The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Boat Pattara, 2022-06-14 13:53:31

ระบบประสาท

ilovepdf_merged

Lesson 1 ระบบประสาท ชื่อ... . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . นามสกลุ . . . . . . ... . . . . . . . . . . . ... . . .. . . . ช้นั ม.6/…………….เลขท่.ี ..................

การทำงานของระบบประสาท สาระสำคญั

ทำงานรว่ มกบั ระบบต่อมไรท้ อ่
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายในและสง่ิ เร้าภายนอกรา่ งกาย
ตอบสนองโดยใชก้ ระแสไฟฟา้ (รวดเรว็ )
ประกอบดว้ ย สมอง ไขสันหลงั อวัยวะรับความรูส้ ึก และเซลลป์ ระสาทสัง่ การ

ส่งิ ที่มากระตนุ้ ให้เกดิ การ ไดแ้ ก่ ตา-ห-ู จมูก-ลน้ิ -กาย รับสญั ญาณจากหน่วยรับความรู้สกึ ได้แก่ สมองและไขสนั หลงั
ตอบสนอง ท้งั ภายนอก มเี ซลล์รับความรสู้ กึ ตรวจจับ แลว้ สง่ กระแสประสาทไปยงั หนว่ ย ประมวลผลความรู้สกึ ทไ่ี ดร้ บั มา
และภายในร่างกาย สงิ่ เรา้ แลว้ สง่ สญั ญาณไปยงั ประมวลผล จากเซลลป์ ระสาทรบั ความรสู้ กึ
เซลลป์ ระสาทรบั ความรูส้ กึ

เกิดการตอบสนองโดยการ ไดแ้ ก่ กลา้ มเนือ้ หรือตอ่ มต่าง ๆ รับสญั ญาณคำสง่ั จากหน่วย สง่ ตอ่ กระแสประสาทท่ี
เคลื่อนไหว หรือหล่งั สารต่าง ๆ รับสญั ญาณคำสัง่ จากเซลลป์ ระสาท ประมวลผล และเซลล์ประสาท ประมวลผลเสร็จแลว้
สงั่ การ ประสานงานสง่ ต่อไปยงั กล้ามเน้อื ไปยังเซลลป์ ระสาทสง่ั การ
หรือต่อมตา่ ง ๆ

หนา้ ทข่ี องระบบประสาท

รบั ความรสู้ กึ จากสิ่งเร้า ผา่ นอวยั วะรับ เกดิ ขึ้นที่สมองและไขสันหลงั มกี ารประสาน สมองแปลความคดิ ออกมาเป็นการกระทำ
ความร้สู กึ แล้วแปลงเปน็ สญั ญาณไฟฟ้า
เพอ่ื สง่ ไปยังสมองและไขสนั หลงั กับสมองหลายส่วนเพ่อื ทำความเข้าใจข้อมูล โดยส่ังการผ่านเซลลป์ ระสาทสง่ั การไปถงึ

ซ่ึงนำไปสกู่ ารตอบสนองท่เี หมาะสม หรือ อวัยวะ หรือต่อมต่าง ๆ ใหเ้ กิดการ

เกบ็ ไว้เปน็ ความทรงจำไว้ใช้ในสถานการณ์ ตอบสนอง

อนื่ ๆ

การทำงานรว่ มกบั ระบบตอ่ มไรท้ อ่

• ควบคมุ การตอบสนองท่ีเกิดข้นึ • ควบคมุ การตอบสนองทเี่ กดิ ข้นึ
อย่างรวดเรว็ อยา่ งช้า ๆ

• สิน้ สดุ เร็ว • มผี ลตอ่ เน่ืองเปน็ เวลานาน
• ใชก้ ระแสไฟฟ้า • ใช้สารเคมี ฮอรโ์ มน
• เช่น การหดตัวของกลา้ มเนือ้ • เชน่ การเต้นของหัวใจ การ

ทำให้เกิดการเคลื่อนไหว เจริญของสเปิร์มในอัณฑะ

Chapter 1 การรับร้แู ละตอบสนองของสัตว์

การตอบสนองของสงิ่ มชี วี ติ เซลลเ์ ดยี ว • การพัฒนาของระบบประสาท ซับซอ้ นแตกต่างกัน ขนึ้ อยกู่ บั “ววิ ฒั นาการ”
• ทำใหม้ ีการรับรแู้ ละตอบสนองแตกตา่ งกนั

Cilia

• ไมม่ ีระบบประสาททแี่ ท้จรงิ
• มีเสน้ ใยประสานงาน (Coordinating fiber)

บริเวณใตผ้ วิ เซลล์
• ทำหนา้ ทีเ่ ชือ่ มโยงการทำงานของซิเลีย ( Cilia)

แตล่ ะเสน้ ให้ทำงานประสานกนั
• ทำให้สามารถเคลอื่ นที่เขา้ หา หรอื หนี แสงสว่าง

อณุ หภูมิ หรือสารเคมไี ด้

Coordinating fiber

การตอบสนองของสตั วไ์ มม่ กี ระดกู สนั หลงั

• เซลล์แตล่ ะเซลลส์ ามารถรับรแู้ ละตอบสนองได้
• ไมม่ ีเซลล์ท่ีทำหนา้ ทป่ี ระสานงานระหวา่ งเซลลต์ า่ ง ๆ

โดยเฉพาะ

tentacles mouth

Nerve Net • เป็นสงิ่ มีชีวติ กลมุ่ แรกทม่ี รี ะบบประสาททีแ่ ท้จริง
• มีเส้นใยประสาทเช่อื มตอ่ กันเป็นรา่ งแห เรียก “รา่ งแหประสาท

(Nerve net)” กระจายทว่ั ร่างกาย
• เมอื่ มีสง่ิ เร้ามากระตุ้น เกิดกระแสประสาท (Nerve impulse)

เคล่ือนไปตามรา่ งแหประสาท ทั่วลำตวั และเนื้อเยอื่
• ทำใหเ้ กิดการตอบสนองโดยการหดตวั
• บริเวณหนวดและปากมีเส้นใยประสาทมากท่ีสุด ทำใหต้ อบสนอง

ไดด้ ี

การตอบสนองของสตั วไ์ มม่ กี ระดกู สนั หลงั

eyespot

• มปี มประสาท (ganglion) 2 ปมท่ีสว่ นหัว
ทำหนา้ ทีเ่ ปน็ สมอง เรียก “ปมประสาทสมอง (Cerebral
ganglion)” ถอื เป็นพวกแรกที่มรี ะบบประสาทสว่ นกลาง

• มเี ส้นประสาทแยกออกทงั้ 2 ขา้ งของลำตวั
เรียก “เสน้ ประสาทตามยาว (longitudinal nerve cords)”

• มีเสน้ ประสาทตามขวาง (transverse nerve cord)
หรือเส้นประสาทวงแหวน (nerve ring) พาดขวางตามลำตวั
เป็นระยะคล้ายข้นั บนั ได (ladder type)

• มีอายสปอต (eyespot) ทำหน้าทเ่ี ปน็ อวยั วะรับแสงแทนตา
ทำให้ตอบสนองตอ่ ความเขม้ แสงทตี่ า่ งกนั ได้

• มปี มประสาทสมอง 2 ปม บริเวณหวั เหนือคอหอย
• มี เสน้ ประสาทขนาดใหญด่ า้ นทอ้ ง (Ventral nerve cord)
• มปี มประสาททุกปลอ้ งตามแนวยาวลำตวั (Segmental Nerve)
• มีแขนงประสาทยืน่ เข้าไปในชนั้ กลา้ มเนื้อของลำตัว

visceral ganglion

cerebral ganglion pedal ganglion

• มีปมประสาท 3 คู่
• ปมประสาทสมอง (cerebral ganglion) เปน็ วงแหวลอ้ มรอบ

หลอดอาหาร ทำหนา้ ทค่ี วบคมุ บรเิ วณสว่ นหวั
• ปมประสาทเทา้ (pedal ganglion) ต่อจากปมประสาทสมอง

ไปยงั เทา้ ควบคมุ การหดตวั ของกล้ามเนือ้ ให้เคลอ่ื นไหว
• ปมประสาทอวยั วะภายใน (visceral ganglion) ต่อจาก

ปมประสาทสมองไปยงั อวยั วะภายใน ควบคุมการทำงานของ
อวัยวะภายใน

Thoracic ganglion

• มีสมอง (Brain) เปน็ ปมประสาทขนาดใหญบ่ ริเวณหวั • มีเสน้ ประสาทขนาดใหญ่อยดู่ า้ นท้อง (Ventral
• มีแขนงประสาทแยกไปยงั ตา (Optic Nerve) และหนวด nerve cord)

(Antennary Nerve) • มีปมประสาทบริเวณหัว 6 คู่
• มีปมประสาททรวงอก (Thoracic ganglion) ทอดยาวลง • 3 คู่รวมกันเป็นสมอง (Brain) อกี 3 คูร่ วมกันเป็น

มาเปน็ ปมประสาทสว่ นทอ้ ง (Ventral nerve cord) ปมประสาทใตส้ มอง (Subesophageal ganglion)
• มปี มประสาทและเส้นประสาทแยกไปยงั กล้ามเนอ้ื และรยางค์ • เช่อื มตอ่ กบั ปมประสาทท่ีอย่ตู ามปล้องตลอดความยาว

ตา่ ง ๆ ทุกปล้องของลำตวั ของลำตัว

การตอบสนองของสตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั

• เซลลป์ ระสาทสว่ นใหญ่รวมตวั กันบรเิ วณหวั เรียก
“สมอง (Brain)” มขี นาดใหญ่ และเจริญมาก

• มไี ขสนั หลงั (Spinal Cord) ทอดยาวตามลำตัวและ
ด้านหลงั (Dorsal nerve cord)

• ทำหน้าทเี่ ปน็ ศนู ยก์ ลางของระบบประสาท (Central
Nervous System)

• รักษาดุลยภาพ และควบคมุ ระบบต่าง ๆ ของร่างกาย
• มปี มประสาท (nervous ganglion) และเสน้ ประสาท

(Nerve) แยกออกมาจากสมองและไขสนั หลัง

ชื่อ.........................................................นามสกุล.......................................................ชน้ั ม.6/…………….เลขท่.ี ..................

Chapter 2 เซลลป์ ระสาท สาระสำคญั

รับและส่งสญั ญาณประสาทไปยงั เซลล์ท่ัวร่างกาย
รับสง่ ขอ้ มูลในรปู กระแสประสาท หรอื สัญญาณเคมีไฟฟ้า
เปน็ ส่วนประกอบของเนอื้ เยอ่ื ประสาท
พัฒนามาจาก นวิ รลั ทวิ บ์ (Neural tube)

โครงสรา้ งของเซลลป์ ระสาท

เซลล์ประสาท มโี ครงสรา้ ง 2 สว่ น คือ ตวั เซลล์ (cell body) และ เสน้ ใยประสาท (Nerve fiber) มีลักษณะพิเศษ
เพ่ือทำหนา้ ท่รี บั – ส่งสญั ญาณประสาทไปตามความยาวของเซลล์ โดยมที ิศทางการสง่ กระแสประสาททางเดยี ว

• ประกอบด้วยนิวเคลียสขนาดใหญ่ • ทำหน้าที่สร้างเยื่อไมอีลินหุ้ม • เปน็ เนื้อเยื่อที่เกดิ จากเซลล์ชวานน์
ไซโทพลาซมึ และออรแ์ กเนลล์ตา่ ง ๆ แอกซอน ให้ส่งกระแสประสาท • มสี มบัติเปน็ ฉนวนไฟฟา้
ไดด้ ีย่งิ ขึน้ • ห่อหุ้มแอกซอน เพื่อให้กระแส
• ทำหน้าที่สังเคราะห์สารที่จำเป็น
ต่อการดำรงชีวิตของเซลล์ประสาท • เปน็ สารประกอบกลุ่มลิพิด ป ร ะ ส า ท ถ ่ า ย โ อ น ไ ด ้ อ ย ่ า ง มี
และส่งสารจากตัวเซลล์ไปยังเส้นใย ประสทิ ธภิ าพ
ประสาทอ่นื ๆ

• รอยต่อของชวานน์เซลล์
ที่ไม่มเี ย่ือไมอลี ินห้มุ

• เส้นใยประสาทที่แยกออกจากตัว • มเี พยี ง 1 เส้นใยเท่านั้น อาจสน้ั หรอื ยาวไดถ้ งึ กว่า 1 เมตร
เซลล์ 1 เส้นใย หรือหลายเส้นใย ตอนปลายแตกแขนงออกเปน็ ก่งิ เลก็ ๆ
บาชนิดอาจไมม่ เี ดนไดรต์
• ตอนปลายแตกออกเป็นกิ่ง และมีกระเปาะเรียกว่า
• ทำหน้าที่รับและนำกระแสประสาท Synaptic terminal
เข้าสตู่ ัวเซลล์
• ทำหน้าที่ส่ง หรือนำกระแสประสาทออกจากตัวเซลล์
การสรา้ งเยอ่ื ไมอลี นิ (Synapse)

เซลล์ชวานสร้าง เยื่อไมอีลนิ
เยื่อไมอีลินห่อหุ้ม หอ่ หุ้มแอกซอน
แอกซอน

การแอกซอนมเี ยือ่ ไมอลี นิ หอ่ ห้มุ จะช่วยใหน้ ำกระแสประสาทไดเ้ รว็ กว่าแอกซอนทีไ่ ม่มีเยื่อไมอลี นิ ห้มุ

สาระสำคญั

แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท โดยใชเ้ กณฑท์ ี่ต่างกนั

Chapter 3 ประเภทของเซลล์ประสาท ใชเ้ กณฑ์ คอื หน้าที่ และ รปู รา่ งของเซลล์
มีเซลลค์ ำ้ จนุ ปอ้ งกันและนำอาหารไปหล่อเลี้ยงเซลลป์ ระสาท

เซลล์ประสาท มีรปู ร่างและเส้นใยประสาทแตกต่างกันออกไป ตามชนิดและหน้าที่ของเซลล์ โดยสามารถแบง่ ประเภทของเซลล์ประสาทได้ดังน้ี

1. ประเภทของเซลลป์ ระสาทจำแนกตามหนา้ ท่ี

Dendrite Cell body • รบั กระแสประสาทจากหน่วยรับความรู้สึก
Receptor Axon ของร่างกาย

• เดนไดรต์ ตอ่ กบั อวยั วะรับความรู้สกึ
• แอกซอนตอ่ เขา้ กับเซลลป์ ระสาทอนื่ ๆ
• นำกระแสประสาทเขา้ สู่สมองเละไขสันหลัง

• อย่ใู นสมองและไขสนั หลัง
• เชอื่ มตอ่ ระหว่างเซลลป์ ระสาทรับความรสู้ กึ และ

เซลล์ประสาทสงั่ การ
• อาจมีความยาวเพยี ง 4 – 5 ไมโครเมตรเทา่ นน้ั

• มีเดนไดรต์ตอ่ กับเซลล์ประสาทอน่ื ๆ
• แอกซอนต่อกับกล้ามเน้อื และตอ่ มตา่ ง ๆ
• มแี อกซอนยาวกวา่ เดนไดรต์
• ความยาวถงึ 1 เมตร
• ส่งกระแสประสาทออกจากไขสันหลัง เพื่อน

นำกระแสประสาทออกจากไขสันหลัง

การทำงานประสานกนั ของเซลลป์ ระสาท

หนว่ ยรับความรูส้ ึก
เซลล์ประสาทรับความรู้สึก

เซลล์ประสาทประสานงาน
(อยทู่ ่ีสมอง และไขสนั หลัง)

เซลล์ประสาทสง่ั การ
กลา้ มเนื้อ และ ต่อมต่าง ๆ

2. ประเภทของเซลลป์ ระสาทจำแนกตามรปู รา่ ง Dendrite

Cell body Central Axon Peripheral Axon
Axon

Cell body

• มแี อกซอนยืน่ ออกจากตัวเซลลเ์ พยี ง 1 เส้นใย • มีแอกซอนยืน่ ออกจากตัวเซลลเ์ พียง 1 เส้นใยแล้วแตกแขนงออกเปน็
• พบในเซลลป์ ระสาทท่หี ล่งั ฮอรโ์ มนในสัตว์ 2 เส้นใย

Cell body Axon • บรเิ วณปลายดา้ นหนึ่งแตกออกเป็นเดนไดรต์
รบั สญั ญาณจากหนว่ ยรับความรู้สึกและส่งไปยังอีกเส้นใยหน่งึ โดยไม่
Dendrite ผา่ นตวั เซลล์ แล้วไปเช่ือมกบั เซลล์ประสาทประสานงานในไขสนั หลัง

• พบทีป่ มประสาทรากบนของไขสันหลัง

Dendrite

Axon Cell body

• มเี ส้นใยประสาท 2 เสน้ ใยแยกออกจากตวั เซลล์ • มแี อกซอน 1 เส้นใย และเดนไดรต์ 2 เสน้ ใยหรือมากกว่า
• แอกซอนกับเดนไดรตม์ คี วามยาวใกลเ้ คยี งกัน แยกออกจากตัวเซลล์

• พบบริเวณอวยั วะรับความรสู้ ึกบางแหง่ เชน่ • แอกซอนและเดนไดรต์มีมีขนาดส้นั
เซลลป์ ระสาททเี่ รตนิ า เซลล์ประสาทท่โี พรงจมกู • ทำหน้าท่นี ำคำสั่งไปยังอวัยวะตอบสนอง
เซลล์ประสาททคี่ ลอเคลยี • พบในสมองและไขสนั หลงั เชน่ เซลล์ประสาทประสานงาน

และเซลลป์ ระสาทสั่งการ

บริเวณท่ีแอกซอน ไปชดิ กับเดนไดรต์ หรอื ตัวเซลล์ของเซลล์ประสาทอน่ื ๆ หรือเซลลก์ ล้ามเน้อื ทเ่ี ป็นหน่วย
ปฏบิ ัติงาน เพอื่ ถา่ ยทอดกระแสประสาท

Chapter 4 เซลล์คำ้ จุน สาระสำคญั

1. เซลลค์ ำ้ จนุ ทพ่ี บในระบบประสาทสว่ นปลาย ทำหนา้ ท่คี อยคำ้ จนุ ปอ้ งกันเซลล์ประสาท
นำอาหารไปหลอ่ เลี้ยงเซลล์ประสาท
มีจำนวนมากกวา่ เซลล์ประสาทหลายเทา่

• สรา้ งเย่ือหมุ้ ไมอลี นิ (Myelin sheath) • ทำหน้าท่ีคำ้ จนุ ปอ้ งกนั
หอ่ ห้มุ แอกซอน • นำอาหารมาหลอ่ เลย้ี งเซลลป์ ระสาท

• ชว่ ยใหส้ ง่ กระแสประสาทได้ดีย่ิงขึ้น เซลลค์ ำ้ จนุ ทพ่ี บในระบบประสาทสว่ นกลาง

2.

• ควบคมุ การผ่านเขา้ ออกของสารระหว่าง • สรา้ งเยอ่ื หุ้มไมอีลนิ หุ้มแอกซอน
หลอดเลือดกบั เซลล์ประสาท • สรา้ งเยอ่ื หุม้ ได้หลายแอกซอน

• ปอ้ งกนั สิ่งปนเปอ้ื นเขา้ มาในระบบประสาท (หุ้มเซลลป์ ระสาทได้หลายเซลล)์
• คำ้ จนุ เซลลป์ ระสาท
• มีมากท่ีสดุ

• ขนาดเล็กสดุ • มีขน (Microvilli)
• เปลย่ี นแปลงมาจากไมโครฟาจ • พบบริเวณโพรงสมอง
• สร้างและหมุนเวียนน้ำหลอ่ เลย้ี งสมองและ
(Microphage)
• ดกั จับส่งิ แปลกปลอมในระบบประสาท ไขสนั หลัง (Cerebrospinal Fluid)

สว่ นกลาง

การคำ้ จนุ เซลลป์ ระสาทของเซลลค์ ำ้ จนุ

Chapter 5 กระแสประสาท สาระสำคญั

1. การศกึ ษาการเกดิ กระแสประสาท เป็นสญั ญาณเคมไี ฟฟา้
เกดิ จากการเปลี่ยนแปลงศกั ยไ์ ฟฟ้าทเี่ ย่ือห้มุ เซลลป์ ระสาท
เมือ่ มกี ารกระตนุ้ เซลล์ประสาทจะทำใหเ้ กดิ กระแสประสาทข้ึน

voltmeter

• ศึกษาโดย อลนั ลอยด์ ฮอดจก์ นิ และ Plasma membrane Microelectrode
outside cell
แอนดรู ฟลิ ดงิ ฮกั ซล์ ยี ์ นกั สรีรวทิ ยา Microelectrode
Inside cell Axon
• ทดลองการเกดิ กระแสประสาทในแอกซอนของ
หมึก

• .ใช้ไมโครอิเล็กโทรด ต่อเข้ากับโวลต์มิเตอร์
โดยนำปลายดา้ นหน่งึ เสยี บเข้าไปในแอกซอน
(ในเซลล์ประสาท) อีกดา้ นอยู่ด้านนอก (นอก
เซลลป์ ระสาท)

• วัดค่าความต่างศักย์ระหว่างภายในและ

ภายนอกเซลล์ได้ -70 mV (มลิ ลโิ วลต์)

2. โครงสรา้ งเยอ่ื หมุ้ เซลลป์ ระสาท

3. ชอ่ งโปรตนี • คณุ สมบัตเิ ป็น เยอ่ื เลอื กผา่ น (Semipermeable
membrane)

• ประกอบด้วย ฟอสโฟลพิ ดิ เรียงตัว 2 ชัน้
(Phospholipid bilayers)

• มีโปรตีนท่เี ปน็ ทางผ่าน เขา้ - ออกของสารแทรกอยู่

ยอมใหไ้ อออนบางชนดิ ผา่ น

• เกิดเป็นชอ่ งไอออน (Ion channel) ให้ไอออน
เชน่ โซเดยี มไอออน (Na+) และ โพแทสเซยี ม
ไอออน (K+) ผ่านเข้าออกได้

เม่อื ใช้การมปี ระตู (gate) ของชอ่ งโปรตนี เปน็ เกณฑ์ สามารถแบง่ ช่องโปรตนี เปน็ 2 ชนิด คอื

โพแทสเซยี มไอออน โซเดียมไอออน สารสือ่ ประสาท

ภายนอกเซลล์ ภายนอกเซลล์

ภายในเซลล์ ภายในเซลล์

• ไอออนสามารถแพรเ่ ขา้ ออกได้ตลอด • มีประตคู วบคุมการผา่ นเขา้ ออกของสาร
• ไมต่ อ้ งมสี งิ่ เรา้ หรอื สารต่าง ๆ ทจี่ ำเพาะมากระตุ้น • มกี ารเปดิ - ปิด ตามการกระตนุ้ ท่ีจำเพาะ

เช่น ช่องโพแทสเซียมไอออน และ โซเดยี มไอออน

4. สามารถแบง่ ออกเปน็ 3 ประเภทย่อย คอื การเปล่ียนแปลงประจุไฟฟา้
การสมั ผัส,แรงกด
สารสือ่ ประสาท
ภายนอกเซลล์
ภายในเซลล์

• เปิดเมือ่ มีสารเคมมี ากระตนุ้ • เปิดเมอื่ มีการเปลย่ี นแปลงเชงิ กลมากระตนุ้ • เปิดเม่อื มีการเปล่ียนแปลงศกั ย์ไฟฟา้ ทเ่ี ยอื่

• สารเคมี เช่น สารส่อื ประสาท ฮอร์โมน • การเปลย่ี นแปลงเชงิ กล เช่น การสั่น หมุ้ เซลล์มากระตุ้น

การสัมผสั คล่ืนเสยี ง 5.

ภายนอกเซลล์

ภายในเซลล์ • เปิดเมอ่ื ได้รับการกระต้นุ • ปดิ แบบไม่พร้อมใชง้ าน
• ไม่สามารถเปดิ ได้แมไ้ ด้รบั การกระตุ้น
• ปิดแบบพร้อมใช้งาน • ปรับสถานะเปน็ ปิดแบบพร้อมใชง้ าน
• เปดิ เมื่อได้รับการกระตนุ้
• พบในระยะพกั เมือ่ ศักยไ์ ฟฟ้าเยอื่ เซลลล์ ดต่ำลงกว่าปกติ

ส่วน Voltage gated K+ channel จะมีเพียง 2 สถานะ คอื เปิด และ ปิด

6. ศกั ยไ์ ฟฟา้ เยือ่ เซลลร์ ะยะพัก ➢ เกดิ ในภาวะปกติที่เซลล์ประสาทยงั ไมถ่ กู สิ่งเร้ากระตุ้น
➢ ศักยไ์ ฟฟา้ ระหว่างเยื่อเซลล์ดา้ นในและดา้ นนอกมคี า่ ประมาณ

-70 mV

• ภายนอกเซลล์มโี ซเดียมไอออน Na+ , K+ pump
(Na+) มากกว่าภายในเซลล์ 10 เทา่

• เกดิ ความต่างศักย์ไฟฟา้ ระหวา่ งเยือ่
เซลลด์ า้ นในและดา้ นนอก

• ภายในเซลลม์ ีโพแทสเซยี มไอออน
(K+) มากกวา่ ภายนอกเซลล์ 30 เทา่

แม้ภายในเซลลม์ ีโพแทสเซียมไอออน แตภ่ ายในเซลล์ มีโปรตีนและกรดนวิ คลีอิก ทำให้ผลรวมประจุไฟฟา้ ดา้ นในเซลล์ เปน็ ลบ
(K+) มากกว่าภายนอกเซลล์ 30 เทา่ จำนวนมากที่มปี ระจเุ ป็นลบ ไม่สามารถ และผลรวมประจไุ ฟฟ้าดา้ นนอกเซลล์ เปน็ บวก
ผ่านออกไปนอกเซลล์ได้

7. ➢ รกั ษาความเขม้ ขน้ ของไอออนระหว่างภายนอกและภายในเซลล์

➢ รักษาความตา่ งศกั ย์ระหวา่ งเยื่อด้านนอกและด้านในเซลล์ ใหม้ คี ่า -70 mV
➢ Na+ ทเ่ี ขา้ สู่เซลล์ จะถูกส่งออกนอกเซลล์ (3 ไอออน)

➢ K+ ที่ออกจากเซลล์ จะถกู ดึงเขา้ มาสะสมภายในเซลล์
➢ อตั ราสว่ น 3Na+ : 2K+

➢ ใช้พลงั งาน (ATP : Adenosine Tri Phosphate)

8.

➢ ภาวะท่ศี กั ย์ไฟฟ้าเย่ือเซลลเ์ ปล่ียนไปเมื่อถกู กระตนุ้

1. สิง่ เรา้ กระตนุ้ (Stimulus)
2. ระยะดโี พลาไรเซชัน (Depolarization)
3. ระยะรโี พลาไรเซชนั (Repolarization)
4. ระยะไฮเปอรโ์ พลาไรเซชนั (hyperpolarization

หรือ Undershoot)
5. ระยะพัก (Resting potential)
6.

Chapter 6 การเปล่ียนแปลงศกั ยไ์ ฟฟ้า สาระสำคญั

สามารถอธิบายเป็นลำดบั ขัน้ ตอนได้ดังนี้ เป็นการเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้าภายในเซลล์และภายนอกเซลล์
เกดิ เม่ือเซลล์ประสาทไดร้ บั การกระตุ้นจากสง่ิ เรา้
1. ทำให้เกดิ กระแสประสาทเคลือ่ นท่ีไปตามความยาวของแอกซอน

• ภาวะทเี่ ซลลไ์ มไ่ ดร้ ับการกระตนุ้ • ศักยไ์ ฟฟ้าท่เี ยอื่ ห้มุ เซลล์ เท่ากับ -70 mV เรยี ก ศกั ยไ์ ฟฟา้ เยอ่ื เซลลร์ ะยะพกั
• ภายนอกเซลล์มี Na+ มากกว่าในเซลล์ • ช่องโซเดยี ม และโพแทสเซียมทม่ี ีประตูปิด
• ภายในเซลล์มี K+ มากกว่านอกเซลล์ • ช่อง Na – K pump ทำงานตามปกติ

2.

• ภาวะท่ีเซลล์ถกู กระตนุ้ ด้วยส่งิ เร้าทแี่ รงพอ ท่ีเซลล์ • ชอ่ งโซเดียมทมี่ ีประตเู ปิด Na+ เข้าสู่เซลลม์ ากข้ึน
สามารถตอบสนองได้ เรยี ก เทรโชลด์ (Threshold)
• ศกั ยไ์ ฟฟา้ เยอื่ เซลลเ์ พมิ่ สงู ขน้ึ อย่างรวดเร็วจนถึงประมาณ +30 mV
• ศักยไ์ ฟฟ้าเย่ือเซลล์ เพมิ่ สูงขึน้ ถงึ ระดับ -55 mV • ช่องโพแทสเซียมที่มีประตยู ังปิดอยู่
• เกดิ การตอบสนองเรยี ก “Action Potential”
• ระดับความแรงสิง่ เรา้ ตำ่ กวา่ ระดับ เทรโชลด์ ไม่เกดิ Action Potential

3. สงู กวา่ ระดบั เทรโชลด์ ตอบสนองเทา่ เดิม (All or none)

3. • เกิดการเหน่ยี วนำให้ ชอ่ งโพแทสเซียมท่มี ีประตูเรม่ิ เปดิ
• K+ จากภายในเซลลแ์ พรอ่ อกนอกเซลลจ์ ำนวนมาก
• เม่อื ศกั ย์ไฟฟา้ เยือ่ เซลลเ์ พมิ่ ขนึ้ ถึง +30 mV • ศกั ยไ์ ฟฟา้ เยอ่ื เซลล์ ลดตำ่ ลงถงึ -70 mV อกี คร้ัง
• ช่องโซเดียมทีม่ ปี ระตู จะปิดแบบไม่พรอ้ มใชง้ าน
• Na+ ไม่สามารถเขา้ สเู่ ซลล์ไดอ้ ีก

4.

• ชอ่ งโพแทสเซียมท่ีมปี ระตไู มส่ ามารถปดิ ไดท้ นั ทีทำให้ K+ ศกั ยไ์ ฟฟา้ เยอ่ื เซลลล์ ดตำ่ กวา่ -70 mV
แพรอ่ อกนอกเซลลอ์ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง

• ชอ่ งโซเดียมที่มปี ระตเู ปลยี่ นสถานะจากปดิ แบบไมพ่ ร้อมใช้งาน
เป็น ปดิ แบบพร้อมใช้งาน

1.

• ชอ่ งโพแทสเซียมทีม่ ีประตปู ิด ศักยไ์ ฟฟา้ เยอ่ื เซลลก์ ลบั มาอยทู่ ่ี -70 mV
• ช่อง Na – K pump ทำงานตลอดเวลา

• Na+ ทีเ่ ข้ามาในเซลล์ แพร่ไปยังบริเวณข้างเคยี ง เหนย่ี วนำให้ • มีเยื่อไมอลี นิ (myelin sheath )ท่ีเป็นฉนวนไฟฟา้ หุ้ม
ช่องโซเดยี มทมี่ ีประตูบรเิ วณข้างเคยี งเปิดออก • ช่องโซเดยี มแบบมีประตูอยู่บริเวณ Node of Ranvier เท่านนั้
• เกดิ การสง่ กระแสประสาทแบบกา้ วกระโดดท่ี Node of Ranvier
• เกดิ Depolarization ต่อเน่ืองเปน็ ทอด ๆ เรียก
“Continuous conduction” ตลอดความยาวของแอกซอน เรยี ก “Saltatory conduction”

Chapter 7 การถ่ายทอดกระแสประสาทระหวา่ งเซลล์ สาระสำคญั

เป็นการถา่ ยทอดกระแสประสาทจากแอกซอนของเซลลป์ ระสาทหนึ่ง
ไปยงั เดนไดรตข์ องอีกเซลล์ประสาทหนึง่
แบ่งเป็นไซแนปสไ์ ฟฟา้ กับไซแนปสเ์ คมี

บริเวณทแี่ อกซอน ไปชิดกับ 2.
เดนไดรต์ หรือตัวเซลล์ของ
เซลล์ประสาทอื่น ๆ หรือ เซลลป์ ระสาทก่อนไซแนปส์
เซลล์กล้ามเนื้อที่เป็นหน่วย
ปฏิบัติงาน เพื่อถ่ายทอด
กระแสประสาท สามารถ
แ บ ่ ง ช น ิ ด ข อ ง ก า ร เ กิ ด
ไซแนปสไ์ ด้ 2 ชนดิ คือ

1.

เซลลป์ ระสาทกอ่ นไซแนปส์

เซลลป์ ระสาทหลงั ไซแนปส์ เซลลป์ ระสาทหลงั ไซแนปส์

• เกดิ ท่ีรอยตอ่ ระหวา่ งเยื่อห้มุ เซลล์ของเซลล์ประสาทกอ่ นไซแนปสแ์ ละเซลล์ • เกิดที่ชอ่ งไซแนปซ์ระหวา่ งปลายแอกซอนของเซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์ กับ
ประสาทหลงั ไซแนปส์ท่อี ยตู่ ดิ กันเสมอื นเปน็ เยอื่ หุม้ เดยี วกัน เดนไดรตข์ องเซลลป์ ระสาทหลงั ไซแนปส์

• เป็นการแพรข่ อง Na+ จากเซลลห์ น่งึ ไปยังอีกเซลล์หน่งึ • Ca2+ แพร่เขา้ สู่เซลล์ ไปกระตนุ้ ใหถ้ งุ บรรจุสารส่ือประสาท
• ผา่ นชอ่ งเล็ก ๆ เรยี กวา่ “gap junction” (Neuro transmitter) เคลอ่ื นไปรวมกับเย่ือหุ้มเซลล์
• ทำใหอ้ กี เซลล์เกิด Depolarization
• พบท่ี สมองบางส่วน เซลล์กลา้ มเนอ้ื หัวใจ ใยประสาทในไฮดรา้ • ปลอ่ ยสารส่อื ประสาท ได้แก่ อะเซทลิ โคลนี (Acetylcholine)
นอรเ์ อพเิ นฟรนิ (Norepinephrine) และ เอนดอรฟ์ นิ (Endorphin)
สง่ กระแสประสาทได้รวดเร็ว สง่ สญั ญาณแบบเดมิ ไม่เปลี่ยนแปลง ไปสู่ช่องไซแนปส์ (Synaptic cleft) ด้วยวธิ ี Exocytosis

ไม่สามารถควบคมุ ทศิ ทางได้ ทำใหเ้ กดิ กระแสประสาท 2 ทิศทาง • สารส่ือประสาทไปจบั กับโปรตนี ที่เยื่อหมุ้ เซลลข์ องเซลลป์ ระสาท
หลังไซแนปส์ ทำใหช้ ่องโปรตีนเปิดออก

• เกิดการเคลื่อนท่ขี องไอออน ผ่านเยือ่ หุ้มเซลล์ประสาท
Na+ เขา้ เกิด Depolarization Cl- เขา้ เกดิ Hyperpolarization

• สารส่อื ประสาทท่ีเหลืออยใู่ นช่องไซแนปส์ จะถกู สลายโดยเอนไซม์
อะเซทลิ โคลนี เอสเทอเรส แลว้ ถกู ลำเลยี งเข้าเซลล์ประสาทกอ่ น
ไซแนปส์อย่างรวดเร็ว

กระแสประสาทเกดิ ทางเดยี ว ส่งกระแสประสาทไดช้ ้า

ความเรว็ ของกระแสประสาทจะเร็วหรอื ชา้ ขน้ึ อยู่กบั ปัจจัยดงั ตอ่ ไปน้ี

1. ขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางของแอกซอน

นำกระแสประสาทได้ เร็วกวา่ นำกระแสประสาทได้ ชา้ กวา่

2. การมเี ยอื่ หมุ้ ไมอลี นิ หมุ้ แอกซอน

นำกระแสประสาทได้ ชา้ กวา่ นำกระแสประสาทได้ เรว็ กวา่

3. จำนวนไซแนปส์

นำกระแสประสาทได้ ชา้ กวา่ นำกระแสประสาทได้ เรว็ กวา่

4. ระยะหา่ งระหวา่ ง โนดออฟแรนเวยี ร์

Node of ranvier Node of ranvier

นำกระแสประสาทได้ ชา้ กวา่ นำกระแสประสาทได้ เรว็ กวา่

Chapter 8 ศูนยค์ วบคุมระบบประสาทของมนุษย์ สาระสำคญั

ระบบประสาทส่วนกลาง ไดแ้ ก่ สมอง และไขสันหลัง
โครงสร้างของสมอง แบง่ ออกเป็น 3 ส่วน คอื สมองสว่ นหนา้
สมองส่วนกลาง และสมองสว่ นหลัง

ระบบประสาทของมนษุ ย์ ประกอบด้วยระบบประสาทส่วนกลาง และระบบประสาทรอบนอก

1.

ทำหนา้ ทค่ี วบคุมการทำงานตา่ ง ๆ ของร่างกาย เกดิ จากเซลลป์ ระสาทหลายลา้ นเซลล์ท่ีพฒั นาจาก ท่อประสาท (Neural tube)
ในระยะเอมบรโิ อ โดยดา้ นหน้าจะโป่งออกเปน็ สมอง และส่วนทเ่ี หลอื เจริญเป็นไขสนั หลัง

1.1 ทำหน้าทีค่ วบคุม สัง่ การการเคลือ่ นไหวของร่างกายทงั้ หมด และประมวลผลความคิด ความจำ

เป็นเยอ่ื ห้มุ อยูร่ ะหว่างกะโหลกศีรษะและสมอง
เยอื่ หมุ้ ชนั้ นอก (Dura mater) เปน็ เสน้ ใยคอลลาเจน หนาสดุ
เหนียว ปอ้ งกนั การกระแทก
เยอื่ หมุ้ ชน้ั กลาง (arachnoid mater) ชน้ั เยอ่ื บาง ๆ ของ
เส้นใยคอลลาเจนและอีลาสตนิ สานเปน็ รา่ งแห
เยอื่ หมุ้ ชน้ั ใน (Pia mater) เปน็ เชห้ันนทีย่บี วางปท้อสี่ งดุกนั มกีหาลรอกรดะเลแทือดกมาเลี้ยง
จำนวนมาก ช่วยลำเลยี งสารอาหารจากนำ้ เลยี้ งสมองไปสสู่ มอง

เหนยี ว ปอ้ งกนั การกระแทก

• เปน็ ของเหลว
• อยู่ในโพรงช่องว่างระหว่างเยอ่ื ห้มุ สมองชั้นกลางและช้นั ใน
• ช่วยลำเลียงสารอาหารและก๊าซตา่ ง ๆ ไปยังสมอง
• นำของเสยี ออกจากระบบประสาทส่วนกลาง
• ปอ้ งกันการกระทบกระเทอื น

แบง่ ออกเปน็ 2 สว่ น คือ สมองเน้ือเทา (Gray matter) และสมองเน้อื ขาว (White matter)

• อยู่รอบนอกของสมอง • อย่ใู ต้สมองเนอ้ื เทา
• ประกอบด้วยตัวเซลล์ เดนไดรต์ และเซลลเ์ กลีย • ประกอบดว้ ยเซลล์เกลยี และแอกซอนทีม่ เี ยื่อไมอีลนิ สีขาวหุ้ม
• ทำหนา้ ที่ควบคุมการทำงานของกลา้ มเน้อื การให้ความรสู้ กึ • ทำหนา้ ทีส่ ่งกระแสประสาทออกจากสมอง

ประสาทสมั ผสั ความนกึ คิด ความจำ
• ตอ้ งการออกซเิ จนสงู หากขาดเกิด อมั พฤกษ์ - อัมพาต

สมองซีกซ้ายควบคุมการทำงานของกลา้ มเนอ้ื และประสาทสัมผสั ของร่างกายซีกขวา สมองซีกขวาควบคุมด้านซ้าย

1.2

• ต่อลงมาจากสมอง
• ลกั ษณะเปน็ ทอ่ กลวงอยภู่ ายในกระดกู สนั หลงั ตัง้ แตค่ อถึงกระดกู

บนั้ เอวขอ้ ท่ี 2
• ภาพตดั ขวางคลา้ ยผเี ส้ือ ตรงกลางมีรูขนาดเลก็ (central canal)
• เปน็ ท่ีอยู่ของนำ้ เล้ียงสมอง

• มี 3 ชนั้ เช่นเดียวกบั สมอง
• เยอ่ื หุ้มชนั้ นอก (Dura mater) เยื่อหมุ้ ชั้นกลาง (arachnoid mater)

และ เย่อื หุม้ ชน้ั ใน (Pia mater)
• หุ้มลงไปจนถงึ กระดูกสนั หลงั ข้อสุดท้าย
• เส้นประสาทบรเิ วณกระดูกบั้นเอวขอ้ ท่ี 1 และ 2 ไม่มีเย่อื หมุ้

มี 2 ส่วน โดยสขี องเน้อื เยื่อไขสันหลงั จะสลบั กับสีเนื้อเยือ่ ของสมอง

• อยดู่ า้ นนอก • อยู่ด้านใน คล้ายตัว H
• ประกอบด้วยตวั เซลล์ เดนไดรต์ เซลล์เกลยี และแอกซอนท่ไี มม่ ี
• ประกอบดว้ ยมดั แอกซอนทีม่ เี ยื่อไมอลี ินหุ้มอยู่จำนวนมาก เรียกวา่
“เสน้ ประสาท (Tract)” เยอื่ ไมอีลนิ หมุ้
➢ Ascending tract ➢ ปกี บน (posterior gray horn หรอื dorsal horn)
เสน้ ประสาททสี่ ง่ สญั ญาณไปยังสมอง เช่น นำกระแสประสาทจาก
กล้ามเนื้อหรืออวยั วะรับความรสู้ กึ เข้าสไู่ ขสนั หลงั และสมอง ยน่ื ไปด้านหลงั มแี อกซอนของเซลลป์ ระสาทรบั ความรู้สกึ
➢ Descending tract สง่ สญั ญาณประสาทเข้าสปู่ กี บนทาง รากบน (Dorsal root)
เส้นประสาทท่สี ง่ สัญญาณไปยังหน่วยตอบสนอง เชน่ กลมุ่ ➢ ปกี ลา่ ง (anterior gray horn หรอื ventral horn)
เสน้ ประสาทสงั่ การจากสมอง ผ่านไขสนั หลงั ไปยังอวัยวะตอบสนอง ย่นื มาข้างหน้า มแี อกซอนของเซลลป์ ระสาทสั่งการ นำกระแส
ประสาทออกทาง รากลา่ ง (Ventral root)

• เป็นการตอบสนองต่อสง่ิ เรา้ (Stimulus) ของรา่ งกาย
ทันทีโดยไมผ่ า่ นสมอง

• เป็นกลไกการป้องกนั ตนเอง
• การทำงานเกดิ ข้นึ เพียงเซลลป์ ระสาทรับความรสู้ กึ ส่ง

สัญญาณไปทไ่ี ขสนั หลงั แลว้ ไขสนั หลงั สง่ สญั ญาณตอบ
ผ่านเซลล์ประสาทส่งั การ เพื่อให้อวัยวะทำงานทนั ที

สาระสำคญั

โครงสรา้ งของสมอง แบ่งออกเปน็ 3 สว่ น คอื สมองสว่ นหน้า

Chapter 9 โครงสรา้ งของสมอง สมองส่วนกลาง และสมองสว่ นหลงั
ทำหน้าที่ควบคมุ ส่ังการการเคลอื่ นไหวของร่างกายทง้ั หมด และ

ประมวลผลความคดิ ความจำ

1. สตั ว์มีกระดูกสันหลงั มสี มองสว่ นหน้าขนาดใหญ่ และมรี อยหยักจำนวนมาก

• .ใหญ่ที่สุด มีรอยหยกั จำนวนมาก • สมองเน้อื เทาเหนือไฮโปทาลามัส
• แบง่ เปน็ 2 ซีก แตล่ ะซีกเรยี ก “cerebral hemisphere” • ทำหนา้ ทถี่ า่ ยทอดกระแสประสาทท่รี ับมาจากไขสันหลัง
• ซีกซา้ ยควบคุมการคิดวิเคราะห์
• ซีกขวาควบคมุ อารมณ์ ไปยังสมองสว่ นต่าง ๆ
• แต่ละซีกแบ่งออกเป็น 4 พู • สัญญาณประสาทเกย่ี วกับการรบั รูท้ ง้ั หมด ตอ้ งผา่ น

• ควบคมุ การทำงานของกล้ามเน้ือ ทาลามสั ยกเวน้ การดมกลนิ่ (ไป Olfactory bulb)
• การคิดวิเคราะห์ ความจำ ภาษา การตัดสนิ ใจ • ควบคุมสตสิ ัมปชัญญะ การนอนหลบั และการตน่ื ตัว
• ความรสู้ กึ อารมณ์ การแสดงออกทางสหี น้า
• การแสดงพฤตกิ รรมทางเพศ • เปน็ ศูนย์กลางของระบบประสาทอตั โนวัติ (นอกอำนาจจติ ใจ)
• สร้างฮอรโ์ มนประสาท
• ประมวลผลการไดย้ ินเสยี ง • ควบคุมการทำงานของต่อมใตส้ มองสว่ นหนา้ (pituitary Gland)
• การใช้ภาษา • สร้างฮอรโ์ มน ADH (Antidiuretic hormone)

• ประมวลผลการมองเหน็ กระตุ้นการดูดกลบั นำ้ จากท่อรวมของหนว่ ยไต เพ่อื รักษาสมดลุ น้ำ
• สร้างฮอรโ์ มน Oxytocin ควบคมุ การหลง่ั นำ้ นม
• ประมวลผลการรับความรู้สกึ จากผวิ หนัง • ควบคมุ อุณหภูมิร่างกาย อารมณ์ ความร้สู ึก อาการหวิ หรืออ่ิม
เชน่ แรงดัน อณุ หภมู ิ ตำแหน่งของวัตถุ
นาฬิกาชวี ติ และความร้สู ึกทางเพศ
• อยู่หน้าสดุ ของสมองส่วนหน้า
• ทำหนา้ ทร่ี ับสญั ญาณที่ส่งมาจากเซลล์รับกลน่ิ ส่งไป • อยกู่ ึ่งกลางสมองส่วนซรี ีบรมั ซกี ซา้ ยและขวา เหนอื ทาลามสั
• มี ต่อมไพเนยี ล (Pineal gland) สร้างฮอร์โมน Melatonin
ประมวลท่ซี รี บี รัม
ยับยั้งการเจรญิ ของอวัยวะสืบพันธ์ุ ไมใ่ หเ้ ขา้ สวู่ ัยรุ่นเรว็ เกนิ ไป

3. 2.

• เป็นส่วนประกอบหลกั ของสมองส่วนหลงั • เป็นสมองสว่ นเลก็ ๆ
• ควบคมุ การทรงตัวของร่างกาย • อยู่ด้านบนสุดของกา้ นสมอง (Brain stem)
• ทำหน้าทเี่ ป็นท่อสง่ ผา่ นเส้นประสาทต่าง ๆ ระหวา่ ง

สมองสว่ นหนา้ และไขสันหลัง
• มเี ส้นประสาทสง่ั การทคี่ วบคุมกลา้ มเนอ้ื ตา การกลอกตา

การยกหนงั ตา การกระพรบิ ตา การหด-ขยายมา่ นตา

เปน็ ส่วนหนึ่งของก้านสมอง (Brain stem) ประกอบดว้ ย 3 ส่วน

• อยรู่ ะหวา่ งสมองสว่ นกลางและเมดลั ลา
• ควบคุมกล้ามเน้อื บริเวณใบหนา้

• เปน็ สมองส่วนท้ายสุด อยู่ตดิ กับไขสนั หลัง

• ควบคมุ การทำงานของร่างกายท่ีอย่นู อกอำนาจ
จิตใจ เช่น การไอ การจาม การเต้นของหัวใจ
การหายใจ การสะอกึ การกลนื การหลงั่ น้ำลาย

4.


Click to View FlipBook Version