The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารสำหรับผู้ปกครอง ปีการศึกษา 2566
โรงเรียนอนุบาลสุมาลี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 119sumaleekinder, 2023-06-24 12:09:55

How to 3R8C@Sumalee Kindergarten

เอกสารสำหรับผู้ปกครอง ปีการศึกษา 2566
โรงเรียนอนุบาลสุมาลี

Keywords: 3R8C

SUMALEE KINDERGARTEN ดี-เก่ง-มีสุ มี ข สุ ก้าก้วสู่ศสู่ ตวรรษที่ โรงเรีย รี นอนุบ นุ าลสุม สุ าลี สร้า ร้ งลูก ลู หลานให้.ห้.. HOW TO.... 3R 8C ภายใต้การจัดจัการเรียรีนรู้ บนพื้นพื้ฐานวิถีวิ ถีไทย สู่.สู่..เศรษฐกิจฐานความรู้ ตามแนวคิดปรัชรัญาของเศรษฐกิจพอเพียพีง บ้านสุมาลีพอเพียง บ้าบ้นหลังลัที่ 2 ของลูกลู ๆ


การนำ หลักปรัชรัญาเศรษฐกิจพอเพียพีงมา ประยุกต์ใช้ใช้นการจัดจัการศึกษามีคมีวามเหมาะสม อย่าย่งมาก เนื่อนื่งจากแผนการศึกษาแห่งชาติ เป็นป็การวางกรอบเป้าป้หมาย และทิศทางการจัดจัการ ศึกษาของประเทศในการพัฒพันาศักยภาพและขีดขี ความสามารถของคนไทยทุกทุช่วช่งวัยวั ให้เต็มตาม ศักยภาพ สามารถแสวงหาความรู้แรู้ละเรียรีนรู้ไรู้ด้ ด้วยตนเองอย่าย่งต่อเนื่อนื่งตลอดชีวิชีตวิดำ รงชีวิชีตวิ อย่าย่งเป็นป็สุขสุพร้อร้มรับรัการเปลี่ยนแปลงของโลก ศตวรรษที่ 21 บ้า บ้ นสุม สุ าลี จัดจัการศึกษาตามแนวปรัชรัญาของ เศรษฐกิจพอเพียพีง อย่า ย่ งไร


กิจกรรมตามแนวปรัชรัญา ของเศรษฐกิจพอเพียพีง กิจกรรมตามแนวปรัชรัญาเศรษฐกิจพอเพียพีงเป็นป็กิจกรรมที่ เด็กๆ สามารถพบได้ในชีวิชีตวิ ประจำ วันวัและคุ้นคุ้เคยเป็นป็อย่าย่งดี ประกอบกับการที่โรงเรียรีนได้จัดจัสภาพแวดล้อม กระตุ้นตุ้และชี้แ ชี้ นะ อย่าย่งต่อเนื่อนื่ง เมื่อมื่เด็กๆ ทำ กิจกรรมทุกทุครั้งรั้จึงจึส่งส่ผลให้เด็กปฐม ได้เผชิญชิกับปัญปัหา และได้ฝึกฝึ ประสบการณ์กณ์ารแก้ปัญปัหาโดยเด็ก มีปมีฏิสัมสัพันพัธ์แธ์ละการทำ งานร่วร่มกับผู้อื่ผู้ อื่นผ่าผ่นกิจกรรมในชีวิชีตวิ ประจำ วันวัการเปิดปิ โอกาสให้เด็กได้ลงมือมืกระทำ และคิดด้วยตัวเอง ครูเป็นป็ ผู้สนับนัสนุนนุให้เด็กควบคุมคุ ตนเองในการแก้ปัญปัหาในแต่ละ กิจกรรม โดยการทำ ซ้ำ ๆ ตาม ความพอใจ จะช่วช่ยให้เด็กได้พัฒพันาความสามารถในการแก้ ปัญปัหาได้ดียิ่งยิ่ขึ้นขึ้การเชื่อชื่มโยงและการตอบสนองที่ถูกถูต้อง ย่อย่มนำ มาซึ่งซึ่ความสมบูรณ์แณ์ห่งการให้เด็กได้ลงมือมืแก้ปัญปัหา ด้วยตนเอง


ไตรสิก สิ ขา บ้า บ้ นสุม สุ าลีใช้ห ช้ ลัก ศีล สมาธิ ปัญญา กระบวนการเรียรีนรู้ตรู้าม นัยแห่งพุทธธรรมคือการฝึกฝึ ฝนตนเอง เรื่อรื่งศีล การฝึกฝึ ฝนตนเองเรื่อรื่งสมาธิ การฝึกฝึ ฝนตนเองเรื่อรื่งปัญญา หลักการเรียรีนรู้ข้รู้าข้งต้นเป็นป็หลักและแนวปฏิบัติบั ติที่บูรณาการของการพัฒพันา มนุษย์ซึ่ย์งซึ่ ในพระไตรปิฎก เรียรีกว่าว่ ไตรสิกสิขา (ศีล สมาธิ ปัญญา) เป็นป็การ ฝึกฝึหัดอบรมกาย วาจา และจิตจิของมนุษย์ ให้สามารถค้นพบและควบคุมคุ ตนเอง เรียรีนรู้ และพัฒพันาตนเองโดยใช้ปัช้ ปัญญา เพื่อพื่ ให้เกิดประโยชน์แก่ ตนเอง และผู้อื่น การจัดจักระบวนการเรียรีนรู้โรู้ดย ใช้หช้ลักไตรสิกสิขา เป็นป็กลวิธีวิกธีาร สอนที่ใช้หช้ลักการทางพุทธศาสนา (แนวทางวิถีวิ ถีพุทธ) ศีล สมาธิ ปัญญา มาใช้เช้ป็นป็ตัวกำ หนด พฤติกรรม พฤติสัมสัพันพัธ์ ทางกาย วาจา จิตจิ ใจ เพื่อพื่ ให้เกิดปัญญาใน การเรียรีนรู้อรู้ย่าย่งแท้จริงริซึ่งซึ่ก็คือ K:P:A นั่นนั่เอง


เมื่อมื่เด็กได้รับรัการเตรียรีม ความพร้อร้มทั้งกาย วาจา และจิตจิ ใจ พฤติกรรมที่ เกิดขึ้นขึ้ได้แก่ ปฏิบัติบั ตินดี ปฏิบัติบั ติงานชอบ มีคมีวามมุ่งมุ่มั่นมั่ตั้งใจ รักรัการเรียรีนรู้ ปัญญาดี มีคมีวามรู้ และทักษะต่างๆ อ่าน คิดวิเวิคราะห์ และเขียขีนสื่อสื่ ความหมายได้ ไตรสิกสิขา กระบวนการเรียรีนรู้แรู้บบองค์รวม กระบวนการเรียรีนรู้ที่รู้ ที่ ยึดยึหลักไตรสิกสิขานั้นนั้มุ่งมุ่เน้นให้ นักเรียรีนเกิดความรู้ ความคิดซึ่งซึ่เป็นป็ตัวปัญญา (Knowledge: K) และนำ ความรู้ไรู้ปพัฒพันาทักษะ/ ความสามารถ และวิธีวิกธีารเรียรีนรู้ สร้าร้งสรรค์ผล งานที่เกิดจากการปฏิบัติบั ติ กิจกรรม(Process&Product : P ) และในขณะ ลงมือมืปฏิบัติบั ตินักเรียรีนจะแสดงพฤติกรรมที่สะท้อน ถึงคุณคุลักษณะอันพึงพึประสงค์(Affective : A ) สอดคล้องกับภาระงานที่ได้ปฏิบัติบั ติจึงจึถือว่าว่เป็นป็การ จัดจัการเรียรีนรู้ที่รู้ ที่ ครบองค์รวม (K:P:A)


เมื่อมื่สังสัคมโลกมีกมีารเปลี่ยนแปลง มิติมิ ติของสังสัคม เศรษฐกิจ และ วัฒวันธรรมแบบเดิม อาจต้องถูกถูทับซ้อซ้นด้วยแนวคิด รูปแบบวิธีวิกธีาร ความเชื่อชื่และเทคโนโลยีที่ยี ที่ ผุดเกิดขึ้นขึ้ ใหม่ๆม่ตามยุคสมัยมัทุกทุคนข้าข้มผ่าน วันวัเวลาที่ผันเปลี่ยนและยืนยืหยัดยัอยู่ใยู่ห้ได้ในสังสัคมสมัยมั ใหม่ พัฒพันาตนเอง ให้เป็นป็ทรัพรัยากรมนุษย์ขย์องวันวันี้และอนาคตข้าข้งหน้า ให้สมบูรณ์อย่าย่ง เต็มกำ ลัง สังสัคมที่โลกเต็มไปด้วยการเปลี่ยนแปลง การปรับรัตัว และการ บริหริารจัดจัการเพื่อพื่รองรับรัการเปลี่ยนแปลงเหล่านั้นนั้ โลกในศตวรรษที่ 21 ถือเป็นป็ช่วช่งที่มีกมีาร เปลี่ยนแปลงอย่าย่งรวดเร็วร็ โดยความเปลี่ยนแปลง ดังกล่าว มีคมีวามแตกต่างจากศตวรรษที่ 19 และ 20 อย่าย่งสิ้นสิ้เชิงชิเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมในอดีต ได้ถูกถูแทนที่ด้วยเศรษฐกิจและบริกริารที่ขับขัเคลื่อน ด้วยข้อข้มูลความรู้แรู้ละนวัตวักรรม และไม่ว่ม่าว่จะหันไปทางใด ก็จะ เห็นการนำ เทคโนโลยีไยีปใช้ใช้น การเพิ่มพิ่ผลผลิตแทนการใช้ แรงงาน เห็นว่าว่คนที่จะประสบ ความสำ เร็จร็ได้จะต้องมีทัมี ทักษะใน การเผชิญชิกับโลกที่ซับซัซ้อซ้นขึ้นขึ้ จะต้องเป็นป็ผู้ที่มีทัมี ทักษะที่เรียรีกว่าว่ “ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21” ซึ่งซึ่สามารถแบ่งบ่ ได้กว้าว้งๆ เป็นป็ 3 ด้าน คือ ทักษะชีวิชีตวิและการทำ งาน ทักษะการ เรียรีนรู้แรู้ละนวัตวักรรม และทักษะด้านสารสนเทศ สื่อสื่และเทคโนโลยี โลก ศตวร 2 รษที่ 1 "ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21"


ทักษะแห่งศตวรรษที่ ทักษะการเรียรีนรู้ ทักษะชีวิชีตวิ ทักษะเทคโนโยลี


วิถี วิ ถี เด็กดี บ้า บ้ นสุม สุ าลีพอเพีย พี ง


Click to View FlipBook Version