The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาทักษะการเขียนตัวอักษรจีน โดยใช้แบบฝึกการเขียนลำดับขีดตัวอักษรจีน 笔顺

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Lamai Kiti, 2021-05-11 05:02:18

การพัฒนาทักษะการเขียนตัวอักษรจีน โดยใช้แบบฝึกการเขียนลำดับขีดตัวอักษรจีน

การพัฒนาทักษะการเขียนตัวอักษรจีน โดยใช้แบบฝึกการเขียนลำดับขีดตัวอักษรจีน 笔顺

วจิ ยั ในชั้นเรียน
เรื่อง การพฒั นาทกั ษะการเขยี นตวั อักษรจีน

โดยใชแ้ บบฝึกเสริมทักษะการเขยี นลาดับขดี ตวั อกั ษรจนี และการ 听写
ของนักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1.11 โรงเรียนดารงราษฎร์สงเคราะห์

ละมยั กติ ิ

ครู ชานาญการ

โรงเรียนดารงราษฎร์สงเคราะห์
อาเภอเมืองเชยี งราย จงั หวดั เชียงราย
สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เชยี งราย

วจิ ยั ในชัน้ เรยี น หน้า a

คานา

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545
และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 โดยเฉพาะหมวด 4 แนวการจัดการศึกษา มาตรา 22 การจัดการศึกษา
ต้องยึดหลักว่านักเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่านักเรียนมีความสาคัญท่ีสุด
กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้นักเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ มาตรา 24
การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สถานศึกษาและหน่วยงานท่ีเก่ี ยวข้องดาเนินการจัดเนื้อหาสาระ และกิจกรรม
ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความสนใจและความถนดั ของนักเรียน โดยคานงึ ถึงความแตกต่างระหวา่ งบุคคล

ดงั นั้น ครผู สู้ อนตอ้ งหาวิธีการจัดการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนมีพัฒนาการด้านทักษะต่าง ๆ และสามารถ
แก้ไขปญั หาในการเรียนของนักเรยี นได้ ซึ่งจะช่วยยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผู้ศึกษาได้ศึกษาวิธีการทาแบบฝึก
เสรมิ ทักษะการเขียนตัวอักษรจนี 笔顺 โดยอา้ งองิ คาศัพท์จากหนังสือเรียน 跟我学汉语 เพ่ือนามาพัฒนา
นักเรียนด้านทักษะการเขียนตัวอักษรจีน และจะช่วยให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาภาษาจีน ผลที่ได้
จากการศกึ ษาครั้งนี้ จะเปน็ ประโยชน์อย่างมากสาหรับครผู ู้สอนในการนาไปจดั เรยี นการสอนในระดับช้ันอื่นต่อไป

นางสาวละมัย กติ ิ

วจิ ยั ในชนั้ เรียน หนา้ b

สารบญั หน้า
1
บทท่ี 1 บทนา 1
ทีม่ าและความสาคัญของปัญหา 1
วัตถปุ ระสงค์ 2
ประโยชนท์ ไ่ี ด้รบั 2
ขอบเขตการวิจยั 2
นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ 3
3
บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ ก่ียวขอ้ ง 4
ความหมายของทกั ษะการเขยี น 5
ความหมายของแบบฝกึ เสริมทกั ษะ 8
ความสาคญั ของแบบฝึกเสริมทักษะ 9
การเขียนตวั อกั ษรจนี 10
งานวิจยั ทีเ่ กย่ี วข้อง 10
10
บทที่ 3 วธิ ีดาเนนิ การ 10
กลมุ่ เปา้ หมาย 11
เคร่ืองมือในการวจิ ัย 12
การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 14
การวเิ คราะหข์ อ้ มูล 15
16
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
บทที่ 5 สรปุ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ

บรรณานกุ รม
ภาคผนวก

วิจัยในช้นั เรยี น หน้า c

บทที่ ๑
บทนา

เร่ือง การพัฒนาทักษะการเขียนตัวอักษรจีน โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการเขียนลาดับขีดตัวอักษรจีน

และการ 听写 ของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1.11 โรงเรยี นดารงราษฎรส์ งเคราะห์

ผูว้ ิจัย นางสาวละมยั กิติ ตาแหน่ง ครู ชานาญการ

กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาตา่ งประเทศท่ี 2 โรงเรยี นดารงราษฎร์สงเคราะห์

________________________________________________________________________________

ความเปน็ มาของการวิจยั

ในปัจจุบันวิชาภาษาต่างประเทศโดยเฉพาะวิชาภาษาจีนมีความสาคัญต่อมีอิทธิพลต่อสังคมมาก

การท่จี ะเรียนรู้ได้ดีและมีความสัมฤทธ์ิผลที่ดีในการเรียนน้ัน จาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องใช้ทักษะการเรียนภาษา

ให้ครบทั้ง 4 ด้านคือ การฟังการ การพูด การอ่าน การเขียน และต้องใช้ทักษะในการฝึกปฏิบัติอย่าง

สม่าเสมอ

การเขียนภาษาจีนก็เป็นหน่ึงพ้ืนฐานสาคัญท่ีจาเป็นสาหรับการเรียนภาษาจีน การเขียนภาษาให้

ถูกต้องตามรูปแบบของตัวอักษรจีน อาจทาให้การสื่อสาร การท่องจาคาศัพท์ หรือการอ่านภาษาจีน เกิด

ความคลาดเคล่ือนได้ จากการสอนนักเรียนชั้นที่ผ่านมา ผู้วิจัยสังเกตเห็นได้ว่ามีนักเรียนจานวนไม่น้อยท่ียัง

เขยี นตวั อักษรจนี ไม่ถูกต้องตามรปู แบบหรอื วิธีการเขียนตวั อกั ษรจีนหรอื วธิ ีการวาดรูปใหค้ ลา้ ยคลึงกับตัวอักษร

จีนแทน ซึ่งไม่ใชว่ ธิ ที ถ่ี กู ต้อง

จากปัญหาดังกลา่ วผู้วจิ ยั ยงั ค้นหาแนวทางในการช่วยนักเรียนสามารถจดจาวิธีการเขียนตัวอักษรจีนที่

ถูกต้องและจดจาคาศัพท์ได้มากขึ้นได้โดยใช้วิธีอธิบายให้นักเรียนเข้าใจหลักการ ที่มาและโครงสร้างของ

ตวั อักษรจนี ประกอบกับใบความรู้ เรื่องลาดับขดี ให้นักเรยี น 听写 และฝึกทาแบบฝึกเขียนตัวอักษรจีนอย่าง

สมา่ เสมอ วธิ ดี งั กล่าวจะสามารถชว่ ยแก้ไขปัญหาขา้ งตน้ ได้เปน็ อย่างดี

ผู้วจิ ัยมคี วามคิดว่าการที่นักเรียนสามารถเขียนตัวอักษรจีนได้ถูกต้อง จะทาให้นักเรียนจดจาคาศัพท์

และอ่านออกเสียงคาศพั ท์ตา่ ง ๆ ไดด้ ยี ง่ิ ขึ้น ซง่ึ การจดจาคาศัพท์นั้นมีประโยชน์ตอการเรียนวิชาภาษาจีน และ

สามารถนาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั
1. เพ่ือเพิ่มทักษะการจดจาวิธีการเขียนตัวอักษรจีนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1.11

โรงเรยี นดารงราษฎร์สงเคราะห์
2. เพ่ือเพิ่มทักษะการจดจาความหมายและการอ่านออกเสียงคาศัพท์ภาษาจีนของนักเรียน

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1.11 โรงเรียนดารงราษฎร์สงเคราะห์

วจิ ยั ในชั้นเรียน หน้า 1

3. เพื่อแก้ปัญหานักเรยี นทเ่ี ขยี นตวั อักษรจีนไม่ถูกตอ้ งและปรับปรงุ ลายมอื ของนกั เรียนให้สวยงาม
ตัวแปรทศ่ี ึกษา

ตัวแปรต้น แบบฝึกเสรมิ ทักษะการเขยี นลาดบั ขดี ตวั อักษรจนี 笔顺
ตวั แปรตาม ลายมือของนักเรียน

ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง
ประชากร นกั เรยี นแผนการเรยี นภาษาจนี โรงเรยี นดารงราษฎร์สงเคราะห์
กลุ่มตวั อย่าง นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1.11 โรงเรยี นดารงราษฎรส์ งเคราะห์

ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะได้รบั
1. สามารถพัฒนาการเขียนตัวอักษรจีนของนักเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการเขียนลาดับขีด

ตวั อักษรจนี และการ 听写
2. สามารถพัฒนาการจดจาตวั อักษรจนี และคาศพั ทต์ ่างๆ ของนักเรยี นได้
3. นกั เรยี นมลี ายมือทีส่ วยงามและเป็นระเบียบข้ึน

นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ
1. แบบฝึกเสริมทักษะการเขียนลาดับขีดตัวอักษรจีน หมายถึง แบบฝึกการคัดตัวอักษรจีนที่ผู้วิจัย

สร้างขน้ึ มาเพอื่ ใหน้ กั เรียนไดฝ้ กึ เขยี นตวั อกั ษรจนี ตามลาดบั ขดี และคัดตวั อกั ษรจีน
2. การ 听写 หมายถึง การสอบเขียนตวั อกั ษรจีน เมือ่ มกี ารฝกึ ฝนการคัดตัวอักษรจนี แล้ว

วจิ ยั ในชนั้ เรยี น หน้า 2

บทท่ี ๒
ทฤษฎีและงานวจิ ัยทเี่ กย่ี วข้อง

การศึกษาในครง้ั น้ี มีแนวคดิ หลักการและทษฎีท่เี ก่ยี วข้อง ดังนี้

1. ความหมายของทักษะการเขียน

2. ความหมายของแบบฝึกเสรมิ ทกั ษะ

3. การเขยี นตัวอักษรจนี

4. งานวจิ ยั ท่เี กย่ี วขอ้ ง

1. ความหมายของทักษะการเขยี น

การเขียน หมายถึง การถ่ายทอดความรู้ ความรู้สึกนึกคิด เร่ืองราว ตลอดจนประสบการณ์ต่าง ๆ
ไปสู่ผู้อื่นโดยใช้ตัวอักษษเป็นเครื่องมือในการถ่ายทอด การเขียนเป็นวิธีการส่ือสารที่สาคัญในการถ่ายทอด
ความรู้ ความคิด และประสบการณ์ เพื่อส่ือไปยังผู้รับได้อย่างกว้างไกล นอกจากน้ันการเขียนยังมีคุณค่า
ในการบันทกึ เปน็ ขอ้ มูลหลกั ฐานให้ศกึ ษาไดย้ าวนาน
หลักการเขยี น

เน่ืองจากหลักการเขียนเป็นทักษะท่ีต้องเอาใจใส่ฝึกฝนอย่างจริงจัง เพื่อให้เกิดความรู้ความชานาญ
และปอ้ งกนั ความผดิ พลาด ดงั นนั้ ผ้เู ขยี นจงึ จาเปน็ ต้องใช้หลักในการเขียน ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. มคี วามถกู ต้อง คือ ขอ้ มูลถูกต้อง ใชภ้ าษาไดถ้ กู ต้องเหมาะสมตามกาลเทศะ
2. มีความชัดเจน คือ ใช้คาท่ีมีความหมายชัดเจน รวมถึงประโยคและถ้อยคาสานวน เพื่อให้ผู้อ่าน
เขา้ ใจได้ตรงตามจดุ ประสงค์
3. มีความกระชับและเรียบง่าย คือ รู้จักเลือกใช้ถ้อยคาธรรมดาเข้าใจง่าย ไม่ฟุ่มเฟือย เพ่ือให้ได้
ใจความชดั เจน กระชับ ไมท่ าให้ผอู้ ่านเกดิ ความเบอ่ื หนา่ ย
4. มีความประทับใจ โดยการใช้คาให้เกิดภาพพจน์ อารมณ์และความรู้สึกประทับใจ มีความหมาย
ลกึ ซึง้ กินใจ ชวนตดิ ตามใหอ้ า่ น
5. มีความไพเราะทางภาษา คือ ใช้ภาษาสุภาพ มีความประณีตทั้งสานวนภาษาและลักษณะเนื้อหา
อ่านแลว้ ไมร่ ู้สึกขดั เขนิ
6. มคี วามรบั ผิดชอบ คือ ตอ้ งแสดงความคดิ เห็นอย่างสมเหตุสมผล มุ่งให้เกิดความรู้และทัศนคติอัน
เปน็ ประโยชน์แก่ผู้อ่นื นอกจากหลกั การเขียนที่จาเปน็ ต่อการเขียนแล้ว ส่ิงท่ีมีความจาเป็นอีกประการหน่ึงคือ
กระบวกการคดิ กบั กระบวนการเขยี นทจี่ ะต้องดาเนนิ ควบคไู่ ปกับหลกั การเขยี น เพอื่ ทจ่ี ะทาให้สามารถเขียนได้
ดียง่ิ ขน้ึ

วจิ ยั ในชัน้ เรียน หน้า 3

2. ความหมายของแบบฝกึ เสริมทักษะ
ภาษาเป็นเร่ืองทักษะ ซงจาแนกได้เป็น 2 ทาง คือ ทักษะการรับเข้า ได้แก่ การอ่านและการฟังและ

ทกั ษะการแสดงออก ได้แก่ การพูดและเขียน ทักษะทางภาษาจาเป็นต้องฝึกฝนอยู่เสมอ แบบฝึกเสริมทักษะ
นับว่าเป็นสิ่งท่ีจาเป็นอย่างหนึ่งสาหรับการเรียนภาษาได้มีผู้รู้และผู้เชี่ยวชาญทางภาษา ให้ความหมายของ
แบบฝึกเสริมทักษะไวด้ งั นี้

ชยั ยงค์ พรหมวงศ์ (2535 : 16) ให้ความหมาย แบบฝกึ เสริมทักษะว่า หมายถึง ส่ิงท่ีนักเรียนต้องใช้
ควบคู่กับการเรียน ซ่ึงมีลักษณะเป็นแบบฝึกท่ีครอบคลุมกิจกรรมที่นักเรียนพึงกระทา อาจกาหนดแยกเป็น
แต่ละหน่วยหรอื อาจรวมเล่มก็ได้

ลักษณา อินทะจักร (2538 : 161) ให้ความหมายแบบฝึกเสริมทักษะว่า หมายถึง แบบฝึกที่ครู
สรา้ งขนึ้ โดยมีจดุ มุ่งหมายเพอื่ ใหน้ กั เรยี นเกิดการเรียนรู้อยา่ งแทจ้ ริง

ศศิธร ธัญลักษณานันท์ (2542 : 375) ให้ความหมายแบบฝึกเสริมทักษะว่า หมายถึง แบบฝึก
เสริมทักษะที่ใช้ฝึกความเข้าใจ ฝึกทักษะต่าง ๆ และทดสอบความสามารถของนักเรียนตามบทเรียนที่
ครสู อนวา่ นกั เรยี นเข้าใจและสามารถนาไปใชไ้ ดม้ ากนอ้ ยเพียงใด

กู๊ด (Good 1973 : 224, อ้างถึงใน ลักษณา อินทะจักร 2538 : 160) ให้ความหมายแบบฝึก
เสรมิ ทกั ษะว่า หมายถึง งานหรือการบ้านท่ีครมู อบหมายใหน้ กั เรียนทา เพื่อทบทวนความรู้ที่ได้เรียนมาแล้ว
และเป็นการฝึกทักษะการใชก้ ฎใช้สูตรตา่ ง ๆ ที่เรียนไป

พจนานุกรม เวบสเตอร์ (Webster 1981 : 64) ให้ความหมายแบบฝึกเสริมทักษะว่า
หมายถึง โจทย์ปัญหา หรือตัวอย่างที่ยกมาจากหนังสือ เพ่ือนามาใช้สอนหรือให้ผู้เรียนฝึกฝนทักษะต่าง ๆ
ให้ดีขึ้น หลงั จากทเี่ รยี นบทเรยี นไปแล้ว

ดังนน้ั จึงอาจกลา่ วไดว้ า่ แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะ หมายถึง งานหรือกิจกรรมที่ครูสร้างขึ้น โดยมีรูปแบบ
กิจกรรมที่หลากหลาย มีจุดมุ่งหมายเพ่ือฝึกให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจบทเรียนได้ดียิ่งขึ้นและช่วยฝึก
ทักษะต่าง ๆ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง อาจจะให้นักเรียนทาแบบฝึกขณะเรียนหรือหลังจาก
จบบทเรยี นไปแล้วกไ็ ด้
ความสาคัญของแบบฝกึ เสริมทกั ษะ

ภายหลังจากการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนไปแล้ว การเรียนการสอนนั้นย่อมไม่เกิดผลอย่างเต็มที่
ถ้าไมไ่ ด้รับการฝึกทักษะใหเ้ กิดความชานาญและเขา้ ใจอยา่ งแท้จริงโดยเฉพาะวิชาภาษาไทย เพราะภาษาไทย
เป็นวิชาทักษะซ่ึงเป็นวิชาที่ต้องอาศัยการฝึกฝนเพ่ือเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้วิชาอ่ืน ๆ และการดาเนิน
ชีวิตประจาวนั ตามท่ีหลกั สูตรประถมศึกษา พุทธศกั ราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) ต้องการ ดังนั้น
ในการสอนภาษาไทยจึงต้องมีการฝึกฝนให้เกิดความชานาญคล่องแคล่ว เพื่อช่วยให้เด็กเกิดพัฒนาการ
ทางภาษาเพิม่ ขนึ้ ตามวัยและความสามารถของตนท่ีจะทาได้ และเคร่ืองมืออย่างหนึ่งท่ีใช้ฝึกทักษะทางภาษา

วจิ ยั ในชัน้ เรียน หน้า 4

ใหไ้ ดผ้ ลดกี ็คือ แบบฝกึ เสริมทกั ษะ ดงั ทน่ี กั วชิ าการหลายท่านได้กล่าวถึงความสาคัญของแบบฝึกเสริมทักษะ
ไวด้ ังนี้

กมล ดิษฐกมล (2526 : 18, อ้างถึงใน ลักษณา อินทะจักร 2538 : 163) กล่าวว่า แบบฝึกเสริม
ทักษะเป็นหัวใจของการสอนวิชาทักษะอยู่ที่ก ารฝึก การฝึกอย่างถูก วิธีเท่านั้นจะทาให้เกิ ด
ความชานิชานาญ คล่องแคล่ววอ่ งไวและทาไดโ้ ดยอัตโนมัติ

วีระ ไทยพานิช (2528 : 11) ได้อธิบายว่า แบบฝึกเสริมทักษะทาให้เกิดการเรียนรู้จากการ
กระทาจริง เป็นประสบการณ์ตรงที่ผู้เรียนมีจุดประสงค์แน่นอน ทาให้สามารถรู้และจดจาส่ิงที่เรียนได้ดี
จนนาไปใช้ในสถานการณ์เชน่ เดียวกนั ได้

เพตต้ี (Petty 1963 : 269) ได้กล่าวถึงความสาคัญของแบบฝึกเสริมทักษะไว้อย่างชัดเจนว่า
แบบฝึกเสริมทักษะเป็นส่วนเพิ่มเติมหรือเสริมหนังสือเรียนในการเรียนทักษะเป็นอุปกรณ์การสอนท่ี
ช่วยลดภาระของครูได้มาก ช่วยส่งเสริมให้ทักษะทางภาษาคงทน ช่วยในเร่ืองความแตกต่างระหว่าง
บุคคล เพราะการให้นักเรียนทาแบบฝึกเสริมทักษะท่ีเหมาะสมกับความสามารถของตนเอง จะทาให้
ประสบผลสาเร็จทางด้านจิตใจมาก ทั้งยังช่วยให้นักเรียนสามารถทบทวนสิ่งท่ีเรียนได้ด้วยตนเองและ
ใชเ้ ปน็ เคร่ืองมอื วดั ผลการเรยี นได้อีกด้วย

ดังน้ัน แบบฝึกเสริมทักษะจึงเป็นเคร่ืองมือสาคัญ ท่ีจะช่วยให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน
สูงข้ึน แบบฝึกเสริมทักษะจึงนับว่ามีความสาคัญและจาเป็นต่อการเรียนวิชาท่ีต้องการฝึกฝนเพื่อให้เกิด
ความชานาญ มคี วามเข้าใจเนอื้ หาบทเรียนมากย่งิ ข้ึน
ลกั ษณะทดี่ ขี องแบบฝึกเสริมทักษะ

การสร้างแบบฝึกเสริมทักษะให้มีประสิทธิภาพต้องมีหลักในการสร้างท่ีสอดคล้องกับลักษณะท่ีดี
ของแบบฝึกเสรมิ ทักษะด้วย ซึ่งมีผรู้ ้ไู ดเ้ สนอแนะไว้ดงั น้ี

การสร้างแบบฝึกเสริมทักษะให้มีประสิทธิภาพต้องมีหลักในการสร้างท่ีสอดคล้องกับลักษณะที่ดี
ของแบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะด้วย ซึ่งมผี ู้ร้ไู ดเ้ สนอแนะไวด้ งั นี้

นิตยา ฤทธโิ์ ยธี (2520 : 1) ได้กลา่ วถึงลกั ษณะท่ีดขี องแบบฝึกเสริมทักษะไว้ว่า แบบฝึกเสริมทักษะ
ต้องเกี่ยวข้องกับสิ่งท่ีเรียนมาแล้ว เหมาะสมกับระดับ วัย หรือความสามารถของเด็ก มีคาช้ีแจงส้ัน ๆ
ท่ีทาให้เด็กเข้าใจวิธีทาได้ง่าย ใช้เวลาเหมาะสมหรือใช้เวลาไม่นานและเป็นส่ิงที่น่าสนใจและท้าทายให้
แสดงความสามารถ

สามารถ มีศรี (2530 : 28) กล่าวว่า แบบฝึกเสริมทักษะท่ีดีต้องเกี่ยวกับบทเรียนที่เรียนมาแล้ว
เหมาะสมกับวัยของผู้เรยี น มคี าสั่งและคาอธิบาย มีคาแนะนาการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ มีรูปแบบท่ีน่าสนใจ
และมกี ิจกรรมทหี่ ลากหลายรูปแบบ

โรจนา แสงรุ่งระวี (2531 : 22) กล่าวว่า แบบฝึกเสริมทักษะที่ดีนอกจากมีคาอธิบายชัดเจนแล้ว
ควรเป็นแบบฝึกสนั้ ๆ ใช้เวลาในการฝกึ ไม่นานเกินไปและมีหลายรูปแบบ

วจิ ยั ในชัน้ เรียน หน้า 5

ฉะน้ัน จึงอาจกล่าวได้วา่ แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะท่ดี ี ครผู ู้สร้างจะตอ้ งยึดหลกั จิตวิทยา ใช้สานวนภาษา
ทง่ี า่ ย เหมาะสมกับวยั ความสามารถของผู้เรยี น มกี ิจกรรมหลากหลาย มีคาสั่ง คาอธิบาย และคาแนะนา
การใช้แบบฝึกเสริมทักษะท่ีชัดเจนเข้าใจง่าย ใช้เวลาในการฝึกไม่นานและที่สาคัญมีความหมายต่อชีวิต
เพ่อื นาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ได้
หลกั การสร้างแบบฝึกเสริมทักษะ

การสร้างแบบฝึกเสริมทักษะให้มีประสิทธิภาพต้องมีหลักการสร้างที่สอดคล้องกับลักษณะที่ดีของ
แบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะดว้ ย ซึง่ ในเรือ่ งนี้ไดม้ ผี ูเ้ สนอแนะไวด้ งั นี้

วรนาถ พว่ งสวุ รรณ (2518 : 34 – 37) ไดใ้ ห้หลักการสรา้ งแบบฝึกเสริมทักษะไวด้ ังนี้
1. ตัง้ จุดประสงค์
2. ศึกษาเก่ียวกบั เน้ือหา
3. ขั้นตา่ ง ๆ ในการสร้าง

3.1 ศกึ ษาปัญหาในการเรียนการสอน
3.2 ศกึ ษาหลกั จติ วิทยาของเดก็ และจิตวทิ ยาการเรียนการสอน
3.3 ศึกษาเนือ้ หาวิชา
3.4 ศกึ ษาลกั ษณะของแบบฝึกเสรมิ ทกั ษะ
3.5 วางโครงเร่ืองและกาหนดรปู แบบให้สัมพนั ธ์กับโครงเร่ือง
3.6 เลอื กเน้ือหาตา่ ง ๆ ทีเ่ หมาะสมมาบรรจใุ นแบบฝกึ เสริมทกั ษะให้ครบตามทีก่ าหนด
เกสร รองเดช (2522 : 36 – 37) ได้เสนอแนะแนวทางในการสร้างแบบฝกึ เสรมิ ทักษะดงั นี้
1. สรา้ งแบบฝึกเสริมทกั ษะใหเ้ หมาะสมกบั วยั ของนักเรียน คอื ไม่ง่ายไมย่ ากจนเกินไป
2. เรยี งลาดบั แบบฝึกเสริมทกั ษะจากงา่ ยไปหายาก โดยเรมิ่ จากการฝึกออกเสยี งเป็นพยางค์ คา วลี
ประโยคและคาประพนั ธ์
3. แบบฝึกเสริมทักษะบางแบบควรใช้ภาพประกอบ เพือ่ ดึงดูดความสนใจของนักเรียน ซึ่งจะช่วยให้
นกั เรียนประสบความสาเร็จในการฝึก และจะชว่ ยย่วั ยใุ ห้ติดตามต่อไปตามหลักของการจูงใจ
4. แบบฝกึ เสริมทกั ษะทส่ี ร้างขึน้ เปน็ แบบฝกึ สั้น ๆ ง่าย ๆ ใช้เวลาในการฝึกประมาณ 30 ถงึ 45 นาที
5. เพ่ือป้องกันความเบื่อหน่าย แบบฝึกต้องมีลักษณะต่าง ๆ เช่น ประสมคาจากภาพ เล่นกับ
บัตรภาพ เตมิ คาลงในช่องว่าง อา่ นคาประพนั ธ์ ฝกึ ร้องเพลงและใช้เกมต่าง ๆ ประกอบ
บ็อค (Bock 1993 : 3) ได้ใหข้ อ้ พจิ ารณาในการสร้างแบบฝกึ เสริมทักษะ ดงั นี้
1. กาหนดจดุ ประสงค์ใหช้ ดั เจน เพื่อชว่ ยใหผ้ เู้ รียนไดท้ ราบจุดมงุ่ หมายของแบบฝึกเสริมทกั ษะ
2. ให้รายละเอียดต่าง ๆ เช่น คาแนะนาในการทาแบบฝึกเสริมทักษะหรือข้ันตอนในการทา
อยา่ งละเอยี ด

วจิ ัยในช้ันเรยี น หน้า 6

3. สร้างแบบฝึกเสริมทักษะให้มีรูปแบบท่ีหลากหลาย เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับนักเรียน
มากที่สุด เช่น แบบฝึกเสริมทักษะอาจใช้รูปแบบง่าย ๆ โดยเร่ิมจากการให้นักเรียนตอบคาถามในลักษณะ
ถกู ผดิ จนถงึ การให้นกั เรียนแสดงความคดิ เห็น

4. แบบฝึกเสริมทักษะควรสร้างความเข้าใจให้กับนักเรียน เช่น การให้นักเรียนเขียนเรียงลาดับ
เหตกุ ารณท์ ีเ่ กดิ ขึ้นลงในตารางหรอื แผนภูมิท่ีกาหนดให้

จากแนวคิดขา้ งตน้ สามารถสรุปไดว้ า่ การสร้างแบบฝกึ เสริมทกั ษะควรมหี ลักในการสรา้ ง ดงั น้ี
1. ต้องยึดหลักจิตวิทยาการเรียนรู้และพัฒนาการของผู้เรียนในแต่ละวัย ต้องคานึงถึง
ความสามารถ ความสนใจ แรงจูงใจของนกั เรยี น
2. ต้องตั้งจุดประสงค์ในการฝึกว่าต้องการฝึกเสริมทักษะใด เนื้อหาใด ต้องการให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรอู้ ะไร
3. แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะตอ้ งไมย่ ากไมง่ ่ายจนเกนิ ไป คานึงถึงความสามารถของเด็กและต้องเรียงลาดับ
จากงา่ ยไปหายาก
4. ตอ้ งศึกษาข้นั ตอนตา่ ง ๆ ในการสรา้ งแบบฝึกเสริมทักษะ ปญั หาและขอ้ บกพรอ่ งของนักเรียน
5. แบบฝึกเสริมทักษะต้องมีคาช้ีแจง และควรมีตัวอย่างเพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจมากข้ึนและ
สามารถทาได้ดว้ ยตนเอง
6. แบบฝึกเสริมทักษะควรมีหลายรูปแบบ หลายลักษณะ เพ่ือจูงใจในการทา ทาให้นักเรียน
มคี วามรสู้ กึ วา่ มจี านวนไมม่ าก
7. ควรมีรูปภาพประกอบทส่ี วยงามเหมาะสมกับวยั ของเดก็
8. ควรใชภ้ าษาส้นั ๆ งา่ ย ๆ ไมว่ ่าจะเปน็ เน้ือหาหรือคาสั่ง
9. ควรมกี ารทดลองใช้เพือ่ หาข้อบกพรอ่ งตา่ ง ๆ กอ่ นนาไปใช้จรงิ
10. ควรจัดทาเปน็ รปู เลม่ ซ่ึงสามารถเกบ็ รักษาไดง้ ่าย นักเรยี นสามารถนามาทบทวนก่อนสอบได้
หลกั จิตวิทยาท่ีนามาใชใ้ นการสรา้ งแบบฝึกเสรมิ ทักษะ
การสร้างแบบฝึกเสริมทักษะให้มีประสิทธิภาพ สาหรับนาไปใช้กับนักเรียนน้ัน ต้องอาศัย
หลักจิตวิทยาในการเรียนรู้และทฤษฎีที่ถือว่าเป็นแนวความคิดพ้ืนฐานของการสร้างแบบฝึกเสริมทักษะ
เขา้ ชว่ ยเพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความสนใจและความสามารถของนกั เรียน
เดโช สวนานนท์ (2521 : 159 – 163) ได้กล่าวถึงทฤษฎีการเรียนรู้ของ ธอร์นไดค์ และ
สกินเนอร์ (Thorndike and Skinner) ดังนี้ ธอร์นไดค์ ได้ต้ังกฎการเรียนรู้ข้ึน 3 กฎ ซ่ึงนามาใช้
ในการสรา้ งแบบฝกึ เสริมทักษะ ได้แก่
1. กฎแห่งผล (Law of Effect) มีใจความว่าการเชื่อมโยงกันระหว่างสิ่งเร้ากับการ ตอบสนอง
จะดียิ่งข้ึนเมื่อผู้เรียนแน่ใจว่าพฤติกรรมตอบสนองของตนถูกต้อง การให้รางวัลจะช่วยส่งเสริม
การแสดงพฤตกิ รรมนน้ั ๆ อีก

วิจัยในช้ันเรียน หน้า 7

2. กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise) มใี จความวา่ การท่มี โี อกาสได้กระทาซ้า ๆ ในพฤติกรรม
ใดพฤตกิ รรมหนง่ึ นน้ั ๆ จะมีความสมบูรณ์ยิง่ ข้นึ การฝึกหดั ท่ีมีการควบคุมที่ดีจะส่งเสรมิ ผลตอ่ การเรยี นรู้

3. การเขียนตวั อกั ษรจีน

อั ก ษ ร จี น คื อ อั ก ษ ร ภ า พ (logogram) ท่ี โ ด ย ห ลั ก ๆ ใ น ปั จ จุ บั น ใ ช้ ส า ห รั บ เ ขี ย น
ภาษาจีน (เรียกวา่ ฮ่ันจือ้ ) และภาษาญี่ปุ่น (เรียกว่า คันจิ) นอกจากน้ีก็ยังใช้เขียนระบบเลขของภาษาอ่ืนด้วย
ตัวอยา่ งทีเ่ ห็นไดช้ ัดท่ีสุด เช่น ภาษาเกาหลี (เรียกว่า ฮันจา) และภาษาเวียดนาม (เรียกว่า จ๋ือโนม) และยังคง
หลงเหลืออยใู่ นภาษาเหล่าน้ี ในบางระดับ อกั ษรจนี เปน็ ระบบการเขยี นทใ่ี ชก้ นั มาอย่างต่อเน่ืองอันเก่าแก่ที่สุด
ในโลก นกั ภาษาศาสตร์สว่ นใหญเ่ ช่อื ว่า การเขยี นในจีนทเี่ ก่าสดุ เริม่ เมอื่ 957 ปีกอ่ นพุทธศักราช ไม่มีหลักฐาน
แสดงความเก่ียวข้องกับการเขียนในบริเวณอื่น ตัวอย่างการเขียนภาษาจีนท่ีเก่าสุดมีอายุราว 957 – 407 ปี
ก่อนพทุ ธศกั ราช (ราชวงศซ์ าง) ซง่ึ เป็นจารึกบนกระดูกวัวและกระดองเต่า พ.ศ. 2442 หวัง อ้ีหรง (王㦤榮)
นักวิชาการจากปักกง่ิ พบสัญลักษณ์คลา้ ยอักษรบนกระดกู มังกร(กระดกู สัตว์ท่ีชาวบ้านคดิ ว่าเป็นกระ ดกู มังกร)
ท่ีเขาได้รับจากเภสัชกร ในเวลานั้น กระดูกมังกรซึ่งมักเป็นซากฟอสซิลของสัตว์ ยังใช้ในการแพทย์ แผนจีน
กระดกู สัตว์เหลา่ น้ันพบมาก ในซากปรักหักพังของเมอื งหลวงในสมัยราชวงศซ์ งั ทางเหนอื ของมณฑลเหอหนาน
ระบบการเขียนตัวอัการจีน

อักษรจีนอยู่ในรูปแบบท่ีเรียกว่า ฮ่ันจ้ือ (漢字) สัญลักษณ์แต่ละตัวแสดงคาในภาษาจีนและ
ความหมาย มีจดุ กาเนดิ จากรปู คน สัตว์ หรือสิ่งอ่ืน ๆ แต่เมื่อเวลาผ่านไป รูปร่างของอักษรมีการเปลี่ยนแปลง
ไปและไม่เหมอื นกับส่ิงทเี่ ลียนแบบอีกตอ่ ไป สัญลกั ษณ์หลายตัวเกิดจากสัญลกั ษณ์ตง้ั แต่ 2 ตัวขน้ึ ไปมารวมกนั
ระบบอักษรจนี ไมม่ ีขอ้ กาหนดเรือ่ งจานวนอักษร พจนานุกรมที่ใหญ่ท่ีสุดช่ือ Zhonghua Zihai (中華字海)
มีอักษร 85,568 ตัว แต่ส่วนใหญ่มีท่ีใช้น้อย การรู้อักษรจีนเพียง 3,000 ตัวจะสามารถอ่านหนังสือพิมพ์
ภาษาจนี ไดร้ าว 99 % ในการอ่านวรรณคดี งานเขยี นทางเทคนคิ หรือหนังสือโบราณ ตอ้ งร้ปู ระมาณ 6,000 ตัว
ขีด

อักษรจีนประกอบด้วยขีดต้ังแต่ 1-64 ขีด ในพจนานุกรมจะเรียงอักษรตามหมวดนาและจานวนขีด
เมอ่ื เขยี นอักษรจีน อกั ษรแต่ละตวั จะมรี ะยะหา่ งเทา่ ๆ กัน ไมข่ ้ึนกับจานวนขีดที่มีอยู่ อักษรทร่ี วมเป็นคาประสม
จะไม่รวมกลุ่มเป็นอักษรเดียวกัน เพราะฉะนั้นในการอ่านภาษาจีน นอกจากต้องรู้ถึงความหมายและ
การออกเสียงของแต่ละคาแล้ว ยังต้องรู้ด้วยว่าอักษรใดรวมเป็นคาเดียวกันอักษรจีนต่อไปน้ีเป็นอักษรจีน
ท่ีมีขดี มากทส่ี ดุ และเขยี นยุ่งยากมากที่สดุ
อักษรจีนตวั ย่อ

อักษรจีนราว 2,000 ตัวที่ใช้ในประเทศจีนและประเทศสิงคโปร์ได้เปล่ียนให้อยู่ในรูปแบบท่ีเขียน
ง่ายขึ้น แต่ในไต้หวัน ฮ่องกงและมาเก๊ายังใช้อักษรตัวเต็มอยู่ แต่ถึงอย่างไรก็ตาม อักษรทั้ง 2 แบบ
ก็ยังได้รับความนิยมจนปัจจุบัน ก่อนท่ีจะมีการปรับเปล่ียนอักษรจีนเป็นตัวย่อ รัฐบาลจีนออกแถลงการณ์

วิจยั ในชัน้ เรยี น หนา้ 8

ใหเ้ หตผุ ลว่า ต้องการให้ประชาชนมีความร้เู กี่ยวกับการใช้อกั ษรจนี มากขน้ึ จงึ ตอ้ งลดจานวนขีดของตวั อักษรลง
มาเพอ่ื ลดระดับความยาก โดยย่อหมวดนาหรือตัดบางส่วนออก และยอ่ รปู รวม

4. งานวจิ ัยที่เกย่ี วข้อง
นภัสสร พรหมทา ได้วิจัยเร่ือง การพัฒนาทักษะการเขียนตัวอักษรจีน โดยใช้แบบฝึกเขียนตัวอักษร

และการ 听写 ของนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนศรีตระกูลวิทยา ผลการวิจัยพบว่า พัฒนาการ
ด้านการจดจาตัวอักษรจีนและความหมาย โดยใช้แบบฝึกเขียนตัวอักษรและการ 听写 ของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2560 ก่อนเรียนมีคะแนนเฉล่ียเท่ากับ 6.25 ส่วนเบ่ียงเบน
มาตรฐานเท่ากับ 1.422 สว่ นหลังเรียนมีคะแนนเฉล่ีย เท่ากับ 9.75 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.443
เห็นได้ว่าพฒั นาการดา้ นการจดจาตัวอกั ษรจีนของนกั เรยี นสูงกว่าก่อนโดยใช้แบบฝึกและเม่ือทดสอบสมมตุ ิฐาน
การวิจยั พบวา่ ค่า t ทไี่ ด้จากการค านวณมีค่ามากกว่า t วิกฤต (13.35 > 1.833) หมายความว่า การด้านการ
จดจาตัวอกั ษรจีนและความหมาย โดยใช้แบบฝึกเขียนตัวอักษรและการ 听写 หลังเรียนของนักเรียนสูงกว่า
กอ่ นเรียนอยา่ งมนี ยั ทางสถติ ิที่ .05

นงเยาว์ทอง กาเนิด ได้วิจัยเร่ือง การพัฒนาแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาไทยสาหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 อาเภอเขาชะเมา จังหวัดระยอง ผลการวิจัยพบว่า (1) แบบฝึกทักษะ
การอ่านจับใจความภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 อาเภอเขาชะเมา จังหวัดระยอง
ประกอบดว้ยแบบฝึกยอ่ย 5 แบบฝึกและมีประสิทธิภาพ 82.42/ 83.19 ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80
ที่กาหนดไว้ (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาไทย สาหรับ
นักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 3 อาเภอเขาชะเมา จังหวัดระยอง มีระดับคะแนนสูงกว่า ก่อนการได้รับการเรียน
อยา่ งมีนัยสาคัญทางสถติ ิที่ระดับ .05

วจิ ัยในช้ันเรยี น หน้า 9

บทที่ ๓
วธิ ีการดาเนนิ การ

ขอบเขตการวจิ ัย
การพัฒนาทักษะการเขียนตัวอักษรจีน โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการเขียนลาดับขีดตัวอักษรจีน

และการ 听写 สาหรบั นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1.11 จานวน 40 คน

ข้นั ตอนการดาเนินงาน
1. ศกึ ษาหาข้อมลู
2. ทาแบบฝึกเสริมทกั ษะการเขียนลาดับขดี ตวั อกั ษรจนี 笔顺
3. ดาเนินการวจิ ยั
4. เกบ็ ข้อมลู
5. วิเคราะหข์ อ้ มลู
6. สรุปและจัดทารปู เลม่

เครอ่ื งมือในการวจิ ัย
1. ใบความรู้ เร่อื ง ลาดับขดี ตวั อักษรจีน จากหนังสอื 跟我学汉语
2. แบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะการเขยี นลาดับขีดตัวอักษรจีน 笔顺 จานวน 1 ชุด
3. แบบทดสอบ 听写 จานวน 30 ขอ้

วธิ เี กบ็ ขอ้ มูล
ในการวจิ ัยคร้งั นผี้ ูว้ ิจัยไดด้ าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ตัง้ แตเ่ ดือนมถิ ุนายน 2563 ถงึ เดอื นกันยายน

2563 โดยมขี ้นั ตอนในการดาเนนิ การ ดงั น้ี
1. ดาเนินการสอนตามแผนการสอน
2. ทาการประเมินก่อนใช้แบบฝึกเสริมทกั ษะการเขยี นลาดบั ขีดตัวอักษรจีน 笔顺 และการ 听写
3. ดาเนินการใช้แบบฝึกเสรมิ ทักษะการเขียนลาดับขีดตัวอกั ษรจนี 笔顺
4. ทาการประเมินผลหลงั ใช้แบบฝึกเสริมทกั ษะการเขียนลาดับขีดตัวอกั ษรจีน 笔顺 และการ 听写
5. นามาวิเคราะห์เพื่อให้ทราบถึงผลสมั ฤทธท์ิ ไ่ี ด้จากการใชแ้ บบฝึก

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบฝึก ฯ
เขียนอกั ษรถูกตอ้ ง ลาดบั ขีดถูกต้องทกุ ขอ้ ได้ ขอ้ ละ 1 คะแนน
เขียนอักษรผดิ ได้ 0 คะแนน

วจิ ยั ในชัน้ เรยี น หน้า 10

การวเิ คราะหข์ ้อมลู
สถิตทิ ี่ใช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ได้แก่

1. คา่ คะแนนเฉลยี่ ใช้สูตรดังน้ี
คา่ คะแนนเฉลี่ย = ∑

เมือ่ ∑ แทน ผลรวมของคะแนนทุกตวั
N แทน จานวนนักเรยี นทีน่ ามาวิเคราะห์

2. สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน ใช้สตู ร ดงั นี้

เมอื่ S.D. แทน สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน
∑ แทน ผลรวมของคะแนนทกุ ตวั
∑ 2 แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละตวั ยกกาลังสอง
N แทน จานวนนักเรียน
3. วิเคราะหค์ วามกา้ วหนา้ ในการเรยี นรู้ของผเู้ รียน เพือ่ ศกึ ษาความแตกตา่ งของคะแนนทีไ่ ดจ้ ากการทา
แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี น

เมือ่ t แทน คา่ สถิตทิ ใ่ี ชเ้ ปรยี บเทยี บค่าวิกฤตเพ่ือทราบความมีนัยสาคญั
∑ แทน ผลรวมของผลต่างระหวา่ งคู่คะแนน
∑ 2
n แทน ผลรวมของผลต่างระหว่างคูค่ ะแนนแต่ละคยู่ กกาลังสอง
แทน จานวนนักเรียน

วจิ ยั ในช้นั เรยี น หน้า 11

บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมลู

จากการวจิ ัยเรอ่ื ง การพฒั นาทกั ษะการเขยี นตัวอักษรจีน โดยใช้แบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะการเขียนลาดับขีด
ตัวอักษรจีนและการ 听写 สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1.11 โรงเรียนดารงราษฎร์สงเคราะห์
การพัฒนาทักษะการเขียนตัวอักษรจีนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการเขียนตัวอักษรจีนและการ 听写 ของ
นกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1.11 โรงเรียนดารงราษฎร์สงเคราะห์จานวน 40 คน ได้ผลการวเิ คราะห์ ดังนี้
ตารางที่ 1 แสดงพฒั นาการทกั ษะการเขยี นตัวอักษรจีน การจาคาศพั ทแ์ ละความหมาย

คะแนนเฉล่ีย คะแนนกอ่ นเรียน คะแนนหลังเรียน คะแนนความก้าวหนา้
6.25 9.75 3.50

จากตารางข้างต้นพบว่าคะแนนสอบ 听写 หลังการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการเขียนตัวอักษรจีน
ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อยกผลสัมฤทธ์ิวิชาภาษาจีนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1.11 มีคะแนน
ความก้าวหน้าเพ่ิมขึ้น 3.50
ตารางที่ 2 ผลการเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งทักษะการเขียนตัวอีกษรจีน การจาคาศัพท์ในการ 听写 และ

เขียนความหมาย หลังใช้แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะ และการ 听写 ก่อนเรียนและหลังเรียน

การทดสอบ N ̅ S.D. t-test
กอ่ นเรยี น 40 6.25 1.422

หลังเรยี น 13.35*
40 9.75 0.443

*มนี ยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดบั 0.05

จากตารางขา้ งต้นพบว่า พัฒนาการด้านการเขียนตัวอักษรจีนและจดจาตัวอักษรจีนและความหมาย
จากการใช้แบบฝึกเขียนตัวอักษรจีนและการ 听写 ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1.1 ภาคเรียนที่ 1
ปีการศึกษา 2563 ก่อนเรียนมีคะแนนเฉล่ียเท่ากับ 6.25 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.422
ส่วนหลังเรียนมีคะแนนเฉล่ียเท่ากับ 9.75 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.443 เห็นได้ว่าพัฒนาการ
ด้านการเขียนตัวอักษรจีนและจดจาตัวอักษรจีนของนักเรียนสูงกว่าก่อนโดยใช้แบบฝึกฯ และเม่ือทดสอบ
สมมุติฐานการวิจัยพบว่าค่า t ที่ได้จากการคานวณมีค่ามากกว่า t วิกฤต (13.35 > 1.833) หมายความว่า

วจิ ยั ในชัน้ เรยี น หน้า 12

การด้านการจดจาตัวอักษรจีนและความหมายโดยใช้แบบฝึกเขียนตัวอักษรจีนและการ 听写 หลังเรียน
ของนักเรยี นสงู กว่าก่อนเรยี นอยา่ งมนี ยั ทางสถติ ิท่ี .05

วจิ ยั ในชั้นเรยี น หน้า 13

บทท่ี 5
สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ

จากขอ้ มูลข้างต้น การวิจัยในครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนตัวอักษรจีนของนักเรียน
เพอื่ เพม่ิ ทกั ษะการอ่านออกเสยี งคาศพั ทภ์ าษาจีนของนกั เรยี น และเพอ่ื เพมิ่ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนในรายวิชา
ภาษาจีน 1 จ21241 ผู้วิจัยได้ให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายใช้แบบฝึกเสริมทักษะการเขียนลาดับขีดตัวอักษรจีน
เพื่อฝึกเขียนตัวอักษรจีนท่ีเป็นคาศัพท์ใหม่ในแต่ละบทเรียน โดยใช้ใบความรู้แต่ละบทและใบความรู้เรื่อง
ลาดบั ขีดเปน็ สอ่ื ประกอบ และมีการสอนเพม่ิ เตมิ สาหรับการเขยี นตัวอกั ษรทซ่ี ับซ้อนและอธบิ ายเพื่อให้นักเรียน
เข้าใจถึงวธิ กี ารเขยี น ความหมายและสามารถจดจาคาศัพท์ได้ง่ายข้ึน หลังจากเรียนนักเรียนสามารถฝึกเขียน
ตัวอักษรจนี ได้เองโดย การศึกษาจากใบความรู้เรื่องลาดับขีด ทาให้ได้ฝึกฝนและเรียนรู้ตนเอง โดยมีครูเป็นผู้
ชี้แนะ ทดสอบความเข้าใจก่อนทาแบบทดสอบด้วยการ 听写 เพ่ือส่งเสริมให้นักเรียนจดจาตัวอักษรจีนได้
มากยงิ่ ขึ้น ซงึ่ จะเป็นประโยชน์ตอ่ ตวั นักเรียนมากกว่าการสอนทั่วไปท่ีไม่มีการใช้แบบฝึกเขียนตัวอักษรจีนและ
การ 听写 ดังนน้ั การเรยี นการสอนโดยใช้วธิ ีการขา้ งต้นนี้ จึงเป็นการส่งเสริมให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นกั เรียนสูงขึน้ ผู้วจิ ัยจึงได้เลอื กนาวธิ นี ้มี าใช้และวัดและประเมนิ ผลการเรยี นร้โู ดยการทาแบบทดสอบก่อนเรียน
และหลงั เรยี น

จากการวิเคราะห์ผลวิจัย สรุปได้ว่า นักเรียนท่ีเรียนโดยใช้แบบฝึกเขียนตัวอักษรจีนและการ 听写
มคี วามสามารถในการจดจาตวั อกั ษรจนี และความหมายได้สูงกว่าก่อนเรยี น
อภิปรายผล

จากผลการวิจัยพบว่า การวิเคราะห์คะแนนท่ีได้จากการทาแบบประเมินทักษะก่อนเรียนนั้น
แสดงให้เห็นว่าผู้เรียนบางคนยังไม่มีพ้ืนฐานความรู้เก่ียวกับการเขียนตัวอักษรจีนและยังไม่มีทักษะการจดจา
คาศัพท์ภาษาจีนท่ีมากพอ ทาให้สามารถจดจาวิธีการเขียน ส่วนประกอบต่าง ๆ ของตัวอักษรจีนและ
ความหมายไดน้ อ้ ย แต่หลังจากผู้เรียนได้ใช้แบบฝึกเขียนตัวอักษรจีนและทาการ 听写 แล้วทาแบบประเมิน
อีกครั้ง ผลปรากฏว่า ผู้เรียนมีทักษะในการเขียนตัวอักษรจีนและสามารถจดจาตัวอักษรจีนได้มากข้ึน
จงึ สามารถทาคะแนนแบบประเมินทกั ษะหลังเรยี นได้มากขน้ึ และทาคะแนนได้ผ่านเกณฑ์ทุกคน นอกจากน้ัน
ผู้เรยี นยังสามารถจดจาคาศัพทแ์ ละมที กั ษะการเขียนตัวอักษรจีนที่เรียนในบทเรียนในรายวิชาภาษาจีนได้มาก
ยิ่งขึ้น หลังใช้แบบฝึกเขียนตัวอักษรจีนและทาการ 听写 ด้วย ทาให้ผลคะแนนในการทาแบบทดสอบย่อย
แตล่ ะบทเรยี นเพิม่ มากขึ้นและมผี ลการเรียนทสี่ ูงขึน้ ดว้ ย
ขอ้ เสนอแนะ

นักเรียนควรจะมีเวลาในการฝึกฝนมากกว่าน้ี เน่อื งจากแคใ่ นเวลาเรยี นเพียงแค่สปั ดาห์ละ 3 ชั่วโมงต่อ
สัปดาห์น้ันไม่เพียงพอต่อการฝึกเขียน และผู้วิจัยควรจะทาแบบฝึกทักษะให้หลากหลายครอบคลุมทั้งทักษะ
การฟัง การพดู การอ่าน และการเขียน ตัง้ แตร่ ะดบั งา่ ยไปจนถึงระดบั ยาก เพ่ือทจ่ี ะได้ผลการวจิ ยั ท่ีแมน่ ยามากข้ึน

วิจัยในชนั้ เรยี น หน้า 14

บรรณานุกรม

Ren Jingwen. (2001). ภาษาจนี ระดับตน้ 1. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยเู คชั่น.ไลฟ์ เอบซ.ี (2551).
มนตรี เจียมจรุงยงศ์. สัมผัสภาษาจีน เล่มที่ 1. พิมพ์คร้ังที่ 8. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2559.

汉语教程.第一册.上/杨寄州.—修订本—北京:北京语言大学出版社.

2008.重印(对外汉语本科系列教材)33 书法.ลาดับขดี ตวั อกั ษรจนี . [ออนไลน์].
เข้าถงึ ไดจ้ าก : http://www.bihua.3312345.com
เสนยี ์ วลิ าวรรณ (สนพ.วพ.). หนงั สอื เรยี นสาระการเรียนรู้พนื้ ฐาน “พฒั นาทกั ษะภาษา” เลม่ 3. หน้า 156 –
159. กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชว่ งช้ันท่ี 3 ช้ันมัธยมศกึ ษาที่ 2. ตามหลักสูตร
การศกึ ษาพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2544.

"Chinese Writing Symbols". Kwintessential. สืบคน้ เม่ือ 2010-03-20.

"History of Chinese Writing Shown in the Museums". CCTV online.

สืบคน้ เมอื่ 2010-03-20.

Jane P. Gardner; J. Elizabeth Mills. "Journey to East Asia".

Everything.com, F+W Media. สืบคน้ เมอ่ื 2019-10-20.

Updated from Norman, Jerry. Chinese. New York: Cambridge University Press.
1988, p. 72. ISBN 0-521-29653-6

跟我学汉语.第一册.陈.绂.朱志平:人民教育出版社.

วิจยั ในชน้ั เรียน หน้า 15

ภาคผนวก

วจิ ยั ในช้นั เรียน หนา้ 16

รูปภาพการจัดการเรียนการสอนโดยใชแ้ บบฝึกเสรมิ ทักษะการเขียนลาดับขดี ตวั อีกษรจีน

อา้ งอิงคาศัพทจ์ ากหนงั สอื 跟我学汉语 第一册

วจิ ยั ในชั้นเรยี น หน้า 17

ตัวอยา่ งแบบฝกึ เสริมทกั ษะการเขียนลาดับขีดตัวอกั ษรจนี

วจิ ยั ในช้นั เรยี น หนา้ 18

วจิ ยั ในช้นั เรยี น หนา้ 19

เส้นขดี 笔画

看似复杂的汉子其实只有六种基本笔画,分别叫横(一)、
竖(丨)、撇(丿)、捺(㇏)、点(丶)、提(㇀),其他笔
画都是由这六种笔画变化得来的。

ตัวอักษรจีนดูเหมือนว่าจะสลับซับซ้อนแท้ท่ีจริงแล้วมีเส้นขีดพื้นฐานเพียง 6 ขีด
ซ่ึงเรียกตามลาดับว่า เส้นขว้าง เส้นตั้ง เส้นลากลงซ้าย เส้นลากลงขวา จุด และเส้นยก
สว่ นเสน้ ขีดอื่น ๆ ผนั แปรจากเส้นขดี 6 ชนิดน้ี

认一认,汉字的基本笔画。

มารู้จักเส้นขดี พน้ื ฐานของตัวอักษรจีนกันเถอะ

横 竖撇

捺 点提

วิจัยในช้นั เรียน หนา้ 20

วจิ ยั ในช้นั เรยี น หนา้ 21

一 yī จำนวนนับ

1

二 èr 2

三 sān 3

四 sì 4

วจิ ยั ในชั้นเรยี น หน้า 22

五 wǔ 5

六 liù 6

七 qī 7

八 bā 8

วจิ ยั ในชัน้ เรียน หน้า 23

九 jiǔ 9
十 shí 10

跟我学汉语
เรียนภาษาจีนกบั ฉนั

วจิ ยั ในชนั้ เรยี น หนา้ 24

生词 shēngcí 第一课 Dì yī kè บทท่ี 1
1.你 nǐ
你好!

Nǐ hǎo!

สวัสดี
คำศพั ท์

เธอ

2.好 hǎo ดี

วิจัยในช้นั เรียน หน้า 25

3.我 wǒ ฉนั

4.叫 jiào ชอื่ ,เรยี ก,เรยี กวำ่

วจิ ยั ในชนั้ เรยี น หนา้ 26

5.大卫 Dà wèi ชอื่ คน ต้ำเว้ย

6.王家明 Wángjiā míng ช่อื คน หวำงเจยี หมิง

วิจยั ในชัน้ เรียน หน้า 27

วจิ ยั ในช้นั เรยี น หนา้ 28

วจิ ยั ในช้นั เรยี น หนา้ 29


Click to View FlipBook Version