The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bas130516, 2019-01-21 18:26:13

การค้าระหว่างประเทศ

หน่วยที่ 11 การค้าระหว่างประเทศ

ค ำน ำ


รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ ให้ความรู้ ในเรื่อง การค้าระหว่างประเทศและรายละเอียด

ต่างๆ เพื่อเป็นประโยชน์แก่นักเรียน นักศึกษา ได้น าไปใช้ด้านใดด้านหนึ่งในชีวิตประจ าวัน หากผิดพลาดประการใด
ขอ อภัยไว้ ณ ที่นี้




ผู้จัดท า

หน่วยที่ 11 กำรค้ำระหว่ำงประเทศ


11.1 สำเหตุของกำรเกิดกำรค้ำระหว่ำงประเทศ

เหตุผลทางเศรษฐกิจที่ท าให้ประเทศต่างๆในโลกท าการค้าขายกันเป็นเพราะว่า ไม่มีประเทศใดในโลก

สามารถผลิตสินค้าและบริการทุกอย่างได้ครบและเพียงพอกับความต้องการของผู้บริโภคภายในประเทศ ถึงแม้ว่า
บางประเทศจะมีขีดความสามารถผลิตสินค้าได้ทุกอย่างแต่อาจจะมีต้นทุนการผลิตที่สูงกว่าซึ่งไม่คุ้มค่าต่อการลงทุน

การที่แต่ละประเทศผลิตเฉพาะสินค้าที่ตนมีความถนัดหรือมีความได้เปรียบจึงเป็นสิ่งที่คุ้มค่าและเกิดประโยชน์แก่
ทุกประเทศร่วมกัน ดังนั้นการค้าระหว่างประเทศจึงเกิดขึ้นถือว่าเป็นการแบ่งงานกันท าระหว่างประเทศ ตามความ

ช านาญของประชาชน ทรัพยากรธรรมชาติและภูมิอากาศในแต่ละประเทศซึ่งเป็นการใช้ทรัพยากรของโลกให้เกิด
ประสิทธิภาพสูงสุด รัฐบาลของแต่ละประเทศจะสนับสนุนหรือเลือกใช้ความได้เปรียบหรือความถนัดในการผลิต

สินค้าและบริการ

11.2 ควำมแตกต่ำงระหว่ำงกำรค้ำระหว่ำงประเทศกับกำรตลำดระหว่ำงประเทศ

จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นได้ว่า การค้าระหว่างประเทศนั้นเป็นการแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างประเทศใด

ประเทศหนึ่งกับอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งผู้ซื้อและผู้ขายจะอยู่ห่างไกลกัน ดังนั้น การติดต่ออาจไม่สะดวกเหมือนกับผู้ซื้อ
และผู้ขายอยู่ในประเทศเดียวกัน ส่วนการตลาดระหว่างประเทศนั้น เป็นการค้าขายเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและมีการ

น าเสนอในรูปของสินค้าและบริการ โดยมีจุดประสงค์เพื่อหารขยายตลาดใหม่ ในตลาดต่างประเทศ ทั้งนี้เพื่อให้
ยอดขายมีมูลค่าสูงขึ้น แต่ถึงอย่างไรเราก็ควรที่จะหากลยุทธ์ใหม่ๆ สามารถตอบสนองความพึงพอใจได้ เพื่อส่งผลให้

ได้ก าไรสูงสุด

อย่างไรก็ตามการค้าระหว่างประเทศกับการตลาดระหว่างประเทศ ยังมีประโยชน์ร่วมกันคือ เป็นการ

สร้างสัมพันธ์ภาพที่ดีระหว่างประเทศ ทั้งนี้เพื่อเป็นการเริ่มต้นของการสร้างสัมพันธ์ทางการค้าและการตลาดที่ดีได้

11.3 ทฤษฎีกำรค้ำระหว่ำงประเทศ

ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศมุ่งอธิบายว่าเหตุใดจึงมีการแลกเปลี่ยนซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศต่างๆ

และเมื่อมีการซื้อขายกันแล้ว ราคาและปริมาณสินค้าที่ซื้อขายกันจะสูงต่ าและมากน้อยประการใด ซึ่งสามารถแบ่ง
ออกได้ดังนี้


1. ลัทธิพาณิชย์นิยม

ลัทธิพาณิชย์นิยม (Mercantilism) ได้รับความนิยมตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 ถึงกลางศตวรรษที่18 จากประเทศต่างๆ

เช่น อังกฤษ สเปน ฝรั่งเศส และเนเธอร์แลนด์ เชื่อว่าวิธีเดียวที่ชาติจะมีความร่ ารวยและมีอ านาจยิ่งใหญ่ คือ การ
ส่งออกมากกว่าการน าเข้า ซึ่งจะท าให้มีโลหะมีค่า ได้แก่ ทองค า เข้ามา ยิ่งประเทศใดมีทองค ามากขึ้นเท่าไร ก็จะ

ร่ ารวยและมีอ านาจมากขึ้นเท่านั้นดังนั้น นักพาณิชย์นิยมจึงสนับสนุนให้รัฐเร่งการส่งออกและควบคุมการน าเข้า
อย่างไรก็ตามเนื่องจากปริมาณทองค าที่มีอยู่ค่อนข้างจ ากัด ดังนั้นเมื่อประเทศหนึ่งได้ประโยชน์ก็ย่อมหมายความว่า
อีกประเทศหนึ่งเสียประโยชน์นั้นไป


2. ทฤษฎีการได้เปรียบโดยสมบูรณ์

ทฤษฎีการได้เปรียบโดยสมบูรณ์ (Absolute Advantage) เป็นทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศยุคแรกๆ โดย Adam

Smith ได้เขียนไว้ในหนังสือชื่อดัง The Wealth of Nations (1976) เป็นการสนับสนุนการค้าเสรีว่าเป็นนโยบายที่
ดีเยี่ยมส าหรับทุกประเทศในโลก เมื่อการค้าเป็นไปอย่างเสรี แต่ละประเทศก็จะท าการผลิตด้วยความรู้ความช านาญ

เป็นพิเศษเฉพาะสินค้าที่ประเทศมีความได้เปรียบโดยสมบูรณ์ ( ถ้าประเทศนั้นสามารถผลิตสินค้าชนิดหนึ่งได้
มากกว่าอีกประเทศหนึ่งด้วยปัจจัยการผลิตจ านวนที่เท่ากัน) และน าเข้าสินค้าที่มีความเสียเปรียบโดยสมบูรณ์

ดังนั้น การค้าระหว่างประเทศจึงเกิดขึ้นจากการที่ต่างฝ่ายได้เปรียบโดยเด็ดขาดจากการผลิตสินค้าคนละชนิดแล้ว
มาแลกเปลี่ยนกัน ตัวอย่างเช่น ประเทศไทยกับประเทศสหรัฐอเมริกา สมมติว่าในการผลิตสินค้าทั้ง 2 ประเทศ ต่าง
ก็ผลิตสินค้า 2 อย่างเหมือนกัน คือ ข้าวและคอมพิวเตอร์ และสมมติว่าในการผลิตสินค้าทั้ง 2 ชนิดนี้ ได้ใช้แรงงาน

เป็นปัจจัยการผลิตเพียงอย่างเดียว ดังนั้นมูลค่าของสินค้าทั้ง 2 ชนิดนี้ จึงคิดจากจ านวนแรงงานที่ใช้ไปในการผลิต
ดังตารางที่ 1.1


สินค้า ผลผลิตของแรงงาน 1วัน
ไทย สหรัฐอเมริกา

ข้าว 15 2
คอมพิวเตอร์ 5 20



ตารางที่ 1.1 แสดงมูลค่าของสินค้าทั้ง 2 ชนิด ซึ่งคิดจากจ านวนแรงงานที่ใช้ในการผลิต

3. ทฤษฎีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ

David Ricardo กล่าวว่าประเทศที่ไม่มีความได้เปรียบโดยสมบูรณ์ในการผลิตสินค้าทุกๆอย่างกับประเทศอื่น ยังคง

สามารถท าการค้าที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ทุกฝ่ายได้ ประเทศที่ด้อยประสิทธิภาพควรผลิตและส่งออกเฉพาะสินค้า
ที่ประเทศตนมีความเสียเปรียบโดยสมบูรณ์น้อยกว่า ถือได้ว่าสินค้านี้เป็นสินค้าที่ประเทศผลิตด้วยความได้เปรียบ

โดยเปรียบเทียบ ทฤษฎีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบนี้เป็นที่รู้จักแพร่หลาย และใช้อธิบายสาเหตุของธุรกิจ
การค้าระหว่างประเทศจนทุกวันนี้


สินค้า ผลผลิตของแรงงาน 1วัน
ไทย สหรัฐอเมริกา
ข้าว 15 40

คอมพิวเตอร์ 5 20


จากตารางที่ 1.2 จะเห็นได้ว่าประเทศไทยมีความเสียเปรียบโดยสมบูรณ์เมื่อเทียบกับประเทศสหรัฐฯ ในการผลิต

ข้าวและคอมพิวเตอร์ แต่การผลิตข้าวเสียเปรียบน้อยกว่า ด้วยเหตุนี้ไทยจึงมีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบในการ
ผลิตข้าวและเสียเปรียบโดยเปรียบเทียบในการผลิตคอมพิวเตอร์ ซึ่งตรงกันข้ามกับสหรัฐฯ ที่มีความได้เปรียบโดย

สมบูรณ์ในการผลิตสินค้าทั้งสองชนิด แต่ความได้เปรียบในการผลิตคอมพิวเตอร์ ( 20 ต่อ 5 ) มากกว่าในการผลิต
ข้าว ( 40 ต่อ 15 ) ดังนั้น สหรัฐฯ จึงมีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบในการผลิตคอมพิวเตอร์ การค้าเพื่อประโยชน์

ร่วมกันทั้งสองฝ่ายจึงควรอยู่ในลักษณะที่ไทยขายข้าวให้แก่สหรัฐฯ และซื้อคอมพิวเตอร์จากสหรัฐฯ นั่นเอง

4. ทฤษฎีต้นทุนค่าเสียโอกาส


ทฤษฎีต้นทุนค่าเสียโอกาส กล่าวว่าต้นทุนของสินค้าหนึ่งเท่ากับจ านวนของสินค้าชนิดที่สองที่ต้องเสียสละไปเพื่อให้
ได้รับปัจจัยการผลิตหรือทรัพยากรที่เพียงพอที่จะผลิตสินค้าชนิดแรกเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งหน่วย ทั้งนี้แรงงานไม่ใช่ปัจจัย
การผลิตเพียงอย่างเดียวที่น ามาใช้ในการผลิต ดังนั้น ต้นทุนของสินค้าจึงเกิดขึ้นจากจ านวนปัจจัยการผลิตทั้งหมดที่

ใช้ในการผลิตสินค้านั้น ประเทศที่มีต้นทุนค่าเสียโอกาสส าหรับสินค้าหนึ่งต่ ากว่าถือว่ามีความได้เปรียบโดย
เปรียบเทียบในสินค้านั้น และความเสียเปรียบโดยเปรียบเทียบในสินค้าอื่น


ต้นทุนค่าเสียโอกาสสามารถอธิบายได้โดยเส้นความเป็นไปได้ในการผลิต ( Transformation Curve ) ที่แสดง
ส่วนผสมต่างๆ ของทางเลือกอื่นทั้งหมด ส าหรับสินค้าสองชนิดที่ประเทศหนึ่งสามารถผลิตโดยการใช้ปัจจัยการผลิต

ที่มีเต็มที่ ด้วยเทคโนโลยีที่ดีที่สุดที่มีอยู่ ดังนั้น ความชันของเส้นความเป็นไปได้ในการผลิต จึงหมายถึงอัตรา
เปลี่ยนแปลงของการแปรรูป ( Marginal Rate of Transformation ) ถ้าประเทศนั้นเผชิญกับต้นทุนคงที่ เส้นความ
เป็นไปได้ในการผลิตก็จะเป็นเส้นตรงที่มีความชันเท่ากับต้นทุนค่าเสียโอกาสคงที่ และต่อราคาสินค้าเปรียบเทียบใน

ประเทศนั้น

5. ทฤษฎี Heckscher-Ohlin

ทฤษฎี Heckscher-Ohlin (H-O) เน้นในเรื่องความแตกต่างกันของปัจจัยการผลิตเริ่มต้น (Factor

Endownments) ที่แต่ละประเทศมีอยู่ และราคาปัจจัยการผลิต (Factor Prices) ระหว่างประเทศ ซึ่งถือเป็นตัว
แปรที่ส าคัญที่สุดของการค้า (โดยมีสมมติฐานว่าเทคโนโลยีและรสนิยมเหมือนกัน) ตามทฤษฏีนี้ แต่ละประเทศจะ

ส่งออกสินค้าเน้นไปที่ปัจจัยการผลิตที่มีมากโดยเปรียบเทียบซึ่งท าให้ปัจจัยการผลิตนั้นมีราคาถูก และน าเข้าสินค้า
เน้นไปที่ปัจจัยการผลิตที่หายากโดยเปรียบเทียบซึ่งปัจจัยการผลิตดังกล่าวจะมีราคาแพง


6. ทฤษฎี Leontief Paradox

ทฤษฎี Leontief Paradox เป็นการทดสอบเชิงประจักษ์ของทฤษฎี H-O ท าโดย Leontief ในปี ค.ศ. 1951 โดยใช้

ข้อมูลของสหรัฐอเมริกา ปี ค.ศ. 1947 จึงได้พบว่าสหรัฐฯมีการทดแทนการน าเข้าประมาณร้อยละ 30 เป็นสินค้าที่
ใช้ปัจจัยทุนเข้มข้นมากกว่าการที่สหรัฐฯส่งออก แม้ว่าสหรัฐฯ จะเป็นประเทศที่มีปัจจัยทุนมากที่สุดก็ตาม ผลนี้จึง
ตรงกันข้ามกับทฤษฎี H-O


7. ทฤษฎีวัฏจักรสินค้า

ทฤษฎีวัฏจักสินค้า (Product Life Cycle) เป็นทฤษฎีที่ไม่ได้น าปัจจัยการผลิดมาประกอบการพิจารณาทฤษฎีนี้มี

ข้อสมมติฐาน 3 ข้อ คือ ประการแรก ความต้องการสินค้าภายในประเทศที่น าเข้ามีมากพอที่จะกระตุ้นให้เกิดการ
ผลิตได้ ประการที่สอง ในการผลิตสินค้าใหม่มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีในราคาต่ าพอที่นะท าให้ประเทศผู้ซื้อผลิต

สินค้าแข่งขันในตลาดได้ ประการสุดท้าย การผลิตมีการประหยัดต่อขนาดโดยไม่ต้องพิจารณาว่าจะใช้แรงงานไร้
ฝีมือหรือแรงงานมีฝีมือเพียงใดอาร์ เอ เวอร์นอน (R.A. Vernon) ได้ศึกษาถึงทิศทางการค้าของโลกหลังสงครามโลก

ครั้งที่ 2 พบว่า ประเทศที่ใช้เทคโนโลยีใหม่ในการผลิตสินค้าหรือค้นพบสินค้าใหม่จะเป็นผู้ผลิตเพื่อสนองความ
ต้องการภายในประเทศ และยังเป็นผู้ส่งออกส่วนที่เหลือเพื่อให้การผลิตเกิดการประหยัดต่อขนาด และเมื่อการผลิต
ผ่านเข้าสู่จุดอิ่มตัว เทคโนโลยีการผลิตและการจัดการในการผลิตสินค้าดังกล่าวก็จะถูกถ่ายทอดไปสู่ประเทศที่เคย

ท าการน าเข้า ประเทศที่เคยน าเข้าก็จะเริ่มมีการผลิตเป็นลักษณะของการผลิตเพื่อทดแทนการน าเข้า จ าถึงจุดหนึ่ง
ที่การผลิตจากประเทศที่เคยน าเข้าเกิดการเรียนรู้และมีประสบการณ์ในการผลิตมากขึ้น ก็จะท าการส่งออกสินค้า

ดังกล่าว และเปลี่ยนนโยบายจากการผลิตเพื่อทดแทนการน าเข้ามาเป็นการส่งเสริมการผลิตเพื่อส่งออก ดังนั้น
ประเทศที่เคยส่งออกเดิมอาจจะกลับมาเป็นประเทศผู้น าเข้าสินค้าดังกล่าวแทน เพราะสูญเสียความได้เปรียบโดย

เปรียบเทียบไป

11.4 ข้อดีของกำรค้ำระหว่ำงประเทศ

ข้อดี คือ


1.ท าให้ประเทศสามารถจ าหน่ายผลผลิตส่วนเกินจากการบริโภคภายในประเทศสู่ผู้บริโภคในประเทศอื่น ท าให้
เกิดรายได้เข้าประเทศและส่งผลต่อมาตรฐานการครองชีพที่ดีของประชาชน


2.ท าให้ได้รู้จักผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ที่ไม่สามารถผลิตได้ในประเทศ ท าให้ประชาชนได้ใช้ผลิตภัณฑ์ที่ช่วยอ านวย
ความสะดวกสบายเหล่านั้น ซึ่งถ้าไม่มีการน าเข้าจากต่างประเทศประชาชนจะเสียโอกาสไป


3.ท าให้เกิดการพัฒนาของผู้ผลิตภายในประเทศต่อเทคโนโลยีใหม่ๆ รวมทั้งผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ซึ่งมีผลต่อความ
เจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจสังคมและการเมืองทั้งโดยทางตรงและโดยทางอ้อม


4.ท าให้ประชาชนได้ใช้สินค้าคุณภาพดีในราคาถูก กล่าวคือแต่ละประเทศอาจไม่สามารถผลิตสินค้าได้ทุกชนิด
เนื่องจากความช านาญของแต่ละประเทศในการผลิตสินค้าแต่ละชนิดไม่เหมือนกัน บางประเทศอาจผลิตสินค้าหนึ่ง
ได้ดีและต้นทุนต่ า ส่วนอีกประเทศอาจผลิตสินค้าชนิดอื่นได้ดีและต้นทุนต่ า การที่ทั้งสองประเทศจะเลือกผลิตสินค้า

ที่ตนมีความช านาญและมีการขายหรือแลกเปลี่ยนกันจะเป็นประโยชน์ต่อทั้งสองประเทศมากกว่า

11.5 นโยบำยกำรค้ำระหว่ำงประเทศ


นโยบายการค้าระหว่างประเทศ คือ นโยบายที่แต่ละประเทศใช้ในการน าสินค้าเข้า และส่งสินค้าออก ซึ่งอาจแบ่ง
ออกได้เป็น นโยบายแบบเสรี และ นโยบายแบบคุ้มกัน


นโยบำยกำรค้ำแบบเสรี

เป็นนโยบายที่จะส่งเสริมให้ประเทศต่างๆ น าสินค้ามาท าการค้าขายระหว่างกันอย่าง เสรี โดยปราศจากข้อจ ากัด

ใดๆ ประเทศที่จะถือนโยบายการค้าโดยเสรีจะต้องอยู่ในเงื่อนไข ดังนี้

1. ต้องด าเนินการผลิตตามหลักการแบ่งงาน คือ ทุกประเภทจะต้องเลือกผลิตเฉพาะที่มีประสิทธิภาพการผลิตสูง

2. ต้องไม่มีการเก็บภาษี หรือมีการเก็บภาษีแต่น้อย โดยไม่มีจุดมุ่งหมายให้เกิดความ ได้เปรียบเสียเปรียบ


3. ต้องไม่มีการให้สิทธิพิเศษและไม่มีข้อจ ากัดทางการค้ากับประเทศต่าง ๆ หากถือตามเงื่อนไขนี้แล้วในปัจจุบันไม่มี
ประเทศใดที่จะมีนโยบายการค้าโดยเสรีได้ อย่างเป็นทางการเพราะนโยบายลักษณะนี้ประเทศที่ก าลังพัฒนาจะ

เสียเปรียบประเทศที่พัฒนาแล้วเป็นอย่างมาก แต่บาง ประเทศมีการตกลงร่วมกันอยู่บ้าง เช่น กลุ่มสหภาพยุโรป
เป็นต้น

นโยบำยกำรค้ำแบบคุ้มกัน

เป็นนโยบายที่มุ่งสนับสนุนภาพการผลิตในประเทศ มีหลักการตรงกันข้ามกับนโยบาย การค้าโดยเสรี คือรัฐบาลจะ

ใช้เครื่องมือต่างๆ เพื่อจ ากัดการน าเข้าและส่งเสริมการส่งออก

วัตถุประสงค์ของนโยบำยกำรค้ำแบบคุ้มกัน พอสรุปได้ดังนี้


1. เพื่อให้ประเทศช่วยตนเองได้เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เช่น เมื่อเกิดสงครามขึ้น อาจจะไม่ มีสินค้าที่จ าเป็น
บางอย่างใช้ เพราะไม่สามารถน าเข้ามาตามปกติได้ ในยามปกติจึงควรเตรียม การผลิตสินค้าที่จ าเป็นส ารองไว้


2. เพื่อคุ้มครองอุตสาหกรรมภายใน โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่เพิ่งเกิดใหม่ ถ้ารัฐบาล ไม่ห้ามสินค้าจาก
ต่างประเทศเข้ามาตีตลาด อุตสาหกรรมภายในจะต้องเลิกล้มกิจการ


3. เพื่อป้องกันการทุ่มตลาด การทุ่มตลาด ได้แก่ การส่งสินค้าไปขายประเทศอื่น ในราคาที่ต่ ากว่าต้นทุน
เพื่อท าลายคู่แข่งขันในตลาดต่างประเทศ และเมื่อทุ่มตลาดส าเร็จได้ครองตลาดแห่งนั้นแล้วก็จะเพิ่มราคาสินค้าให้
สูงขึ้นในเวลาต่อมา


4. เพื่อแก้ปัญหาการขาดดุลการค้า การขาดดุลการค้า คือ มูลค่าสินค้าที่ส่งไปขายต่างประเทศน้อยกว่า
มูลค่าสินค้าที่น าเข้ามา ท าให้ต้องเสียงเงินตราต่างประเทศออกไป จ านวนมาก จึงต้องแก้ไขโดยจ ากัดการน าเข้าและ

ส่งออกให้มากขึ้น

เครื่องมือที่ใช้ในกำรด ำเนินนโยบำยกำรค้ำคุ้มกัน จะมุ่งส่งเสริมกำรส่งสินค้ำออกและกีดกันกำรน ำสินค้ำเข้ำ คือ


1. การตั้งก าแพงภาษี ( Tariff Wall ) จะใช้วิธีการจัดเก็บภาษีศุลกากรจากสินค้าน าเข้าหลายอัตรา คือ
จัดเก็บภาษีศุลกากรตั้งแต่ 2 อัตราขึ้นไปในสินค้าชนิดเดียวกัน และเลือกใช้อัตราสูงแก่สินค้าที่ต้องการจะกีดกัน
ไม่ให้น าเข้า ซึ่งเป็นมาตรการทางอ้อม


2. การควบคุมสินค้า อาจเป็นการห้ามโดยเด็ดขาดหรือก าหนดโควต้า ( Quota ) ให้น าเข้าหรือส่งออก

3. การให้การอุดหนุน ( Subsidies ) เช่น การจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่ผู้ผลิต ลดภาษีบางอย่างให้ เป็นต้น


4. การทุ่มตลาด ( Dumping ) คือ การส่งสินค้าออกไปขายต่างประเทศในราคาที่ต่ ากว่าราคาขาย
ภายในประเทศ และด้วยราคาที่ต่ ากว่าต้นทุนการผลิต ซึ่งมี 3 กรณี คือ

11.6 กำรช ำระเงินระหว่ำงประเทศ

วิธีกำรช ำระเงินในกำรค้ำระหว่ำงประเทศ


ในการท าธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ หรือการซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ ซึ่งผู้ซื้อผู้ขายอยู่กันคนละ
ประเทศ นอกจากจะต้องมีการตกลงกันว่าจะซื้อขายสินค้าอะไรปริมาณเท่าไร ราคาเท่าไร ส่งมอบกันอย่างไร ส่ง

มอบกันเมื่อไร แล้วเรื่องส าคัญที่จะตกลงกันอีกเรื่อง คือ วิธีการช าระเงิน วิธีการช าระเงินค่าสินค้า ในการค้าระหว่าง
ประเทศที่นิยมใช้กันในปัจจุบันมี 4 วิธี คือ


1. การช าระเงินล่วงหน้า (Advance Payment)

2. เปิดบัญชี (Open Account)


3. ตั๋วเงินเพื่อการเรียกเก็บที่มีเอกสารประกอบ (Documentary Bill For Collection)

4. เลตเตอร์ออฟเครดิตที่มีเอกสารประกอบ (Documentary Letter of Credit)

11.7 กำรแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศ


ความหมายของเงินตราต่างประเทศและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ

เงินตราต่างประเทศ หมายถึงเงินตราของประเทศอื่นๆซึ่งอยู่ในความครอบครองของเอกชนและรัฐบาลของประเทศ

ใดประเทศหนึ่ง 1 หน่วย ตัวอย่างเช่น เงินดอลล่าร์สหรัฐ เงินปอนด์สเตอร์ลิง เงินเยน ที่ไทยและรัฐบาลไทยมีไว้ใน
ครอบครองถือว่าเป็นเงินตราต่างประเทศในทัศนของประเทศไทย อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศคือราคา

หรือค่าของเงินตราต่างประเทศ 1 หน่วย เช่น อัตราแลกเปลี่ยนระหว่างเงินบาทกับเงินริงกิตของประเทศมาเลเซีย
คือ 10 บาทต่อ 1 ริงกิต เป็นต้น

อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศมีประโยชน์ต่อการด าเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ คือท าให้ผู้

ด าเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศสามารถรู้ได้ว่า เขาจะได้หรือเสียเงินตราต่างประเทศ และเงินตรา
ต่างประเทศของเขาเองเป็นจ านวนเงินเท่าใดจากการด าเนินกิจกรรมนั้นๆ เช่นพ่อค้าที่ส่งวิทยุจากประเทศสิงค์โปร์

เข้ามาขายในประเทศไทย จะทราบว่าวิทยุราคา 100 ดอลลาร์สิงค์โปร์ ในประเทศสิงค์โปร์นั้นมีราคาเป็นเงินบาท
เท่ากับ 2000 บาท ถ้าอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างเงินบาทและดอลลาร์สิงค์โปร์ในขณะนั้นคือ 20 บาทต่อ 1 ดอลลาร์

สิงค์โปร์

11.8 ดุลกำรค้ำและดุลกำรช ำระเงินระหว่ำงประเทศ

ดุลกำรค้ำ (Balance of Trade)


ได้แก่ การเปรียบเทียบมูลค่าของสินค้าที่ประเทศหนึ่งส่งออกขาย (export) ให้ประเทศอื่น ๆ กับมูลค่าของ
สินค้าที่ประเทศนั้นสั่งซื้อเข้ามาจ าหน่ายว่ามากน้อยต่างกันเท่าไรในระยะ 1 ปี เพื่อเปรียบเทียบว่าตนได้เปรียบหรือ

เสียเปรียบ (net export = export - import)

ยกตัวอย่างเช่น ประเทศไทยส่งสินค้าออกหลายประเภทไปขายยังประเทศญี่ปุ่น สิงคโปร์ และอีก

หลายประเทศ มีมูลค่ารวมกัน 589,813 ล้านบาท ในปี พ.ศ.2533 และในปีเดียวกันก็ได้สั่งสินค้าเข้าจากประเทศ
ต่าง ๆ มีมูลค่า 844,448 ล้านบาท เมื่อน ามาเปรียบเทียบกันจะท าให้ทราบได้ว่าได้เปรียบหรือเสียเปรียบดุลการค้า

ในการเปรียบเทียบนี้อาจแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ

1. ดุลการค้าได้เปรียบ หรือเกินดุล ได้แก่การที่ประเทศหนึ่งส่งสินค้าไปขายยังต่างประเทศมีมูลค่า

มากกว่าสั่งสินค้าเข้ามาอุปโภคบริโภค

2. ดุลการค้าเสียเปรียบ หรือขาดดุล ได้แก่การที่ประเทศหนึ่งส่งสินค้าไปขายยังต่างประเทศ มีมูลค่า
น้อยกว่าที่สั่งสินค้าเข้ามาอุปโภคบริโภค


3.ดุลการค้าสมดุล ไม่ได้เปรียบเสียเปรียบกัน หรือเท่ากันมีผลลบเป็นศูนย์กล่าวคือมูลค่าสินค้าเข้า
เท่ากับมูลค่าสินค้าส่งออก


โดยทั่วไปการใช้ดุลการค้าเพียงอย่างเดียวอาจไม่ท าให้ทราบฐานะที่แท้จริงของประเทศได้ กล่าวคือ
ดุลการค้าที่เสียเปรียบนั้น อาจไม่เป็นผลเสียใด ๆ ต่อประเทศก็ได้ เนื่องจากบันทึกเกี่ยวกับดุลการค้านั้นจะไม่รวมถึง

การน าเข้าสินค้าบางชนิด ที่ไม่ต้องช าระเป็นเงินตราต่างประเทศก็ได้เนื่องมาจากสินค้าชนิดนั้นจะมาจากการบริจาค
ช่วยเหลือ ถ้าน าเอารายการนี้มาหักออกอาจท าให้ดุลการค้าลดลงหรือการคิดราคาสินค้าเข้าและสินค้าออกต่างกัน
กล่าวคือขณะที่สินค้าเข้ารวมมูลค่าขนส่งและการประกันภัย แต่สินค้าออกไม่ได้รวมไว้ หรือการสั่งสินค้าประเภททุน

เช่น เครื่องจักรกลเข้ามาท าการผลิตสินค้า ดูเหมือนว่าจะท าให้เสียเปรียบดุลการค้าก็จริง แต่ในระยะยาวแล้วเมื่อมี
การผลิตสินค้าเพื่อการส่งออก โดยสินค้านั้นอาจท าให้ได้เปรียบดุลการค้าในระยะยาว


ประเทศที่ดุลการค้าได้เปรียบถือว่าภาวะเศรษฐกิจของประเทศนั้นเจริญ แต่อาจจะไม่เป็นผลดีต่อเศรษฐกิจ เสมอไป
เช่น เมื่อได้รับเงินตราต่างประเทศ ธนาคารกลางสามารถเพิ่มปริมาณเงินในท้องตลาดได้มาก พ่อค้าสามารถ แลก

เงินตรา ต่างประเทศมาเป็นเงินในประเทศได้มาก เมื่อปริมาณเงินในท้องตลาดมากอาจเกิดภาวะเงินเฟ้อ หรือการที่
ประเทศใด ประเทศหนึ่งได้เปรียบดุลการค้ากับประเทศอื่นติดต่อกันหลายปีจะท าให้ประเทศคู่ค้าไม่สามารถมีเงิน
มาซื้อสินค้าหรือช าระเงินได้ ย่อมเป็นผลเสียต่ออุตสาหกรรมภายในประเทศ ดังนั้นนักคิดทางเศรษฐศาสตร์จึงเห็น

ว่าไม่ควรเปรียบเทียบเฉพาะราย การสินค้า เท่านั้น จึงจะท าให้ทราบสภาวะเศรษฐกิจที่แท้จริงของประเทศ แต่ควร
มีรายการอื่น ๆ เข้ามาแสดงเปรียบเทียบด้วย และรายการอื่น ๆ ที่แสดงเปรียบเทียบนั้นแต่ละประเทศจะแสดงไว้ใน

รูปของดุลช าระเงินระหว่างประเทศ

ดุลกำรช ำระเงินระหว่ำงประเทศ

(International Balance of Payment) คือสถิติในรูปบัญชีแสดงรายรับ (หรือ credit = +) ที่ประเทศ

หนึ่งได้รับจากต่างประเทศ และรายจ่าย (หรือ debit = - ) ที่ประเทศนั้นจ่ายแก่ต่างประเทศในรอบ 1 ปี น ามา
เปรียบเทียบกัน เพื่อทราบตนได้เปรียบหรือเสียบเปรียบ โดยปกติดุลการช าระเงินจะประกอบไปด้วย


บัญชีดุลการค้า

บัญชีดุลบริการ


บัญชีดุลบริจาค

บัญชุทนหรือบัญชีเงินทุน


บัญชีการเคลื่อนย้ายเงินทุนของระบบการเงิน

จ านวนไม่ประจักษ์หรือค่าคลาดเคลื่อนสุทธิ


จากบัญชีดุลช าระเงินทั้ง 6 ชนิดนี้ บัญชีดุลการค้า บัญชีดุลบริการ และบัญชีดุลบริจาค เรียกรวมกัน
ว่า บัญชีเดินสะพัด (Current Account) เป็นบัญชีแสดงถึงการแลกเปลี่ยนเงินระหว่างประเทศเฉพาะส่วนที่เป็น
ผลิตภัณฑ์ (สินค้าและบริการ) เท่านั้น แต่ไม่มีรายการแสดงการเคลื่อนย้ายทรัพย์สินหรือทุน ซึ่งดุลการช าระเงินจะ

พิจารณาจาก ดุลการช าระเงิน = ดุลบัญชีเดินสะพัด + ดุลบัญชีทุน + จ านวนไม่ประจักษ์ ซึ่งจะแสดงผลอยู่ใน 3
ลักษณะ คือ ถ้ายอดรายรับมากว่ารายจ่าย เรียกว่า ดุลการช าระเงินเกินดุล ถ้ายอดรายรับน้อยกว่ายอดรายจ่าย

เรียกว่าดุลการช าระเงินขาดดุล และถ้ายอดรายรับหรือรายจ่ายเท่ากันหรือเป็นศูนย์เรียกว่าดุลการช าระเงินสมดุล

11.9 ควำมแตกต่ำงระหว่ำงดุลกำรค้ำและดุลกำรช ำระเงิน

ดุลการช าระเงินแตกต่างจากดุลการค้า คือ ดุลการช าระเงินบันทึกการรับจ่ายที่เกิด จากการแลกเปลี่ยนทาง

เศรษฐกิจระหว่างประเทศทุกๆ ธุรกรรม(transaction) ในขณะที่ ดุลการค้าจะบันทึกรายการเกี่ยวกับการค้า
ระหว่างประเทศ เพียงธุรกรรมเดียว ดังนั้นดุลการค้า จึงเป็นเพียงส่วนหนึ่งของดุลการช าระเงินเท่านั้น และหากว่า

ดุลการค้าไม่สมดุล ก็ไม่จ าเป็นว่า ดุลการช าระเงินจะต้องไม่สมดุลตามไปด้วย

ตามปกติดุลการช าระเงินจะมียอดบัญชีที่สมดุลอยู่เสมอ เพราะมีบัญชีทุนส ารอง ระหว่างประเทศใช้

เป็นตัวปรับความไม่สมดุลที่เกิดจากยอดรวมสุทธ ิของบัญชีอื่น ถ้าผลรวม ของบัญชีอื่นมียอดขาดดุลจะส่งผลให้ยอด
บัญชีทุนส ารองระหว่าง ประเทศลดลง แต่ถ้าผลรวม บัญชีอื่นมียอดเกินดุลยอดบัญชีทุนส ารองระหว่างประเทศก็จะ

เพิ่มขึ้น

11.10 ส่วนประกอบของดุลกำรช ำระเงินและกำรบันทึกรำยกำร

1.บัญชีเดินสะพัด (Current Account) ประกอบด้วย


- ดุลการค้า หมายถึง บัญชีที่แสดงการเปรียบเทียบมูลค่าสินค้าออกกับมูลค่าของสินค้าน าเข้า เช่นถ้า มูลค่า
การส่งออกสินค้ามากกว่ามูลค่าการน าเข้า หมายความว่า ประเทศนั้นจะมีรายรับจากการส่งออกสินค้ามากกว่า

รายจ่ายในการสั่งสินค้าเข้า เรียกว่า ดุลการค้าเกินดุล แต่ในกรณีที่มูลค่าการส่งออกสินค้าน้อยกว่ามูลค่าการ
น าเข้า นั้นคือ ประเทศนั้นมีรายรับจากการส่งออกสินค้าน้อยกว่ารายจ่ายในการสั่งสินค้าเข้า เราเรียกว่า

ดุลการค้าขาดดุล แต่ถ้าหากว่าผลต่างทั้งสองมีค่าเป็นศูนย์ เราก็จะเรียกว่า ดุลการค้าสมดุล

- ดุลการบริการ หมายถึงบัญชีที่แสดงถึงการค้าระหว่างประเทศในด้านบริการ เช่น ค่าระวางประกันภัย

ค่าขนส่ง รายได้จากการท่องเที่ยว รายได้จากการลงทุน รายได้จากแรงงานและบริการอื่น ๆ

- รายได้ เป็นผลตอบแทนที่ได้จากการลงทุน และประกอบกิจการในต่างประเทศ เช่น ดอกเบี้ย เงินเดือน

เงินปันผล เป็นต้น

2. บัญชีทุนเคลื่อนย้าย (Capital Movement Account) การเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ 2 แบบ
คือ


1. การลงทุนโดยตรง เช่นญี่ปุ่นเข้ามาลงทุนสร้างโรงงานประกอบรถยนต์ในประเทศไทย เป็นต้น

2. การลงทุนโดยทางอ้อม เช่น การน าเงินไปซื้อหุ้นหรือฝากธนาคาร พาณิชย์ ผลตอบแทนที่ได้ คือ เงินปัน

ผลหรือดอกเบี้ย

3. บัญชีเงินบริจาคหรือเงินโอน (Transfer Payment) เป็นบัญชีที่บันทึกรายการเกี่ยวกับเงินบริจาค เงิน
ช่วยเหลือ และเงินโอนต่าง ๆ ที่ได้รับหรือที่ประเทศโอนไปให้ต่างประเทศ


4. บัญชีเงินทุนส ารองระหว่างประเทศ (Intemational Reserve Account)ประกอบด้วย ทองค า เงินตรา
ต่างประเทศ และสิทธิพิเศษถอนเงิน (SpecialDrawing Right : SDR) ที่ได้รับจาก IMF เพื่อใช้เป็นทุนส ารอง

ระหว่างประเทศ เป็นบัญชีที่แสดงให้เห็นถึงฐานะของดุลการช าระเงิน เป็นการเคลื่อนไหวของทุนส ารองระหว่าง
ประเทศเพื่อชดเชยความแตกต่างระหว่างยอดรวมของเงินตราต่างประเทศที่ได้รับกับเงินตราต่างประเทศที่ต้องจ่าย

ในบัญชีเดินสะพัดบัญชีทุนและบัญชีบริจาคในระยะเวลา 1 ปี ส าหรับประเทศไทยผู้ดูแลรักษาบัญชีทุนส ารองนี้
คือ ธนาคารแห่งประเทศไทย

ตารางดุลการช าระเงิน

11.11 ตัวอย่ำงดุลกำรช ำระเงิน

ปี การส่งออก การน าเข้า ดุลการค้า ดุลการช าระเงิน


2503 8,637 9,474 -837 -564


2510 14,166 22,187 -8,021 93

2511 13,736 24,833 -11,096 447

2512 14,722.1 25,966.1 -11,244.0 -998.0


2513 14,785.9 26,872.3 -12,086.4 -2,617.0

2514 17,354.8 26,800.6 -9,465.8 -335.0


2515 22,516.3 30,875.4 8,359.1 3,970.0

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย, รายงานเศรษฐกิจรายเดือน




11.12 กำรแก้ไขปัญหำกำรขำดดุลกำรค้ำและดุลกำรช ำระเงิน

ประเทศส่วนใหญ่ในโลกนี้จ าเป็นจะต้องมีการติดต่อสัมพันธ์กัน โดยเฉพาะการติดต่อสัมพันธ์กันทางเศรษฐกิจทั้ง

ด้านการค้า การลงทุน การคมนาคมขนส่ง การท่องเที่ยว และการส่งคนงานไปท างานในต่างประเทศ การติดต่อกัน
ดังกล่าวจะท าให้มีเงินตราไหลเข้าและไหลออกนอกประเทศ ท าให้เกิดการขาดดุล-เกินดุลการค้า ซึ่งเป็นการ

เปรียบเทียบของมูลค่าส่งออกและมูลค่าน าเข้าสินค้า ดุลบัญชีเดินสะพัดซึ่งเป็นการเปรียบเทียบมูลค่าส่งออก-
น าเข้า หรือดุลการค้าและดุลบริการ ซึ่งเป็นรายได้จากการท่องเที่ยว การประกันภัย และการขนส่งระหว่าง

ประเทศ เพื่อรวมทั้งสองส่วนกับเงินโอน เงินบริจาค เงินทุนเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศ และเงินทุนส ารองระหว่าง
ประเทศ ก็จะเป็นรายการของ


ดุลการช าระเงิน ซึ่งหมายถึง รายรับจากต่างประเทศทั้งหมด โดยทั่วไปประเทศก าลังพัฒนามักขาด
ดุลการค้าประเทศที่พัฒนาแล้ว เนื่องจากมูลค่าการส่งออกสินค้าของประเทศก าลังพัฒนาซึ่งส่วนใหญ่เป็นสินค้าขั้น

ปฐมพวกแร่ธาตุและผลผลิตการเกษตร และผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีง่าย ๆ มีมูลค่าต่ ากว่าสินค้า
น าเข้าจากประเทศพัฒนาแล้วที่มักจะเป็นสินค้าที่ใช้เทคโนโลยีสูงกว่า อย่างไรก็ตาม ประเทศก าลังพัฒนาบาง
ประเทศอาจมีดุลการช าระเงินเกินดุล เพราะมีการลงทุนหรือมีนักท่องเที่ยวจากต่างประเทศเข้ามามาก ส าหรับ

ประเทศไทยตกอยู่ในภาวะขาดดุลการค้า ดุลการช าระเงินมานาน จนกระทั่งหลังวิกฤตการณ์เศรษฐกิจประเทศไทย
ก็เริ่มเกินดุลการค้าและดุลการช าระเงิน

แนวทางที่นิยมใช้ในการแก้ไขการขาดดุลการค้าและการขาดดุลช าระเงิน ได้แก่ การลดค่าเงิน การตั้งก าแพงภาษี

การกีดกันการค้ารูปแบบต่าง ๆ การส่งเสริมการส่งออก และการส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศ



11.13 เศรษฐกิจระหว่ำงประเทศของประเทศไทย


กำรค้ำของไทยกับต่ำงประเทศ

ประเทศไทยเป็นประเทศที่ด าเนินกิจกรรมเศรษฐกิจระบบเปิดมีการค้าติดต่อกันกับต่างประเทศมาตั้งแต่ครั้งสมัย

กรุงสุโขทัย และในสมัยกรุงศรีอยุธยาจนกระทั่งสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ในปี พ.ศ.2398 ประเทศไทยได้ลงนามใน
สนธิสัญญาทางการค้ากับต่างประเทศเป็นฉบับแรก คือสนธิสัญญาเบาริงกับประเทศอังกฤษ มีข้อความที่ส าคัญคือ

ประเทศไทยต้องยินยอมให้คนอังกฤษเข้ามาลงทุนค้าขายในประเทศได้อย่างเสรี ให้เก็บภาษีขาเข้าได้เพียงร้อยละ 3
ให้น าฝิ่นเข้ามาค้าขายได้ และให้คนอังกฤษมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินได้ทุกแห่ง ยกเว้น 4 ไมล์จาก

พระบรมมหาราชวัง จากสนธิสัญญาฉบับนี้ถือเป็นจุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ของการค้าระหว่างประเทศของประเทศ
ไทย

การค้าขายระหว่างประเทศของไทย ถ้าแบ่งตามช่วงที่มีเหตุการณ์ส าคัญสามารถแบ่งออกได้เป็น 6 ช่วง คือ


1. ปี พ.ศ.2398-2474 มีการจัดท าสนธิสัญญาเบาริงและมีการติดต่อค้าขายกับบริษัทในยุโรปเป็นส่วนใหญ่

2. ปี พ.ศ.2475-2479 เป็นระยะที่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง แต่การติดต่อค้าขายส่วนมากยังคงมี

การติดต่อค้าขายกับประเทศยุโรป และเริ่มมีการติดต่อค้าขายกับประเทศญี่ปุ่น

3. ปี พ.ศ.2480-2499 เป็นช่วงสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 บริษัทจากยุโรปเริ่มหายไป มีการการติดต่อ
ค้าขายกับประเทศจากสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่นมากขึ้น


4. ปี พ.ศ.2500-2515 เป็นระยะเวลาที่มีการรัฐประหารโดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นช่วงส าคัญที่มีการ
ลงทุนส่งเสริมทางการค้าระหว่างประเทศ มีการก่อตั้งสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเข้าเป็นสมาชิก

องค์กรการเงินระหว่างประเทศ และจัดตั้งส านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนแห่งชาติ ส่งเสริมให้มีการผลิต
สินค้าเพื่อทดแทนการน าเข้า และเร่งให้มีการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ถนน ไฟฟ้า ประปา เพื่ออ านวยความ

สะดวกส าหรับกิจกรรมอุตสาหกรรม

5. ปี พ.ศ.2516-2528 มีเหตุการณ์รุนแรงทางการเมือง เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2516 และวันที่ 6 ตุลาคม

2519 ส่งผลให้ปริมาณการลงทุนจากต่างประเทศลดลง ประกอบกับมีวิกฤตการณ์น้ ามันส่งผลให้เกิดสภาวะเงินเฟ้อ
โดยทั่วไป


6. ปี 2528 ถึงปัจจุบัน เป็นช่วงที่ประเทศไทยมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจสูงประมาณร้อยละ 8 ในปี
2537 การติดต่อค้าขายส่วนมากจะเป็นการติดต่อค้าขายกับประเทศญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และประเทศอุตสาหกรรม

ใหม่ของเอเชีย (สิงคโปร์ เกาหลีใต้ ไต้หวัน ฮ่องกง) ประเทศเหล่านี้ส่วนหนึ่งมุ่งเข้ามาใช้ประเทศไทยเป็นฐานการ

ผลิตเพื่อการส่งออก เนื่องจากประเทศไทยเป็นฐานการผลิตเพื่อการส่งออก เนื่องจากประเทศไทยมีแรงจูงใจใน
เรื่องค่าใช้จ่ายส าหรับต้นทุนการผลิตถูกกว่าแหล่งอื่น

ในปัจจุบันมูลค่าการค้าระหว่างประเทศของไทยเมื่อพิจารณาจากช่วงที่ 4 อันเป็นช่วงที่เริ่มมีแผนพัฒนาการ

เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 1 ประเทศไทยมีการค้าขายคิดเป็นมูลค่า 2600 ล้านบาท หลังจากนั้นในช่วงที่
6 ซึ่งเป็นช่วงปัจจุบัน ในปี 2534 ประเทศไทยมีการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ คิดเป็นมูลค่าถึง 1670000 ล้าน

บาท หรือเพิ่มเป็น 64 เท่า เมื่อพิจารณาจากผลิตภัณฑ์ประชาชาติ ปรากฎว่ามูลค่าการค้าระหวางประเทศเพิ่มขึ้น
จากที่เคยเป็นสัดส่วนร้อยละ 30 ของ GNP ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 เป็นร้อยละ 60-70 ของ GNP เมื่อสิ้นสุด

แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6

การที่มูลค่าการค้าระหว่างประเทศของไทยขยายตัวมากขึ้นนั้นเป็นเพราะการที่ประเทศไทยใช้นโยบาย

เปิดกว้างส าหรับการค้า ขายกับต่างประเทศ ซึ่งเป็นผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของไทย เพราะภาค
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ สามารถช่วยให้เศรษฐกิจไทยเจริญได้อย่างรวดเร็ว รวมทั้งช่วยให้มีการส่งเสริมการ
ลงทุนจากต่างประเทศเพิ่มขึ้น อันเป็นกลไกส าคัญส าหรับเร่งพัฒนาอุตสาหกรรมไทยให้ด าเนินไปอย่างต่อเนื่อง แต่

การที่เศรษฐกิจของ ไทยเปิดกว้างมากย่อมมีผลท าให้เศรษฐกิจของไทยต้องขึ้นกับเศรษฐกิจโลกหรือเศรษฐกิจ
ประเทศ อุตสาหกรรมใหญ่ ๆ และยังต้องผันผวนไปตามความไม่แน่นอนของตลาดโลกอีกด้วย ถ้าเศรษฐกิจโลกฟื้น

ตัว หรือมีสถานการณ์ดีก็ส่งผลให้ประเทศ ไทยพลอยได้รับประโยชน์ไปด้วย แต่ถ้าเศรษฐกิจโลกผันผวน หรือเกิด
ปัญหาขึ้นย่อมท าให้เศรษฐกิจไทย ประสบอุปสรรคหรือมีปัญหา อย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ นอกจากนี้แนวโน้มการ
เปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจระยะยาวจะมีส่วนส าคัญต่อการก าหนดทิศทางเศรษฐกิจไทย ซึ่งรวมถึงแนวโน้มการ

เปลี่ยนแปลงโครงสร้างของเศรษฐกิจไทยด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อโครงสร้างของสินค้า เข้าและสินค้าออกของ
ไทย


จากการที่ประเทศไทยมีเศรษฐกิจแบบเปิด มีเป้าหมายในการพัฒนาประเทศให้เป็นประเทศอุตสาหกรรม
เช่นเดียวกับประเทศในเอเชียด้วยกันคือ สิงคโปร์ ไต้หวัน เกาหลีใต้ และฮ่องกง ดังนั้นในระยะเวลา 30 ปีที่ผ่านมา

ท าให้ประเทศต้องน าเข้าสินค้าประเภททุน เช่น เครื่องจักร เครื่องยนต์ และสินค้าประเภทกึ่งวัตถุดิบ และวัตถุดิบ
เช่น โลหะ เคมีภัณฑ์ กระดาษ และเยื่อกระดาษ มูลค่าการน าเข้าขยายตัวเพิ่มขึ้นในอัตราสูงเฉลี่ยร้อยละ 18 ต่อปี

มูลค่าของสินค้าเข้าเพิ่มจาก 10287.3 ล้านบาทในปี 2504 เป็น 980000 ล้านบาท ในปี 2534 เมื่อแยกประเภท
ของสินค้าน าเข้าตามลักษณะการใช้ทางเศรษฐกิจแล้วจะเห็นว่าสินค้าบริโภคมีแนวโน้มลดลง ในขณะที่สินค้า

ประเภทเครื่องจักรที่น ามาใช้เป็นทุนในการผลิตสินค้าอุตสหกรรมมีแนวโน้มสูงขึ้น

เมื่อพิจารณาเป็นรายสินค้า สินค้าที่มูลค่าการน าเข้าสูงคือสินค้าประเภทเครื่องจักรกลเครื่องจักรไฟฟ้า เครื่อง
ปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้า เหล็ก และเหล็กกล้า เชื้อเพลิงที่ได้จากแร่ น้ ามัน ยานบก ส่วนประกอบ

และอุปกรณ์ยานบก พลาสติก และของที่ท าด้วยพลาสติกเป็นสินค้าที่มีการน าเข้าในอันดับต้น ๆ (จากสถิติ
เปรียบเทียบสินค้าน าเข้า ปีงบประมาณ 2535 และ 2536 ในเดือนกันยายน) ประเทศที่ไทยน าเข้าสินค้ามากที่สุด

คือประเทศญี่ปุ่น น าเข้าสินค้าประเภทเครื่องจักรกล เครื่องจักรไฟฟ้า รองลงมาคือสหรัฐอเมริกา และเยอรมัน

ตะวันตก ดังสถิติ ญี่ปุ่น 30.3% ตลาดร่วมยุโรป 14.5% อาเซียน 12.3% สหรัฐอเมริกา 10.8% อื่น ๆ 32.1%



สินค้ำออกของไทย


ในระยะ 30 ปีที่ผ่านมาสินค้าออกของไทยมีมูลค่าเพิ่มขึ้นประมาณ 60 เท่าตัว คือเมื่อเริ่มแผนพัฒนาฯ
ฉบับที่ 1 ประเทศไทยส่งสินค้าออกได้เพียง 9996.3 ล้านบาท แต่ในปี 2533 สินค้าออกของไทยได้เพิ่มเป็น

589813 ล้านบาท และเป็นสัดส่วนประมาณ ร้อยละ 32 ของ GNP เมื่อพิจารณาตามโครงสร้างการส่งออกแยก
ตามภาคเศรษฐกิจพบว่า สินค้าออกประเภทผลิตผลเกษตรกรรมจะมีสัดส่วนค่อนข้างสูงในช่วงต้น ๆ ของ

แผนพัฒนาฯ แต่ภายหลังรัฐบาลได้ส่งเสริมสินค้าอุตสาหกรรม ท าให้สินค้าอุตสาหกรรมมีสัดส่วนการส่งออกสูงกว่า
สินค้าเกษตรกรรม


เมื่อพิจารณาเป็นรายสินค้าและตลาดสินค้าออกของไทยจะเห็นว่าตลาดสินค้าออกที่ส าคัญของไทยในปัจจุบัน คือ
สิ่งทอ ข้ำว ยำงพำรำ ผลิตภัณฑ์มันส ำปะหลัง แผงวงจรไฟฟ้ำ อัญมณี กุ้งสดแช่เย็นและน้ ำตำล โดยมีตลำดรับ
ซื้อที่ส ำคัญดังนี้


สิ่งทอ ลูกค้ำที่ส ำคัญลดหลั่นตำมล ำดับได้แก่ สหรัฐอเมริกำ เยอรมันตะวันตก ซำอุดิอำรเบีย และญี่ปุ่น

ข้ำว ปัจจุบันลูกค้ำข้ำวรำยใหญ่ของไทยคืออินเดีย รองลงมำคือ มำเลเซีย สิงคโปร์ และยูไนเต็ดอำหรับอีมีเรต


ยำงพำรำ ประเทศญี่ปุ่นเป็นผู้น ำเข้ำยำงพำรำจำกประเทศไทยมำกที่สุด คือ ประมำณ 1/3 ที่ไทยส่งออก

ผลิตภัณฑ์มันส ำปะหลัง ประเทศเนเธอแลนด์และเยอรมันตะวันตกตำมล ำดับ


แผงวงจรไฟฟ้ำ สหรัฐอเมริกำ สิงคโปร์ มำเลเซีย และฮ่องกง ตำมล ำดับ

อัญมณี ญี่ปุ่นเป็นผู้น ำเข้ำอัญมณีจำกไทยมำกที่สุด ประมำณ 1/4 ของอัญมณีส่งออกทั้งหมด รองลงไปคือ
สหรัฐอเมริกำ และฮ่องกง


กุ้งสดแช่เย็น ญี่ปุ่นน ำเข้ำมำกที่สุดประมำณ 1/2 ของปริมำณกุ้งสดแช่เย็นที่ส่งออกทั้งหมด รองลงไปคือ
สหรัฐอเมริกำ เมื่อพิจำรณำจำกมูลค่ำของกำรส่งออกตลำดสินค้ำออกที่ส ำคัญของไทย ในปี 2534 ก็คือ

สหรัฐอเมริกำ (21.3%) ตลำดร่วมยุโรป(19.9%) ญี่ปุ่น (18.1%) อำเซียน (11.8%) ตลำดอื่น ๆ (32.1%)


Click to View FlipBook Version