วยให้ครูประเมินความสำเร็จและความลัมเหลวของ
สถานการณ์ และควรทำทันทีเม่ือจบสถานการณ์จำลองนั้น ๆ ลักษณะของการอภิปรายครูอาจใช้
คำถามในลักษณะท่ีประเมินผลผู้ร่วมกิจกรรมโดยให้อภิปรายว่าเกิดความคิดอะไรบ้าง ในขณะที่เข้า
ร่วมกิจกรรมสถานการณ์น้ันๆ และได้กระทำจากความคิดน้ันไปบ้าง ให้ผู้ร่วมกิจกรรมได้อธิบายจาก
ความรสู้ ึกท่เี กดิ ข้ึน เพ่อื เป็นการประเมินผลในการสรปุ ตอนท้ายควรอภิปรายเกยี่ วกบั ข้อดี ข้อเสีย และ
ส่ิงท่ีควรปรบั ปรุงเพื่อจะใชส้ ถานการณจ์ ำลองซำ้ อีก
5. การสร้างและออกแบบสื่อการเรียน การสร้างกฎเกณฑ์การสร้างและออกแบบส่ือการเรยี น
เพื่อให้เกดเิ ปน็ เคร่ืองมือในการประกอบกิจกรรม เชน่ บตั รคำ รูปภาพ บัตรคำสั่ง เปน็ ต้น ส่ือการเรยี น
จะต้องสอดคล้องกับจุดประสงค์ที่กำหนดในกิจกรรมการเรียนการสอน ต้องกำหนด ข้ันตอนให้แน่ชัด
ว่าให้ทำอะไรและไม่ให้ทำอะไร ควรวางเงื่อนไขแต่ละขั้นตอนของการแสดงว่า ต้องกำหนดการเล่น
ตามลำดับเหตุการณ์นนั้ ๆ อยา่ งไร
6. การทดลองใช้เม่ือสร้างสถานการณ์เสร็จแล้ว ควรนำสถานการณ์จำลองน้ันไปใช้ กับ
นักเรียนกลุ่มอ่ืน เพื่อตรวจข้อบกพร่องด้วยวิธีการ ภาษา ตลอดจนการใช้ส่ือการเรียนการสอนและ
เง่ือนไขต่าง ๆ ว่าควรแก้ไขและปรับปรุงแง่ใดบ้าง เพื่อให้ได้สถานการณ์จำลองท่ีสมบูรณ์และ
เหมาะสม ทีจ่ ะนำไปใชก้ บั นกั เรียนแตล่ ะวัยไดอ้ ย่างเหมาะสม
กรมวชิ าการ (2544 : 71 - 72) แสดงถงึ ข้ันตอนการสร้างสถานการณจ์ ำลองควร
ประกอบดว้ ย ดังนี้
1. การสำรวจวิเคราะห์ ขั้นนี้เป็นการศึกษาและสำรวจจุดประสงค์การเรียน ศึ กษา
สถานการณ์ประเภทต่าง ๆ ขอบเขตเน้ือหาวิชา แล้ววิเคราะห์ดูว่า สถานการณ์ชนิดใดที่ให้ประโยชน์
ต่อการเรยี นรู้มากทส่ี ดุ
2. กำหนดจุดประสงค์ขั้นนี้เป็นการกำหนดว่าต้องการให้นักเรียนเปลี่ยนพฤติกรรม อะไรบ้าง
เม่อื ผเู้ รียนสถานการณ์แล้ว
47
3. การคัดเลือกสถานการณ์พิจารณาเลือกสถานการณ์ที่เป็นจริงและสอดคล้องกับ
จุดประสงค์มาดัดแปลงให้เหมาะสมกับการสอนในช้ันเรียน โดยสถานการณ์น้ันต้องเปิดโอกาสให้
นักเรียนไดฝ้ ึกวิเคราะหต์ ดั สนิ ใจกอ่ ให้เกดิ การเรียน และทักษะที่ตอ้ งการมากทส่ี ุด
4. กำหนดโครงสร้างของสถานการณ์จำลองการกำหนดโครงสร้างนี้ ประกอบด้วย การ
กำหนดจุดประสงค์ ของสถานการณ์จำลอง บทบาทของ ลำดับข้ันของเหตุการณ์ ร่วมกิจกรรมแต่ละ
คนเตรียมเวลา และปญั หาจากเนอ้ื หา กำหนดสถานการณ์ทเ่ี หมอื นจริงในสังคม สถานการณ์และสรุป
อภปิ ราย
5. การสรา้ งและออกแบบสื่อการเรียนและสร้างเกณฑ์ ดำเนนิ การสรา้ งและออกแบบ สื่อการ
เรียน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการประกอบกิจกรรม เช่น บัตรคำ รูปภาพ บัตรคำสั่ง เป็นต้น อการ
แสดง ให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ท่ีกำหนด และกำหนดเง่ือนไขและขั้นตอนการทำงานหรือ
ตามลำดับเหตุการณ์
6. การทดลองใช้ นำสถานการณ์จำลองทสี่ รา้ งเสร็จไปทดลองใช้กับนักเรียนกลุ่มอื่นก่อน เพื่อ
ตรวจหาข้อบกพร่องของวิธีการ ภาษา ตลอดจนการใช้ส่ือการเรียนและเง่ือนไขต่าง ๆ ว่าควร
ปรับปรงุ แก้ไขในจุดใดบา้ ง เพอ่ื ให้สถานการณจ์ ำลองสมบูรณแ์ ละเหมาะสมต่อการนำไปใช้มากท่ีสดุ
อญั ชลี แจม่ เจรญิ (2522 : 6) แสดงถึงขั้นตอนการใชส้ ถานการณ์จำลอง ดงั น้ี
1.ครูผ้สู อนเสนอสถานการณ์จำลองท่เี ปน็ ปญั หาใหน้ ักเรียนขบคดิ ดว้ ยวธิ กี ารต่าง ๆ
ตามความเหมาะสม
2.แบ่งนกั เรียนออกเป็นกลมุ่ ย่อย ๆ กล่มุ ละ 7 - 8 คน เพอ่ื ศึกษาปัญหา
3. นักเรียนศึกษาปญั หาและรู้ถึงประเด็นของปัญหา ชว่ ยกนั แกป้ ัญหา ดงั น้ี
3.1 หาสาเหตุ
3.2 หาขอบข่ายของการตดั สนิ วางเกณฑ์ท่ีใช้ประกอบการพจิ ารณา
3.3 ทางเลือกทีเ่ ปน็ ไปได้
3.4 จดั ข้อมลู ให้เพียงพอ
3.5 ลงมอื ตัดสินปญั หา
3.6 ประเมนิ คา่ การตัดสนิ
4. ตัวแทนของกลุ่มท้งั หมดรว่ มกันเสนอแนวทางแก้ปัญหา
5. ครูและนกั เรยี นร่วมสรปุ แนวคิดต่าง ๆ
ทศิ นา แขมมณี (2555 :371) แสดงถึงข้ันตอนสำคัญที่ขาดไมไ่ ด้ในการสอนโดยใช้
สถานการณ์จำลอง
1.ผู้สอนเตรยี มสถานการณ์จำลอง
2.ผสู้ อนนำเสนอสถานการณจ์ ำลอง บทบาท ข้อมลู และกติกาการเลน่
3.ผ้เู รียน เลือกบทบาททีจ่ ะเล่น หรอื ผูส้ อนและกำหนดบทบาทให้ผเู้ รียน
4.ผู้เรียนเล่นตามกตกิ าท่ีกำหนด
5.ผูส้ อนและผเู้ รียนรว่ มกนั อภิปรายเก่ียวกบั สถานการณ์ ข้อมูล และกติกาของ
สถานการณ์ การเลน่ พฤติกรรมการเลน่ และผลการเล่น
6.ผสู้ อนและผูเ้ รียนสรุปการเรียนรู้ทไ่ี ด้รบั จากการเลน่
7.ผู้สอนประเมินผลการเรยี นของผ้เู รยี น
48
วธิ ีการเสนอสถานการณจ์ ำลอง
ชาญชยั ศรไี สยเพชร (2527 : 133) เสนอการเสนอสถานการณ์จำลอง อาจทำได้โดย การเล่า
ให้ฟงั ถึงสถานการณท์ ่เี กดิ ขึ้น ใหด้ รู ูปภาพแลว้ เล่าประกอบ ใหด้ ูภาพซ่งึ ลำดบั เหตุการณ์ ดูสถานท่ี
แตกต่างและมผี ู้แสดงบทบาท (Role Play)
สุนทร จันทรตรี (2528 : 393 - 394) แสดงถึงวิธีการเสนอสถานการณ์จำลองน้ันต้อง
ใกล้เคียงความเป็นจริงมากท่ีสุต ไม่ควรยากและชับซ้อนเกินความสามารถของนักเรียนท่ีจะแก้ปัญหา
ตามกระบวนการคิดเริ่มจากกำหนดว่าปัญหาคืออะไร หาสาเหตุของปัญหา หาข้อมูลเพื่อประกอบ
การตัดสินใจ คิดหาทางเลือกให้สามารถเลือกได้หลายทาง ตัดสนิ ใจเลือกโดยมีเหตุผล ลงมือแก้ปัญหา
ตามวิธีการที่เลือก การประเมินค่ของการตัดสินใจแก้ปัญหา พิจารณาผลของการแก้ปัญหา เพ่ือ
นำไปใช้ในโอกาสต่อไป
บญุ ทนั อยู่ชมบญุ (2533 : 154 - 155) แสดงถงึ วธิ กี ารเสนอสถานการณจ์ ำลอง โดยครูเล่าให้
นักเรียนฟังเก่ียวกับสถานการณ์ที่เกิดข้ึน หรือใช้กรณีตัวอย่าง ให้นักเรยี นดูภาพแลว้ เล่าเรื่องประกอบ
ให้นักเรียนดูภาพเรียงลำดับเหตุการณ์ ให้นักเรียนดูภาพยนตร์ที่เกี่ยวกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ให้
นักเรียนดูจากสถานการณ์ท่ีตกแต่งให้เหมือนสถานท่ีจริงและมีผู้แสดงบทบาทด้วย ให้นักเรียนดูจาก
การแสดงบทบาทสมมติ
5.4 ข้อดีและข้อจำกดั ของวิธีการสอนโดยใช้สถานการณจ์ ำลอง
บุญชุม ศรีสะอาด (2537 : 63 - 64) ได้แสดงถึงข้อดีของวิธีการสอนโดยใช้สถานการณ์
จำลอง ว่าเป็นวิธีที่ดึงดูดความสนใจ จูงใจให้เกิดความพยายาม ได้รับความสนุกสนานจากการแข่งขัน
ฝึกให้นักเรียนเคารพในกฎ กติกา การมีน้ำใจเป็นนักกีฬา การทำงานกลุ่ม นักเรียนได้เรียนรู้ การ
ปฏิบัติ เรยี นรดู้ ้วยการปฏิบัติ เรียนรู้การตดั สินใจดว้ ยเรียนร้กู ารตัดสินใจ เรียนรูก้ ารแก้ปัญหาด้วยการ
แก้ปญั หา จึงช่วยให้เกดิ การเรยี นรทู้ ่ีคงทน นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนอยา่ งจรงิ จงั เรียนรู้
วิธีแก้ไข สถานการณ์ท่ีไม่ได้คาดคิดว่าจะพบ เป็นการฝึกการเผชิญหน้ากับเหตุการณ์ มีประสิทธิภาพ
สำหรับ การสอนค่านิยมและเจตคติ มีประสิทธิภาพมากสำหรับเด็กที่มีแรงจูงใจต่ำ และประหยัดท้ัง
คา่ ใชจ้ ่าย และเวลาเม่อื เทียบกบั การท่ีจะต้องใช้สถานการณ์จรงิ
ทิศนา แขมมณี (2555 : 373) ได้แสดงถึงข้อดีของวิธีการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลอง ว่า
เป็นวิธีสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เรื่องท่ีมีความสัมพันธ์ชับซ้อนได้อย่างเข้าใจ เกิดความเข้าใจ
ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้สูงมาก ผู้เรียนได้เรียนอย่างสนุกสนาน การเรียนรู้มีความหมายต่อ ตัว
ผู้เรียน ผเู้ รยี นมโี อกาสได้ฝึกทักษะการะบวนการต่าง ๆ จำนวนมาก เชน่ กระบวนการปฏิสัมพนั ธ์ กับ
ผ้อู ื่น กระบวนการสอื่ สาร กระบวนการตัดสนิ ใจ กระบวนการแก้ปญั หา และการะบวนการคดิ เป็นตน้
ข้อจำกัดของวิธีการสอนโดยใชส้ ถานการณจ์ ริง
บุญชุม ศรีสะอาด (2537 : 63 - 64) ได้แสดงถึงข้อจำกัดของวิธีการสอนโดยใช้สถานการณ์
จำลอง ว่าสถานการณ์จำลองไม่ใช้สถานการณ์จริง และมักจำลองแบบง่ายกว่าสถานการณ์จริง
นักเรียนไม่สามารถถ่ายโอนการเรี ที่ได้จากเกมจำลองสถานการณ์ไปยังสถานการณ์จริงได้ ใช้เวลา
มากกว่าท่ีจะเข้าถึงหัวใจของบทถ้ามีความชับซ้อนผู้เรียนจะสับสน แต่ถ้าง่ายไปผู้เรียนก็เบื่อง่าย
บางคร้ัง ต้องใช้เวลามาก ถ้าเวลาเรียนบทเรียนนั้นจำกัดย่อมทำให้ขาดประสิทธิภาพ นักเรียนท่ีมี
บทบาทไมเ่ ด่นอาจจะขาดความสนใจ ไมส่ ามารถปรบั ใหเ้ ขา้ กับความต้องการเฉพาะของแต่ละคน
49
5.5 ประโยชน์ของการใช้สถานการณจ์ ำลอง
สุนทร จันทรตรี (2528 : 394) แสดงถึงประโยชน์ของสถานการณ์จำลองในการเรียน การ
สอนไว้ว่า สถานการณ์จำลองช่วยให้นักเรียนเผชิญปัญหามากมายในระยะเวลาอันจำกัด นักเรียน
ตื่นตัวและให้ความร่วมมือกล้าแสดงความคิดเห็นเปลี่ยนบทบาทของครูผู้สอนจากสอนมาเป็นการ
แนะนำ เป็นประโยชน์ต่อแนวทางในการแก้ปัญหาต่าง ๆ มีการถ่ายทอดความรู้อย่างเป็นระบบ การ
ตัดสิน ปัญหาแม้ผิดพลาดก็ไม่ทำให้ผลเสียเกิดขึ้น ทำให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการเรียน แม้แต่
นักเรียนคนที่ไม่กระตือรือร้น ช่วยให้ปัญหาท่ียุ่งยากเป็นปัญหาท่ีง่ายข้ึน นักเรียนเกิดการร่วมมือโดย
ไมใ่ ชแ่ ข่งขนั ในกลมุ่ และทำใหน้ กั เรยี นไดพ้ บกับสภาพการณ์ก่อนจะพบในชีวิตจรงิ
6. งานวิจัยท่ีเกย่ี วข้อง
6.1 งานวิจัยในประเทศ
งานวิจัยที่แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการเรียนภาษาอังกฤษของผู้เรียนโดยการใช้
กจิ กรรมทางภาษาเพอ่ื การสอื่ สาร ดงั ต่อไปน้ี
ธนมนญ์ บุรุษภักดี(2547: บทคัดย่อ) ได้ทำการศึกษาวิจัยการพัฒนาความสามารถทางการ
สอ่ื สารด้านการพูดแก่นักศึกษาปีท่ี 1 โปรแกรมวิชานิเทศศาสตรป์ ีการศึกษา 2/2545 สถาบันราชภัฏ
อุดรธานี จำนวน 40 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบเจาะจง พบว่านักศึกษาท่ีได้เรียนพูดภาษาอังกฤษ
โดยใช้บทบาทสมมติพูภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารได้ดีขึ้น นักศึกษามีคะแนนสูงกว่าก่อนเรียนและมี
ทัศนคติที่ดีต่อการเรียนภาษาอังกฤษโดยใช้บทบาทสมมุติดังนั้น การใช้กิจกรรมใดก็ตามมาฝึกการ
ส่ือสารด้านการพูดสามารถพัฒนาความสามารถทางการส่ือสารและช่วยให้มีความมั่นใจในการพูด
ภาษาอังกฤษย่ิงขึ้น
สุนันทา แก้วพันธ์ช่วง (2550: 4) ได้ทำวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของ
นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้กิจกรรมภาษาเพ่ือการส่ือสาร พบว่าหลังจากนักเรียนได้รับการ
สอน โดยใช้กิจกรรมทางภาษาเพื่อการสื่อสารนักเรียนมีความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษ
เพ่มิ ขน้ึ อย่างมนี ัยสำคญั ทางสถิติท่ีระดับ 0.05
6.2 งานวิจยั ต่างประเทศ
งานวิจัยในต่างประเทศท่ีเกีย่ วกบั การจัดกจิ กรรมตามแนวการสอนภาษาเพ่ือการสอ่ื สารมี
ปรากฏ ดังน้ี
เออร์ (Ur, 1998) กล่าวว่าสาเหตุที่ท้าให้ผู้เรียนภาษาท่ีสองไม่ประสบความสำเร็จในการพูด
ภาษาที่สอง นั้นมีหลายประการเช่น มีการกังวลว่าจะพูดผิดกลัวเสียหน้า ไม่รู้ว่าจะพูดอย่างไรหรือ
อะไร และมักจะใช้ภาษาแม่ (Mother Language) แทนที่จะใช้ภาษาเป้าหมาย (Target Language)
ในขณะฝึกพูดในช้ันเรียน และจากการศึกษาวิจัยท่ีเก่ียวขอ้ งกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ พบว่า
นักเรียนมีปัญหาในการเรียนภาษาอังกฤษ ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ ไข่มุก ภาคภูมิ (2554: 31-
33)ไดศ้ กึ ษาการพัฒนาทักษะการพูดหน้าชั้นเรียน โดยใชแ้ บบฝึกทักษะทางการพดู สำหรับ นักเรียนช้ัน
มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 โรงเรยี นประชาบำรุงมคี วามสามารถในการพดู ดขี ึน้ รอ้ ยละ 87.91
โรบินสัน (Robinson, 1997: 199-197) ได้ศึกษาความแตกต่างระหว่างครูที่สอนโดยใช้การ
สอนแบบ Communicative Approach และการสอนแบบ Non Communicative Approach ใน
โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นท่ีเรียนโปรแกรมภาษาต่างประเทศ โดยทำการสำรวจจากการสอบถาม
50
จากทางโทรศัพท์จากครูผู้สอนจานวน 300 คนที่สอนในระดับมัธยม ผลการสอบถามครูที่ใช้การสอน
แบบ Communicative Approach สนใจเรื่องการส่ือสารการเรียนรู้, กิจกรรมและการจัดกลุ่ม
นักเรยี น มากกวา่ ที่ครูทสี่ อนแบบ Non Communicative Approach
หวาง เซง จุน (Wang Cheng-Jun, 2006 :56-80) ได้ศึกษาผลการออกแบบกิจกรรมเพ่ือ
การส่ือสารในวิชาภาษาอังกฤษ โดยทาการศึกษาปัญหา พบว่ามี2 สาเหตุหลักคือ การใช้ภาษาของ
นักศึกษาอยู่ในระดับต่ำกว่าเกณฑ์และเกิดความล้มเหลวในการสื่อสารขั้นพื้นฐานโดยเปรียบเทียบผล
การเรยี นภาษาองั กฤษของนกั ศึกษาชาวจีน ระดับชนั้ ปีท่ี 1 ของมหาวทิ ยาลัย
ชองกิง นอร์มอล จำนวน 2 กลุ่มๆ ละ 38 และ 36 คน โดยกลุ่มทดลองได้รับการสอน
กิจกรรมเพื่อการส่ือสาร และกลุ่มควบคุมสอนแบบเดิม ผลการทดสอบพบว่านักศึกษาทั้งสองกลุ่มมี
พัฒนาการแตกต่างกัน กลุ่มท่ีสอนโดยใช้กิจกรรมเพ่ือการส่ือสารทาให้นักศึกษามีพัฒนาการด้านการ
ส่ือสารสงู ข้ึนอยา่ งมนี ยั ทางสถติ ิ
สรุปได้ว่าท้ังงานวจิ ัยในประเทศและต่างประเทศช้ีให้เห็นว่า การสอนโดยการใช้กิจกรรมทาง
ภาษาเพ่อื การส่ือสาร เพื่อพัฒนาความสามารถทางการพูดภาษาตา่ งประเทศ ทำใหผ้ ลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนของผู้เรยี นสูงกว่าการสอนโดยไมใ่ ชก้ ิจกรรมการสื่อสาร
51
7. กรอบแนวคดิ วิจัย
กรอบแนวคิดในการทำงานวจิ ัยครง้ั น้ไี ด้แก่การนำปัญหาเรื่องความสามารถในการฟงั และการ
พูดภาษาอังกฤษของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 มาพัฒนาโดยวิธีการจัดการเรียนรโู้ ดยใช้
สถานการณ์จำลองรว่ มกบั การใชส้ อ่ื ภาพยนตร์ ซงึ่ ข้อมูลท่ีนำมาใช้วดั คอื แบบประเมนิ ทักษะการฟัง
และการพูด พร้อมท้งั แบบประเมนิ การทำกจิ กรรมระหว่างเรยี น เพื่อใหเ้ กิดทักษะการฟังและการพดู
ภาษาองั กฤษ และเพือ่ ใหเ้ กิดความพงึ พอใจที่มีตอ่ การใชส้ ถานการณจ์ ำลองรว่ มกบั สื่อภาพยนตร์ซึ่ง
สอดคล้องกับวิจัยของเอกอนงค์ ปวง (2550) ได้ศึกษาผลการใชส้ ถานการณจ์ ำลองเพือ่ สง่ เสรมิ
ความสามารถในการฟงั และการพดู ภาษาองั กฤษ และสร้างแรงจงู ใจของนักเรยี นในระดบั กำลงั พัฒนา
ของนักเรยี นสงู ข้ึน และนักเรียนมีแรงจูงใจในการเรยี นวิชาภาษาองั กฤษสูงข้ึนเช่นกนั และสอดคล้อง
กบั วจิ ัยของอรพรรณ สุธาพันธ์ (2551) ไดศ้ ึกษากิจกรรมการเรียนโดยใชภ้ าพยนตรเ์ พอื่ สง่ เสรมิ
ความสามารถในการฟงั ภาษาองั กฤษสรุปไดว้ ่า นกั เรียนมคี วามสามารถในการฟังภาษาอังกฤษเพิม่ ข้นึ
หลงั การสอน
กรอบแนวคดิ วจิ ัย
ตัวแปรต้น ตวั แปรตาม
(Independent Variables) (Dependent Variables)
การจดั การเรียนรโู้ ดยใชส้ ถานการณ์ ทักษะการฟังภาษาอังกฤษ
จำลองรว่ มกบั การใชส้ ่ือภาพยนตร์
ทกั ษะการพูดภาษาองั กฤษ
ความพึงพอใจทีม่ ีต่อการใชส้ ถานการณ์
จำลองร่วมกบั ส่ือภาพยนตร์
บทที่ 3
วธิ ดี ำเนนิ กำรวจิ ัย
การวิจัยเร่ืองการพัฒนาทักษะการฟังและการพูดภาษาอังกฤษโดยใช้สถานการณ์จาลอง
ร่วมกับส่ือภาพยนตร์สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4/2 โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 3 สุราษฎร์
ธานี เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Experiment Research) มีรูปแบบการวิจัยแบบวัดครั้งเดียว
(Posttest-Only Design) โดยผู้วจิ ยั ไดด้ าเนนิ ตามขน้ั ตอนดงั น้ี
1. กลุม่ เป้าหมายท่ีใชใ้ นการวิจยั
2. เคร่อื งมือทใี่ ช้ในการวจิ ยั
3. การสรา้ งและพฒั นานวตั กรรม
4. การสรา้ งและหาคุณภาพเครือ่ งมือวิจยั
5. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
6. การวิเคราะห์ข้อมลู และสถิตทิ ่ีใชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมลู
7. การหาคุณภาพเครื่องมือ
1. กลุ่มเปำ้ หมำย
กลุ่มเป้าหมายท่ีใช้ในการวิจัยครั้งน้ี คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 ปีการศึกษา 2565
ของโรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 3 สรุ าษฎรธ์ านี อาเภอเมอื ง จงั หวัดสุราษฎร์ธานี 1 ห้องเรยี น จานวน
35 คน ได้มาโดยวิธีการเลอื กแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling)
2. เครอ่ื งมือท่ีใช้ในกำรวิจยั
เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการวจิ ัยครงั้ น้ี ประกอบด้วย
1.แผนการจัดการเรยี นรโู้ ดยใชส้ ถานการณจ์ าลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์ จานวน 3 แผน
2.แบบประเมนิ ความสามารถทางการฟงั ภาษาอังกฤษ เรื่อง Direction
3.แบบประเมนิ ความสามารถทางการพูดภาษาองั กฤษ เรื่อง Direction
4.แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 ท่มี ีต่อการเรียนการสอน
แบบการใชส้ ถานการณจ์ าลองร่วมกบั สอ่ื ภาพยนตร์
53
3. กำรสรำ้ งและพัฒนำนวตั กรรม
การพัฒนานวัตกรรมการใช้สถานการณ์จาลองร่วมกับสอื่ ภาพยนตร์ เรื่อง Direction สาหรับ
นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4/2 ผู้วิจัยได้ดาเนินการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบ
ADDIE MODEL ตามลาดับขน้ั ตอนดงั ตอ่ ไปน้ี
1. ขั้นตอนการวิเคราะห์ (Analysis) ทาการศึกษาและรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับ
การเรยี นการสอน เรื่อง Direction โดยมีข้ันตอนดงั นี้
1.1 ศึกษาและวเิ คราะห์หลกั สตู รสถานศึกษาข้ันพนื้ ฐาน โรงเรียนมัธยมพชั รกติ ิยาภา
3 สุราษฎร์ธานี ตาบลขุนทะเล อาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้ คาอธิบายรายวชิ า หน่วยการเรยี นรู้ ปกี ารศกึ ษา 2565
1.2 กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ เพอ่ื กาหนดขอบเขตเนือ้ หาแต่ละตอนในการเรียน
จากบทเรียนภาษาองั กฤษให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายของหลกั สูตร
1.3 กาหนดจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรมเพ่ือกาหนดวธิ ีข้นั ตอนการเรียน และการวัดผล
ประเมินผลในเนอ้ื หาของแต่ละตอน
1.4 กาหนดเน้ือหาให้ครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนรู้ โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3
แผนการเรียนรู้ ดงั นี้
(1) แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ือง Direction 1 มีเน้ือหาเกี่ยวกับคาศัพท์
การบอกทศิ ทาง ตาแหนง่ ของสถานที่ และบทสนทนาที่ใช้สนทนาในชวี ิตประจาวนั
(2) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง Direction 2 มีเนื้อหาเกี่ยวกับการใช้
ประโยคหรือวลีบอกทิศทาง (Phrase) และการแนะนาการเดินทางโดยใช้รถบัส (Bus) หรือรถแท็กซ่ี
(Taxi) และบทสนทนาท่ใี ชส้ นทนาในชีวิตประจาวัน
(3) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เร่ือง Direction 3 มีเน้ือหาเกี่ยวกับการใช้
ประโยคคาถามและการขอร้อง กับการตอบปฏิเสธเมื่อไม่ทราบ และการแนะนาให้ถามผู้ท่ีรู้เส้นทาง
และบทสนทนาทีใ่ ชส้ นทนาในชวี ติ ประจาวัน
2. ขั้นการออกแบบบทเรียน (Design) ศึกษารูปแบบ และรายละเอียดเก่ียวกับ Direction
การเลือกแนวทางในการสร้างสถานการณ์จาลองร่วมกับส่ือภาพยนตร์ท่ีเก่ียวกับ Direction เอกสาร
และวิจัยต่าง ๆ กาหนดวัตถุประสงค์ในการเรียนรู้และวัตถุเชิงพฤติกรรม นาเนื้อหาที่ได้มาสร้างบท
สนทนาในสถานการณ์จาลองรว่ มกบั ส่ือภาพยนตร์
3. ข้ันพัฒนาบทเรียน (Development) เขียนเค้าโครงเนื้อหาสตอร่ีบอร์ด (Story board)
ของ Direction เป็นการออกแบบเบื้องต้น เพื่อให้ง่ายต่อการสร้างเคร่ืองมือ และจัดลาดับเน้ือหา
กอ่ นหลงั ศึกษาเทคนิค วิธีการ หลักการสรา้ งสถานการณจ์ าลองร่วมกบั สอ่ื ภาพยนตร์
3.1 ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องตามหลักสูตร กาหนดขอบเขตเน้ือหาท่ีใช้ในการจัดทา
แผนจัดการเรียนรู้ด้วยสถานการณ์จาลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์ เร่ือง Direction สาหรับนักเรียนช้ัน
มธั ยมศึกษาปีที่ 4/2
3.2 ผู้วิจัยกาหนดวตั ถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เพ่ือตรวจสอบการบรรลุเปา้ หมายของ
นกั เรยี นในแต่ละแผนการจดั การเรียนรโู้ ดยกาหนดใหส้ อดคลอ้ งกบั ตวั ชวี้ ดั
3.3 เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยแบ่ง
เน้ือหาออกเป็นส่วน ๆ เพื่อให้สอดคล้องกับเวลาที่ใช้ในการสอนซ่ึงผู้ค้นคว้าได้แบ่งออกเป็น 3 แผน
แผนละ 1 ชัว่ โมง รวมใชเ้ วลา 3 ชั่วโมง
54
4. ขั้นการสร้างบทสนทนาในสถานการณจ์ าลองร่วมกบั ส่ือภาพยนตร์ (Implementation) มี
การดาเนนิ การดังน้ี
4.1 นาแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสร้างข้ึนเสนอต่อผู้เช่ียวชาญ 3 ท่าน เพื่อตรวจสอบ
ความเหมาะสม พรอ้ มท้ังให้ความคดิ เหน็ ต่อแผนการจดั การเรยี นรู้ และปรบั ปรุง แก้ไขตามคาแนะนา
4.2 นาแผนการจดั การเรยี นรู้ทปี่ รับปรุงแก้ไขเรียบร้อยแลว้ ไปทดลองใชก้ บั นักเรียน
ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 4/2 โรงเรียนมธั ยมพชั รกติ ยิ าภา 3 สุราษฎร์ธานี และแนวทางการวัดประสทิ ธิภาพ
ของสถานการณจ์ าลองรว่ มกับสอ่ื ภาพยนตร์สอนโดยใช้เกณฑ์ 75/75
5. ขัน้ ประเมนิ ผล (Evaluation) มกี ารดาเนินการดงั น้ี
5.1 การประเมินส่ือการสอนในรูปแบบสถานการณ์จาลองร่วมกับส่ือภาพยนตร์
โดยนาผลทไ่ี ดจ้ ากแบบประเมินการฟงั การพูดมาหาประสทิ ธภิ าพของส่ือโดยใชส้ ูตร E1/E2
5.2 การประเมินทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้สถานการณ์จาลองร่วมกับสื่อ
ภาพยนตร์โดยนาผลที่ได้จากแบบประเมินการฟังมาหาประสิทธิภาพของส่ือโดยใช้สูตร ร้อยละ
( × 100) ค่าเฉลี่ย ( ̅ =∑ ) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D. = √ ∑ 2−(∑ )2 )
( −1)
5.3 การวิเคราะห์คะแนนพัฒนาการทักษะการพูดของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4
หลังใช้สถานการณ์จาลองร่วมกับส่ือภาพยนตร์ นาผลที่ได้จากแบบประเมินการพูดมาหาคะแนน
พัฒนาการโดยใช้สูตร คะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์ = คะแนนหลงั เรียน - คะแนนกอ่ นเรียน X100
คะแนนเต็ม - คะแนนก่อนเรยี น
55
4. กำรสร้ำงและหำคุณภำพของเครื่องมือวิจัย
4.1 แผนกำรจัดกำรเรียนรู้โดยใช้สถำนกำรณ์จำลองร่วมกับส่ือภำพยนตร์ แบ่งออกเป็น 3
แผนการจัดการเรยี นรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ือง Direction 1 มีเน้ือหาเก่ียวกับคาศัพท์การบอก
ทศิ ทางและตาแหนง่ ของสถานที่
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง Direction 2 มีเน้ือหาเกี่ยวกับการใช้ประโยคหรือ
วลบี อกทิศทาง (Phrase) และการแนะนาการเดินทางโดยใชร้ ถบสั (Bus) หรอื รถแท็กซี่ (Taxi)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง Direction 3 มีเน้ือหาเก่ียวกับการใช้ประโยค
คาถามและการขอรอ้ ง กับการตอบปฏิเสธเม่ือไม่ทราบ และการแนะนาใหถ้ ามผู้ทร่ี เู้ ส้นทาง
มขี ั้นตอนการสรา้ งและหาประสิทธิภาพ ดังน้ี
1. ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 และหลักสูตร
สถานศึกษาในสว่ นของกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
2. วิเคราะห์ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้ และมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ
3. ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการเรียนการ
สอนโดยใช้โดยใชส้ ถานการณจ์ าลองรว่ มกบั สือ่ ภาพยนตร์
4. เลือกเน้ือหาทส่ี อดคล้องกบั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้ และมาตรการการเรียนรู้เพ่ือ
จดั ทาแผนการจดั การเรยี นรู้โดยใช้สถานการณจ์ าลองร่วมกับส่ือภาพยนตร์
5. สร้างแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จาลองร่วมกับส่ือภาพยนตร์
จานวน 3 แผน
6. นาแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสร้างข้ึนเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน เพื่อตรวจสอบ
ความเหมาะสม พรอ้ มทงั้ ให้ความคดิ เห็นต่อแผนการจดั การเรียนรู้ และปรับปรงุ แกไ้ ขตามคาแนะนา
7. นาแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีปรับปรุงแก้ไขเรียบร้อยแล้ว ไปทดลองใช้กับนักเรียน
ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 4/2 โรงเรียนมัธยมพัชรกติ ิยาภา 3 สรุ าษฎร์ธานี
56
ตำรำงที่ 9 แบบประเมนิ ความเหมาะสมแผนการจัดการเรียนรู้
ขอ้ ท่ี รำยกำรประเมิน 54321
ดำ้ นกำรจดั กำรเรียนรู้
1 มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ สอดคลอ้ งกับ
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมธั ยมพชั รกติ ิยาภา 3 สุราษฎร์ธานี
พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง 2561)
2 การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชีว้ ัดสอดคลอ้ งกับพฤติกรรมการเรยี นรู้
แนวการวดั และประเมินผลและภาระงาน/ชนิ้ งาน
3 การเขียนสาระสาคัญในแผนการจดั การเรยี นรู้
4 จุดประสงค์การเรยี นรูร้ ะบุพฤติกรรมชัดเจน สามารถวดั ได้
5 สาระการเรยี นรคู้ รบถว้ น สัมพนั ธก์ บั จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
ดำ้ นกจิ กรรมกำรเรยี นรู้
6 กจิ กรรมการเรยี นรมู้ คี วามเหมาะสม ครบถว้ นทกุ ข้ันตอนตามวธิ ีสอน
หรือกระบวนการ หรอื เทคนคิ การสอนที่ระบไุ ว้ในแผนการจัดการ
เรยี นรู้ (กลยุทธ์ในการจัดการเรียนร)ู้
7 กจิ กรรมการเรียนรมู้ ีกลยุทธ์ในการจดั การเรยี นรู้ส่งเสริมความแตกต่าง
ระหวา่ งบคุ คลของผู้เรียน
8 กจิ กรรมการเรยี นรจู้ ดั เรียงลาดบั จากง่ายไปหายาก สอดคล้องกับเวลา
ดำ้ นสอื่ กำรเรยี นรู้
9 สอ่ื การเรยี นร้ชู ว่ ยกระตุน้ และสง่ เสริมใหผ้ เู้ รียนสามารถฝึกปฏบิ ัตไิ ด้
ด้วยตนเองหรือฝึกปฏบิ ัติเป็นกลุม่
10 มหี ลกั ฐาน อาทิ สื่อ ใบกิจกรรม ใบความรู้ เคร่ืองมือวัด
ทีป่ รากฎในแผนจัดการเรยี นรู้ครบถ้วน
11 ระบกุ ารใชส้ อื่ /แหล่งเรยี นรู้สมั พนั ธส์ อดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้
ดำ้ นกำรวดั และประเมนิ ผล
12 การวดั และประเมินผลมีเคร่ืองมือและเกณฑ์ท่ใี ช้วัดไดต้ รงตาม
มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ช้วี ดั และจดุ ประสงค์
13 การวดั และประเมินผลเน้นการประเมินตามสภาพจรงิ
14 การวัดและประเมินผลสนองต่อการสง่ เสรมิ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น
15 ระบเุ คร่ืองมือสาหรบั การวดั ประเมินผลอย่างชัดเจน
ด้ำนสอื่ ภำพยนตร์
16 สอื่ ภาพยนตรม์ ีความสอดคล้องกบั บทเรยี น
17 ส่ือภาพยนตร์มีความเหมาะสมกบั พัฒนาการของนักเรียน
18 ส่ือภาพยนตรช์ ่วยกระตนุ้ และส่งเสริมให้ผ้เู รยี นสามารถฝึกปฏบิ ตั ิได้
ดว้ ยตนเองหรือฝึกปฏิบัติเป็นกลมุ่
19 ส่อื ภาพยนตร์มีคณุ ภาพ มคี วามชดั เจนสามารถตคี วามได้ง่าย
20 คาอธิบายใต้ภาพอยู่ในระดบั ท่ีนกั เรียนเขา้ ใจงา่ ย
57
เกณฑ์กำรประเมินควำมเหมำะสมของแผนกำรจดั กำรเรียนรู้
4.50 – 5.00 ระดับความเหมาะสม มากท่สี ดุ
มาก
3.50 – 4.99 ระดับความเหมาะสม
ปานกลาง
2.50 – 3.49 ระดับความเหมาะสม น้อย
1.50 – 2.49 ระดับความเหมาะสม น้อยท่ีสุด
1.00 – 1.49 ระดบั ความเหมาะสม
4.2 แบบประเมินควำมสำมำรถในกำรฟงั ภำษำองั กฤษเพื่อควำมเขำ้ ใจ
1. ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันฟื้นฐาน พ.ศ. 2551 และหลักสูตร
สถานศึกษา ในสว่ นของกลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ
2. วิเคราะห์ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ และมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาตา่ งประเทศ
3. สรา้ งแบบประเมนิ ความสามารถในการฟงั ภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจ
4. นาแบบประเมินท่ีสร้างข้ึนเสนอต่อผู้เช่ียวชาญเพ่ือพิจารณาตามความเหมาะสม
ผู้เช่ียวชาญแนะนาให้ไปแก้ไขเพ่ิมเติมในเรื่องเกณฑ์การประเมิน ให้มีความเหมาะสมกับช่วงชั้นของ
ผู้เรียน
5. นาแบบประเมินที่แก้ไขเรียบร้อยแล้วไปใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4/2
โรงเรียนมัธยมพัชรกติ ยิ าภา 3 สรุ าษฎรธ์ านี
58
ตำรำงที่ 10 แบบประเมนิ ความสามารถในการฟังภาษาอังกฤษ
ระดับ
คะแนน
เกณฑ์กำรให้คะแนน
ประเดน็ นำหนัก/ คะแนน
ควำมสำคญั รวม
กำรประเมนิ 4 3 2 1
ตอบคาถาม 14
สามารถตอบ สามารถตอบ สามารถตอบ หลงั จากท่ีฟัง
ได้นอ้ ยมาก 28
คาถาม คาถาม คาถาม
จับใจความ 14
ความเขา้ ใจ หลงั จากทีฟ่ ัง หลงั จากทฟี่ ัง หลงั จากทฟ่ี ัง สาคัญของ
เน้อื หาได้น้อย 14
ได้ทั้งหมด ไดเ้ ป็นส่วน ไดเ้ ลก็ น้อย มาก 5 20
รู้ความหมาย คะแนนรวม
ใหญ่ คาศัพท์น้อย น้าหนกั /ความสาคัญ
มาก และไม่
จบั ใจความ จับใจความ จับใจความ ชดั เจน
ปฏิบัตติ าม
การจบั ใจความ สาคญั ของ สาคัญของ สาคัญของ คาสง่ั ได้
ถกู ต้องนอ้ ย
สาคญั เนื้อหาได้ เนือ้ หาได้ เนอื้ หาได้ มาก
ทั้งหมด เกอื บทงั้ หมด เลก็ นอ้ ย
รูค้ วามหมาย รู้ความหมาย รคู้ วามหมาย
การรคู้ วามหมาย คาศัพท์ คาศัพท์โดย คาศัพท์
คาศัพท์ ทั้งหมด ส่วนใหญแ่ ละ เลก็ นอ้ ย
ชดั เจน
ปฏบิ ัติตาม ปฏบิ ัตติ าม ปฏิบตั ิตาม
คาสง่ั ได้ คาสงั่ ได้ คาส่งั ไม่ค่อย
การปฏิบัติตาม ถกู ต้อง และ ถูกต้อง แต่ ถูกต้อง และ
คาสงั่ คล่องแคลว่ ค่อนข้างชา้ ค่อนข้างชา้
รวม
คะแนน
เกณฑ์กำรกำรให้คะแนนกำรฟัง ดมี าก
3.50 – 4.00 ระดับความเหมาะสม ดี
2.50 – 3.49 ระดบั ความเหมาะสม พอใช้
1.50 – 2.49 ระดบั ความเหมาะสม ปรับปรงุ
1.00 – 1.49 ระดับความเหมาะสม
59
4.3 แบบประเมนิ ควำมสำมำรถในกำรพดู ภำษำอังกฤษเพ่ือควำมเขำ้ ใจ
1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นฟ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 และหลักสูตร
สถานศกึ ษาในสว่ นของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
2 วิเคราะห์ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ และมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ
3 สร้างแบบประเมนิ ความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษเพื่อความเขา้ ใจ
4 นาแบบประเมินท่ีสร้างขึ้นเสนอต่อผู้เช่ียวชาญเพ่ือพิจารณาตามความเหมาะสม
ผู้เชี่ยวชาญแนะนาให้ไปแก้ไขเพิ่มเติมในเรื่อง เกณฑ์การประเมิน ให้มีความเหมาะสมกับช่วงชั้นของ
ผูเ้ รียน
5 นาแบบประเมินท่ีแก้ไขเรียบร้อยแล้วไปใช้กับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4/2
โรงเรยี นมธั ยมพัชรกิติยาภา 3 สรุ าษฎรธ์ านี
60
ตำรำงท่ี 11 เกณฑก์ ำรใหค้ ะแนนคะแนนกำรพดู
ระดับคะแนน
เกณฑก์ ำรใหค้ ะแนน นำหนกั / คะแนน
ควำมสำคัญ รวม
ประเด็น
28
กำรประเมนิ 4 32 1
ออกเสยี งคา/ 28
ความถูกต้อง ออกเสยี งคาศัพท์ ออกเสียง ออกเสียง ประโยคผดิ
หลักการออก 14
และประโยคได้ คาศัพทแ์ ละ คาศัพท์และ เสยี ง ทาให้ 5 20
สือ่ สารไม่ได้ คะแนนรวม
ถกู ต้องตาม ประโยคได้ ประโยคได้ นา้ หนกั /ความสาคัญ
พูดได้บางคา
หลกั การออกเสียง ถกู ต้องตาม ถูกต้องเปน็ ทาให้ส่ือ
ความหมาย
ออกเสยี ง หลักการออก ส่วนใหญ่ ไมไ่ ด้
เน้นหนักในคา/ เสยี ง พดู ไดน้ ้อยมาก
ประโยคอยา่ ง
สมบรู ณ์
ความ พดู ตอ่ เนอ่ื ง พูดตะกุก พูดเป็นคาๆ
คล่องแคลว่ ไม่ติดขัด ตะกักบา้ ง หยุดเปน็ ชว่ งๆ
พูดชดั เจน แตย่ ังพอ เพ่อื ทาให้
ทาใหส้ ่ือสารได้ สื่อสารได้ สอื่ สารได้
ไม่ชัดเจน
การแสดง แสดงทา่ ทาง พูดด้วยน้าเสยี ง พูดเหมือน
ท่าทาง/ และพูดดว้ ย เหมาะสมกับ อา่ นไม่เปน็
นา้ เสยี ง นา้ เสียง บทบรรยาย แต่ ธรรมชาติ
ประกอบการ เหมาะสมกับ ไม่มีท่าทาง ขาดความ
พูด บทบรรยาย ประกอบ นา่ สนใจ
รวม
คะแนน
เกณฑ์กำรกำรให้คะแนนกำรฟัง ดีมาก
3.50 – 4.00 ระดบั ความเหมาะสม ดี
2.50 – 3.49 ระดบั ความเหมาะสม พอใช้
1.50 – 2.49 ระดับความเหมาะสม ปรับปรงุ
1.00 – 1.49 ระดบั ความเหมาะสม
61
4.4 แบบประเมนิ ควำมพงึ พอใจทม่ี ตี ่อกำรจัดกำรเรียนร้โู ดยใชส้ ถำนกำรณ์จำลองร่วมกบั
ส่อื ภำพยนตร์
1 กาหนดเนื้อหาความพึงพอใจต่อการจดั การเรียนรโู้ ดยใช้สถานการณจ์ าลองร่วมกับ
สือ่ ภาพยนตร์ใน 3 ประเด็น
2 สร้างแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดการเรียนรู้โดยให้ครอบคลุมทั้ง 3
ประเด็น ด้านสถานการณ์จาลอง ด้านส่ือภาพยนตร์ และด้านการเรียนรู้ ให้มีจานวนของคาถามที่
เหมาะสม
3 นาแบบประเมินท่ีสร้างขึ้นเสนอต่อผู้เช่ียวชาญเพื่อพิจารณาความสอดคล้องของ
ข้อคาถามกับเนื้อหา ผู้เชี่ยวชาญแนะนาให้ไปแก้ไขเพิ่มเติมในเร่ือง เกณฑ์การประเมิน ให้มีความ
เหมาะสมกับชว่ งชนั้ ของผู้เรียน
4 นาแบบประเมินท่ีแก้ไขเรียบร้อยแล้วไปใช้กับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4/2
โรงเรยี นมธั ยมพัชรกิติยาภา 3 สรุ าษฎรธ์ านี
62
ตำรำงที่ 12 แบบประเมนิ ควำมพึงพอใจ มากท่สี ุด ระดับความพงึ พอใจ นอ้ ยท่สี ดุ
ที่ รายการประเมนิ มาก ปานกลาง น้อย
ดำ้ นสถำนกำรณ์จำลอง
1. เน้ือหาในสถานการณ์จาลองมีความ
เหมาะสมกับผเู้ รยี น
2. สถานการณ์มีความน่าสนใจและทันสมัย
ตอ่ เหตกุ ารณ์ในปัจจุบัน
3. ผเู้ รยี นมีความเขา้ ใจในการเรียนรโู้ ดยการ
ใชส้ ถานการณจ์ าลอง
4. เนื้อหาการจาลองสถานการณ์สามารถ
นาไปใชไ้ ดจ้ ริงในชีวิตประจาวัน
ดำ้ นสอ่ื ภำพยนตร์
1. สือ่ ภาพยนตร์มเี นื้อหาท่ีมคี วามเหมาะสม
สาหรบั ผเู้ รียน
2. การใชภ้ าพ เสยี ง และระยะเวลาของสื่อ
ภาพยนตรม์ ีความเหมาะสมต่อการ
นาเสนอ
ดำ้ นกำรเรยี นรู้
1. ผู้เรียนมโี อกาสได้พัฒนาตนเอง แสวงหา
ความรจู้ ากการจาลองสถานการณ์
2. ผูเ้ รียนมีความเพลดิ เพลนิ ต่อเน้ือหาใน
การเรยี นรู้
ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………
เกณฑ์กำรประเมนิ ควำมพงึ พอใจ ระดับความเหมาะสม มากทีส่ ดุ
4.50 – 5.00 ระดบั ความเหมาะสม มาก
3.50 – 4.99 ระดับความเหมาะสม
2.50 – 3.49 ระดบั ความเหมาะสม ปานกลาง
1.50 – 2.49 ระดบั ความเหมาะสม นอ้ ย
1.00 – 1.49
น้อยทส่ี ุด
63
5. กำรเก็บรวบรวมขอ้ มูล
ในกำรวิจัยครังนผี ูว้ จิ ยั ได้ดำเนินกำรเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลดังขันตอนต่อไปนี
1. จัดปฐมนิเทศเพื่อทาความเข้าใจกับนักเรียนถึงวิธีการเรียนโดยใช้สถานการณ์จาลอง
ร่วมกับส่ือภาพยนตร์ จุดประสงค์ของการดาเนินการทดลอง เวลาเรียน และวิธีการประเมินผลการ
เรยี นร้ใู นการวจิ ยั คร้ังนี้
2. สอนด้วยการใช้สถานการณ์จาลองร่วมกับส่ือภาพยนตร์ ตามแผนการจัดการเรียนรู้
จานวน 3 แผนการจัดการเรียนรู้ เปน็ เวลา 3 ชวั่ โมง
3. ประเมินการทากิจกรรม หลังจากท่ีกลุ่มเป้าหมายได้ทาแบบทดสอบหลังเรียนเพ่ือหา
ประสิทธิภาพทักษะการฟังและการพูดของนักเรียนหลังใช้สถานการณ์จาลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์ที่
วัดจากแบบประเมินทักษะการฟังและการพูด ผู้วิจัยให้กลุ่มเป้าหมายได้จัดทาแบบประเมินการทา
กิจกรรมของกลุ่มเป้าหมายที่มีต่อการเรียนภาษาอังกฤษโดยการใช้สถานการณ์จาลองร่วมกับส่ือ
ภาพยนตร์
4. ประเมินทักษะการฟังและการพูดภาษาอังกฤษ หลังจากที่กลุ่มเป้าหมายได้ใช้สถานการณ์
จาลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์เพ่ือหาประสิทธิภาพทักษะการฟังและการพูด ผู้วิจัยได้ทาการประเมิน
ทักษะการฟงั และการพดู ภาษาองั กฤษของกลมุ่ เปา้ หมาย
5.ประเมินความพึงพอใจ หลังจากท่ีกลุ่มเป้าหมายได้ใช้สถานการณ์จาลองร่วมกับส่ือ
ภาพยนตร์เพื่อหาประสิทธภิ าพทักษะการฟังและการพูดของนักเรียนที่วัดจากแบบประเมินทักษะการ
ฟังและการพูด ผู้วิจัยให้กลุ่มเป้าหมายได้จัดทาแบบประเมินความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายท่ีมีต่อ
การเรียนภาษาองั กฤษโดยการใช้สถานการณ์จาลองรว่ มกบั สื่อภาพยนตร์
6. เก็บรวบรวมข้อมูล แบบประเมินการทากิจกรรมระหวา่ งเรียน และแบบสอบถามความพึง
พอใจของผ้เู รยี น และแบบประเมินทักษะการฟงั และการพูดหลังเรยี นเพ่ือวิเคราะห์ข้อมูลตอ่ ไป
64
6. กำรวิเครำะหข์ ้อมูลและสถิติทใี่ ช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล
1. การวิเคราะห์เพ่ือหาประสิทธิภาพของทักษะการฟังและทักษะการพูดภาษาอังกฤษ
หลังจากการจัดการเรียนการสอนโดยสถานการณ์จาลองร่วมกับส่ือภาพยนตร์ ใช้คะแนนกิจกรรม
ระหวา่ งเรยี นและประเมนิ ทักษะการฟังและการพดู หลังเรียนโดยใช้ E1/E2
2. การวิเคราะห์คะแนนทักษะการฟังหลังจากการจัดการเรียนการสอนโดยสถานการณ์
จาลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์ กับเกณฑ์ที่กาหนดร้อยละ 70 โดยการหาค่าเฉลี่ย ( ̅) ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (S.D.) และร้อยละ
3. การวิเคราะห์คะแนนพัฒนาการของทักษะการพูดภาษาอังกฤษหลังจากการจัดการเรียน
การสอนโดยสถานการณ์จาลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์ โดยการวิเคราะห์คะแนนท่ีได้จากแบบประเมิน
ทักษะการพูดภาษาอังกฤษระหวา่ งเรยี นและหลังเรียนโดยใชส้ ูตรคะแนนพัฒนาการ และแปลคะแนน
ตามเกณฑร์ ะดับพัฒนาการ โดยใช้เกณฑ์ของศิรชิ ัย กาญจนวาสี (2552: 266-267)
ตำรำงท่ี 13 เกณฑ์คะแนนพฒั นำกำรเทยี บระดับพฒั นำกำร (ศริ ิชยั กำญจนวำสี, 2552: 268)
คะแนนพฒั นำกำรสมั พทั ธ์ ระดบั พฒั นำกำร
76 – 100 พัฒนาการระดับสูงมาก
51 – 75 พัฒนาการระดับสูง
26 – 50 พฒั นาการระดบั กลาง
0 – 25 พัฒนาการระดบั ต้น
3. การวิเคราะห์การประเมินความพึงพอใจเพื่อหาประสิทธิภาพของการทากิจกรรมโดยใช้
สถานการณ์จาลองร่วมกับส่ือภาพยนตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 ท่ีผู้วิจัยพัฒนาข้ึนให้ผ่านเกณฑ์
รอ้ ยละ 70
65
7. หำคุณภำพเคร่ืองมอื
สถติ ทิ ่ใี ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
- ความสามารถทางการฟังภาษาอังกฤษเพ่อื ความเขา้ ใจ
- คะแนนพัฒนาการของทกั ษะการพดู ภาษาอังกฤษ
- แบบประเมินความพงึ พอใจ
1.1 ค่าเฉลีย่ (Mean) ใช้สตู ร ดังนี้
̅ =∑
เมอื่ ̅ แทน คา่ เฉล่ยี
∑ แทน ผลรวมของข้อมลู
N แทน จานวนผูต้ อบ
1.2 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใช้สตู ร ดงั นี้
S.D. = √ ∑ 2−(∑ )2
( −1)
เมอื่ S.D. แทน ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน
∑ 2 แทน ผลรวมกาลังสองของคะแนน
(∑ )2 แทน ผลรวมคะแนนแต่ละตัวยกกาลังสอง
N แทน จานวนผตู้ อบ
1.3 รอ้ ยละ (Percentage) ใช้สูตร ดงั นี้
× 100
เมอ่ื n คะแนนท่ีได้
N คะแนนท้ังหมด
1.4 คะแนนพัฒนาการ ใชส้ ูตร ดังน้ี
คะแนนพฒั นาการสมั พัทธ์ = คะแนนหลงั เรียน − คะแนนก่อนเรยี น X 100
คะแนนเตม็ − คะแนนก่อนเรยี น
บทท่ี 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัย เร่ือง การพัฒนาทักษะการฟังและการพูด
ภาษาอังกฤษโดยใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์สำหรับนักเรีนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4/2
โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 3 สุราษฎร์ธานี ผู้วิจัยได้วิเคราะห์และนำเสนอในรูปแบบของตาราง
ประกอบการอธบิ าย โดยแบง่ การนำเสนอออกเปน็ สว่ น ตามลำดับดังน้ี
สว่ นที่ 1 ผลการวิเคราะห์หาประสทิ ธภิ าพของนวตั กรรม
ส่วนที่ 2 ผลการวเิ คราะห์แผนการจดั การเรยี นรู้
สว่ นที่ 3 ผลการวเิ คราะหแ์ บบประเมนิ ความสามารถทางการฟังภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจ
ส่วนที่ 4 ผลการวิเคราะหพ์ ัฒนาการในทักษะการพูดภาษาองั กฤษเพ่ือความเข้าใจ
ส่วนที่ 5 ผลการวเิ คราะหแ์ บบประเมินความพงึ พอใจ
สว่ นท่ี 1 ผลการวิเคราะห์หาประสทิ ธภิ าพของนวตั กรรม
การนำเสนอผลการวิเคราะห์ผลการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของการพัฒนาทักษะการฟัง
แล ะการพู ด ภ าษ าอั งกฤ ษ โด ย ใช้ ส ถ าน การณ์ จ ำล องร่วม กับ ส่ื อภ าพ ย น ต ร์ส ำห รับ นั กเรีย น ช้ั น
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4/2 โรงเรยี นมธั ยมพชั รกิติยาภา 3 สุราษฎร์ธานี
ตารางท่ี 14 แสดงคา่ เฉลีย่ ( ̅) และรอ้ ยละของประสิทธภิ าพการพฒั นาทกั ษะการฟังและการพดู
ภาษาองั กฤษโดยใช้สถานการณ์จำลองรว่ มกับสอื่ ภาพยนตร์
การทดลอง คะแนนเต็ม คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ
กิจกรรมระหว่างเรียน ( 1) 20 16.14 80.71
กจิ กรรมหลังเรยี น ( 2) 20 15.43 77.14
จากตารางท่ี 14 ผลการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของการพัฒนาทักษะการฟังและการ
พดู ภาษาอังกฤษโดยใชส้ ถานการณ์จำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4/2
67
โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 3 สุราษฎร์ธานี พบว่า ผลการทำกิจกรรมระหว่างเรียน ได้คะแนนเฉล่ีย
ร้อยละ 80.71 และผลการทำกิจกรรมหลังเรียน ได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 77.14 แสดงว่าการพัฒนา
ทักษะการฟังและการพูดภาษาอังกฤษโดยใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับส่ือภาพยนตร์ มีประสิทธิภาพ
สอดคล้องกบั เกณฑ์ที่กำหนดไว้คือ 75/75 สามารถนำไปสอนได้
สว่ นที่ 2 ผลการวิเคราะหแ์ ผนการจดั การเรยี นรู้
การนำเสนอผลการวิเคราะห์แผนการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4/2
โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 3 สุราษฎร์ธานี ได้แก่ ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านกิจกรรมการเรียนรู้
ดา้ นสอ่ื การเรียนรู้ ด้านการวัดและประเมินผล และด้านสอ่ื ภาพยนตร์ นำเสนอในรูปแบบตารางแสดง
ความถ่ี ค่าเฉล่ีย ( ̅) สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ดังตารางที่ 15 – 17
ตารางที่ 15 แสดงค่าเฉลย่ี ( ̅) สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) ของแผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1
ข้อท่ี รายการประเมิน ̅ S.D. ระดับ
ดา้ นการจดั การเรยี นรู้
1 มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สอดคลอ้ ง
กับหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนมธั ยมพชั รกติ ยิ าภา 3 สุราษฎร์ 4.33 0.47 มาก
ธานี พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง 2561)
2 การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชว้ี ดั สอดคล้องกบั พฤติกรรมการ 4.67 0.47 มากทส่ี ุด
เรยี นรแู้ นวการวดั และประเมินผลและภาระงาน/ชิ้นงาน
3 การเขียนสาระสำคัญในแผนการจดั การเรยี นรู้ 4.33 0.47 มาก
4 จดุ ประสงค์การเรียนรู้ระบุพฤติกรรมชัดเจน สามารถวดั ได้ 4.33 0.47 มาก
5 สาระการเรยี นรูค้ รบถ้วน สมั พันธก์ ับจดุ ประสงค์การเรียนรู้ 4.33 0.47 มาก
รวม 4.40 0.47 มาก
ด้านกจิ กรรมการเรยี นรู้
6 กจิ กรรมการเรยี นรู้มีความเหมาะสม ครบถ้วนทุกขน้ั ตอนตามวธิ ี
สอน หรอื กระบวนการ หรือเทคนิคการสอนทร่ี ะบุไว้ในแผนการ 4.33 0.00 มาก
จดั การเรยี นรู้ (กลยทุ ธใ์ นการจดั การเรยี นรู้)
7 กิจกรรมการเรียนรมู้ ีกลยุทธใ์ นการจัดการเรยี นรสู้ ง่ เสริมความ 4.67 0.47 มากทส่ี ุด
แตกตา่ งระหว่างบุคคลของผ้เู รยี น
8 กจิ กรรมการเรยี นรู้จดั เรียงลำดับจากงา่ ยไปหายาก สอดคล้อง 4.67 0.47 มากทส่ี ุด
กบั เวลา
รวม 4.55 0.31 มากท่ีสุด
ดา้ นสื่อการเรยี นรู้ 4.67 0.47 มากทสี่ ดุ
4.67 0.94 มากทส่ี ุด
9 ส่ือการเรียนรชู้ ่วยกระตุ้นและส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนสามารถฝกึ ปฏบิ ตั ิ
ไดด้ ว้ ยตนเองหรือฝึกปฏิบัติเป็นกลุ่ม
10 มหี ลกั ฐาน อาทิ สื่อ ใบกจิ กรรม ใบความรู้ เคร่ืองมือวัด
ทป่ี รากฎในแผนจัดการเรียนรู้ครบถ้วน
68
ขอ้ ท่ี รายการประเมิน ̅ S.D. ระดบั
4.67 0.47 มากทีส่ ุด
11 ระบุการใช้สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้สมั พันธ์สอดคลอ้ งกับกจิ กรรมการ
เรียนรู้ 4.00 0.62 มาก
รวม
4.00 0.47 มาก
ด้านการวดั และประเมนิ ผล
12 การวัดและประเมนิ ผลมเี ครื่องมือและเกณฑ์ทใี่ ช้วัดไดต้ รงตาม 4.33 0.47 มาก
4.33 0.82 มาก
มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชี้วัดและจุดประสงค์
13 การวัดและประเมนิ ผลเนน้ การประเมินตามสภาพจรงิ 4.00 0.00 มาก
14 การวัดและประเมนิ ผลสนองต่อการสง่ เสรมิ ผลสมั ฤทธิ์ทางการ 4.16 0.44 มาก
เรยี น 4.00 0.47 มาก
15 ระบเุ คร่ืองมือสำหรับการวดั ประเมนิ ผลอยา่ งชดั เจน 4.33 0.47 มาก
4.67 0.00 มากท่ีสดุ
รวม
ดา้ นส่อื ภาพยนตร์ 4.33 0.00 มาก
16 สื่อภาพยนตรม์ ีความสอดคลอ้ งกับบทเรยี น 4.33 0.00 มาก
17 สือ่ ภาพยนตร์มีความเหมาะสมกบั พฒั นาการของนักเรียน 4.33 0.18 มาก
18 ส่อื ภาพยนตรช์ ว่ ยกระต้นุ และสง่ เสริมใหผ้ เู้ รียนสามารถฝึกปฏบิ ัติ 4.41 0.39 มาก
ได้ดว้ ยตนเองหรือฝึกปฏิบตั ิเป็นกลมุ่
19 สอื่ ภาพยนตร์มีคณุ ภาพ มีความชัดเจนสามารถตีความได้ง่าย
20 คำอธิบายใตภ้ าพอยู่ในระดับทีน่ กั เรียนเขา้ ใจง่าย
รวม
รวมท้ังหมด
จากตารางท่ี 15 พบว่า แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ท่ีใช้กับกลุ่มตัวอย่างนักเรียนชั้น
มธั ยมศึกษาปีท่ี 4/2 โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 3 สุราษฎร์ธานี มีประสิทธิภาพรวมทุกด้านเฉล่ีย 4.41
อยู่ในระดับมาก ดา้ นการจดั การเรยี นรู้เฉลยี่ 4.40 อยใู่ นระดบั มาก ด้านกิจกรรมการเรยี นรู้เฉลยี่ 4.55 อยู่
ในระดับมากที่สุด ด้านส่ือการเรียนรู้เฉล่ีย 4.00 อยู่ในระดับมาก ด้านการวัดและประเมินผลเฉล่ีย 4.16
อยู่ในระดบั มาก และดา้ นสอื่ ภาพยนตร์เฉลี่ย 4.33 อยูใ่ นระดับมาก
69
ตารางท่ี 16 แสดงคา่ เฉลีย่ ( ̅) สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของแผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2
ข้อที่ รายการประเมิน ̅ S.D. ระดบั
ด้านการจดั การเรยี นรู้
1 มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ 4.33 0.47 มาก
สอดคลอ้ งกบั หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนมธั ยมพัชรกติ ยิ า
ภา 3 สรุ าษฎรธ์ านี พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง 2561)
2 การวเิ คราะห์มาตรฐานและตัวช้วี ดั สอดคลอ้ งกับพฤติกรรม 4.33 0.47 มาก
การเรยี นรแู้ นวการวดั และประเมินผลและภาระงาน/ชิ้นงาน
3 การเขยี นสาระสำคญั ในแผนการจัดการเรียนรู้ 4.33 0.47 มาก
4 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ระบุพฤตกิ รรมชัดเจน สามารถวัดได้ 4.00 0.00 มาก
5 สาระการเรยี นรูค้ รบถ้วน สมั พนั ธก์ ับจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 4.00 0.00 มาก
รวม 4.19 0.28 มาก
ด้านกิจกรรมการเรียนรู้
6 กจิ กรรมการเรียนรมู้ คี วามเหมาะสม ครบถ้วนทกุ ขนั้ ตอนตาม 4.33 0.47 มาก
วิธสี อน หรือกระบวนการ หรือเทคนิคการสอนทรี่ ะบุไว้ใน
แผนการจัดการเรียนรู้ (กลยทุ ธใ์ นการจดั การเรียนร้)ู
7 กิจกรรมการเรยี นรู้มีกลยุทธ์ในการจดั การเรียนร้สู ่งเสรมิ ความ 4.33 0.47 มาก
แตกตา่ งระหวา่ งบุคคลของผ้เู รียน
8 กจิ กรรมการเรียนรจู้ ัดเรยี งลำดบั จากงา่ ยไปหายาก สอดคล้อง 4.33 0.47 มาก
กับเวลา
รวม 4.33 0.47 มาก
ด้านสือ่ การเรยี นรู้
9 สือ่ การเรียนรชู้ ่วยกระตุน้ และสง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นสามารถฝกึ 4.67 0.47 มากที่สุด
ปฏบิ ัตไิ ดด้ ว้ ยตนเองหรือฝกึ ปฏบิ ัติเป็นกลุ่ม
10 มหี ลักฐาน อาทิ ส่ือ ใบกิจกรรม ใบความรู้ เครื่องมือวัด ที 4.00 0.00 มาก
ปรากฎในแผนจดั การเรียนรู้ครบถว้ น
11 ระบุการใช้ส่อื /แหล่งเรยี นรู้สัมพนั ธ์สอดคลอ้ งกับกจิ กรรมการ 4.00 0.00 มาก
เรยี นรู้
รวม 4.22 0.15 มาก
ด้านการวัดและประเมนิ ผล
12 การวัดและประเมนิ ผลมเี ครื่องมอื และเกณฑ์ท่ใี ช้วดั ไดต้ รง 4.67 0.47 มากทส่ี ดุ
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชว้ี ดั และจุดประสงค์
13 การวดั และประเมินผลเนน้ การประเมนิ ตามสภาพจริง 4.67 0.47 มากท่สี ดุ
14 การวดั และประเมนิ ผลสนองต่อการสง่ เสรมิ ผลสมั ฤทธ์ิ 4.67 0.47 มากท่สี ดุ
ทางการเรยี น
15 ระบุเคร่ืองมือสำหรับการวัดประเมินผลอย่างชัดเจน 4.67 0.47 มากที่สดุ
รวม 4.67 0.47 มากที่สดุ
70
ขอ้ ที่ รายการประเมิน ̅ S.D. ระดับ
ด้านสอ่ื ภาพยนตร์
16 สื่อภาพยนตรม์ ีความสอดคล้องกบั บทเรียน 4.33 0.47 มาก
17 สื่อภาพยนตร์มีความเหมาะสมกับพฒั นาการของนักเรียน 4.33 0.47 มาก
18 สอ่ื ภาพยนตร์ช่วยกระตนุ้ และสง่ เสริมใหผ้ เู้ รียนสามารถฝกึ 4.33 0.47 มาก
ปฏบิ ตั ิไดด้ ้วยตนเองหรือฝึกปฏบิ ตั ิเปน็ กลมุ่
19 สื่อภาพยนตรม์ ีคุณภาพ มคี วามชัดเจนสามารถตคี วามไดง้ ่าย 4.33 0.47 มาก
20 คำอธบิ ายใตภ้ าพอยู่ในระดบั ที่นกั เรียนเข้าใจง่าย 4.00 0.00 มาก
รวม 4.26 0.37 มาก
รวมท้ังหมด 4.31 0.35 มาก
จากตารางท่ี 16 พบว่า แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ท่ีใช้กับกลุ่มตัวอย่างนักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาปีท่ี 4/2 โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 3 สุราษฎร์ธานี มีประสิทธิภาพรวมทุกด้านเฉลี่ย
4.31 อยใู่ นระดับมาก ด้านการจดั การเรยี นรูเ้ ฉลีย่ 4.19 อยู่ในระดับมาก ด้านกิจกรรมการเรียนรู้เฉลี่ย
4.33 อยู่ในระดับมาก ด้านสื่อการเรียนรู้เฉล่ีย 4.22 อยู่ในระดับมาก ด้านการวัดและประเมนิ ผลเฉล่ีย
4.67 อยใู่ นระดับมากท่สี ุด และด้านสือ่ ภาพยนตร์เฉลี่ย 4.26 อยู่ในระดับมาก
71
ตารางท่ี 17 แสดงคา่ เฉลยี่ ( ̅ ) สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 3
ข้อท่ี รายการประเมนิ ̅ S.D. ระดับ
ด้านการจดั การเรียนรู้
1 มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้
สอดคลอ้ งกับหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นมัธยมพชั รกิตยิ า 4.33 0.47 มาก
ภา 3 สรุ าษฎรธ์ านี พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ 2561)
2 การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วดั สอดคล้องกับพฤติกรรม
การเรียนรแู้ นวการวดั และประเมนิ ผลและภาระงาน/ชิน้ งาน 4.33 0.47 มาก
3 การเขียนสาระสำคัญในแผนการจัดการเรียนรู้ 4.33 0.47 มาก
4 จุดประสงค์การเรียนรู้ระบุพฤติกรรมชัดเจน สามารถวดั ได้ 4.33 0.47 มาก
5 สาระการเรียนรคู้ รบถ้วน สัมพันธ์กบั จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 4.00 0.00 มาก
รวม 4.27 0.38 มาก
ดา้ นกิจกรรมการเรยี นรู้
6 กิจกรรมการเรียนรมู้ ีความเหมาะสม ครบถว้ นทกุ ข้ันตอน 4.00 0.00 มาก
ตามวิธสี อน หรอื กระบวนการ หรอื เทคนิคการสอนทร่ี ะบุไว้
ในแผนการจัดการเรียนรู้ (กลยุทธ์ในการจัดการเรยี นรู)้
7 กิจกรรมการเรียนรมู้ ีกลยุทธใ์ นการจัดการเรียนร้สู ง่ เสริม 4.67 0.47 มากที่สดุ
ความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรยี น
8 กิจกรรมการเรยี นรจู้ ัดเรยี งลำดบั จากง่ายไปหายาก 4.33 0.47 มาก
สอดคลอ้ งกบั เวลา
รวม 4.33 0.31 มาก
ดา้ นส่ือการเรียนรู้
9 ส่อื การเรียนรชู้ ว่ ยกระต้นุ และสง่ เสริมให้ผ้เู รียนสามารถฝกึ 4.33 0.47 มาก
ปฏิบตั ไิ ดด้ ้วยตนเองหรือฝึกปฏบิ ตั เิ ป็นกลมุ่
10 มหี ลักฐาน อาทิ สื่อ ใบกิจกรรม ใบความรู้ เคร่ืองมือวัด 4.67 0.47 มากทีส่ ดุ
ทป่ี รากฎในแผนจัดการเรยี นรู้ครบถว้ น
11 ระบุการใชส้ ื่อ/แหล่งเรยี นรู้สัมพนั ธ์สอดคล้องกบั กจิ กรรม 5.00 0.00 มากทส่ี ดุ
การเรียนรู้
รวม 4.67 0.31 มากท่ีสุด
ดา้ นการวดั และประเมนิ ผล
12 การวดั และประเมินผลมีเคร่ืองมอื และเกณฑ์ที่ใชว้ ดั ไดต้ รง 4.00 0.00 มาก
ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชว้ี ดั และจดุ ประสงค์
13 การวัดและประเมนิ ผลเน้นการประเมนิ ตามสภาพจรงิ 4.00 0.00 มาก
14 การวดั และประเมินผลสนองต่อการสง่ เสริมผลสัมฤทธ์ิ 4.00 0.00 มาก
ทางการเรียน
15 ระบเุ คร่ืองมือสำหรบั การวัดประเมนิ ผลอย่างชดั เจน 4.33 0.47 มาก
รวม 4.08 0.53 มาก
72
ข้อท่ี รายการประเมนิ ̅ S.D. ระดบั
ด้านสื่อภาพยนตร์ 4.33 0.47 มาก
16 ส่อื ภาพยนตรม์ ีความสอดคลอ้ งกบั บทเรยี น 5.00 0.00 มากทส่ี ุด
17 สอ่ื ภาพยนตร์มีความเหมาะสมกบั พัฒนาการของนักเรยี น 4.33 0.47 มาก
18 สื่อภาพยนตร์ช่วยกระตุน้ และสง่ เสริมใหผ้ เู้ รียนสามารถฝึก
4.00 0.00 มาก
ปฏบิ ัติไดด้ ว้ ยตนเองหรือฝกึ ปฏบิ ตั ิเป็นกล่มุ 4.33 0.47 มาก
19 สอ่ื ภาพยนตร์มีคณุ ภาพ มีความชัดเจนสามารถตีความได้ง่าย 4.40 0.28 มาก
20 คำอธบิ ายใตภ้ าพอยู่ในระดบั ทนี่ กั เรยี นเขา้ ใจง่าย 4.33 0.27 มาก
รวม
รวมทั้งหมด
จากตารางท่ี 17 พบว่า แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 ท่ีใช้กับกลุ่มตัวอย่างนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 4/2 โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 3 สุราษฎร์ธานี มีประสิทธิภาพรวมทุกด้านเฉลี่ย
4.33 อยู่ในระดับมาก ด้านการจัดการเรียนรู้เฉลย่ี 4.27 อยู่ในระดับมาก ดา้ นกจิ กรรมการเรียนรู้เฉล่ีย
4.33 อยใู่ นระดับมาก ด้านส่ือการเรยี นรู้เฉลี่ย 4.67 อยู่ในระดับมากท่ีสุด ด้านการวัดและประเมินผล
เฉลีย่ 4.08 อยใู่ นระดบั มาก และดา้ นสื่อภาพยนตร์เฉล่ีย 4.40 อยูใ่ นระดบั มาก
73
ส่วนที่ 3 ผลการวเิ คราะห์เปรยี บเทยี บความสามารถทางการฟงั ภาษาอังกฤษเพอ่ื ความเขา้ ใจ
การนำเสนอผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความสามารถทางการพฟังภาษาอังกฤษเพื่อความ
เข้าใจกิจกรรมระหวา่ งเรยี นและกิจกรรมหลังเรียนของนกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4/2 โรงเรยี นมัธยม
พชั รกติ ยิ าภา 3 สุราษฎร์ธานี
ตารางที่ 18 เปรยี บเทยี บทักษะการฟังของนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4/2 หลังใช้สถานการณ์จำลอง
(N=35)
รว่ มกบั สอ่ื ภาพยนตร์ กบั เกณฑร์ อ้ ยละ 70
คะแนนกจิ กรรม คะแนนเตม็ ( ̅ ) S.D. รอ้ ยละ t df sig
กิจกรรมหลังเรียน 20 15.71 1.82 78.57 2.316 34 0.03
จากตารางท่ี 18 พบว่า คะแนนจากกิจกรรมหลังเรียนของกลุ่มเป้าหมายมีคะแนนเฉลี่ย
̅ = 15.71 คะแนน และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.82 คิดเป็นร้อยละ 78.57 สรปุ ได้ว่า ทักษะการ
ฟังภาษาเพื่อความเข้ากิจกรรมหลังเรียนด้วยสถานการณ์จำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์สำหรับช้ัน
มัธยมศึกษาปที ี่ 4/2 ผ่านเกณฑ์ท่ีกำหนด (รอ้ ยละ 70) อย่างมนี ยั สำคัญที่ 0.05
ส่วนท่ี 4 ผลการวิเคราะห์พัฒนาการในทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจ
การนำเสนอผลการวิเคราะห์พัฒนาการความสามารถในทักษะการพดู ภาษาอังกฤษเพ่ือความ
เขา้ ใจกิจกรรมระหวา่ งเรียนและกิจกรรมหลังเรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 โรงเรยี นมัธยม
พัชรกติ ิยาภา 3 สรุ าษฎร์ธานี
ตารางท่ี 19 พฒั นาการความสามารถในทักษะการพดู ของนกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4/2 หลงั ใช้
สถานการณ์จำลองรว่ มกบั สื่อภาพยนตร์ กบั เกณฑร์ ้อยละ 70
ท่ี คะแนน คะแนน คะแนน ระดบั ที่ คะแนน คะแน คะแนน ระดับ
ระหวา่ ง หลงั พฒั นาการ พฒั นาการ ระหวา่ ง นหลงั พฒั นาการ พฒั นาการ
เรยี น เรียน สัมพัทธ์ เรยี น เรียน สมั พัทธ์
1 13 15 28.57 ระดับกลาง 19 11 13 22.22 ระดบั ตน้
2 9 16 63.63 ระดบั สงู 20 12 15 37.50 ระดับกลาง
3 13 18 71.42 ระดบั สงู 21 12 15 37.50 ระดับกลาง
4 11 13 22.22 ระดบั ต้น 22 9 17 72.72 ระดับสูง
5 12 14 25.00 รระดับต้น 23 10 14 40.00 ระดบั กลาง
6 8 18 83.33 ระดับสงู มาก 24 13 15 28.57 ระดบั กลาง
7 11 17 66.67 ระดบั สูง 25 11 16 55.56 ระดับสงู
8 11 15 44.44 ระดับกลาง 26 12 15 37.50 ระดบั กลาง
9 13 15 28.57 ระดบั กลาง 27 10 15 50.00 ระดับกลาง
10 12 16 50.00 ระดบั กลาง 28 14 15 16.67 ระดบั ต้น
11 11 17 66.67 ระดบั สูง 29 13 14 14.28 ระดับตน้
12 12 17 62.50 ระดับสงู 30 15 15 00.00 ระดบั ตน้
13 11 17 66.67 ระดับสงู 31 9 15 54.54 ระดับสูง
14 9 17 72.27 ระดบั สูง 32 10 17 70.00 ระดบั สงู
74
ท่ี คะแนน คะแนน คะแนน ระดบั ที่ คะแนน คะแน คะแนน ระดบั
ระหวา่ ง หลงั พัฒนาการ พัฒนาการ ระหว่าง นหลงั พัฒนาการ พฒั นาการ
เรียน เรียน สมั พัทธ์ เรียน เรยี น สมั พัทธ์
17 57.14 ระดับสงู
15 11 14 33.33 ระดับกลาง 33 13 16 50.00 ระดับกลาง
16 12 13 12.50 ระดบั ต้น 34 12 20 100.00 ระดับสงู มาก
17 11 15 44.44 ระดับกลาง 35 15
15.57 พฒั นาการ
18 14 14 00.00 ระดบั ต้น 11.57 77.85 45.34 ระดบั กลาง
รวม คา่ เฉลี่ย 57.85
คา่ เฉลยี่ ร้อย
ละ
จากตารางที่ 19 พบว่า เปรียบเทียบระดับพัฒนาการความสามารถในทักษะการพูดของ
นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 หลังใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์ นักเรียนมีพัฒนาการ
โดยรวมเฉล่ียอยู่ในระดับกลาง (มีค่าเฉลี่ยของคะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์ เท่ากับ 45.34) และเม่ือ
พิจารณาคะแนนพัฒนาการเป็นรายบุคคลจากคะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์ พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มี
พฒั นาการความสามารถในการพดู ภาษาอังกฤษอยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 13 คน คิดเป็น รอ้ ยละ
37.14 รองลงมา มีคะแนนพฒั นาการความสามารถในการคิดแกป้ ัญหาในระดับสงู จำนวน 12 คน คิด
เป็นร้อยละ 34.29 มีคะแนนพัฒนาการความสามารถในการคิดแก้ปัญหาในระดับต้น จำนวน 8 คน
คิด เป็นร้อยละ 22.86 และ มีคะแนนพัฒนาการความสามารถในการคิดแก้ปัญหาในระดับสูงมาก
จำนวน 2 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5.71 ตามลำดบั
75
ส่วนท่ี 5 ผลการวเิ คราะห์แบบประเมินความพึงพอใจ
การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2
โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 3 สุราษฎร์ธานี ได้แก่ ความพึงพอใจด้านสถานการณ์ ด้านส่ือภาพยนตร์
และด้านการเรียนรู้ นำเสนอในรูปแบบตารางแสดงความถ่ี ค่าเฉล่ีย ( ̅ ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(S.D.) ดงั ตาราง
ตารางท่ี 20 แสดงค่าเฉลย่ี ( ̅ ) สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ของผูต้ อบแบบประเมินความพึงพอใจ
ที่ รายการประเมิน ̅ S.D. ระดับ
ด้านสถานการณ์จำลอง
1. เนื้อหาในสถานการณ์จำลองมีความเหมาะสมกับผเู้ รยี น 4.41 0.69 มาก
2. สถานการณ์มีความนา่ สนใจและทันสมยั ต่อเหตกุ ารณ์ในปัจจบุ ัน 4.29 0.67 มาก
3. ผูเ้ รยี นมคี วามเขา้ ใจในการเรียนรโู้ ดยการใชส้ ถานการณ์จำลอง 4.35 0.59 มาก
4. เน้อื หาการจำลองสถานการณ์สามารถนำไปใช้ไดจ้ ริงใน 4.68 0.53 มากทส่ี ุด
ชวี ติ ประจำวนั
รวม 4.43 0.62 มาก
ดา้ นสื่อภาพยนตร์
1. สอ่ื ภาพยนตร์มเี น้ือหาที่มคี วามเหมาะสมสำหรบั ผู้เรยี น 4.59 0.55 มากทส่ี ดุ
2. การใช้ภาพ เสียง และระยะเวลาของสื่อภาพยนตร์มีความ 4.56 0.50 มากท่ีสุด
เหมาะสมต่อการนำเสนอ
รวม 4.57 0.52 มากท่สี ดุ
ด้านการเรียนรู้
1. ผูเ้ รียนมโี อกาสได้พัฒนาตนเอง แสวงหาความรู้จากการจำลอง 4.35 0.54 มาก
สถานการณ์
2. ผเู้ รียนมีความเพลิดเพลินต่อเนอ้ื หาในการเรียนรู้ 4.41 0.55 มาก
รวม 4.38 0.54 มาก
รวมทั้งหมด 4.48 0.57 มาก
จากตารางที่ 20 พบว่า กลุ่มตัวอย่างนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 โรงเรียนมัธยมพัชรกิ
ติยาภา 3 สุราษฎร์ธานี มีความพึงพอใจรวมทุกด้านเฉลี่ย 4.48 อยู่ในระดับมาก ด้านสถานการณ์
จำลองเฉลี่ย 4.43 อยู่ในระดับมาก ด้านส่ือภาพยนตร์เฉลี่ย 4.43 อยู่ในระดับมาก และด้านการ
เรยี นรเู้ ฉลีย่ 4.38 อยูใ่ นระดบั มาก
บทที่ 5
สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ
การวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะการฟังและการพูดภาษาอังกฤษโดยใช้สถานการณ์จำลอง
ร่วมกับสื่อภาพยนตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4/2 โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 3 สุราษฎร์
ธานี โดยมลี ำดบั การวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. วัตถุประสงคข์ องการวจิ ยั
2. กลุม่ ประชากรและกลมุ่ เปา้ หมาย
3. การพฒั นาเครือ่ งมือทีใ่ ชใ้ นการวิจยั
4. ขน้ั ตอนการดำเนนิ การวิจัย
5. สรุปผลการวจิ ัย
6. อภปิ รายผลการวิจยั
7. ขอ้ เสนอแนะ
1.วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย
1.เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์ให้มี
ประสทิ ธภิ าพตามเกณฑท์ ีก่ ำหนดไว้ (75/75)
2. เพอ่ื เปรยี บเทียบทักษะการฟงั ของนักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 หลังใชส้ ถานการณ์จำลอง
รว่ มกับส่อื ภาพยนตร์ กบั เกณฑท์ ี่กำหนด (รอ้ ยละ 70)
3.เพื่อศึกษาคะแนนพัฒนาการทักษะการพูดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังใช้
สถานการณจ์ ำลองรว่ มกับสอ่ื ภาพยนตร์
4.เพ่ือศึกษาระดับความพึงพอใจของนักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 ทีม่ ีต่อการจดั การเรียนการ
สอนโดยใช้สถานการณ์จำลองร่วมกบั สื่อภาพยนตร์
2. กลุม่ ประชากรและกล่มุ เปา้ หมาย
กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้คือ นกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4/2 ท่ีกำลังศึกษาอยู่ภาคเรียน
ท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรยี นมัธยมพัชรกติ ิยาภา 3 สรุ าษฎร์ธานี อำเภอเมอื ง จงั หวัดสุราษฎร์ธานี
จำนวน 35 คน ได้มาโดยเลือกอย่างเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) เนือ่ งดว้ ยเป็นห้องเรียนท่ี
มีผลการเรียนภาษาอังกฤษในภาคเรียนทีผ่ ่านมาอยู่ในระดับทต่ี ำ่ กว่าเกณฑ์
77
3.การพัฒนาเคร่อื งมอื ทใี่ ชใ้ นการวิจยั
เพื่อให้การวิจยั คร้งั นม้ี ปี ระสิทธภิ าพ และไดข้ ้อมูลทถี่ ูกต้องมาสนับสนนุ และตอบสมมุติฐานได้
ตรงประเดน็ และได้มกี ารจัดกลมุ่ ที่ใชใ้ นการดำเนนิ การแยกเป็น 2 ลกั ษณะดังนี้
3.1 เครื่องมอื ที่ใช้ในการทดลอง
1 การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์สำหรับ
นักเรียนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 3 สุราษฎร์ธานี ผู้วิจัยนำเสนอ
ขอ้ มลู ในลกั ษณะข้อความ ภาพประกอบ ภาพเคลื่อนไหว เสยี งบรรยายประกอบบทเรียนและวดิ ีโอ
2 แผนการจัดการเรียนรู้การสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์
สำหรับนักเรียนนกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 4/2 จำนวน 3 แผนการสอน 3 คาบ
3.2 เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู
1 แบบประเมินคุณภาพแผนการจดั การเรียนการสอนจำนวน 3 แผนการสอน 3
คาบ เป็นแบบประมาณค่า 5 ระดบั ซึง่ มปี ระเดน็ คำถามดงั นี้
1.1 ด้านการจัดการเรียนรู้
1.2 ดา้ นกิจกรรมการเรยี นรู้
1.3 ดา้ นส่อื การเรยี นรู้
1.4 ด้านการวัดและประเมนิ ผล
1.5 ด้านสอ่ื ภาพยนตร์
2 แบบประเมนิ ทักษะการฟัง เป็นแบบ scoring rubric 4 ระดบั ซึง่ มปี ระเด็น
คำถามดงั น้ี
2.1 ดา้ นความเข้าใจ
2.2 ดา้ นการจับใจความสำคัญ
2.3 ด้านการรูค้ วามหมายคำศัพท์
2.4 ดา้ นการปฏิบตั ิตามคำส่งั
3 แบบประเมนิ ทักษะการพูด เป็นแบบ scoring rubric 4ระดับ ซงึ่ มีประเด็นคำถาม
ดังนี้
3.1. ด้านความถูกต้อง
3.2. ดา้ นความคลอ่ งแคล่ว
3.3. ด้านการการแสดงทา่ ทาง/น้ำเสยี งประกอบการพดู
4 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อโดยใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับ
ส่อื ภาพยนตร์สำหรับนกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 4/2 โรงเรียนมัธยมพัชรกติ ยิ าภา 3 สุราษฎร์ธานี เป็น
แบบสอบถามเกี่ยวกับบทเรียนเพื่อนำข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะไปปรับปรุงแก้ไขบทเรียน เป็นแบบ
scoring rubric 5 ระดับ ซ่งึ มปี ระเดน็ คำถามดังนี้
4.1. ด้านสถานการณจ์ ำลอง
4.2. ด้านสื่อภาพยนตร์
4.3. ดา้ นการเรยี นรู้
78
4. ข้ันตอนการดำเนินการวิจยั
1. นำแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างข้ึนเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน เพื่อตรวจสอบความ
เหมาะสม พร้อมทั้งให้ความคิดเห็นต่อแผนการจัดการเรียนรู้ และปรับปรุง แก้ไขตามคำแนะนำ
2. ขั้นตอนการทดลองกับกลุ่มเป้าหมายใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์
ประกอบการสอน
3. ให้กลุ่มเปา้ หมายเรียนกับใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับสือ่ ภาพยนตร์ เรียนวันละ 1 ชั่วโมง
รวม 3 วัน ใช้เวลาทั้งสิ้น 3 ชั่วโมง และทำแบบประเมินความสามารถทางการฟังและความสามารถ
ทางการพูดภาษาองั กฤษ
4. นำคะแนนแบบแบบประเมินทักษะการฟังและทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ไปวิเคราะห์หา
คำตอบตามวตั ถุประสงค์ของการวิจัย
5. จากนั้นนำแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อโดยใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับสื่อ
ภาพยนตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 3 สุราษฎร์ธานี ให้
นกั เรยี นตอบแบบสอบถาม
5. สรุปผลการวิจยั
จากการวจิ ยั ครัง้ นี้ สามารถสรุปผลการวิจัยได้ดังนี้
1. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์ สำหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 3 สุราษฎร์ธานี มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ท่ี
กำหนดไว้ คอื 80.71/77.14
2. การศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์สำหรับ
นกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 4/2 โรงเรยี นมธั ยมพชั รกติ ยิ าภา 3 สรุ าษฎรธ์ านี บทเรียนส่วนใหญ่มคี วาม
เหมาะสมอย่ใู นระดบั มาก
2.1 ความพึงพอใจในด้านการจัดการเรียนรู้ มีความพอใจอยู่ในระดับมาก
ท่ีระดับ 4.40 และมสี ่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานเทา่ กบั 0.47
2.2 ความพึงพอใจในด้านกิจกรรมการเรียนรู้ มีความพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด
ท่ีระดับ 4.55 และมีสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.31
2.3 ความพึงพอใจในด้านสื่อการเรียนรู้ มีความพอใจอยู่ในระดับมาก ที่ระดับ 4.00
และมีสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.62
2.4 ความพึงพอใจในด้านการวัดและประเมินผล มีความพอใจอยู่ในระดับมาก ที่
ระดับ 4.16 และมีส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.44
2.5 ความพึงพอใจในด้านสื่อภาพยนตร์ มีความพอใจอยู่ในระดับมาก ที่ระดับ 4.33
และมีส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.18
3. การประเมินทักษะการฟังภาษาอังกฤษ กิจกรรมหลังเรียนด้วยใช้สถานการณ์จำลอง
ร่วมกับสื่อภาพยนตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา
3 สรุ าษฎร์ธานี มปี ระสทิ ธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ท่ีกำหนดไว้ คอื รอ้ ยละ 78.575.
79
4. การประเมินพัฒนาการทักษะการพูดภาษาอังกฤษ กิจกรรมหลังเรียนด้วยใช้สถานการณ์
จำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา
3 สรุ าษฎร์ธานี มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ท่กี ำหนดไว้ คือ ร้อยละ 77.85 การพัฒนาระดับกลาง
5. การเปรียบเทียบทักษะการฟังและทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียน กิจกรรม
ระหว่างเรียนและกิจกรรมหลังเรียนด้วยใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์ สำหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 ส่งผลที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ0.05ซึ่งสอดคล้องกับ
สมมุติฐานท่ตี ง้ั ไว้
6. การศกึ ษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อโดยใชส้ ถานการณ์จำลองรว่ มกับสื่อภาพยนตร์
สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 บทเรียนส่วนใหญ่มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด
ซึง่ สอดคลอ้ งกบั สมมุติฐานท่ตี งั้ ไว้
6.1 ความพึงพอใจในด้านสถานการณ์จำลอง มีความพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด
ทร่ี ะดับ 4.43 และมสี ่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.62
6.2 ความพึงพอใจในด้านสื่อภาพยนตร์ มีความพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ที่ระดับ
4.57 และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.52
6.3 ความพึงพอใจในด้านการเรียนรู้ มีความพอใจอยู่ในระดับมาก ที่ระดับ 4.38
และมสี ่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.54
6.อภปิ รายผลการวิจยั
จากการพัฒนาและศึกษาประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สถานการณ์
จำลองรว่ มกับสื่อภาพยนตร์ สำหรับนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4/2 โรงเรยี นมธั ยมพชั รกิติยาภา 3 สุ
ราษฎร์ธานี มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ 80.71/77.14 ซึ่งมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์
นอกจากนี้จากการประเมินทักษะการฟังและการพูดภาษาอังกฤษกิจกรรมหลังเรียนสูงกว่ากิจกรรม
ระหว่างเรียนด้วยใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
และความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับสื่อ
ภาพยนตร์อยู่ในระดบั มากที่สุด โดยผู้วิจยั สามารถอภิปรายผลการวจิ ัยได้ดงั น้ี
1. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์ สำหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 3 สุราษฎร์ธานี มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่
กำหนดไว้ คือ 80.71/77.14 ปรากฏว่าการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับสื่อ
ภาพยนตร์ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ท่ีกำหนดไว้ การที่ผลเป็นเชน่ นี้เนือ่ งมาจากการจดั การ
เรียนการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์ ได้ดำเนินการสร้างอย่างเป็นระบบ
ตามลำดับขั้นตอน ตลอดจนมีการปรับปรุงแก้ไขตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญทุกขั้นตอน จนทำให้
บทเรียนมีประสิทธิภาพเหมาะสม อีกทั้งเป็นบทเรียนที่พัฒนาขึ้นช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจในเนื้อหา เรื่อง
Direction มากยิ่งขึ้น โดยบทเรียนออกแบบหน้าจอให้มีสีสันสวยงาม มีการนำเอาภาพยนตร์จาก
NETFLIX เพื่อให้ผู้เรียนผ่อนคลายในการเรียน สว่ นเนอ้ื หามภี าพน่ิง ภาพเคลือ่ นไหว วดี ีทัศนแ์ ละเสียง
บรรยาย บทเรียนมกี ารนำเสนอเน้อื หาอย่างเปน็ ลำดับข้ันตอน คือลำดบั เนือ้ หาจากง่ายไปยาก
ด้วยเหตุผลที่กล่าวมาแล้วข้างต้น จึงทำให้นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนโดยใช้
สถานการณจ์ ำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์ สำหรบั นักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4/2 โรงเรียนมัธยมพัชรกิ
ติยาภา 3 สุราษฎร์ธานี ซึ่งมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ สอดคล้องกับผลงานวิจัยของ
80
กาญจนา ณ ศรีสุข ได้ศึกษาเรื่อง ผลของการใช้สถานการณ์จำลองเพื่อเสริมสร้างความสามารถการ
สนทนาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในจังหวัดภูเก็ต มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก
และมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 และสอดคล้องกับผลงานวิจัยของกัลยา จันเลน ได้ศึกษาเรื่อง
การพัฒนาทักษะการฟัง และการพูดภาษาองั กฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 โดยการใช้เกม มี
คณุ ภาพอยใู่ นระดับดมี ากและมปี ระสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80
2. การศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์สำหรับ
นกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4/2 บทเรียนสว่ นใหญ่มคี วามเหมาะสมอยใู่ นระดับมาก
2.1 ความพึงพอใจในด้านการจัดการเรียนรู้ มีความพอใจอยู่ในระดับมาก ที่ระดับ
4.40 และมีส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.47
2.2 ความพึงพอใจในด้านกิจกรรมการเรียนรู้ มีความพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ท่ี
ระดับ 4.55 และมสี ว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.31
2.3 ความพึงพอใจในด้านสื่อการเรียนรู้ มีความพอใจอยู่ในระดับมาก ที่ระดับ 4.00
และมสี ว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.62
2.4 ความพึงพอใจในด้านการวัดและประเมินผล มีความพอใจอยู่ในระดับมาก ที่
ระดับ 4.16 และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.44
2.5 ความพึงพอใจในด้านสือ่ ภาพยนตร์ มีความพอใจอยู่ในระดับมาก ที่ระดับ 4.33
และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทา่ กบั 0.18
3. การประเมินความสามารถทางการฟังภาษาอังกฤษ กิจกรรมหลังเรียนด้วยใช้สถานการณ์
จำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 3 สุ
ราษฎรธ์ านี มีประสทิ ธภิ าพสูงกวา่ เกณฑ์ที่กำหนดไว้ คอื ร้อยละ 78.57
4. การประเมินพัฒนาการทางการพูดภาษาอังกฤษ กิจกรรมหลังเรียนด้วยใช้สถานการณ์
จำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา
3 สุราษฎรธ์ านี มีประสิทธภิ าพสงู กว่าเกณฑ์ท่กี ำหนดไว้ คอื รอ้ ยละ 77.85 การพัฒนาระดบั กลาง
5. การเปรียบเทียบความสามารถทางการฟังและความสามารถทางการพูดภาษาอังกฤษของ
นักเรียน กิจกรรมระหว่างเรียนและกิจกรรมหลงั เรียนด้วยใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์
สำหรับนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4/2 สง่ ผลทแี่ ตกต่างกันอย่างมนี ัยสำคัญทางสถติ ทิ ีร่ ะดบั 0.05
6. การศกึ ษาความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อโดยใชส้ ถานการณจ์ ำลองรว่ มกับสื่อภาพยนตร์
สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 บทเรียนส่วนใหญ่มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ซ่ึง
สอดคล้องกับสมมตุ ิฐานท่ีตง้ั ไว้
6.1 ความพึงพอใจในด้านสถานการณ์จำลอง มีความพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ท่ี
ระดับ 4.43 และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.62
6.2 ความพึงพอใจในด้านสื่อภาพยนตร์ มีความพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ที่ระดับ
4.57 และมีส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.52
6.3 ความพึงพอใจในด้านการเรียนรู้ มีความพอใจอยู่ในระดับมาก ที่ระดับ 4.38
และมสี ่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.54
ดังนั้นสามารถสรุปได้ว่า ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอ่ โดยใช้สถานการณ์จำลอง
ร่วมกับสื่อภาพยนตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจโดย
รวมอย่ใู นระดบั มากที่สุด ค่าเฉล่ยี ( ̅) = 4.30
81
จากผลการทำวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าการพัฒนาทักษะการฟังและทักษะการพูด
โดยใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์สำหรับนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 ที่ได้พัฒนาข้ึน
อย่างเป็นลำดับข้นั ตอน และมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ทก่ี ำหนดสามารถนำไปใชใ้ นกาเรียนการสอนได้
จรงิ โดยกลมุ่ เปา้ หมายท่ที ดลองสถานการณจ์ ำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์ มีประสทิ ธิภาพทางการเรียน
ของนักเรียนหลังการจัดการเรียนการสอน คิดเป็นคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 80.71/77.14 และส่วน
เบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D. = 0.50 ) และมีความแตกตา่ งกันอย่างมนี ยั สำคญั ทางสถติ ิท่รี ะดบั .05
7. ข้อเสนอแนะ
จากผลการวิจยั เร่ือง การจดั การเรยี นการสอนโดยใชส้ ถานการณจ์ ำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์
สำหรบั นกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 ผู้วิจัยมขี อ้ เสนอแนะดงั น้ี
7.1 ขอ้ เสนอแนะในการนาํ ไปใช้
1 การเลือกเนื้อหาที่นํามาจัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็นสิ่งสำคัญควรคำนึงถึง เพศ วัย
และระดับความสามารถของนักเรียนดว้ ย หากเน้ือหาใดท่นี กั เรียนสนใจ นักเรียนจะเกดิ การเรยี นรู้เพิ่ม
มากขึน้
2 การเลอื กสอื่ ภาพยนตร์มาควรคำนึงถึงช่วงวัย ความเหมาะสม และความเก่ียวข้อง
กับเนือ้ หาทจี่ ะสอนเพอื่ ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดกับนกั เรียน
3 ครูผู้สอนควรเตรียมความพร้อมในการวัดและประเมินผลทักษะของนักเรียน
เพื่อท่ีจะได้ศกึ ษาทกั ษะของนักเรียนและพัฒนาเป็นรายบุคคล
4 ครูควรเตรียมบทสนทนาที่นักเรียนสามารถนำไปใช้ได้จริง และให้นักเรียนฝึกฟัง
และพดู บอ่ ยครง้ั เพ่อื ให้เกดิ ความคนุ้ ชนิ และนักเรยี นสามารถนำไปใชไ้ ด้ในชีวติ ประจำวัน
7.2 ข้อเสนอแนะในการการวิจัยคร้ังต่อไป
1. ควรนําการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 3 สุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานีไป
ทดลองหาประสิทธภิ าพกับโรงเรียนอน่ื ๆ เพอื่ จะไดข้ ้อสรุปผลการศึกษากวา้ งขวางมากยิง่ ขน้ึ
2. ควรมีการใช้การจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์ ใน
ระดับช้ันต่าง ๆ และเนื้อหา สาระการเรยี นรู้อื่น ๆ เช่น คณิตศาสตร์ ศลิ ปะ สังคมศึกษา และการงาน
อาชีพ เป็นต้น
3. ควรมกี ารเปรียบเทียบประสิทธภิ าพทางการเรียนระหวา่ งการใช้การจัดการเรียนรู้
โดยใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์กับวิธีสอนแบบอื่น ๆ เช่น การเรียนโดยการใช้ชุดการ
สอน การเรียนโดยใชเ้ กม การเรยี นโดยใช้แผนผงั ความคิด เปน็ ต้น
82
บรรณานุกรม
ภาษาไทย
กรมวชิ าการ. (2533). หลกั สูตรมธั ยมศึกษาตอนปลาย พุทธศกั ราช 2524 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.
2533). กรุงเทพฯ : ครุ ุสภาลาดพร้าว.
กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพฯ : ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย.
ฉลองชัย สรุ วฒั นบูรณ์. (2528). การเลอื กและการใชส้ ่ือการสอน. กรุงเทพมหานคร: คณะ
ศกึ ษาศาสตรว์ จิ ยั , 5, 1: 7-19.
ชาญชัย ศรไี สยเพชร. (2527). ทกั ษะและเทคนคิ การสอน. กรุงเทพฯ : พทิ ักษ์อักษร.
ทศิ นา แขมมณี. (2555). ศาสตร์การสอน (พิมพ์ครง้ั ท่ี 16). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.
นพิ นธ์ คุณมารักษ.์ (2552). "ภาษาภาพยนตร:์ องคป์ ระกอบของภาพยนตร.์ "
บญุ ชม ศรสี ะอาด. (2537). การพฒั นาการสอน. กรุงเทพฯ : สวุ ีริยาสาส์น.
บุญทนั อย่ชู มบญุ . (2533). หลักการสอน. เชยี งราย : ภาควิชาหลักสตู รและการสอน คณะครุศาสตร์
: วิทยาลัยครูเชยี งราย. พ.ศ.2554. กรุงเทพฯ.
พรสวรรค์ สปี อ้ . (2550). สดุ ยอดวิธสี อนภาษาองั กฤษ. กรงุ เทพมหานคร : อักษรเจริญทศั น์.
พูดภาษาองั กฤษและแรงจูงใจของนกั เรียนในระดับกำลังพัฒนาเชยี งใหม่ : เชียงใหม่ :
บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั เชียงใหม่.
รติ หอมลา. (2553). "การสง่ เสรมิ ความรูค้ ำศพั ท์ภาษาอังกฤษและความสามารถในการฟงั ของ
นักศกึ ษาระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชัน้ สูงโดยการใช้ภาพยนตร.์ " วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญา
ศกึ ษาศาสตร์มหาบัณฑติ สาขาการสอนภาษาอังกฤษ บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยเชยี งใหม.่
ราชบณั ฑิตยสถาน. (2556). พจนานกุ รมศัพทเ์ ทคโนโลยีทางภาพ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
วันชนะ บญุ ชม. (2555). "ผลสมั ฤทธ์ิด้านการภาษาอังกฤษตอ่ การเรียนโดยใชภ้ าพยนตอ์ อนไลน์
ของนักศกึ ษาท่ีเรียนสาขาภาษาองั กฤษ." คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏอุบลราชธานี. เขา้ ได้จาก
http://www.human.ubru.ac.th/research/images/research/English%20Online%20
Movies%20for%20English%20Majors.pdf
วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น, 1, 1: 21-29.
ศริ ชิ ัย กาญจนวาสี. (2552). ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดมิ . พมิ พ์ครัง้ ท่ี 6. กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั
สมชาย รัตนทองคำ. (2545). "การพัฒนารปู แบบการสอนท่เี นน้ กระบวนการคิดอยา่ งมี
วจิ ารณญาณสำหรับ นักศกึ ษากายภาพบำบัด มหาลัยขอนแกน่ ." วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญา
ศกึ ษาศาสตรม์ หาบัณฑติ . สาขาวิชาหลกั สตู รและการสอน บณั ฑิตวทิ ยาลยั
มหาวิทยาลยั ขอนแก่น.
สทุ ธพิ งษ์ พงษว์ ร. (2552). "การเรียนร้วู ิทยาศาสตร์กบั การนำมาใชใ้ นการดำรงชวี ิต." นิตยสาร
สสวท., 38, 163: 7-10.
สทุ นิ บุญชวู งศ์. (2526). หลักการสอน. กรงุ เทพฯ : ภาควชิ าหลกั สูตรและการสอน คณะครศุ าสตร์
มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนดุสติ .
83
สนุ ทร จนั ทรตรี. (2528). สงั คมศกึ ษาในระดบั ประถมศกึ ษา. กรุงเทพฯ : อักษรสยามการพิมพ์.
สุภา กิจจาทร. (2529). การใชส้ ถานการณจ์ ำลอง เอกสารการประชมุ เชิงปฏิบตั กิ ารเก่ียวกับการ
สอนแบบจุลภาค. กรุงเทพฯ : ตำรวจ.
สมุ ติ รา องั วฒั นกลุ . (2540). วธิ กี ารสอนภาษาองั กฤษ. กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.
สุมิตรา อังวัฒนกลุ . (2540). วธิ สี อนภาษาองั กฤษ. กรงุ เทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.
อรพรรณ สุธาพันธ์. (2551). "กิจกรรมการเรียนโดยใช้ภาพยนตรเ์ พ่ือส่งเสริมความสามารถในการ
ฟังภาษาองั กฤษและการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณของนกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4."
วทิ ยานพิ นธ์ปริญญา ศึกษาศาสตร์มหาบณั ฑติ สาขาการสอนภาษาอังกฤษ บัณฑติ วิทยาลัย
มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่.
อัญชลี แจ่มเจรญิ และคณะ. (2526). วิธกี ารสอนภาษาองั กฤษช้นั ประถมศกึ ษา. กรงุ เทพฯ :
วิทยาลยั ครูสุนนั ทา.
อัญชลี แจม่ เจรญิ . (2522). สถานการณ์จำลองกับการเรยี นการสอน. กรุงเทพฯ : วารสารมติ รครู.
อาภรณ์ ใจเที่ยง. (2540). หลักการสอน. กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร.์
เอกอนงค์ ปวง. (2550). การใช้กจิ กรรมสถานการณ์จำลองเพอ่ื ส่งเสริมความสามารถในการฟงั
84
ภาษาองั กฤษ
Anderson, J. R. (1995). Cognitive Psychology and its Implications. 2th ed. Freeman:
Barth, W.H. (1979). Testing Oral Communication in the Foreign Language
Bowen, J. D., Madsen, H. and Hilferty, A. (1985). TESOL Techniques and
Procedures. Boston, MA: Heinle & Heinle Publishers.
Bury, C. (1983). Video English Teaching Guide. London: The British Council &
Canale & Swain, (1980). Theoretical Bases of Communicative Approaches
to Second Language and Teaching Oral English. London: Longman.
class.” University of Hong Kong.
Classroom : Language in Education : Theory and Practice. Virginia : The Centre
for Applied Linguistic.
Cohen, A. D. (1994). Assessing languages ability in the classroom. Accessed May 30.
Doff, A. (1991). Teaching English: A Training Course for Teacher. Great Britain [Press
release]
Donaghy, K. (2014). How can film help you teach or learn English? Accessed April
effects of video-based versus text-based instruction in the foreign
language classroom.” French Review: 775-795.
environments based on the blending of microworlds, simulations, and
game.” Educational Technology Research & Development, 44, 2: 43-58.
Evans, David R. (1979). Game and Simulations in Literacy Training. Tehren: Hulton
Educational.
Field, J. (2010). “Listening in the Language Classroom.” ELT journal, 64, 3: 331-333.
Finocchiaro, M. (1989). English as a Second / Foreign Language: From Theory to
Practice. New Jersey: Prentice Hall.
Florence, Y. (2009). “Learning English through films : A case study of a Hong Kong
Flowerdew, J. and Miller, L. (2005). Second language listening: Theory and practice
Goh, C. (2002). "Learners' self-reports on Comprehension and Learning Strategies
for Listening." Asian Journal of English Language Teaching, 12, 46-68.
Hadfield, J. Hadfield, C. and Hadfield, C. (1999). Simple listening activities
Harmer, J. (1991). The Practice of English Language Teaching. 6th ed. Hong Kong:
Longman.
Harmer, J. (2007). How to Teach English.new edition. Harlow: Pearson Education
Limited.
Heffernan. (2005). “Watching movie trailers in the ESL Class.” The Internet TESL
Hemei, J. (1997). “Teaching with Video in an English Class.” Journal of English
Herron, C.Morris, M.Secules, T. and Curtis, L. (1995). “A comparison study of the
Howatt, A. and Dakin, J. (1974). Language laboratory materials. New York: McGraw-
Hill.
85
Journal, 9, 3:7. Available from http://iteslj.org/Lessons/Hefferman-
MovieTrailers.html.
Kajornboon, B. (1989). “Video in the Language Class.” PASAA, 19, 1: 44-49.
Kellough, R. D. and Roberts, P. L. (1994). A resource guide for elementary school
teaching. พิมพ์ครง้ั ท่ี 3. New York: McGraw-Hill.
Khan, A.Hussain, K, A.Anwar, R.Mahmood, Q. and Hassan, M. U. (2015). “Developing
Listening Skills through English Movies at the Post-Graduate Level.”
International Journal of English and Education, 4, 2: 220-233.
Macmillan.
Madson, H. S. (1983). Techniques in Testing [Press release]
Mc Donell, W. (1992). Language and Cognitive Development through Cooperation
Group Work, In Cooperative Language Learning. Prentive Hall Regents.
New York.
nominalization.” Journal of Verbal Learning and Verbal Behavior, 10: 1-12.
Paivio, A. (1971). “Imagery and deep structure in the recall of English
Peterson, P. W. (2001). "Skills and strategies for proficient listening." Teaching
English as a second or foreign language, 3: 87-100.
Print, G. (1968). Language Workbook and Practices Material; Developin Language
Teaching. London: Green and Company.
Print, M. (1993). Curriculum development and design. Allen & Unwin.
Rieber, L. (1996). “Seriously considering play: Designing interactive learning
Rivers, W. M. (1968). “Teaching foreign languages skills.” Chicago: The University of
Chicago.
Rivers, W. M. (2018). Teaching Foreign Language Skills [Press release]
Rixon, S. (1986). Developing listening skills. London: Macmillan Publishers, Ltd.
Rost, M. (1991). Listening in action. New Jersey: Prentice Hall.
Solak, E. (2016). Teaching Listening Skills For Prospective English Teachers.
Accessed April 5. Available from
https://scholar.google.com/scholar?hl=en&as_sdt=0
,5&q=Teaching+Listening+Skills+For+Prospective+English+teacher#d=gs_qabs&u
=%23p%3DcGoOaNQkZBEJ
Taba, H. (1963). “Teaching strategy and learning.” California journal for instructional
improvement, 6: 3-11.
Teaching Forum, 35, 2: 45-47.
Tutolo, D. J. (1977). “A Cognitive Approach to Teaching Listening.” Languages Arts,
54, 3: 262-265.
Underwood, M. (1989). Teaching learning. Addison-Wesley Longman Ltd.
86
Valette, R. M. and Disick, R. S. (1972). Modern language performance objectives
and individualization: A handbook. New York: Harcourt Brace Javanovich, Inc.
Willis, J. (1981). Teaching English through English. London: Longman.
Wisdowson, H. G. (1978). Teaching language as communication [Press release]
87
ภาคผนวก
88
ภาคผนวก ก
รายชอ่ื ผเู้ ชีย่ วชาญ
89
รายชอ่ื ผ้เู ช่ียวชาญ
รายนามผู้เชย่ี วชาญประเมนิ คณุ ภาพสอื่
1. นางวิณีนาถ มากมิ่งจวน ครูผู้สอนรายวิชา ภาษาอังกฤษ โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา ๓ สุ
ราษฎร์ธานี จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี
2. นายพุทธนิ ันท์ ศิรยิ งค์ ครูผู้สอนรายวิชา ภาษาจนี โรงเรียนมัธยมพัชรกติ ิยาภา ๓ สุราษฎร์ธานี
จงั หวัดสุราษฎร์ธานี
3. นายมูฮัมหมัดนูรด์ มีบุญลาภ ครูผู้สอนรายวิชา ภาษาอังกฤษ โรงเรียนวัดชัน จังหวัด
นครศรธี รรมราช