ข
เรื่อง หนา้
คานา………………………………………………………………………………………………………… ก
สารบัญ……………………………………………………………………………………………………… ข
ผังมโนทัศน์………………………………………………………………………………………..……… ค
คาชี้แจงการใชช้ ดุ กจิ กรรมการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ (สาหรบั ครู)……………………….. ง
คาชี้แจงการใช้ชุดกจิ กรรมการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ (สาหรับนักเรียน)……………….., จ
ลาดบั ขัน้ ตอนการใช้ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้…………………………………….………………. ช
สาระ/มาตรฐาน/ตัวชวี้ ัด.................................................................................. 1
แบบทดสอบกอ่ นเรียน………………………………………………………………………………… 2
กระดาษคาตอบแบบทดสอบกอ่ นเรยี น.............................................................. 4
บตั รกิจกรรมที่ 1 เร่อื ง ไฟฟ้าสถติ ..................................................................... 5
เฉลยบตั รกจิ กรรมที่ 1 เร่ือง ไฟฟา้ สถิต............................................................. 8
บัตรเนือ้ หาที่ 1 เรอ่ื ง ชนดิ ของไฟฟ้า................................................................. 11
บัตรเนื้อหาที่ 2 เรอื่ ง ไฟฟ้าสถิต........................................................................ 13
บตั รเนอ้ื หาที่ 3 เรอ่ื ง ไฟฟ้ากระแส................................................................. 16
บตั รเน้ือหาที่ 4 เรื่อง เซลล์ไฟฟา้ เคมี................................................................. 17
บัตรเนื้อหาท่ี 5 เรอ่ื ง กระแสไฟฟา้ เหนย่ี วนา......................................................... 19
บตั รเนื้อหาที่ 6 เรอ่ื ง ชนดิ เซลล์สรุ ิยะ................................................................. 21
ค
เรื่อง หนา้
บัตรแบบฝึกหัด เรอ่ื ง ชนดิ ของไฟฟ้า................................................................ 25
เฉลยบตั รแบบฝึกหัด เรอื่ ง ชนดิ ของไฟฟา้ ......................................................... 27
แบบทดสอบหลังเรยี น...................................................................................... 29
กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลงั เรียน............................................................... 31
แบบบันทกึ คะแนนชดุ ท่ี 1 เรื่อง ชนดิ ของไฟฟ้า................................................. 32
ภาคผนวก...................................................................................................... 33
เฉลยแบบทดสอบก่อน-หลงั เรยี น...................................................................... 34
เอกสารอา้ งอิง................................................................................................. 35
ง
ผังมโนทัศน์
พลงั งานไฟฟ้า
1 ชนดิ ของไฟฟ้า
2 ความต่างศกั ย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟา้ และความตา้ นทาน
3 การตอ่ วงจรไฟฟ้า
4 เคร่ืองใช้ไฟฟ้าภายในบา้ น
5 การใชพ้ ลงั งานไฟฟ้าอยา่ งประหยัด และปลอดภยั
จ
1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 เร่ือง พลังงาน
ไฟฟ้า ประกอบดว้ ยชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ท้ังหมด 5 ชุดดงั น้ี
ชุดกิจกรรมการเรยี นรชู้ ดุ ที่ 1 ชนดิ ของไฟฟ้า
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่ 2 ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ
ความตา้ นทาน
ชุดกจิ กรรมการเรยี นร้ชู ดุ ที่ 3 การตอ่ วงจรไฟฟา้
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นร้ชู ุดที่ 4 เคร่อื งใช้ไฟฟา้ ภายในบ้าน
ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ชุดที่ 5 การใช้พลังงานไฟฟ้าอย่างประหยดั และปลอดภยั
2. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นี้คือชุดท่ี 1 ชนิดของไฟฟ้า ใช้เป็น
ส่ือการเรียนรู้ประกอบการใช้แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 1 ถึง 3 เร่ือง ชนดิ ของไฟฟา้
3. ครูควรศึกษาคาแนะนาในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เข้าใจก่อนจัด
กิจกรรมการเรยี นรู้
4. ครตู ้องชี้แจงขั้นตอนการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนเข้าใจ
ทุกคนก่อนดาเนนิ กจิ กรรมต่างๆ
5. ถ้านกั เรียนศกึ ษาชุดกจิ กรรมการเรียนรูไ้ ม่เขา้ ใจครูควรแนะนาเพิ่มเติมอาจให้
นักเรียนได้ปฏบิ ตั ิกิจกรรมท้ังในและนอกเวลาเรียนจะทาให้นักเรียนมีทักษะและมีความรู้
ความเข้าใจมากยงิ่ ขึ้น
ฉ
1. ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 เร่อื ง พลงั งานไฟฟ้า
ประกอบดว้ ยชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ท้ังหมด 5 ชุดดงั นี้
ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ชดุ ที่ 1 ชนิดของไฟฟา้
ชุดกิจกรรมการเรยี นรชู้ ดุ ท่ี 2 ความตา่ งศักย์ไฟฟา้ กระแสไฟฟา้
และความตา้ นทาน
ชุดกจิ กรรมการเรยี นรูช้ ุดที่ 3 การต่อวงจรไฟฟา้
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ชดุ ที่ 4 เครอื่ งใชไ้ ฟฟ้าภายในบา้ น
ชดุ กจิ กรรมการเรียนร้ชู ุดท่ี 5 การใชพ้ ลังงานไฟฟ้าอย่างประหยดั และปลอดภัย
โดยชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ชดุ นเ้ี ป็นชดุ ที่ 1 เรือ่ ง ชนดิ ของไฟฟา้
2. อา่ นคาช้ีแจงและลาดบั ข้นั ตอนการใชช้ ุดกิจกรรมการเรยี นร้ใู ห้เข้าใจก่อนทจ่ี ะ
ศึกษาชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้
3. ศกึ ษารายละเอียดชดุ กิจกรรมการเรยี นรใู้ หเ้ ข้าใจ
4. ปฏิบตั ติ ามบตั รคาสงั่ ในชดุ กิจกรรมการเรียนรู้
5. ทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น จานวน 10 ขอ้ เพือ่ ทดสอบความรพู้ ้ืนฐาน โดยใช้
เวลา 10 นาที
6. ปฏิบตั ิตามบัตรกิจกรรมที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟา้ สถิต จนครบกระบวนการแล้วจึง
ตรวจสอบคาตอบในหนา้ ถัดไป
7. ศึกษาบัตรเนื้อหาแลว้ ทาแบบฝึกหดั เร่ือง ชนดิ ของไฟฟ้า จนเสรจ็ แลว้ จึง
ตรวจสอบคาตอบในหนา้ ถัดไป
ช
8. หากนักเรยี นยงั ไม่เขา้ ใจหรอื สงสัยในคาตอบที่ตนเองตอบลงในบัตรกจิ กรรมที่ 1
และแบบฝึกหดั ให้นกั เรยี นกลับไปศกึ ษาในบตั รเนื้อหาอีกครัง้ เพื่อใหเ้ กดิ ความเข้าใจมาก
ยง่ิ ขึ้น
9. ทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ขอ้ โดยใช้เวลา 10 นาที
10. นกั เรียนตอ้ งไดค้ ะแนนรวมจากแบบฝึกหดั และแบบทดสอบหลงั เรียนรอ้ ยละ
80 ขนึ้ ไป จึงจะสามารถไปเรียนชุดกจิ กรรมการเรียนรูช้ ดุ ต่อไปได้ หากนักเรียนไดค้ ะแนน
รวมต่ากวา่ รอ้ ยละ 80 ใหน้ ักเรียนกลบั ไปศกึ ษาชุดกจิ กรรมการเรียนรใู้ นเลม่ นีใ้ หมอ่ ีกคร้ัง
11. ในการทาบตั รกจิ กรรมท่ี 1 แบบฝกึ หัด และแบบทดสอบหลังเรยี นชดุ ที่ 1
ขอให้นักเรยี นทาด้วยความต้ังใจ ให้ความร่วมมอื และมีความซ่อื สัตย์ตอ่ ตนเองมากท่สี ุด
โดยไม่เปิดดเู ฉลยกอ่ น
12. หากนักเรยี นเรียนไม่ทนั หรอื ยงั ไมเ่ ข้าใจ ใหร้ ับชุดกิจกรรมการเรียนรไู้ ปศกึ ษา
เพ่มิ เตมิ นอกเวลาเรียนเพือ่ ให้เข้าใจมากย่งิ ขนึ้
ซ
ใหน้ กั เรียนปฏิบัติตามลาดบั ข้นั ตอนต่อไปน้ี
อ่านคาช้แี จงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรใู้ ห้เข้าใจ
ศกึ ษารายละเอยี ดชดุ กิจกรรมการเรียนรู้
ปฏบิ ัตติ ามบัตรคาสงั่ ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้
ทาแบบทดสอบก่อนเรยี น
ศกึ ษาชดุ กิจกรรมการเรยี นรตู้ ามลาดบั
ทาแบบทดสอบหลงั เรยี น
คะแนนรวมจากการทา คะแนนรวมจากการทา
แบบฝึกหัดและ แบบฝึกหดั และ
แบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบหลงั เรยี น
มีคะแนนรวม มีคะแนนรวม
รอ้ ยละ 80 ข้ึนไป
ต่ากว่ารอ้ ยละ 80
ศกึ ษาชดุ กิจกรรมการเรียนร้ชู ดุ ตอ่ ไป ไม่ผ่านเกณฑ์
1
สาระ/มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั
สาระการเรียนรู้
สาระที่ 5 : พลังงาน
สาระท่ี 8 : ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 5.1 : เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต
การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงาน ต่อ
ชวี ติ และสิง่ แวดลอ้ ม มกี ระบวนการ สืบเสาะหาความรู้ สื่อสารส่ิงที่เรียนรู้และนาความรู้
ไปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว 8.1 : ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ใน
การสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติท่ีเกิดข้ึนส่วนใหญ่
มรี ปู แบบที่แนน่ อน สามาราอธบิ ายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูลและเคร่ืองมือที่มีอยู่ใน
ช่วงเวลาน้ัน ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสงิ่ แวดล้อมมีความเกย่ี วข้อง
สัมพนั ธ์กนั
ตวั ชวี้ ดั
ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศั กย์ กระแสไฟฟ้า
ความต้านทานและนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ (ว 5.1 ม.3/2)
2
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
ชุดกจิ กรรมการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรอ่ื ง ชนิดของไฟฟา้ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3
จานวน 10 ข้อ คะแนน 10 คะแนน ใช้เวลา 10 นาที
…………………………………………………………………………………………….…………………
คาชี้แจง ให้นักเรยี นเลือกคาตอบท่ีถกู ตอ้ งทีส่ ดุ แล้วทาเครือ่ งหมายกากบาท (X)
ลงในชอ่ งว่างท่ีตรงกบั อักษรทีเ่ ลือกในกระดาษคาตอบ
1. กระแสไฟฟา้ เกิดจากการเคลอื่ นที่ของสิ่งใด
ก. โปรตอน, อิเลก็ ตรอน ข. โปรตอน, นิวตรอน
ค. อเิ ล็กตรอน, นวิ ตรอน ง. เฉพาะอะตอมท่ีเคลือ่ นที่
2. วัตถทุ สี่ ูญเสยี อิเลก็ ตรอนให้กบั วตั ถอุ ื่น วัตถนุ น้ั จะแสดงอานาจไฟฟ้าตามข้อใด
ก. อานาจไฟฟา้ บวก ข. อานาจไฟฟ้าลบ
ค. สภาพเปน็ กลาง ง. แสดงอานาจทัง้ บวกและลบสลบั กนั
3. ไฟฟา้ กระแสตรงและไฟฟา้ กระแสสลบั นั้นมีความแตกต่างกันในเรอ่ื งใด
ก. ทิศทางการไหล ข. ความเข้มของแสง
ค. แหลง่ กาเนดิ ไฟฟ้า ง. ปริมาณกระแสไฟฟา้
4. ขอ้ ใดกลา่ วไม่ถกู ตอ้ ง
ก. ประจไุ ฟฟ้าประกอบดว้ ยโปรตอนเปน็ ขว้ั บวกและอเิ ลก็ ตรอนเป็นข้วั ลบ
ข. ประจไุ ฟฟ้าชนิดเดียวกนั จะดูดกันสว่ นประจไุ ฟฟา้ ตา่ งชนิดกนั จะผลักกนั
ค. อนุภาคท่มี ปี ระจไุ ฟฟ้าจะดูดอนภุ าคทไี่ ม่มปี ระจุไฟฟ้า
ง. อะตอมของธาตุทเ่ี ป็นกลางจะมีจานวนโปรตอนเทา่ กับจานวนอเิ ล็กตรอน
5. การไหลของกระแสไฟฟ้าเปรียบไดก้ บั การเคล่ือนทีใ่ นข้อใดได้ดีที่สดุ
ก. ควนั ไฟ ข. ลมพัดฝุน่
ค. น้าในแม่นา้ ง. คลน่ื ในทะเล
3
6. กาหนดขอ้ มลู ดงั น้ี
A = ประจไุ ฟฟา้ บวก B = ประจไุ ฟฟ้า C = อเิ ล็กตรอน
D = อะตอม E = นวิ ตรอน
กระแสไฟฟา้ เกิดจากการเคลื่อนท่ีของส่งิ ใด
ก. A, B, C ข. A, C, D ค. D, E, C ง. B, D, E
7. ทศิ ทางการไหลของกระแสไฟฟ้าเปน็ ไปตามขอ้ ใด
ก. ไหลจากขัว้ ไฟฟา้ บวกไปข้ัวไฟฟา้ ลบ
ข. ไหลไปทิศทางเดยี วกับการเคลื่อนท่ขี องประจุไฟฟา้ บวก
ค. ไหลสวนทางกบั ทิศการเคลื่อนท่ขี องประจไุ ฟฟา้ ลบ
ง. ถกู ทุกข้อ
8. ขอ้ ใดกลา่ วถูกตอ้ งเกี่ยวกับการเกิดไฟฟ้าสถิต
ก. ไฟฟ้าสถิตเกิดจากการเคลอ่ื นยา้ ยถ่ายโอนอเิ ลก็ ตรอนจากวสั ดุหน่งึ ไปวสั ดุหนง่ึ
ข. ไฟฟ้าสถติ เกดิ จากการเคลื่อนย้ายถา่ ยโอนโปรตอนจากวสั ดหุ น่ึงไปวัสดุหน่ึง
ค. ไฟฟ้าสถิตเกิดจากการเคล่อื นย้ายถา่ ยโอนนวิ ตรอนจากวัสดหุ นึ่งไปวสั ดุหนึ่ง
ง. ไมม่ ีข้อถกู
9. คากล่าวในข้อใดไมถ่ กู ตอ้ ง
ก. กระแสไฟฟ้าไมไ่ ด้เกิดขึ้นจริง เปน็ เพียงกระแสสมมตเิ ทา่ น้นั
ข. อเิ ลก็ ตรอนจะไหลจากข้ัวทีศ่ ักย์ไฟฟา้ ต่ากวา่ ผ่านตวั นาไปยงั ขั้วที่มีศักย์ไฟฟ้าสงู กวา่
ค. ทิศทางการไหลของกระแสสมมติจะไหลสวนทางกับอิเลก็ ตรอน
ง. ไฟฟา้ ท่ีสง่ ตามสายมาใช้ตามบ้านเรือนจดั เปน็ ไฟฟ้ากระแสตรง
10. จากข้อ 1 – 4 ข้อความตอ่ ไปนี้ ข้อใดกลา่ วถูกต้อง
1. ประจุไฟฟา้ ชนดิ เดยี วกันจะดูดกนั
2. ประจุไฟฟา้ ตา่ งชนดิ กันจะดูดกัน
3. ประจไุ ฟฟา้ ชนิดเดียวกันจะผลกั กนั
4. อนุภาคที่มปี ระจุไฟฟ้าจะดูดอนภุ าคทไ่ี ม่มีประจุไฟฟ้า
ก. ขอ้ 1, 2 และ 3 ข. ข้อ 2, 3 และ 4
ค. ข้อ 1, 3 และ 4 ง. ข้อ 1, 2, 3 และ 4
4
กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียนชุดท่ี 1 เรอื่ ง ชนดิ ของไฟฟ้า
ต้งั ใจทานะครับ
5
บัตรกจิ กรรมท่ี 1 เร่อื ง ไฟฟ้าสถติ
กลุม่ ที.่ .................................ชั้น...........................
สมาชิกกลุม่
1......................................................... ประธาน 5..........................................................
2.......................................................... เลขา 6..........................................................
3.......................................................... 7 ..........................................................
4........................................................... 8..........................................................
วสั ดุ - อปุ กรณ์
วัสดุ - อปุ กรณ์
1. หวี 2. ลกู โปง่ 3. ผา้ สักหลาด
4. ไม้บรรทัดพลาสตกิ 5. เศษกระดาษ
6
วธิ ที ำกำรทดลอง
การทดลองที่ 1
วิธที าการทดลอง
1.นาหวีมาถกู บั ผ้าสักหลาด
2.ยน่ื เขา้ ไปใกลเ้ ศษกระดาษชิ้นเลก็ ๆ สงั เกตการเปล่ียนแปลง
การทดลองท่ี 2
วิธที าการทดลอง
1.นาลูกโป่งมาถกู ับผ้าสกั หลาด
2.ย่ืนเขา้ ไปใกล้เศษกระดาษชิ้นเล็กๆ สงั เกตการเปล่ียนแปลง
7
บันทกึ ผลการทดลอง
ตารางบันทึกผลการทดลอง
การทดลอง ผลการทดลอง
การทดลองท่ี 1 ……………………………………………………………………………………….
การทดลองที่ 2 ……………………………………………………………………………………….
สรุปผลการทดลอง
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
8
เฉลยบัตรกจิ กรรมที่ 1 เรื่อง ไฟฟา้ สถติ
กลมุ่ ที่..................................ช้นั ...........................
สมาชกิ กลุ่ม
1......................................................... ประธาน 5..........................................................
2.......................................................... เลขา 6..........................................................
3.......................................................... 7 ..........................................................
4........................................................... 8..........................................................
วสั ดุ - อปุ กรณ์
วสั ดุ - อปุ กรณ์
1. หวี 2. ลกู โปง่ 3. ผ้าสักหลาด
4. ไม้บรรทัดพลาสติก 5. เศษกระดาษ
9
วธิ ที ำกำรทดลอง
การทดลองที่ 1
วิธที าการทดลอง
1.นาหวีมาถกู บั ผ้าสักหลาด
2.ยน่ื เขา้ ไปใกลเ้ ศษกระดาษชิ้นเลก็ ๆ สงั เกตการเปล่ียนแปลง
การทดลองท่ี 2
วิธที าการทดลอง
1.นาลูกโป่งมาถกู ับผ้าสกั หลาด
2.ย่ืนเขา้ ไปใกล้เศษกระดาษชิ้นเล็กๆ สงั เกตการเปล่ียนแปลง
10
บนั ทึกผลการทดลอง
ตารางบันทกึ ผลการทดลอง
การทดลอง ผลการทดลอง
การทดลองที่ 1 ……เศ…ษ…กร…ะ…ด…าษ…จ…ะ…ลอ…ย…ม…าต…ิด…ท…ี่ห…ว…ี ……………………………………….
การทดลองท่ี 2 ……เศ…ษ…กร…ะ…ด…าษ…จ…ะ…ลอ…ย…ม…าต…ิด…ท…ลี่ …กู โ…ป…ง่ …………………………………….
สรปุ ผลการทดลอง
………เ…มื่อ…น…า…วัส…ด…ุ …2 …ช…นดิ…ม…า…ข…ัดส…กี …นั …จ…ะ…เก…ิด…ป…ระ…จ…ุไฟ…ฟ…า้ …ข…ึ้น…………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
11
บบัตตัรเรนเน้อื ้ือหหาทาที่ 1่ี 1เรเื่อรื่องงชชนนิดดิขขอองไงฟไฟฟฟ้า้า
ชนดิ ของไฟฟ้า
ประจไุ ฟฟ้า (charge)
ประจุไฟฟ้าเป็นปริมาณทางไฟฟ้าปริมาณหน่ึงท่ีกาหนดขึ้น ธรรมชาติของสสาร
จะประกอบด้วยหน่วยย่อยๆ ท่ีมีลักษณะและมีสมบัติเหมือนกัน ท่ีเราเรียกว่า อะตอม (atom)
ภายในอะตอม จะประกอบด้วยอนุภาคมูลฐาน 3 ชนิด ได้แก่ โปรตอน (proton) นิวตรอน
(neutron) และอิเล็กตรอน
(electron) โดยท่ี โปรตอนมีประจุ
ไฟฟ้าบวกกับนิวตรอนท่ีเป็นกลาง
ทางไฟฟ้ารวมกันอยู่เป็นแกนกลาง
เรียกว่า นิวเคลียส (nucleus) ส่วน
อิเล็กตรอนมีประจุไฟฟ้าลบ จะอยู่
รอบๆ นิวเคลียส ดงั ภาพ ภาพแสดง ประจุไฟฟา้
ตามปกตวิ ตั ถุจะมสี ภาพเปน็ กลางทางไฟฟ้า กล่าวคือจะมีประจุไฟฟ้าบวกและประจุไฟฟ้า
ลบเท่ากนั เนื่องจากในแต่ละอะตอมจะมีจ านวนอนุภาคโปรตอนและอนุภาคอิเล็กตรอนเท่ากัน
เป็นไปตามกฎการอนุรักษ์ประจุ (Law of Conservation of Charge) เมื่อนาวัตถุสองชนิดมา
ถกู นั จะเกิดการถ่ายเทประจรุ ะหว่างวัตถุทั้งสองชนิด ทาให้วัตถุหนึ่งมีปริมาณประจุบวกมากกว่า
ประจลุ บ จึงมปี ระจสุ ุทธเิ ปน็ บวก และวตั ถุอีกอันหน่ึงมีปริมาณประจุลบมากกว่าประจุบวก จึงมี
ประจุสุทธิเป็นลบ หน่วยของประจุไฟฟ้าในระบบ SI เรียกว่า คูลอมบ์ (coulomb)
เขียนสญั ลกั ษณะเป็น C ประจุ 1 คลู อมบ์จะเป็นประจุรวมของอิเล็กตรอน 6.252x1018 ตัว หรือ
อเิ ล็กตรอนจะมีประจุเท่ากับ 1.602 x 10-19 คลู อมบ์
12
เราสามารถจาแนกชนดิ ของวัตถโุ ดยพจิ ารณาจากอานาจทางไฟฟ้า ดังนี้
1. วัตถุท่ีเป็นกลางทางไฟฟ้า คือ วัตถุท่ีไม่แสดงอานาจทางไฟฟ้า คือไม่ดึงดูดวัตถุใดๆ
เนือ่ งจากวตั ถมุ ีจานวนโปรตอน (+) เทา่ กบั จานวนอิเล็กตรอน (-) ตัวอย่างไดแ้ กว่ ตั ถุทวั่ ๆ ไป
2. วัตถุท่ีแสดงอานาจทางไฟฟ้า คือ วัตถุท่ีสามารถดึงดูดวัตถุใดๆ ได้ เน่ืองจากวัตถุมี
จานวนโปรตอนไม่เท่ากับจานวนอิเล็กตรอน ถ้าวัตถุมีจานวนโปรตอน (+) มากกว่าจานวน
อิเล็กตรอน (-) วัตถุจะแสดงอานาจไฟฟ้าเป็นบวก และถ้าวัตถุมีจานวนโปรตอนน้อยกว่า
อิเล็กตรอน วตั ถนุ ้นั จะแสดงอานาจไฟฟา้ เปน็ ลบ
การเกดิ ไฟฟา้
ไฟฟ้าเกิดจากการเคล่ือนทข่ี องประจุไฟฟ้าจากบริเวณหน่ึงไปยังอีกบริเวณหน่ึง ซึ่งอาจเกิด
ได้จากหลายสาเหตุ เชน่ การเสียดสี ปฏิกิริยา
ทางเคมี ความร้อน เป็นต้น ทั้งนี้ถ้าใช้
ลักษณะการเคล่ือนที่ของประจุไฟฟ้าเป็น
เกณฑ์ในการจาแนกชนิดของไฟฟ้า สามารถ
จาแนกชนิดของไฟฟ้าได้เป็น 2 ชนิด คือ
ไฟฟ้าสถิต และไฟฟา้ กระแส
ภาพแสดง ไฟฟ้าสถิตจากการถ่ายเทประจุใน
อากาศทาให้เกิดฟา้ ผา่
13
บัตรเนือ้ หาที่ 2 เรอื่ ง ไฟฟ้าสถิต
ในการดาเนินชีวิตประจาวันของเรา เราสามารถพบไฟฟ้าสถิตได้เสมอ เช่น เมื่อเรา
นามือเข้าไปใกล้จอโทรทัศน์ท่ีเพิ่งปิดใหม่ๆ หรือเม่ือเราหวีผม เส้นผมมักจะชูตามหวีขึ้นมา
ด้วย หรือการท่เี รานาไม้บรรทัดพลาสติกมาถูทผ่ี มของเรา จากนัน้ ไม้บรรทดั จะมีพลังสามารถ
ท่ีจะดูดเศษกระดาษช้ินเล็กๆ ได้ เราเรียกพลังงานเหล่าน้ีว่า ไฟฟ้าสถิต ปรากฏการณ์ไฟฟ้า
สถิตนี้ มนุษย์ค้นพบมานานแล้ว เท่าท่ีมีการบันทึกไว้เร่ิมมาตั้งแต่ 600 ปีก่อนคริสตศักราช
หรือราวๆ สมยั พุทธกาลนั่นเอง
ภาพแสดง (Thales of Miletus) นักปราชญ์ชาวกรีกช่ือ ธาลีสแห่งเมืองมิเลตุล
นกั ปราชญ์ธาลีส ผ้คู ้นพบไฟฟ้าสถิต (Thales of Miletus) นักปราชญ์ธาลีส สังเกตว่าเมื่อ
เขาหยิบแท่งอาพันมาถูกับเสื้อคลุมซึ่งทาด้วยขนสัตว์
เม่ือเขาวางแท่งอาพันไว้บนโต๊ะดังเดิมเศษวัสดุต่างๆ
เชน่ เศษไมเ้ ล็กๆ ต่างก็ว่งิ เข้ามาเกาะแทง่ อาพนั นั้นได้เอง
เขาทดลองถูอีกหลายคร้ังจึงแน่ใจว่าน่ันเป็นความจริง
ไม่ใช่ภาพลวงตา เทลีส เรียนรู้ว่าถ้าเอาอาพันถูกับ
ผา้ ขนสัตว์แล้วแท่งอาพันจะดดู วตั ถุเบาๆ ได้
ไฟฟ้าสถิต (Static electricity) เป็นไฟฟ้าท่ีเกิดขึ้นช่ัวคราว เน่ืองจากประจุไฟฟ้าที่
พ้ืนผิวของวัสดุสองชนิดไม่เท่ากัน จึงเกิดการถ่ายเทประจุระหว่างพื้นผิว เกิดแรงดึงดูดหรือ
แรงผลักระหว่างกันตามปริมาณของประจุท่ีเกิดขึ้น ซ่ึงโดยทั่วไป
แล้วประจุไฟฟ้าสามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด ได้แก่ ประจุไฟฟ้า
บวก (positive) และประจุไฟฟ้าลบ (negative) โดยอนุภาคท่ีมี
ประจุจะดึงดดู อนุภาคท่ีไม่มปี ระจไุ ด้
การเกิดไฟฟ้าสถิตสามารถเกิดได้จากการขัดสีระหว่างวัตถุ
2 ช้นิ พลังงานทเี่ กดิ จากการขัดสีกันจะทาให้เกิดการแลกเปล่ียน
ประจไุ ฟฟ้าระหว่างพน้ื ผวิ ของวตั ถุทงั้ สอง โดยไฟฟ้าสถิตสามารถ
เกดิ ได้กับวัสดุที่ไม่นาไฟฟ้า หรือวัสดุท่ีเป็นฉนวนไฟฟ้า เช่น ยาง
พลาสตกิ แกว้ เปน็ ต้น ภาพแสดงการเกิดไฟฟา้ สถิต
14
ปรากฏการณ์ธรรมชาตฟิ ้าแลบ ฟา้ ร้อง และฟา้ ผ่า เกิดจากประจุไฟฟ้าสถิตในก้อนเมฆ
มีจานวนมากจนสามารถเคล่ือนที่จากเมฆก้อนหนึ่งไปยังอีกก้อนหน่ึง เมื่อเกิดพายุฝนฟ้า
คะนองประจุไฟฟ้าในก้อนเมฆจะเกิดการถ่ายเทไปยังอีกก้อนหนึ่งอย่างรวดเร็วทาให้เสียดสี
กบั อากาศจนอากาศรอ้ นจดั และลุกไหม้เห็นแสงสวา่ งวาบเปน็ ทางท่ีเราเรียกว่า ฟ้าแลบ เม่ือ
อากาศร้อนจัด จึงขยายตัวและหดตัวอย่างรวดเร็ว ทาให้อากาศสั่นสะเทือนกลายเป็น
เสียงฟา้ ร้อง
ภาพแสดง การเกิดฟา้ แลบ
ส่วนการเกิดฟ้าผ่า เกิดจากถ่ายเทประจุไฟฟ้า
ระหว่างก้อนเมฆกับพื้นดิน ถ้ามีสิ่งกีดขวางไม่ยอมให้
ประจุผ่านไปได้สะดวก เช่น ต้นไม้ บ้าน รถยนต์ คน
สัตวต์ ่างๆ ก็จะเกิดความร้อนและลุกไหม้เป็นอันตราย
อย่างมาก หรอื ท่ีเราเรียกกันว่า ฟ้าผ่า ดังน้ันจึงสังเกต
ได้ว่าตามอาคารสูงๆ จึงมักติดสายล่อฟ้า ทาด้วย
เ ห ล็ ก ก ล้ า รู ป ส า ม ง่ า ม ไ ว้ บ น ย อ ด สุ ด ข อ ง อ า ค า ร
เชื่ อ ม ต่ อกั บ สาย ทอ งแ ด งลงม าท่ี พื้น ดิ น เพื่อ ถ่ าย เท
ประจุไฟฟา้ นาลงส่พู ้ืนดนิ
ภาพแสดง การเกดิ ฟ้าผา่
15
เบนจามิน แฟรงคลิน นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน
ไ ด้ พิ สู จ น์ ว่ า ฟ้ า แ ล บ ฟ้ า ร้ อ ง เ ป็ น ไ ฟ ฟ้ า ส ถิ ต อ ย่ า ง ห นึ่ ง
ในปี พ.ศ. 2295 เขาไดท้ ดลองปล่อยว่าวข้ึนท่ามกลางพายุ
ในฟ้าคะนอง เขาพบว่าไฟฟ้าไหลลงมาตามสายป่านท่ี
เปียกฝน ก่อให้เกิดประกายไฟที่ลูกกุญแจโลหะที่แขวนไว้
ใกล้ปลายสายป่าน การทดลองน้ีมีอันตราย มาก
อาจถึงแก่ชีวิตโชคดีท่ีแฟรงคลินรอดชีวิตมาได้ ผู้ทดลอง
แบบเดียวกันในปีต่อมาถูกฟ้าผ่าเสียชีวิต การทดลอง
ของ แฟรงคลินก่อให้เกิดการประดิษฐ์สายล่อฟ้า
เพอื่ ปอ้ งกันฟา้ ผา่ ในเวลาตอ่ มา ภาพแสดง นกั วทิ ยาศาสตร์ชาวอเมรกิ ัน
ประโยชนข์ องไฟฟ้าสถติ เบนจามิน แฟรงคลิน
มนษุ ย์เรานาคุณสมบัตขิ องไฟฟ้าสถิตมาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง เช่น การทาให้เกิด
ภาพในเครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องเอกซเรย์ การทางานของไมโครชิพในเคร่ืองคอมพิวเตอร์
เป็นตน้
ภาพแสดง ประโยชนข์ องไฟฟ้าสถิต
16
บตั รเน้ือหาท่ี 3 เรอ่ื ง ไฟฟา้ กระแส
ปัจจุบันแหล่งที่ให้พลังงานไฟฟ้ามีมากมายหลายแหล่ง ตั้งแต่ขนาดเล็กไปจนถึง
แหล่งขนาดใหญ่มาก แหล่งพลังงานไฟฟ้าที่นาไปใช้ในกิจการต่างๆ ได้สะดวกและใช้กัน
อย่างแพรห่ ลายในชีวติ ประจาวนั ได้แก่ ถา่ ยไฟฉายและแบตเตอรี่ต่างๆ ท่ีเป็นแหล่งพลังงาน
ไฟฟ้าที่ได้จากปฏิกิริยาเคมีสาหรับพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ตามอาคารบ้านเรือนและโรงงาน
อุตสาหกรรมต่างๆ สว่ นใหญม่ าจากเครอื่ งกาเนิดไฟฟ้าขนาดใหญ่ ซ่ึงผลติ พลังงานไฟฟ้าโดย
ใชว้ ิธีการเหนี่ยวนาแมเ่ หลก็ ไฟฟา้
นักเรียนได้เรียนรู้โครงสร้างอะตอมมาแล้วว่า อะตอมมีอิเล็กตรอนโคจรอยู่รอบๆ
นวิ เคลยี สเป็นวงๆ อิเล็กตรอนที่อยู่วงนอกสุดเรียกว่า อิเล็กตรอนอิสระ และถ้าอิเล็กตรอนที่
อยู่วงนอกน้ีได้รับพลังงานก็จะทาให้อิเล็กตรอนเคล่ือนท่ีไปอยู่ในอะตอมท่ีถัดไป ทาให้เกิด
การไหลของอิเล็กตรอน พลังงานท่ีจะทาให้อิเล็กตรอนในวัตถุตัวนาไหลได้คือเคร่ืองกาเนิด
ไฟฟ้า ซงึ่ จะทาหน้าท่ีทงั้ การรับและจ่ายอิเล็กตรอน ซึ่งเราเรียกว่า ขั้วไฟฟ้า โดยกาหนดไว้
วา่ ขัว้ ท่ีรบั อิเล็กตรอนเรยี กวา่ ขว้ั บวก ขว้ั ทีจ่ า่ ยอเิ ลก็ ตรอนเรียกว่าขว้ั ลบ
อิเล็กตรอนอิสระ การโคจรของอิเลก็ ตรอน อิเลก็ ตรอนอิสระ
นิวเคลียสอะตอมท่ี 1 อเิ ลก็ ตรอนอสิ ระอะตอมท่ี 2 อเิ ล็กตรอนอะตอมท่ี 3
ภาพแสดง การไหลของอิเลก็ ตรอน
การไหลของอิเล็กตรอนทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าจะมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ กระแส
ไฟฟ้าตรงและกระแสไฟฟา้ สลบั
17
บตั รเนื้อหาที่ 4 เรอื่ ง เซลลไ์ ฟฟ้าเคมี
เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electric cell) เปน็ เซลล์ไฟฟา้ ทป่ี ฏิกิรยิ าเคมเี กดิ ขึ้นภายในเซลล์
แลว้ กระแสไฟฟา้ ตวั อย่างของเซลลไ์ ฟฟา้ เคมที ่นี ักเรยี นคุ้นเคยมากท่สี ุด คอื ถา่ นไฟฉายและ
แบตเตอรี่รถยนตส์ ่วนประกอบที่สาคญั ของเซลล์ไฟฟา้ เคมี คอื ขัว้ ไฟฟ้าทัง้ สอง ซงึ่ ส่วนใหญ่
เป็นโลหะนาไฟฟ้า และอเิ ลก็ โทรไลต์ซงึ่ เปน็ สารละลายทน่ี าไฟฟา้ ได้
ภาพแสดง ตัวอยา่ งเซลล์ไฟฟา้ เคมี
เซลล์ไฟฟ้าเคมีแบ่งได้ 2 ประเภท คือ เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell) และ
เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell) เซลล์ปฐมภูมิเป็นแหล่งกาเนิดไฟฟ้าท่ีให้กระแสตรง เมื่อ
สร้างเสร็จสามารถนาไปใช้ได้ทันที เช่น ถ่านไฟฉาย ส่วนเซลล์ทุติยภูมิเป็นเซลล์ไฟฟ้าสร้าง
ขึ้นแล้วตอ้ งนาไปประจไุ ฟฟา้ เสยี ก่อนจึงจ่ายไฟได้ เมอื่ จ่ายไฟหมดนามาประจุไฟใหม่ใช้ได้อีก
โดยไม่ต้องเปล่ียนส่วนประกอบภายใน และเพ่ือให้มีกระแสไฟฟ้ามากจะต้องใช้เซลล์หลาย
แผ่นต่อกันแบบขนาน แต่ถ้าต้องการใช้แรงดันกระแสไฟฟ้าสูงขึ้นก็ต้องใช้เซลล์หลายๆ
แผ่นแบบอนุกรม เซลล์ไฟฟ้าแบบนี้มีช่ือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า สตอเรจเซลล์ หรือ
สตอเรจแบตเตอร่ี (Storage Battery) เชน่ เซลล์สะสมไฟฟา้ แบบตะกวั่
เซลลป์ ฐมภูมิ
ภาพแสดง เซลล์ปฐมภูมิ
18
ภาพแสดง จอร์จ เลอคลังเซ
(George Le Clanche) ผคู้ ดิ คน้ ถา่ นไฟฉาย
จอร์จ เลอคลงั เซ (George Le Clanche)
เปน็ เซลล์ไฟฟา้ ท่ยี ังไม่สามารถใช้งานได้ในทันที ตอ้ งทาการอดั หรือชาร์จ
ไฟฟา้ กระแสตรงเข้าไป และเมอื่ ใชพ้ ลังงานจนหมด จะสามารถนากลบั มาใช้
ใหม่ได้
ภาพแสดง เซลลท์ ุติยภูมิ
19
บตั รเนื้อหาท่ี 5 เรอื่ ง กระแสไฟฟา้ เหนยี่ วนา
แหลง่ กาเนดิ ไฟฟา้ ที่เกิดขึ้นจากพลังงานแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าที่ไดม้ าจาก
พลงั งานแมเ่ หลก็ โดยวธิ กี ารใชล้ วดตวั นาไฟฟ้าตดั ผ่านสนามแมเ่ หล็ก หรือการนา
สนามแมเ่ หล็กว่ิงตดั ผ่านลวดตัวนาอย่างใดอยา่ งหน่งึ ทง้ั สองวิธนี ีจ้ ะทาให้มกี ระแสไฟฟา้ ไหล
ในตัวนาน้นั กระแสทีผ่ ลิตได้มที ั้งกระแสตรงและกระแสสลบั
ภาพแสดง กระแสไฟฟ้าที่ได้มาจากพลงั งานแม่เหลก็
จากการทดลองพบว่า เมื่อมีการเคล่ือนท่ีของแท่งแม่เหล็ก หรือของขดลวดก็ตาม
จะเกิดมีกระแสไฟฟ้าขึ้นทาให้เข็มของเครื่องวัดกระแสไฟฟ้าเคล่ือนท่ีไป และทิศทาง
การเคล่ือนท่ีของเข็มชี้ในเคร่ืองวัดกระแสไฟฟ้าจะเป็นตรงกันข้ามกัน เม่ือทิศทาง
การเคลื่อนที่ของแท่งแม่เหล็ก หรือขดลวดก็ตามเปล่ียนแปลงไปตรงกันข้ามกับทิศทางเดิม
กระแสไฟฟา้ จะเกดิ ขึน้ เมื่อมีการเคลอ่ื นท่ขี องแทง่ แมเ่ หลก็ หรือของขดลวด
20
ในขณะทแี่ ท่งแมเ่ หลก็ มกี ารเคลือ่ นที่เท่ากับว่า สนามแม่เหลก็ ทีแ่ ผอ่ อกมารอบๆ แท่ง
แม่เหล็กมีการเครือ่ งท่ีดว้ ย และแนวของสนามแม่เหล็กนี้จะเคล่ือนท่ีตัดกับแนวของขดลวดท่ี
พันรอบแกนกระบอกหรอื เราอาจจะเขา้ ใจงา่ ยกว่าถา้ อธบิ ายว่าเม่ือแท่งแม่เหล็กอยู่น่ิงๆ แล้ว
เราดงึ หรอื ผลกั ให้ขดลวดเคลือ่ นที่ไปขดลวดตัวนานีจ้ ะเคล่ือนทตี่ ัดกบั แนวสนามแม่เหล็กที่แผ่
ออกมารอบๆ แท่งแม่เหล็ก ผลที่เกดิ ขึน้ จะทาให้เกิดกระแสไฟฟา้ ไหลผ่านวงจร กระแสไฟฟ้า
ท่ีเกินขึ้นเนื่องจากการเปล่ียนแปลงสนามแม่เหล็กนี้เรียกว่า กระแสไฟฟ้าเหน่ียวนา โดยท่ี
ทศิ ทางการไหลของกะแสไฟฟ้าจะแตกต่างกัน ถา้ ทศิ ทางการเคลื่อนทีข่ องขดลวดแตกต่างกัน
ถ้าทาให้ขดลวดเคล่ือนทีก่ ลบั ไปกลับมาตอ่ เนอ่ื งกันไป กจ็ ะทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าไหลกลับไป
กลับมาต่อเนื่องกันเช่นกัน เราเรียกกระแสไฟฟ้าแบบนี้ว่า กระแสสลับ (Alternating
current) หรือเรียกว่า กระแส AC ซ่ึงแตกต่างกับกระแสไฟฟ้าจากเซลล์ไฟฟ้าเคมีที่ให้
กระแสไฟฟ้าไหลทางเดียวตลอดเวลา ซ่ึงจะเรียกว่า กระแสตรง (Direct current) หรือ
เรยี กวา่ กระแส DC
การเกิดกระแสไฟฟ้าไหลในขดลวดเมื่อขดลวดเคลื่อนที่ตัดสนามแม่เหล็กน้ี ค้นพบ
ครั้งแรกโดยไมเคิล ฟาราเดย์ ใน
ปี พ.ศ. 2374 และหลักการนี้เองที่ได้
นามาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าที่เรา
ใช้กันอยใู่ นปัจจุบัน เคร่ืองอุปกรณ์ที่ใช้
ผลิตกระแสไฟฟ้าแบบนี้เราเรียกว่า
ไดนาโม (Dynamo)
ภาพแสดง ไดนาโม (Dynamo)
21
บตั รเนื้อหาท่ี 6 เรื่อง เซลลส์ รุ ยิ ะ
เซลลส์ ุรยิ ะ (Solar Cell) เปน็ สง่ิ ประดิษฐก์ รรมทางอิเลคทรอนิกส์ ท่ีสร้างขึ้นเพื่อเป็นอุปกรณ์
สาหรับเปลย่ี นพลงั งานแสงอาทิตยใ์ หเ้ ปน็ พลังงานไฟฟา้ โดยการนาสารก่ึงตวั นา เช่น ซลิ กิ อน ซ่งึ มรี าคา
ถูกทส่ี ุดและมีมากท่ีสุดบนพ้ืนโลกมาผา่ นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อผลิตให้เป็นแผ่นบางบริสุทธ์ิ
และทันทที ีแ่ สงตกกระทบบนแผน่ เซลล์ รงั สีของแสงทั่ีมอี นุภาคของพลังงานประกอบที่เรียกว่า โฟตอน
(Proton) จะถ่ายเทพลังงานให้กับอิเล็กตรอน (Electron) ในสารก่ึงตัวนาจนมีพลังงานมากพอท่ีจะ
กระโดดออกมาจากแรงดึงดูดของอะตอม (atom) และเคล่ือนที่ได้อย่างอิสระ ดังนั้นเม่ืออิเล็กตรอน
เคล่ือนที่ครบวงจรจะทาให้เกิดไฟฟ้ากระแสตรงข้ึน เม่อื พิจารณาลักษณะการผลิตไฟฟ้าจากเซลล์สุริยะ
พบว่า เซลล์สุริยะจะมีประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าสูงท่ีสุดในช่วงเวลากลางวัน ซ่ึงสอดคล้องและ
เหมาะสมในการนาเซลลส์ ุรยิ ะมาใช้ผลติ ไฟฟ้า เพื่อแกไ้ ขปญั หาการขาดแคลนพลังงานไฟฟ้าในช่วงเวลา
กลางวนั
การผลิตไฟฟา้ จากเซลลส์ ุริยะมีจุดเดน่ ท่ีสาคญั แตกตา่ งจากวธิ อี น่ื หลายประการ
ดังตอ่ ไปนี้
1. ไม่มชี น้ิ สว่ นท่เี คลือ่ นไหวในขณะใชง้ าน จงึ ทาให้ไมม่ มี ลภาวะทางเสียง
2. ไม่ก่อให้เกดิ มลภาวะเปน็ พิษจากขบวนการผลิตไฟฟา้
3. มีการบารงุ รักษานอ้ ยมากและใชง้ านแบบอัตโนมัติได้งา่ ย
4. ประสิทธภิ าพคงทไ่ี มข่ ึน้ กบั ขนาด
5. สามารถผลติ เป็นแผงขนาดตา่ งๆ ไดง้ ่าย ทาให้สามารถผลิตได้ปรมิ าณมาก
6. ผลติ ไฟฟ้าได้แม้มีแสงแดดอ่อนหรอื มเี มฆ
7. เปน็ การใชพ้ ลังงานแสงอาทติ ย์ทีไ่ ด้มาฟรแี ละมีไม่สิน้ สดุ
8. ผลิตไฟฟา้ ไดท้ กุ มุมโลกแมบ้ นเกาะเล็กๆ กลางทะเล บนยอดเขาสูง และในอวกาศ
9. ได้พลังงานไฟฟา้ โดยตรงซงึ่ เป็นพลังงานท่ีนามาใช้ไดส้ ะดวกทีส่ ุด
ดังนนั้ ไฟฟ้าจากเซลล์สรุ ยิ ะจงึ เปน็ ความหวงั ของคนทว่ั โลก ในศตวรรษที่ 21 ท่จี ะมาถงึ ในอีก
ไม่นาน
22
ภาพแสดง เซลล์สุริยะ
ประวตั ิความเป็นมาของเซลล์สรุ ยิ ะ
เซลล์สุริยะถูกสร้างขึ้นมาครั้งแรกในปี ค.ศ. 1954 (พ.ศ. 2497) โดย แชปปิน (Chapin)
ฟูลเลอร์ (Fuller) และเพียสัน (Pearson) แห่งเบลล์เทลเลโฟน (Bell Telephon) โดยท้ัง 3 ท่านน้ีได้
คน้ พบเทคโนโลยกี ารสรา้ งรอยต่อ พี-เอน็ (P-N) แบบใหม่ โดยวิธีการแพร่สารเข้าไปในผลึกของซิลิกอน
จนได้เซลลส์ ุริยะอันแรกของโลก ซ่งึ มีประสทิ ธิภาพเพยี ง 6% ซึง่ ปจั จบุ ันนี้เซลลส์ ุรยิ ะได้ถูกพฒั นาขึ้นจน
มีประสิทธิภาพสูงกว่า 15% แล้ว ในระยะแรกเซลล์สุริยะส่วนใหญ่จะใช้สาหรับโครงการด้านอวกาศ
ดาวเทียมหรือยานอวกาศที่ส่งจากพ้ืนโลกไปโคจรในอวกาศ ก็ใช้แผง เซลล์สุริยะเป็นแหล่งกาเนิด
พลังไฟฟ้า ต่อมาจึงได้มีการนาเอาแผงเซลล์สุริยะมาใช้บนพื้นโลกเช่นในปัจจุบันน้ี เซลล์สุริยะใน
ยคุ แรกๆ ส่วนใหญจ่ ะมีสีเทาดา แต่ในปัจจุบันนี้ได้มีการพัฒนาให้เซลล์สุริยะมีสีต่างๆ กันไป เช่น แดง
น้าเงิน เขยี ว ทอง เป็นตน้ เพอ่ื ความสวยงาม
ประเภทของ " เซลล์สุริยะ " เซลล์สุริยะที่นิยมใช้กันอยู่ในปัจจุบันจะแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม
ใหญ่ๆ คือ
1. กลุ่ม เซลล์สุริยะท่ีทาจากสารก่ึงตัวนาประเภทซิลิคอน จะแบ่งตามลักษณะของผลึกที่
เกิดขึ้น คือ แบบที่เป็น รูปผลึก ( Crystal ) และแบบท่ีไม่เป็นรูปผลึก (Amorphous) แบบท่ีเป็นรูป
ผลึก จะแบ่งออกเป็น2 ชนิด คือ ชนิดผลึกเด่ียวซิลิคอน ( Single Crystalline Silicon Solar Cell)
และ ชนิดผลึกรวมซิลิคอน ( Poly Crystalline Silicon Solar Cell) แบบท่ีไม่เป็นรูปผลึก คือ
ชนิดฟิลม์ บางอะมอรฟ์ สั ซลิ คิ อน ( Amorphous Silicon Solar Cell)
23
2. กลุ่มเซลล์สุริยะท่ีทาจากสารประกอบท่ีไม่ใช่ซิลิคอน ซึ่งประเภทน้ี จะเป็นเซลล์สุริยะท่ีมี
ประสทิ ธภิ าพสูงถงึ 25% ขึ้นไป แต่มรี าคาสงู มาก ไมน่ ิยมนามาใชบ้ นพื้นโลก จงึ ใชง้ านสาหรับดาวเทียม
และระบบรวมแสงเป็นส่วนใหญ่ แต่การพัฒนาขบวนการผลิตสมัยใหม่จะทาให้มีราคาถูกลง และ
นามาใชม้ ากข้นึ ในอนาคต ( ปจั จุบันนามาใชเ้ พยี ง 7 % ของปรมิ าณทมี่ ีใชท้ ัง้ หมด)
การผลติ ไฟฟา้ ดว้ ยเซลลส์ ุรยิ ะการผลิตกระแสไฟฟ้าดว้ ยเซลลส์ ุริยะ แบง่ ออกเป็น 3 ระบบ คอื
การผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยเซลล์สุริยะแบบอิสระ (PV Stand alone system) เป็นระบบ
ผลิตไฟฟ้าที่ได้รับการออกแบบสาหรับใช้งานในพื้นที่ชนบทท่ีไม่มีระบบสายส่งไฟฟ้า อุปกรณ์ระบบที่
สาคัญประกอบดว้ ยแผงเซลลส์ ุรยิ ะ อปุ กรณค์ วบคุมการประจุแบตเตอรี่ แบตเตอรี่ และอุปกรณ์เปล่ียน
ระบบไฟฟา้ กระแสตรงเปน็ ไฟฟา้ กระแสสลบั แบบอิสระ
การผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยเซลล์สุริยะแบบต่อกับระบบจาหน่าย (PV Grid connected
system) เป็นระบบผลิตไฟฟ้าท่ีถูกออกแบบสาหรับผลิตไฟฟ้าผ่านอุปกรณ์เปลี่ยนระบบไฟฟ้า
กระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับ เข้าสู่ระบบสายส่งไฟฟ้าโดยตรง ใช้ผลิตไฟฟ้าในเขตเมือง หรือพ้ืนท่ี
ที่มีระบบจาหน่ายไฟฟ้าเข้าถึง อุปกรณ์ระบบท่ีสาคัญประกอบด้วยแผงเซลล์สุริยะ อุปกรณ์เปลี่ยน
ระบบไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลบั ชนดิ ต่อกับระบบจาหนา่ ยไฟฟ้า
การผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยเซลล์สุริยะแบบผสมผสาน (PV Hybrid system)
เป็นระบบผลิตไฟฟ้าท่ีถูกออกแบบสาหรับทางานร่วมกับอุปกรณ์ผลิตไฟฟ้าอ่ืนๆ เช่น ระบบ
เซลล์สุริยะกับพลังงานลม และเครื่องยนต์ดีเซล ระบบเซลล์สุริยะกับพลังงานลม และไฟฟ้าพลังน้า
เปน็ ต้น โดยรูปแบบระบบจะขนึ้ อย่กู บั การออกแบบตามวัตถปุ ระสงคโ์ ครงการเป็นกรณีเฉพาะ
คุณสมบตั ิและตัวแปรท่ีสาคัญของเซลล์สุริยะ ตัวแปรที่สาคัญที่มีส่วนทาให้เซลล์สุริยะมี
ประสิทธิภาพการทางานในแตล่ ะพ้นื ทีต่ า่ งกัน และมีความสาคัญในการพิจารณานาไปใช้ในแต่ละพ้ืนที่
ตลอดจนการนาไปคานวณระบบหรอื คานวณจานวนแผงแสงอาทติ ยท์ ่ีตอ้ งใชใ้ นแต่ละพ้ืนท่ี มีดังนี้
1. ความเข้มของแสง กระแสไฟ (Current) จะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับความเข้มของแสง
หมายความว่าเม่ือความเข้มของแสงสูง กระแสที่ได้จากเซลล์สุริยะก็จะสูงข้ึน ในขณะท่ีแรงดันไฟฟ้า
หรือโวลต์แทบจะไม่แปรไปตามความเข้มของแสงมากนัก ความเข้มของแสงที่ใช้วัดเป็นมาตรฐานคือ
ความเข้มของแสงท่ีวัดบนพื้นโลกในสภาพอากาศปลอดโปร่ง ปราศจากเมฆหมอกและวัดที่
ระดบั นา้ ทะเลในสภาพท่ีแสงอาทิตย์ตั้งฉากกับพ้ืนโลก ซึ่งความเข้ม ของแสงจะมีค่าเท่ากับ 100 mW
ต่อ ตร.ซม. หรือ 1,000 W ตอ่ ตร.เมตร ซ่ึงมคี ่าเท่ากับ AM 1.5 (Air Mass 1.5) และถ้าแสงอาทิตย์ทา
มุม 60 องศากบั พืน้ โลกความเขม้ ของแสง จะมคี ่าเท่ากบั ประมาณ 75 mW ต่อ ตร.ซม. หรือ 750 W
24
ตอ่ ตร.เมตร ซ่ึงมีค่าเทา่ กับ AM2 กรณีของแผงเซลลส์ รุ ยิ ะน้ันจะใช้ค่า AM 1.5 เปน็ มาตรฐานในการวัด
ประสิทธภิ าพของแผง
2. อุณหภมู ิ กระแสไฟ (Current) จะไมแ่ ปรตามอุณหภูมิทเ่ี ปลยี่ นแปลงไป ในขณะท่ี
แรงดนั ไฟฟา้ (โวลท์) จะลดลงเม่ืออุณหภมู ิสูงขน้ึ ซึ่งโดยเฉลย่ี แล้วทุกๆ 1 องศาทเ่ี พมิ่ ขึน้ จะทาให้
แรงดันไฟฟ้าลดลง 0.5% และในกรณีของแผงเซลล์สรุ ิยะมาตรฐานท่ีใช้กาหนดประสิทธิภาพของแผง
แสงอาทิตย์คอื ณ อุณหภมู ิ 25 องศา C เช่น กาหนดไวว้ ่าแผงแสงอาทิตยม์ แี รงดนั ไฟฟ้าทว่ี งจรเปดิ
(Open Circuit Voltage หรือ V oc) ที่ 21 V ณ อณุ หภูมิ 25 องศา C ก็จะหมายความว่า
แรงดนั ไฟฟา้ ที่จะได้จากแผงแสงอาทิตย์ เม่ือยงั ไม่ได้ตอ่ กบั อปุ กรณ์ไฟฟ้า ณ อุณหภูมิ 25 องศา C จะ
เทา่ กบั 21 V ถ้าอณุ หภูมิสูงกว่า 25 องศา C เชน่ อณุ หภูมิ 30 องศา C จะทาให้แรงดันไฟฟ้าของแผง
แสงอาทติ ย์ลดลง 2.5% (0.5% x 5 องศา C) น่ันคอื แรงดันของแผงแสงอาทติ ย์ที่ V oc จะลดลง
0.525 V (21 V x 2.5%) เหลือเพยี ง 20.475 V (21V)
25
) บตั รแบบฝกึ หดั เร่ือง ชนดิ ของไฟฟ้า
คาช้แี จง โปรดพิจารณาวา่ ขอ้ ความตอ่ ไปนก้ี ลา่ วถกู หรือกลา่ วผิด คะแนนเตม็ คะแนนท่ไี ด้
โดยทาเคร่อื งหมาย หนา้ ข้อความทก่ี ลา่ วถกู และทาเครือ่ งหมาย
หนา้ ข้อความทก่ี ล่าวผดิ พร้อมท้ังแก้ไขขอ้ ความทผ่ี ดิ ให้ถกู ต้อง 10
…………….1. อิเล็กตรอนเป็นอนุภาคท่มี ปี ระจุไฟฟา้ เปน็ บวก
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………….2. อะตอมมอี ิเล็กตรอนโคจรอยรู่ อบๆ นวิ เคลียสเปน็ วงๆ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………….3. อเิ ลก็ ตรอนทอี่ ย่วู งนอกสุดเรียกวา่ อเิ ลก็ ตรอนอสิ ระ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………….4. ถ้าอิเล็กตรอนท่อี ยู่วงนอกไดร้ ับพลงั งาน จะทาให้อิเล็กตรอนเคลอื่ นที่ไปอยู่ในอะตอมที่ถดั ไป
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………….5. ข้ัวท่รี ับอเิ ล็กตรอนเรยี กวา่ ขว้ั ลบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………….6. ขว้ั ทจ่ี ่ายอเิ ลก็ ตรอนเรียกวา่ ขัว้ บวก
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………….7. เซลล์ไฟฟ้าเคมีแบ่งได้ 2 ประเภท คือ เซลล์ปฐมภมู ิ และเซลล์ทตุ ยิ ภูมิ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………….8. เซลล์ทตุ ยิ ภูมิ เปน็ เซลล์ไฟฟา้ ทสี่ ามารถใชง้ านไดท้ ันทเี ม่ือนามาตอ่ เข้ากบั วงจรไฟฟา้
และเมื่อจา่ ยกระแสไฟฟา้ หมด จะไม่สามารถนากลบั มาใช้ใหม่ได้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………….9. ถ่านไฟฉาย เปน็ เซลลป์ ฐมภมู ิ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………….10. ไดนาโมเป็นอปุ กรณท์ ่ีทาหน้าทีเ่ ปลี่ยนพลงั งานไฟฟา้ เปน็ พลังงานกล โดยอาศัยหลักการ
เหน่ยี วนาแม่เหลก็ ไฟฟา้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
26
คาชี้แจง ใหน้ าอกั ษรหน้าข้อความท่สี มั พันธ์กนั เตมิ หน้าข้อคาถาม คะแนน คะแนนที่
เต็ม ได้
ท่กี าหนดให้
10
ก โปรตอน ข อิเล็กตรอน ค นวิ ตรอน
ง อานาจไฟฟ้าบวก จ ไฟฟ้าสถิต ฉ ไฟฟา้ กระแส
ช ไฟฟา้ กระแสตรง ซ ไฟฟ้ากระแสสลับ ฌ ธาลสี
ญ เบนจามิน แฟรงคลิน ฎ ฟา้ แลบ ฟ้าผา่ ฟา้ รอ้ ง
...................1. ประจุไฟฟ้าไมเ่ คล่ือนที่
...................2. กระแสไฟฟา้ ท่ไี หลวนสลับทิศทางไปมาตลอดเวลา
...................3. ประจุบวก
...................4. วัตถุมจี านวนโปรตอนมากกวา่ จานวนอิเล็กตรอน
...................5. นักวิทยาศาสตร์ท่คี น้ พบไฟฟา้ สถติ เป็นคนแรก
...................6. ประจุไฟฟ้ามกี ารเคล่ือนที่
...................7. เคล่อื นทวี่ นรอบๆ นิวเคลยี ส
...................8. กระแสไฟฟ้าทไ่ี ดจ้ ากถ่านไฟฉาย
...................9. นกั วทิ ยาศาสตร์ที่คน้ พบไฟฟ้าสถิตในบรรยากาศ
...................10. ปรากฏการณท์ ีแ่ สดงว่ามีไฟฟ้าสถิตในบรรยากาศ
27
เฉลยบตั รแบบฝกึ หัด เรื่อง ชนิดของไฟฟ้า
คาชแี้ จง โปรดพจิ ารณาว่าขอ้ ความต่อไปนก้ี ลา่ วถูกหรอื กล่าวผิด คะแนน คะแนนที่
โดยทาเครือ่ งหมาย หน้าข้อความท่ีกล่าวถูก และทาเคร่ืองหมาย เต็ม ได้
หน้าขอ้ ความที่กล่าวผดิ พร้อมทง้ั แก้ไขข้อความท่ผี ิดใหถ้ กู ต้อง
…………….1. อิเล็กตรอนเป็นอนุภาคทมี่ ีประจุไฟฟ้าเปน็ บวก
…………………อ…ิเล…ก็ …ต…รอ…น…เ…ปน็…อ…น…ภุ …าค…ท…่มี …ีป…ระ…จ…ไุ ฟ…ฟ…้า…เป…น็…ล…บ…………………………………………………………….
…………….2. อะตอมมอี เิ ลก็ ตรอนโคจรอยรู่ อบๆ นวิ เคลยี สเปน็ วงๆ
…………….3. อิเลก็ ตรอนทีอ่ ยู่วงนอกสดุ เรยี กว่าอเิ ล็กตรอนอิสระ
…………….4. ถ้าอิเล็กตรอนทีอ่ ยู่วงนอกได้รับพลังงาน จะทาใหอ้ ิเล็กตรอนเคลื่อนท่ีไปอยู่ในอะตอมที่ถดั ไป
…………….5. ข้ัวท่รี บั อเิ ลก็ ตรอนเรียกวา่ ขวั้ ลบ
…………………ข…้ัว…ท…ี่รับ…อ…ิเ…ล็ก…ต…ร…อน…เ…รีย…ก…ว…า่ …ข…้วั บ…ว…ก………………………………………………………………………….
…………….6. ขว้ั ทีจ่ า่ ยอิเลก็ ตรอนเรยี กว่า ขวั้ บวก
…………………ข…ัว้ …ท…่จี …่าย…อ…ิเล…ก็ …ต…รอ…น…เร…ีย…ก…วา่ …ข…ัว้ …ล…บ………………………………………………………………………….
…………….7. เซลล์ไฟฟา้ เคมีแบ่งได้ 2 ประเภท คือ เซลล์ปฐมภมู ิ และเซลลท์ ตุ ิยภูมิ
…………….8. เซลล์ทุติยภมู ิ เปน็ เซลลไ์ ฟฟา้ ท่ีสามารถใช้งานได้ทันทีเมื่อนามาตอ่ เขา้ กับวงจรไฟฟ้า
และเมอื่ จ่ายกระแสไฟฟา้ หมด จะไมส่ ามารถนากลับมาใชใ้ หม่ได้
…………………เ…ซล…ล…ป์ …ฐ…มภ…มู …ิ …เป…น็ …เซ…ล…ล…ไ์ ฟ…ฟ…้า…ท…่ีสา…ม…าร…ถ…ใช…้ง…า…นไ…ด…ท้ …ันท…เี …ม…อ่ื น…า…ม…าต…่อ…เข…า้ …ก…ับว…ง…จ…รไ…ฟ…ฟ…้า…….
…………………แ…ล…ะเ…ม…อ่ื จ…า่ …ย…กร…ะ…แ…สไ…ฟ…ฟ…้าห…ม…ด…จ…ะ…ไม…่ส…า…มา…ร…ถน…า…ก…ล…บั ม…า…ใช…้ใ…ห…ม…่ได…้ ……………………………….
…………….9. ถา่ นไฟฉาย เปน็ เซลลป์ ฐมภูมิ
…………….10. ไดนาโมเปน็ อปุ กรณท์ ่ีทาหน้าทเ่ี ปลี่ยนพลงั งานไฟฟา้ เปน็ พลังงานกล โดยอาศยั หลกั การ
เหนย่ี วนาแมเ่ หลก็ ไฟฟา้
……………………ได…น…า…โม…เป…็น…อ…ปุ …ก…รณ…์ท…ี่ท…า…ห…น…า้ ท…เี่ …ปล…่ีย…น…พ…ล…งั ง…า…นก…ล…เป…็น…พ…ล…งั …งา…น…ไฟ…ฟ…า้ …โ…ดย…อ…า…ศัย…ห…ล…ัก…กา…ร.
……………………เห…น…ี่ย…ว…นา…แ…ม…่เห…ล…็ก…ไฟ…ฟ…้า……………………………………………………………………………………….
28
คาช้แี จง ใหน้ าอกั ษรหน้าข้อความที่สมั พนั ธ์กันเตมิ หนา้ ข้อคาถาม คะแนน คะแนนที่
เต็ม ได้
ทก่ี าหนดให้
10
ก โปรตอน ข อิเล็กตรอน ค นวิ ตรอน
ง อานาจไฟฟ้าบวก จ ไฟฟ้าสถิต ฉ ไฟฟา้ กระแส
ช ไฟฟ้ากระแสตรง ซ ไฟฟ้ากระแสสลบั ฌ ธาลีส
ญ เบนจามนิ แฟรงคลิน ฎ ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า ฟา้ ร้อง
....... จ........1. ประจไุ ฟฟ้าไม่เคลือ่ นท่ี
........ซ........2. กระแสไฟฟา้ ทไ่ี หลวนสลบั ทศิ ทางไปมาตลอดเวลา
........ก........3. ประจุบวก
........ง.........4. วัตถุมจี านวนโปรตอนมากกวา่ จานวนอเิ ลก็ ตรอน
........ฌ........5. นักวทิ ยาศาสตรท์ ่คี ้นพบไฟฟา้ สถติ เป็นคนแรก
........ฉ.........6. ประจไุ ฟฟ้ามีการเคลื่อนท่ี
........ข.........7. เคลือ่ นทว่ี นรอบๆ นวิ เคลยี ส
........ช.........8. กระแสไฟฟ้าท่ไี ดจ้ ากถา่ นไฟฉาย
........ญ........9. นักวทิ ยาศาสตรท์ ี่ค้นพบไฟฟา้ สถติ ในบรรยากาศ
........ฎ........10. ปรากฏการณท์ แี่ สดงว่ามไี ฟฟ้าสถิตในบรรยากาศ
29
แบบทดสอบหลงั เรยี น
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 1 เรื่อง ชนดิ ของไฟฟ้า ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3
จานวน 10 ขอ้ คะแนน 10 คะแนน ใชเ้ วลา 10 นาที
…………………………………………………………………………………………….…………………
คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนเลอื กคาตอบทีถ่ ูกตอ้ งทีส่ ดุ แล้วทาเครื่องหมายกากบาท (X)
ลงในช่องว่างท่ตี รงกบั อกั ษรทีเ่ ลือกในกระดาษคาตอบ
1. วตั ถทุ ส่ี ูญเสียอิเล็กตรอนให้กับวัตถอุ ่ืน วัตถนุ ั้นจะแสดงอานาจไฟฟ้าตามข้อใด
ก. อานาจไฟฟา้ บวก ข. อานาจไฟฟ้าลบ
ค. สภาพเปน็ กลาง ง. แสดงอานาจท้ังบวกและลบสลับกัน
2. ข้อใดกล่าวไม่ถกู ต้อง
ก. ประจุไฟฟ้าประกอบดว้ ยโปรตอนเปน็ ขั้วบวกและอิเลก็ ตรอนเป็นขั้วลบ
ข. ประจไุ ฟฟา้ ชนิดเดยี วกนั จะดูดกันสว่ นประจุไฟฟ้าต่างชนดิ กนั จะผลกั กนั
ค. อนภุ าคทมี่ ีประจุไฟฟา้ จะดูดอนภุ าคท่ีไมม่ ีประจไุ ฟฟ้า
ง. อะตอมของธาตุท่ีเปน็ กลางจะมจี านวนโปรตอนเท่ากบั จานวนอเิ ลก็ ตรอน
3. กระแสไฟฟ้าเกดิ จากการเคลือ่ นทีข่ องส่ิงใด
ก. โปรตอน, อิเลก็ ตรอน ข. โปรตอน, นิวตรอน
ค. อิเลก็ ตรอน, นิวตรอน ง. เฉพาะอะตอมทเี่ คล่อื นท่ี
4. ไฟฟา้ กระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลบั น้ันมคี วามแตกตา่ งกนั ในเร่ืองใด
ก. ทิศทางการไหล ข. ความเข้มของแสง
ค. แหล่งกาเนดิ ไฟฟา้ ง. ปรมิ าณกระแสไฟฟา้
5. ทศิ ทางการไหลของกระแสไฟฟ้าเปน็ ไปตามขอ้ ใด
ก. ไหลจากขัว้ ไฟฟา้ บวกไปขว้ั ไฟฟ้าลบ
ข. ไหลไปทศิ ทางเดยี วกับการเคลื่อนทขี่ องประจุไฟฟ้าบวก
ค. ไหลสวนทางกบั ทิศการเคล่อื นท่ีของประจไุ ฟฟา้ ลบ
ง. ถูกทุกขอ้
30
6. กาหนดขอ้ มูลดงั นี้
A = ประจุไฟฟ้าบวก B = ประจไุ ฟฟ้า C = อเิ ลก็ ตรอน
D = อะตอม E = นิวตรอน
กระแสไฟฟา้ เกดิ จากการเคล่อื นทขี่ องส่ิงใด
ก. A, B, C ข. A, C, D ค. D, E, C ง. B, D, E
7. การไหลของกระแสไฟฟ้าเปรียบไดก้ ับการเคลอ่ื นทีใ่ นข้อใดไดด้ ีที่สดุ
ก. ควนั ไฟ ข. ลมพัดฝุ่น
ค. น้าในแมน่ า้ ง. คลน่ื ในทะเล
8. คากลา่ วในข้อใดไม่ถกู ตอ้ ง
ก. กระแสไฟฟา้ ไม่ได้เกิดข้นึ จริง เปน็ เพียงกระแสสมมติเทา่ นัน้
ข. อเิ ล็กตรอนจะไหลจากขั้วที่ศักย์ไฟฟ้าตา่ กว่าผา่ นตัวนาไปยงั ขว้ั ทม่ี ีศักยไ์ ฟฟา้ สงู กวา่
ค. ทิศทางการไหลของกระแสสมมตจิ ะไหลสวนทางกบั อิเล็กตรอน
ง. ไฟฟ้าทีส่ ่งตามสายมาใช้ตามบา้ นเรือนจัดเปน็ ไฟฟา้ กระแสตรง
9. จากข้อ 1 – 4 ข้อความตอ่ ไปนี้ ขอ้ ใดกลา่ วถูกตอ้ ง
1. ประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันจะดดู กัน
2. ประจุไฟฟา้ ต่างชนิดกันจะดูดกัน
3. ประจุไฟฟ้าชนดิ เดยี วกนั จะผลกั กนั
4. อนภุ าคทม่ี ปี ระจุไฟฟา้ จะดูดอนุภาคที่ไมม่ ีประจไุ ฟฟ้า
ก. ขอ้ 1, 2 และ 3 ข. ขอ้ 2, 3 และ 4
ค. ขอ้ 1, 3 และ 4 ง. ขอ้ 1, 2, 3 และ 4
10. ข้อใดกล่าวถูกตอ้ งเกี่ยวกับการเกดิ ไฟฟ้าสถิต
ก. ไฟฟา้ สถติ เกดิ จากการเคลอื่ นย้ายถ่ายโอนอเิ ล็กตรอนจากวัสดหุ น่ึงไปวสั ดุหน่งึ
ข. ไฟฟา้ สถิตเกดิ จากการเคลื่อนย้ายถา่ ยโอนโปรตอนจากวัสดหุ น่งึ ไปวัสดหุ น่ึง
ค. ไฟฟา้ สถติ เกดิ จากการเคลอ่ื นย้ายถา่ ยโอนนวิ ตรอนจากวัสดหุ น่งึ ไปวสั ดุหนึ่ง
ง. ไม่มขี ้อถกู
31
กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรยี นชดุ ท่ี 1 เรื่อง ชนดิ ของไฟฟ้า
สๆู้ นะครบั
32
แ แบบบนั ทึกคะแนนชดุ ท่ี 1 เรื่อง ชนิดของไฟฟา้
เคร่อื งมอื คะแนน ร้อยละ ผลการประเมนิ
เต็ม ได้ ผา่ น ไมผ่ า่ น
แบบฝกึ หดั
แบบทดสอบก่อนเรยี น
เกณฑ์การผา่ น แบบฝึกหดั และแบบทดสอบก่อนเรยี นตอ้ งได้คะแนนร้อยละ 80 ขึ้นไป
ผ่านเกณฑ์แล้ว ไชโย
33
34
เฉลยแบบทดสอบก่อน-หลังเรยี น
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น
1. ก 2. ก 3. ก 4. ข 5. ค
6. ก 7. ง 8. ก 9. ง 10. ข
เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น
1. ก 2. ข 3. ก 4. ก 5. ง
6. ก 7. ค 8. ง 9. ข 10. ก
35
เอกสารอ้างองิ
กระทรวงศกึ ษาธิการ. หลกั สูตรการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพช์ ุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2551.
กระทรวงศกึ ษาธิการ. การวดั และประเมินผลองิ มาตรฐานการเรียนรู้ ตามหลกั สูตร
การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์.
กรงุ เทพฯ : องค์การรบั สง่ สินค้าและพัสดภุ ัณฑ์, 2551.
บญั ชา แสนทวีและคณะ. 2551. คู่มอื ครู แผนจัดการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี
ท่ี 3 เลม่ 2. พมิ พค์ รงั้ ที่ 1. กรงุ เทพฯ : วฒั นาพานิช, 2551.
ประดบั นาคแก้วและคณะ. หนงั สอื เรยี นสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่
3. กรงุ เทพฯ : สานักพิมพ์แม็ค จากดั , 2551.
พิมพันธ์ เดชะคปุ ตแ์ ละคณะ. ชุดกจิ กรรมพฒั นาการคิด วทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี
3 เลม่ 2. กรงุ เทพฯ : ส านกั พมิ พ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จากดั , 2556.
ภาพประจุไฟฟา้ . [ออนไลน์] แหล่งที่มา : https://roongtiwa.wordpress.com/
[วนั ท่ี 28 เมษายน 2557]
ภาพนักปราชญ์ชาวกรกี ชือ่ ธาลสี แห่งเมอื งมิเลตลุ . [ออนไลน์] แหล่งทีม่ า :
http://online.benchama.ac.th/science/learning/sci/pra_website2/pan5.htm
ภาพการเกดิ ไฟฟ้าสถิต [ออนไลน์] แหล่งทีม่ า :
http://online.benchama.ac.th/science/learning/sci/pra_website2/pan5.htm
[วันที่ 28 เมษายน 2557]
ภาพปรากฏการณ์ธรรมชาตฟิ ้าแลบ ฟ้าร้อง. [ออนไลน์] แหล่งทีม่ า :
http://www.dlf.ac.th/dltv/dltv-
uploads/libs/html/161/electricity/test/test.htm
[วนั ที่ 28 เมษายน 2557]
36
ภาพนักวทิ ยาศาสตร์ชาวอเมรกิ นั เบนจามนิ แฟรงคลิน [ออนไลน]์ แหล่งท่ีมา :
http://online.benchama.ac.th/science/learning/sci/pra_website2/pan5.htm
[วันท่ี 28 เมษายน 2557]
ภาพไฟฟา้ กระแสตรงและกระแสสลบั . [ออนไลน]์ แหล่งท่มี า :
https://www.pinterest.com/pisitpromsorn/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B
8%9F%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%81%E0
%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%87/ [วนั ที่ 28 มนี าคม 2557]
ศรีลกั ษณ์ ผลวัฒนะและคณะ. 2548. ไฟฟ้า. พมิ พ์ครัง้ ที่ 1. กรงุ เทพฯ : หจก.สามญั นิติ
บคุ คล นยิ มวทิ ยา (แผนกการพมิ พ)์ , 2548.
สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี หนงั สือเรยี นรายวชิ าพ้ืนฐาน
วิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : สกสค. ลาดพรา้ ว, 2551.
สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. การวดั ผล
ประเมินผลวทิ ยาศาสตร์. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั ซเี อ็ดยูเคชนั จากดั , 2555.
สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คูม่ ือครูรายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์
ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 เลม่ 1. กรุงเทพฯ : สกสค. ลาดพร้าว, 2557.