1หน่วยการเรียนรู้ท่ี
โครงสร้างและหน้าท่ีของพชื ดอก
ผลการเรยี นรู้
• อธิบายเกี่ยวกับชนิดและลกั ษณะของเนอื้ เยอื่ พืช และเขียนแผนผังเพอื่ สรุปชนิดของเนอ้ื เยอ่ื พืช
• สังเกต อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสรา้ งภายในของรากพชื ใบเล้ียงเดี่ยวและรากพืชใบเลี้ยงคจู่ ากการตัดตามขวาง
• สงั เกต อธบิ าย และเปรยี บเทียบโครงสรา้ งภายในของลาตน้ พชื ใบเล้ียงเดีย่ วและลาต้นพืชใบเลย้ี งคู่จากการตัดตามขวาง
• สงั เกต และอธิบายโครงสรา้ งภายในของใบพืชจากการตัดตามขวาง
• สืบคน้ ข้อมูล สังเกต และอธิบายการแลกเปล่ียนแก๊สและการคายนา้ ของพชื
• สบื ค้นข้อมลู และอธิบายกลไกการลาเลยี งนา้ และธาตุอาหารของพชื
• สืบค้นขอ้ มลู อธบิ ายความสาคญั ของธาตอุ าหาร และยกตัวอย่างธาตุอาหารที่สาคัญที่มผี ลต่อการเจรญิ เตบิ โตของพชื
• อธบิ ายกลไกการลาเลียงอาหารในพืช
เนอ้ื เย่อื พืช เนือ้ เย่ือเจรญิ (meristematic tissue)
เนอื้ เยอ่ื เจรญิ ประกอบดว้ ยเซลลเ์ จรญิ ท่ีมีนิวเคลยี สขนาดใหญ่
สามารถคงคณุ สมบัตกิ ารแบ่งเซลล์แบบไมโทซสิ ได้ตลอดชีวติ แบง่ ออกได้เปน็ 3 ชนิด ดังนี้
เน้ือเยือ่ เจรญิ ส่วนปลาย เนือ้ เยอ่ื เจริญเหนอื ข้อ เนอ้ื เยือ่ เจรญิ ด้านขา้ ง
(apical meristem) (intercalary meristem) (lateral meristem)
เนื้อเยอื่ พชื เนือ้ เยือ่ เจริญส่วนปลาย (apical meristem)
การเจรญิ ของเน้อื เยื่อเจรญิ สว่ นปลาย เปน็ การเจรญิ แบบปฐมภูมิ ทาให้ส่วนตา่ งๆ ของพืชยาวเพม่ิ ขึ้น
เนื้อเยอ่ื เจรญิ ปลายยอด เนอื้ เยื่อเจรญิ ปลายราก
ถา้ พบบริเวณยอดพชื เรยี กวา่ เนื้อเยอื่ เจรญิ ปลายอด ถ้าพบบรเิ วณปลายราก เรียกวา่ เนอื้ เยอื่ เจรญิ ปลายราก
เน้อื เยื่อพชื เนอ้ื เยือ่ เจริญเหนอื ขอ้ (intercalary meristem)
เน้อื เย่ือเจรญิ เหนือข้อ เปน็ การเจรญิ แบบปฐมภูมิ ทาให้บริเวณข้อของพืชยืดยาวเพ่ิมขน้ึ
เนอ้ื เย่ือเจรญิ เหนือขอ้ พบอยู่ระหว่างข้อตรงบริเวณเหนือขอ้ ล่าง
ขอ้ หรือปลอ้ งบริเวณนจี้ ะแบง่ เซลลไ์ ดย้ าวนานกวา่ บริเวณอื่น
สว่ นใหญ่มกั พบในพชื ใบเล้ยี งเด่ยี ว เชน่ หญา้ ข้าว ขา้ วโพด ไผ่
เน้อื เยอ่ื พืช เนือ้ เยอื่ เจรญิ ดา้ นขา้ ง (lateral meristem)
เน้อื เย่ือเจรญิ ดา้ นข้างเป็นเนอื้ เย่อื ท่อี ยู่ในแนวขนานกบั เสน้ รอบวง เรียกว่า แคมเบียม
ซง่ึ เป็นเนอ้ื เยอื่ ที่มกี ารเจริญแบบทตุ ิยภูมิ ทาใหล้ าตน้ หรือรากพืชมีขนาดเสน้ ผ่านศูนยก์ ลางเพิ่มขนึ้
คอร์กแคมเบยี ม
พบในชน้ั เอพิเดอร์มิส
เนอื้ เยอ่ื เจริญด้านขา้ ง วาสควิ ลาร์แคมเบียม
อย่รู ะหว่างเน้ือเยื่อทอ่ ลาเลยี งน้าและท่อลาเลียงอาหาร
เน้ือเยอ่ื พชื เนื้อเย่อื ถาวร (permanent tissue)
เน้อื เยือ่ ถาวรมหี ลายชนดิ แตล่ ะชนดิ พัฒนาและเปลีย่ นสภาพมาจากเน้อื เย่ือเจรญิ โดยเนอื้ เยือ่ ถาวรแบ่งไดเ้ ปน็ 3 ระบบ ดงั น้ี
ระบบเนอ้ื เยือ่ ผิว ระรบะบบบเเนนอ้ือื้ เเยยื่อือ่ ผพิวนื้ ระบบเน้ือเย่อื ท่อลาเลยี ง
เนอ้ื เยอ่ื พืช ระบบเนื้อเย่อื ผิว
เอพิเดอรม์ สิ เอพเิ ดอรม์ ิส เปน็ เนือ้ เยอื่ ทีอ่ ยู่รอบนอกสุดของสว่ นตา่ ง ๆ ของพืช
สว่ นใหญ่เปน็ เซลลผ์ วิ ทเี่ รยี งตวั กนั เพยี งช้นั เดียว
เซลลค์ ุม
ชน้ั เอพเิ ดอรม์ สิ บรเิ วณผิวใบจะพบเซลลค์ ุม ทมี่ รี ปู รา่ งคลา้ ยไตหรอื เมลด็ ถั่วแดง
รปู ากใบ
ชัน้ เอพเิ ดอรม์ สิ ในรากพชื ประกอบด้วยเซลล์ผิวและเซลลข์ นราก
แตไ่ ม่พบเซลล์คุม
เน้อื เยอื่ พืช ระบบเนื้อเยอื่ ผิว
เพรเิ ดริ ม์
เกดิ จากการแบ่งตวั ของเน้อื เย่ือบริเวณเสน้ รอบวงของรากและลาต้น
เพรเิ ดริ ม์ ประกอบดว้ ยกลมุ่ เซลลช์ น้ั นอกสดุ คือ คอรก์ หรือเฟลเลม
ช้ันถดั มา คอื คอรก์ แคมเบียมหรอื เฟลโลเจน และชั้นในสุด คือ เฟลโลเดิรม์
พบในพชื ที่มีอายมุ าก
เนื้อเย่อื พืช ระบบเน้อื เยอ่ื พนื้
พาเรงคมิ า
ประกอบด้วยเซลล์พาเรงคมิ า
เปน็ เซลล์ท่ีมีชีวติ ส่วนใหญม่ ีรูปรา่ งค่อนข้างกลม ภายในมีแวคิวโอลขนาดใหญ่
มีผนังเซลลป์ ฐมภูมิท่ีมคี วามหนาบางสม่าเสมอกนั ทง้ั เซลล์
พบในบริเวณท่แี ตกตา่ งกัน อาจมีสว่ นประกอบแตกต่างกัน จึงมหี นา้ ท่ีท่ี
หลากหลาย เชน่ สงั เคราะหด์ ว้ ยแสง สะสมอาหารหรอื สารต่าง ๆ ท่ีจาเป็น
ต่อการดารงชีวติ ของพชื
เนื้อเย่อื พชื ระบบเน้ือเยื่อพน้ื
คอลเลงคมิ า
เปน็ เนอ้ื เยอ่ื ท่ใี หค้ วามแขง็ แรงแก่โครงสรา้ งพชื
พบมากบรเิ วณใตช้ ้ันเอพเิ ดอรม์ ิสของลาต้น ก้านใบ และแผ่นใบ
ประกอบดว้ ยเซลล์ท่เี รียกว่า เซลล์คอลเลงคมิ า ซงึ่ เป็นเซลลท์ ี่มีชีวติ
มลี กั ษณะคลา้ ยกับเซลล์พาเรงคมิ า แต่มีผนังเซลลป์ ฐมภูมิคอ่ นข้างหนา
และมคี วามหนาบางไมส่ มา่ เสมอกนั
เนื้อเยอ่ื พืช ระบบเน้ือเยือ่ พื้น
สเกลอเรงคมิ า
ทาหน้าท่ีช่วยพยงุ และให้ความแขง็ แรงแก่สว่ นต่าง ๆ ของพืช
ประกอบดว้ ยเซลลท์ ่ีเรยี กว่า เซลล์สเกลอเรงคมิ า ซึง่ เปน็ เซลลท์ ่ไี ม่มชี วี ิต
มที ้ังผนงั เซลลป์ ฐมภูมิและผนงั เซลลท์ ุตยิ ภูมิทค่ี อ่ นข้างหนา
จาแนกออกได้เป็น 2 ชนดิ ตามลักษณะรูปรา่ งของเซลล์
ได้แก่ เซลล์เส้นใยหรือไฟเบอร์ และสเกลอรีด
เน้อื เยอื่ พชื ระบบเน้ือเยื่อทอ่ ลาเลียง
ไซเล็ม
ประกอบด้วยเซลล์ที่ทาหน้าที่ลาเลยี งนา้ ได้แก่ เวสเซล และเทรคดี
และเซลล์อน่ื ๆ ได้แก่ พาเรงคมิ า ไฟเบอร์
เป็นเซลลท์ มี่ ีรปู ร่างยาว ส่วนปลายคอ่ นข้างแหลม
ทาหนา้ ที่ลาเลยี งน้าและธาตอุ าหารจากรากไปยังสว่ นต่างๆ
เนื้อเยือ่ พชื ระบบเนื้อเยอ่ื ท่อลาเลยี ง
โฟลเอม็ ประกอบด้วยเซลล์ท่ที าหน้าท่ลี าเลียงอาหาร ได้แก่ ซีฟทิวบ์ ซ่งึ มีเซลล์
คอมพาเนยี นทีภ่ ายในมีนวิ เคลียสควบคุมการทางาน และมเี ซลลอ์ ่นื ๆ ไดแ้ ก่
พาเรงคมิ า ไฟเบอร์
เป็นเซลล์ที่มชี วี ิต มรี ปู ร่างของเซลล์เปน็ ทรงกระบอก
ทาหน้าท่ีลาเลยี งอาหารทไ่ี ด้จากกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง
โครงสร้างและหน้าท่อี วยั วะของพชื ใบ
ทาหน้าที่ผลิตอาหารโดยกระบวนการ
สงั เคราะห์ดว้ ยแสงและคายนา้
ลาต้น
ทาหน้าทลี่ าเลียงน้า ธาตุอาหาร และอาหาร
ไปสสู่ ว่ นตา่ งๆ และช่วยพยุงลาตน้
ราก
ทาหนา้ ท่ดี ูดน้าและธาตอุ าหารที่อย่ภู ายในดิน
โครงสร้างและหน้าทอี่ วยั วะของพชื โครงสรา้ งภายในของรากพชื พืชใบเลีย้ งคู่
พชื ใบเลี้ยงเดยี่ ว ไซเลม็
โฟลเอม็
2
3
1
1 เอพเิ ดอรม์ สิ เป็นเน้อื เยอ่ื ที่อยูน่ อกสดุ เซลลจ์ ะเรยี งตัวเปน็ แถวเดยี ว บางเซลลเ์ ปลย่ี นเปน็ ขนราก ทาหน้าทีด่ ูดนา้ และธาตุอาหาร
2 คอร์เทกซ์ เปน็ บริเวณที่อย่ถู ดั จากเอพิเดอร์มิส สว่ นใหญ่เป็นเน้ือเย่ือพาเรงคมิ า และมชี ้นั เอนโดเดอรม์ สิ ที่มีแถบแคสพาเรยี น
3 สตีล เป็นบริเวณทอี่ ยู่ถดั จากคอร์เทกซ์ ประกอบด้วย เพรไิ ซเคลิ มดั ทอ่ ลาเลยี ง พธิ
โครงสรา้ งและหน้าทอี่ วยั วะของพืช โครงสรา้ งภายในของลาต้น
พชื ใบเลีย้ งเดีย่ ว ไซเลม็ พืชใบเลยี้ งคู่
โฟลเอม็ โฟลเอม็
ไซเลม็
ข้อแตกตา่ งระหว่างลาตน้ พืชใบเลย้ี งเดีย่ วและลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่
1 กล่มุ ทอ่ ลาเลียงจะกระจายท่ัวไปในเนอื้ เยื่อพ้นื 1 กลมุ่ ทอ่ ลาเลยี งจะเรยี งเปน็ ระเบียบในแนวรัศมี
2 ส่วนใหญไ่ มพ่ บเน้อื เย่อื เจรญิ วาสควิ ลารแ์ คมเบียม 2 มเี นื้อเยอื่ เจริญวาสคิวลารแ์ คมเบยี มระหวา่ งโฟลเอ็ม
3 เน้อื เย่ือพธิ จะพบกลุม่ ท่อลาเลยี งกระจายอยู่เต็ม 3 เห็นขอบเขตของเน้อื เยือ่ พิธอย่างชดั เจน
4 สว่ นใหญ่ไมม่ กี ารเจรญิ เติบโตทุติยภูมิ 4 พิธจะถูกแทนที่ดว้ ยไซเลม็ เมื่อมีการเจริญเตบิ โตทตุ ยิ ภมู ิ
การแลกเปลีย่ นแก๊สและการคายน้าของพืช กลไกการเปิด-ปดิ ของปากใบ
H2O H2O ปากใบปดิ
ปากใบเปดิ H2O H2O
1
1 H2O H2O
2 2
H2O
3 H2O
H2O 3
H2O
1 โพแทสเซยี มไอออนแพรอ่ อกจากเซลล์คมุ
1 โพแทสเซียมไอออนแพร่เข้าสเู่ ซลล์คุม 2 ความเขม้ ข้นของสารละลายภายในเซลล์คมุ ต่า
2 ความเข้มขน้ ของสารละลายภายในเซลลค์ มุ สงู 3 นา้ จึงออสโมซสิ ออกจากเซลลค์ มุ
3 น้าจึงออสโมซิสเข้าส่เู ซลลค์ ุม
การลาเลียงนา้ และธาตุอาหารของพืช
แบบอโพพลาสต์ น้าในดินจะเข้าสู่รากผ่านช้ันคอร์เทกซ์ของรากไป แบบซิมพลาสต์ น้าจะเคล่ือนผ่านเซลล์หน่ึงผ่านไปอีกเซลล์หน่ึง
จ น ถึ ง ช้ั น เ อ น โ ด เ ด อ ร์ มิ ส โ ด ย น้ า จ ะ ผ่ า น จ า ก เ ซ ล ล์ ห น่ึ ง ไ ป ยั ง ทางไซโทพลาซึมท่อลาเลียง พลาสโมเดสมาตา และเย่ือหุ้มเซลล์
อกี เซลลห์ นงึ่ ทางผนงั เซลล์ หรอื ผา่ นทางช่องว่างระหว่างเซลล์ ผ่านชนั้ เอนโดเดอร์มสิ กอ่ นเขา้ สู่ท่อลาเลียงไซเลม็ ตอ่ ไป
การลาเลียงอาหารของพชื 1 แหลง่ สร้าง หรือใบสงั เคราะห์ดว้ ยแสง สร้างอาหารประเภทน้าตาล
ซฟี ทวิ บต์ น้ ทาง 2 นา้ ตาลทพ่ี ืชสรา้ งขน้ึ จะถูกลาเลยี งเข้าสู่ซฟี ทิวบ์ ในรูปของน้าตาล
ซโู ครส ดว้ ยกระบวนการแพรแ่ บบแอกทีฟทรานสปอร์ต ทาให้ความ
ไซเลม็ โฟลเอ็ม 2 1 เข้มขน้ ของสารละลายซูโครสบริเวณซฟี ทิวบ์ตน้ ทางสูงข้นึ
เซลล์คอม- แหล่งสรา้ ง 3 น้าที่อยู่ภายในทอ่ ไซเลม็ จงึ ออสโมซิสเขา้ สซู่ ฟี ทิวบ์ต้นทางช่วยลาเลียง
สารละลายซูโครสไปยงั แหลง่ ใช้
นา้ พาเนยี น
4 น้าตาลซโู ครสจะแพรแ่ บบแอกทฟี ทรานสปอรต์ เข้าสู่เนอ้ื เย่ือพืช หรอื
3 บริเวณแหล่งใช้ ทาให้ความเข้มขน้ ของสารละลายซโู ครสบริเวณ
ซีฟทวิ บ์ปลายทางตา่ ลง
โมเลกลุ น้าตาลซโู ครส
5 นา้ ทอี่ ยภู่ ายในซีฟทิวบ์ปลายทางจึงออสโมซิสออก เข้าสู่ท่อไซเลม็
4
5
น้า
เซลล์คอม- แหล่งใช้
พาเนียน
ซีฟทวิ บล์ ายทาง