จากใจ...จ๊าบ
35 ปี กับชีวิตในระบบราชการ
ท่ีมีทั้งสุข ทั้งทุกข์ และท้าทาย...
ใครจะว่าอย่างไรก็ช่าง แต่ขอบอกเลยว่า
ดีใจค่ะ ดีใจท่ีได้เกิดมาเป็น
“ข้า” ของ “พระราชา”
บนผืนแผ่นดินนี้…
รบั ราชการเรม่ิ แรกทส่ี ำ� นกั งาน ก.พ. ตอนจบมาใหม ่ ๆ กไ็ ปสมคั รงานหลายที่
แต่สุดท้ายแม่ก็บอกว่าให้มาเป็นข้าราชการท่ี ก.พ. น่ีแหละ
ไม่อยากจะคุยว่าตอนไปสอบสมัครงาน (ตอนน้ันไปหลายแห่ง ท้ังภาครัฐ
ท้ังรัฐวิสาหกิจดัง ๆ) แล้วไม่ไปสัมภาษณ์ มีหน่วยงานหน่ึงโทรมาถามว่า…ท�ำไมไม่ไป
สัมภาษณ์ เราอยากได้คุณนะ คุณได้คะแนน Aptitude test สูงมาก ไม่เคยมีใครได้
เท่าคุณมาก่อนเลย…แต่สุดท้ายก็ไปอยู่ ก.พ. นี่แหละ
ท่ี ก.พ. ก็เป็นข้าราชการรุ่นแรกท่ีเข้าการ recruit ด้วยระบบ assessment
test…คือ ท่ีอยากจะบอกคือจะบอกว่า กว่าจะเข้ามาเป็นข้าราชการได้นี่น่ะ ไม่ใช่
กระจอก ๆ นะคะ
4
ทำ� งานอย ู่ ก.พ. ไดพ้ บเนอื้ คทู่ ่ี recruit มาดว้ ยกนั เปน็ เพอื่ นกนั เปน็ แฟนกนั
เป็นสามี-ภริยากัน มีลูกด้วยกัน 1 คน เรียกว่าโชคดีที่มีครอบครัวอบอุ่น อาจมี
เถยี งกนั บา้ ง ทะเลาะกนั บา้ ง แตก่ ร็ ว่ มทกุ ขร์ ว่ มสขุ กนั มาเกอื บ 30 ป ี … ตอ้ งขอบคณุ
คณุ สาม ี นครเขตต ์ สทุ ธปรดี า (กงุ้ ) และขอบคณุ คณุ ลกู นครศิ ร ์ เทพหสั ดนิ ณ อยธุ ยา
สทุ ธปรดี า (นอ้ งกง้ั ) … ทเี่ ปน็ พลงั ในการสรา้ งครอบครวั ทอ่ี บอนุ่ ดว้ ยกนั ตลอดมาคะ่
ยา้ ยงานครงั้ แรก กเ็ มอ่ื ตอนไปอยสู่ ำ� นกั งาน ก.พ.ร. ทำ� งานไปดว้ ยกนั กบั สามี
จนเปน็ ขา้ ราชการระดบั 10 ดว้ ยกนั ทง้ั ค ู่ (คณุ สามเี ปน็ รองเลขาธกิ าร เราเปน็ ทปี่ รกึ ษา
การพัฒนาระบบราชการ) ผู้ใหญ่ก็บอกว่าไม่ควรอยู่ด้วยกัน ควรต้องแยกไปท�ำงาน
คนละท ี่ สดุ ทา้ ยทา่ นรองนายกฯ วษิ ณ ุ เครอื งาม กช็ ว่ ยจดั การใหย้ า้ ยมาอยกู่ ระทรวง
ICT โดยคร้ังนั้น ก็มี ดร.อุตตม สาวนายน เป็นรัฐมนตรี … ถือเป็นการย้ายงาน
คร้ังที่สองของชีวิต
มาอยู่กระทรวง ICT ต�ำแหน่งผู้ตรวจ
ราชการกระทรวง ท�ำงานไปได้สักพัก
ก็เปล่ียนต�ำแหน่งไปรักษาการเป็น
เ ล ข า ธิ ก า ร ข อ ง ก ร ม ท่ี ต้ั ง ขึ้ น ใ ห ม ่
ช่ือ ส�ำนักงานคณะกรรมการ
ดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ เรียกย่อ ๆ
ว ่ า “ ส ด ช . ” ก็ เ พ่ิ ง รู ้ ว ่ า
ก า ร เ ป ็ น หั ว ห น ้ า ห น ่ ว ย
คนแรกของกรมต้ังใหม่น่ี
มันยากเยน็ แสนเขญ็ อย่างไร
5
ต้องท�ำเร่ือง admin ทั้งหลาย ตั้งแต่การออกกฎ ระเบียบ ขั้นตอนต่าง ๆ การเปิด
ระบบ Gfmis ให้เงินเข้ามาท่ี สดช. ได้ การต้ังคณะกรรมการ (คือ สดช. นอกจาก
จะเป็นกรมทางวิชาการแล้ว ยังมีหน้าที่เป็นฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการต่าง ๆ
ทงั้ ทมี่ ที า่ นนายกเปน็ ประธาน รองนายกเปน็ ประธาน รฐั มนตรเี ปน็ ประธาน มากมาย
ก่ายกอง)…งานท่ีส�ำคัญอีกงานนึงคือการฝึกพัฒนาคนให้ปรับเปล่ียนกับงานใหม่
ให้ได้
ทำ� งานไปไดส้ กั พกั กถ็ กู ยา้ ยกลบั ไปเปน็ ผตู้ รวจฯ เพราะนายสงั่ ใหท้ ำ� งานหนง่ึ
แลว้ ไมย่ อมทำ� กส็ งั่ ผดิ ๆ นหี่ วา่ …ยงั ดที ต่ี อนนนั้ มรี องนายกรฐั มนตรที า่ นพลอากาศเอก
ประจิน จั่นตอง ที่ท่านเข้าใจเรา และท่านก็เป็นนายสุดท่ีรักท่านหน่ึงของเรา
อดทนท�ำงานต่อไป
เม่ือ สดช. เป็นกรมถูกต้องตามกฎหมาย ตอนน้ันมีท่านพิเชฐ ดุรงคเวโรจน์
เปน็ รฐั มนตร ี ทา่ นกแ็ ตง่ ตงั้ ใหไ้ ปเปน็ เลขาธกิ าร สดช. (อกี ครง้ั ) ครงั้ น ้ี เตรยี มแผนงาน
โครงการ เตรยี มคน นอ้ ง ๆ เปน็ ทมี ๆ ทำ� งาน อยากให ้ สดช. เปน็ กรมทที่ ำ� งาน national
policy ดา้ น digital ตามท ี่ พ.ร.บ. ดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม พ.ศ. 2560 กำ� หนด
ไวไ้ ดจ้ รงิ ชว่ งนนั้ ทำ� งานยากมาก เงนิ กไ็ มม่ ี เพราะตอ้ งรอตดั โอนมาจากสำ� นกั งานปลดั
ทง้ั เหนอื่ ย ทงั้ สนกุ แตท่ ำ� ไปไดส้ กั พกั กโ็ ดนยา้ ยอกี คราวนดี้ หี นอ่ ยยา้ ยไปเปน็ รองปลดั
กระทรวง เพราะไปขัดใจนาย (อีกตามเคย) ก็สั่งผิด ๆ อีกแระ เราก็ไม่สามารถท�ำ
ให้ได้นี่นา
ไปเป็นรองปลัดก็สบายดี เพราะงานสบาย ๆ ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ
ในต�ำแหน่งรักษาการเลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ตาม
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ในช่วงนั้น ได้เตรียม
ความพร้อมให้ทุกคนรู้ถึงสิทธิ หน้าที่ และความเป็นส่วนตัวของตัวเองในโลกดิจิทัล
สร้างความรู้ ความเข้าใจกับทุกหน่วย ทุกฝ่ายที่ขอมา เพราะเร่ือง pdpa เป็นเรื่อง
6
ใหม่และมีผลกระทบกับตัวคนโดยตรง และยังได้รับผิดชอบให้ด�ำเนินโครงการ 5G
ด้วยการจัดต้ังศูนย์ทดสอบทดลอง 5G testbed ทดสอบ infrastructure
sharing โดยได้รับความร่วมมือจากท้ังภาครัฐและภาคเอกชนกว่า 40 หน่วยงาน
ในพ้ืนท่ีนิคมอุตสาหกรรม EEC ท่ีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตอนนนั้ กม็ ที มี งานทเ่ี ขม้ แขง็ ชว่ ยกนั ทำ� ในสว่ นของการดำ� เนนิ งานภายในสำ� นกั งานปลดั
กร็ บั ผดิ ชอบดำ� เนนิ โครงการบรหิ ารการเปลยี่ นแปลงในสำ� นกั งานปลดั กระทรวงฯ ดว้ ย
เมอื่ มกี ารเปลยี่ นรฐั มนตรเี ปน็ ทา่ นพทุ ธพิ งษ ์ ปณุ ณกนั ต ์ ทา่ นกแ็ ตง่ ตง้ั ไปเปน็
เลขาธิการ สดช. อีกครั้ง คร้ังน้ีไปด้วยความภาคภูมิใจ ตั้งใจท�ำงาน (จริง ๆ ก็ต้ังใจ
มาตลอดนะ) แต่ ท่าน รมต ท่านน ี้ support ในการทำ� งานของเราทุกเรื่อง มผี ลงาน
ออกมาเปน็ เรอ่ื งเปน็ ราวมากมาย และทา่ นกค็ อื นายสดุ ทร่ี กั อกี ทา่ นหนงึ่ !! พอเปลย่ี น
รฐั มนตรเี ปน็ ทา่ นชยั วฒุ ิ ธนาคมานสุ รณ ์ ทา่ นเองกด็ กี บั เราเชน่ กนั … ผลงานทอ่ี อกมา
ในช่วงน้ี มีผลให้คิดจัดท�ำหนังสือเล่มนี้ข้ึนมา
แม้จะเป็นระยะเวลาเพียง 1 ปี 10 เดือน 22 วัน … แต่ก็ดีใจกับตัวเอง
ท่ีได้ท�ำงานร่วมกับ ผอ. ทุกท่าน ท�ำงานร่วมกับน้อง ๆ สดช. ทุกคน ปลุกปั้นกันมา
จนเป็นแบบนี้ มีหลาย ๆ งานท่ีอยู่ในความทรงจ�ำ ไม่ว่าจะเป็น
งานโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล (Digital Infrastructures) – ต้องบอกว่า
นโยบายและแผนชาติด้านดิจิทัล ท่ี สดช. ต้องด�ำเนินการ ภารกิจนึง คือการพัฒนา
โครงสร้างพ้ืนฐานทั้งในภาคพื้นดิน พ้ืนน้�ำ ในอากาศ และอวกาศ และใน สดช.
มีกองกิจการอวกาศแห่งชาติอยู่ เราจึง focus ในงานด้านอวกาศ
ความภมู ใิ จทอี่ ยากนำ� มาเลา่ ณ ทน่ี ี้ คอื การมสี ว่ นผลกั ดนั ให ้ (รา่ ง) กฎหมาย
กจิ การอวกาศ ซงึ่ ไดผ้ า่ นความเหน็ ชอบของ คกก อวกาศ (ทม่ี ที า่ นรองนายกรฐั มนตรี
พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ เป็นประธาน (ที่นายกมอบหมาย)) และเข้าสู่ความ
7
เห็นชอบของ ครม. เมื่อ 13 กรกฎาคม 2564 เร่ืองนี้กระทรวงได้ท�ำกันมาหลายปี
มากแระ แต่มาออกได้ตอนท่านรองนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน มีเราเป็นเลขานุการ
เร่ืองน้ีได้ท�ำร่วมกับ GISTDA. โดยตรง ใครบอกว่ากิจการดาวเทียมเป็น sunset
เราขอเถยี งว่าไมจ่ ริง เพราะอนาคตของชาตใิ นการพัฒนาเทคโนโลยอี วกาศ จะไดร้ บั
อานิสงค์จากกฎหมายฉบับน้ีอย่างแท้จริง....
นอกจากน ้ี ยงั ไดท้ ำ� เรอ่ื งการใหด้ าวเทยี มตา่ งชาตเิ ขา้ มาใหบ้ รกิ ารเชงิ พาณชิ ย์
ในประเทศไทย เรียกว่าเมื่อดาวเทียมต่างชาติเข้ามาเหยียบแผ่นดิน ต้องจ่ายค่า
ธรรมเนยี มนะ ภาษาฝรง่ั เรยี ก Landing Right and Market Access เปน็ การทำ� งาน
ร่วมกับส�ำนักงาน กสทช ท่ีเราท�ำใน state level แล้ว กสทช ท�ำในระดับ firm
level คู่ขนานกันไป
งานดจิ ทิ ลั เทคโนโลย ี 5G ถอื เปน็ ดจิ ทิ ลั เทคโนโลยใี หมท่ กี่ ำ� ลงั มาแรง งานนี้
เรมิ่ มาตงั้ แตอ่ ยสู่ ำ� นกั งานปลดั แลว้ มาเปน็ ชนิ้ เปน็ อนั ตอนมาอย ู่ สดช. นแ่ี หละ โชคดี
ท่ีมีคณะกรรมการขับเคลื่อน 5G แห่งชาติ ท่ีมีท่านนายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์
จนั ทรโ์ อชา เปน็ ประธาน และรฐั มนตรกี ส็ นบั สนนุ ในการทำ� งานเตม็ ท ี่ เรามหี นา้ ทหี่ ลกั
ในการส่งเสริมเทคโนโลยีดิจิทัล เรามีส่วนผลักดันกับทีมงาน สดช. ในการจัดท�ำ
แผนปฏบิ ตั กิ าร 5G และทสี่ ำ� คญั และภมู ใิ จมากคอื ไดจ้ ดั ทำ� มาตรการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ
ให้มีนักลงทุนมาลงทุนเทคโนโลยีนี้ในประเทศไทย ท้ังในเร่ืองของ infrastructures
ท้ังเรื่องการให้ประโยชน์แก่นักลงทุนเป็นพิเศษ ทั้ง cash และ non- cash. รวมถึง
มาตรการใหก้ ารหาแหลง่ เงนิ ทนุ ใหน้ กั ลงทนุ ดว้ ย เพราะเชอ่ื มน่ั วา่ ประเทศไทยจะตอ้ ง
เป็นผู้น�ำในกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียนในการลงทุนด้านเทคโนโลยี 5G น้ี อันน�ำไปสู่การ
สร้างความเป็นที่หนึ่งในการแข่งขันทางเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล
8
เพ่อื ให้เกิดความเชอื่ มนั่ และเข้าใจเรื่องเทคโนโลยี 5G มากข้นึ จงึ ไดร้ ่วมกับ
สำ� นกั งาน กสทช ซงึ่ เปน็ ฝา่ ยเลขานกุ ารดว้ ยกนั จดั ทำ� pilot project ใน 5 sectors
9 โครงการ แม้จะเป็นที่เข้าใจกันว่าเทคโนโลยี 5G เป็นเร่ืองของการลงทุนใน
industrial based แตก่ อ็ ยากใหป้ ระชาชนชาวไทยเขา้ ใจถงึ เทคโนโลยนี ี้ วา่ ผลกระทบ
และประโยชน์ที่เกิดข้ีนจะช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนอย่างแท้จริง
ตอนนี้ เริ่มมีความรู้เรื่องเทคโนโลยี 5.5G และ 6G บ้างแระ เราขออนุญาต
ฝันต่อว่า สดช. จะเป็นผู้น�ำในการก�ำหนดทิศทาง นโยบายเรื่องนี้คนแรกนะ
งานศนู ยด์ จิ ทิ ลั ชมุ ชน ไม่กล่าวถงึ เรอื่ งศูนยฯ์ นคี้ งเป็นไปไม่ได ้ เพราะ สดช.
เปน็ กรมนโยบาย แตก่ ม็ งี านนนี้ แ่ี หละทร่ี บั โอนตอนแบง่ สว่ นราชการใหเ้ ปน็ งานปฏบิ ตั ิ
มาอยู่ที่น่ี ความภาคภูมิใจมากถึงมากที่สุดในเรื่องน้ีคือ โครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน
(Digital Community Center Project) โดย สดช. กระทรวงดจิ ทิ ลั ฯ ไดร้ บั รางวลั
ชนะเลศิ ดา้ นสงั คมและจรยิ ธรรมของเทคโนโลยสี ารสนเทศ (Ethical Dimensions
of the Information Society) จากการประกาศรางวลั World Summit on the
Information Society Prizes 2021 (WSIS 2021) ท่ีทางสหภาพโทรคมนาคม
ระหวา่ งประเทศ (International Telecommunication Union :ITU) และองคก์ าร
สหประชาชาติ (United Nations :UN) จัดการประกวด เมื่อพฤษภาคม 2564
ทผ่ี า่ นมา ถอื เปน็ หนง่ึ ในความภาคภมู ใิ จของรฐั บาลไทย และประเทศไทยเปน็ อยา่ งยง่ิ
(อ้อ!! รวมตัวเราเองด้วยค่ะ)
9
ศูนย์ดิจิทัลชุมชน เป็นจุดให้บริการประชาชน เป็นตัวแทนของรัฐในระดับ
ชมุ ชน ทงั้ ระดบั ตำ� บล และหมบู่ า้ น ทำ� หนา้ ทใ่ี นการถา่ ยทอดนโยบายรฐั สกู่ ารปฏบิ ตั ิ
ดว้ ยการสอื่ สารระหวา่ งรฐั กบั ประชาชน แนะนำ� และสง่ เสรมิ การใชง้ านอปุ กรณด์ จิ ทิ ลั
สนบั สนนุ ผปู้ ระกอบการชมุ ชนใหส้ ามารถประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในการซอ้ื ขาย
สินค้าและบริการ ประชาสัมพันธ์ชุมชน รวบรวมข้อมูล ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
และส่งเสริมให้เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างชุมชน ฯลฯ
สดช. ผลักดันให้ศูนย์ดิจิทัลชุมชนเป็นศูนย์กลางของชุมชนด้วยการท�ำ
กิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นการจัดการเรียนรู้ การรวมตัวของกลุ่มอาชีพ
ประชมุ รบั ทราบสง่ิ ทรี่ ฐั ตอ้ งการสอื่ ถงึ ประชาชน โดยมกี ลมุ่ เปา้ หมาย คอื ประชาชน
ท่ัวไป ผู้สูงอายุ คนพิการ เด็กและเยาวชน สตรี และผู้ด้อยโอกาส หรือผู้อาศัย
ในพื้นท่ีห่างไกล สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากบริการต่าง ๆ ของภาครัฐผ่าน
เทคโนโลยีดิจิทัลฯ
ปัจจุบัน มีศูนย์น้ีอยู่ท่ัวประเทศไทย ทั้ง 77 จังหวัด จ�ำนวน 2,144 ศูนย์
ได้มีการ upgrade ศูนย์ไปเม่ือปี 2563 จ�ำนวน 250 ศูนย์ และจะท�ำการ upgrade
อีก 250 ศูนย์ ในปี 2564 นี้ เป้าหมายท่ีเกิดขึ้นจะเป็นการเพ่ิมรายได้ ยกระดับ
คุณภาพชีวิตประชาชน อันจะน�ำไปสู่การลดความเหล่ือมล้�ำในสังคมอย่างแท้จริง
งานกองทุนพัฒนาดิจิทัล แม้กฎหมายดิจิทัลจะมีผลมาตั้งแต่ปี 2560
แต่ในกฎมายฉบับน้ีเขียนไว้ชัดเจนว่ากองทุนต้องด�ำเนินการตามนโยบายและ
แผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ดังน้ัน ตราบใด
ทีน่ โยบายและแผนชาติฯ ยังไมม่ ีผลบงั คบั ใช ้ กองทนุ ก็ไมส่ ามารถน�ำรายได้มาใชจ้ ่าย
อะไรได้เลย
10
กว่ากองทุนจะสามารถใช้เงินได้ก็ปี 2562 โดยท่านรัฐมนตรีพุทธิพงษ์
ท่านได้พยายามปลดล็อคท้ังหลาย (ด้วยความถูกต้อง) ท�ำให้กองทุนพัฒนาดิจิทัลฯ
สามารถนำ� เงนิ มาใชไ้ ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง จนปจั จบุ นั สามารถประกาศเปดิ ทนุ ไปแลว้ 5 ครงั้
(รวมคร้ังสุดท้าย ปี 2564 ด้วย) โดย 4 ครั้งแรก ได้อนุมัติไปทั้งหมด 148 โครงการ
ในจ�ำนวนงบประมาณท่ีอนุมัติไปท้ังส้ิน 2,646,732,444.58 ล้านบาท
โดยมีโครงการที่ภาคภูมิใจที่ได้สนับสนุนให้หน่วยงานทั้งรัฐ เอกชน และ
ประชาชนทั่วไป ได้มีโอกาสในการสร้าง innovation ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล
ตามเจตนารมณ์ของกองทุนมากมายหลายโครงการ แต่ขอยกตัวอย่างท่ีโดดเด่น
มาเล่าสู่กันฟังสัก 2 โครงการ คือ
โครงการการทดสอบเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั และ 5G สำ� หรบั ใหบ้ รกิ ารรกั ษา
โรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลันโดยใช้รถโมบายสโตรคยูนิตร่วมกับระบบปรึกษา
ทางไกล โดย ศูนย์โรคหลอดเลือดสมองศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งเป็น โครงการสร้างนวัตกรรมของการรักษาและเข้าถึงผู้ป่วย
โรคหลอดเลือดสมองได้เร็วย่ิงขึ้น เน่ืองจากโรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุการ
เสียชีวิตในประชากรไทย ประมาณ 30,000 รายต่อปี หรือคิดโดยคร่าว ๆ จะมี
ผู้ป่วยรายใหม่เกิดข้ึน ในทุก ๆ 4 นาที และ ทุก ๆ 10 นาที จะมีผู้ป่วยเสียชีวิต
จากโรคนี้ โดยในประชากรไทย มีอัตราการเสียชีวิตเป็นอันดับ 2 และ 3 ในผู้ชาย
และผู้หญิง ตามล�ำดับ โครงการนี้ได้ด�ำเนินการติดต้ังรถโมบายสโตรคยูนิตร่วมกับ
ระบบปรึกษาทางไกลจ�ำนวน 2 คัน โดยมี อุปกรณ์ที่ใช้ในการวินิจฉัยและการรักษา
ผปู้ ว่ ยอยา่ งครบถว้ น และเรม่ิ นำ� มาใชใ้ นการรกั ษาผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมอง ซง่ึ จาก
การดำ� เนนิ การเปน็ ระยะเวลาประมาณ 6 เดอื น สามารถชว่ ยเหลอื ผปู้ ว่ ยไดถ้ งึ 51 ราย
ถ้าเราสามารถขยายผลโครงการดี ๆ แบบนี้ ประเทศของเราน่าจะสามารถลดอัตรา
การเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองได้ดียิ่งขึ้นเร่ือยๆ
11
ตัวอย่างอีกโครงการ ได้แก่ โครงการพัฒนาระบบการวิเคราะห์พยาน
หลักฐานทางดิจิทัลในคดีละเมิดทางเพศต่อเด็กทางอินเทอร์เน็ต โดย ศูนย์พิทักษ์
เดก็ สตร ี ครอบครวั และปอ้ งกนั ปราบปรามการคา้ มนษุ ย ์ สาํ นกั งานตาํ รวจแหง่ ชาติ
ซงึ่ เปน็ โครงการท ี่ สดช. เลง็ เหน็ วา่ ควรสนบั สนนุ ใหเ้ กดิ ระบบสำ� หรบั การจดั การพยาน
หลักฐานต่าง ๆ อย่างครบถ้วน โดยอัตราการเผยแพร่ภาพและคลิปลามกอนาจาร
ของเด็กบนส่ือออนไลน์ สร้างความเจ็บปวดให้กับสังคมและตัวผู้ถูกกระท�ำเอง
รฐั บาลไทยจงึ รว่ มมอื กบั หนว่ ยงาน FBI ของสหรฐั อเมรกิ า และภาคประชาชน (NGO)
จัดตั้งทีมท�ำงานปราบปรามการล่วงละเมิดทางเพศต่อเด็กทางอินเทอร์เน็ต หรือ
TICAC ขน้ึ มา และสามารถจบั กมุ 215 คด ี ไดต้ วั ผกู้ ระทำ� ผดิ 248 คน และชว่ ยเหลอื
เด็กให้รอดพ้นได้มากกว่า 1000 คน ในระยะเวลาเพียงไม่ถึง 4 ปี โดย โครงการน้ี
เนน้ การสรา้ งและพฒั นาระบบการตรวจพสิ จู นพ์ ยานหลกั ฐานทางดจิ ทิ ลั โดยแบง่ ออก
เปน็ 4 สว่ น ไดแ้ ก ่ (1) ระบบการเขา้ ถงึ และคดั แยกพยานหลกั ฐานทางดจิ ทิ ลั (2) ระบบ
การจดั เกบ็ พยานหลกั ฐานทางดจิ ทิ ลั (3) ระบบการวเิ คราะหพ์ ยานหลกั ฐานทางดจิ ทิ ลั
และ (4) ระบบการตรวจพิสูจน์พยานหลักฐานทางดิจิทัล ซึ่งถือเป็นระบบบริหาร
จัดการพยานหลักฐานที่ครบถ้วนที่สามารถน�ำมาใช้ในการช่วยเหลือการบริหาร
จัดการคดีละเมิดทางเพศต่อเด็กอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน
จากกระทรวง ICT มาเป็น DES ความทรงจ�ำที่ดีมีมากกว่าที่คิด ขอเรียนว่า
มีความสุขทุกครั้งที่ได้ไปท�ำงาน ได้ท�ำงานกับนายดีดี ต้ังแต่ท่านรองนายกฯ ทีมงาน
ที่แสนดีของท่าน … ท่านรัฐมนตรีท่ี support การท�ำงานท้ังในเรื่องวิชาการ
เรอื่ งการบรหิ ารคน และทส่ี ำ� คญั ทา่ น ผอ. และนอ้ ง ๆ สดช. ทกุ คน ทไ่ี ดค้ ดิ ได ้ share
ประสบการณ์ จนได้รับความส�ำเร็จของงานร่วมกัน
12
เคยห่วง สดช. แต่ก็มีคนให้สติว่า ไม่ต้องห่วงหรอก เพราะท่านไป เขาก็ดีใจ
เพราะต�ำแหน่งเขาจะได้ขึ้นกัน.... 555 ก็คงเป็นอย่างง้ันเนอะ
แต่ก็ขอบอกว่า มีความภูมิใจกับการเกษียณด้วยต�ำแหน่ง “เลขาธิการ
คณะกรรมการดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ” ซ่ึงคิดว่า แม่ท่ีนั่งดูเรา
อยู่บนสวรรค์เองก็คงภูมิใจ และดีใจไปกับเราด้วยเช่นกัน เพราะแม่คือบุคคลส�ำคัญ
ในการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหเ้ ราเปน็ “ขา้ ราชการ” มาจนวนั น ี้ วนั เกษยี ณอายรุ าชการ
วรรณพร เทพหสั ดิน ณ อยธุ ยา
เลขาธิการคณะกรรมการดจิ ิทัลเพ่อื เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
13
15