The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนตำบล66

แผนตำบล66

แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ2566 กศน.ต ำบลกะลุวอ กศน.ต ำบลกะลุวอ กศน.อ ำเภอเมืองนรำธิวำสส ำนักงำน กศน. จังหวัดนรำธิวำส


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ ค าน า แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ ศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเมืองนราธิวาส สังกัดส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยจังหวัดนราธิวาส ฉบับนี้ จัดท าขึ้นเพื่อสนองตอบเจตนารมณ์พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 โดยวิเคราะห์งานและภารกิจของ กศน.ต าบลกะลุวอ ศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเมืองนราธิวาส ที่สอดคล้องกับนโยบาย ทุกระดับ อาทิ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ ส านักงาน กศน. (พ.ศ.2560-พ.ศ.2579) รวมถึงนโยบายและจุดเน้นการด าเนินงานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยของส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ซึ่งสาระของแผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อ าเภอเมืองนราธิวาส ประกอบด้วย ประวัติความเป็นมา ที่ตั้ง วิสัยทัศน์ พันธกิจ ปรัชญาหน่วยงาน ค่านิยม องค์กร เป้าประสงค์ ภารกิจ บทบาทหน้าที่การบริหารจัดการด้านการศึกษาของ กศน.ต าบลกะลุวอ กศน. อ าเภอเมืองนราธิวาส จุดเน้นการด าเนินงานและรายละเอียดงาน/โครงการและงบประมาณที่จะด าเนินการใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และโครงการพัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ของสถานศึกษา กศน.ต าบลกะลุวอ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเมืองนราธิวาส ขอขอบคุณผู้บริหาร บุคลากรและภาคีเครือข่ายทุกท่านที่ให้ ความร่วมมือในการจัดท าแผนปฏิบัติการประจ า ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จนส าเร็จลุล่วงไปด้วยดี และหวัง เป็นอย่างยิ่งว่าแผนปฏิบัติการฉบับนี้จะเป็น แนวทางในการบริหารงาน/โครงการและงบประมาณของ สถานศึกษาตลอดจนเป็นเครื่องมือในการกับติดตาม ผลการด าเนินงาน รวมทั้งเป็นข้อมูลส าหรับหน่วยงานและผู้ที่สนใจกิจกรรมงานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยของอ าเภอเมืองนราธิวาส ต่อไป กศน.ต าบลกะลุวอ


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ สารบัญ เรื่อง หน้า ส่วนที่ 1 บทน า 1 ข้อมูลพื้นฐาน กศน.ต าบลกะลุวอ 2 วิสัยทัศน์การบริหาร 5 ผลการการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ SWOT 8 จุดเน้นการด าเนินงานของงาน/โครงการส าคัญ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 10 งบประมาณรายจ่าย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 11 ส่วนที่ 2 ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักานกศน.ประจ าปีงบประมาณ 2566 15 หลักการ 15 ภารกิจส าคัญตามนโยบายของรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 15 จุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 16 ส่วนที่ 3 การบริหารจัดการด้านการศึกษาของ กศน.อ าเภอเมืองนราธิวาส 20 ข้อมูลทั่วไป 21 ข้อมูลด้านบุคลากร 37 ข้อมูลด้านงบประมาณ 43 ส่วนที่ 4 แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และรายละเอียดงาน/โครงการ 45 แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 46 ภาคผนวก 180 คณะผู้จัดท า 181 ค าสั่งแต่งตั้ง 182


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 1 ส่วนที่ 1 บทน า


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 2 ชื่อสถานศึกษา กศน.ต าบลกะลุวอ ที่ตั้ง / การติดต่อ ตั้งอยู่ อาคารเอนกประสงค์ หมู่ที่ 7 บ้านรอตันบาตู ต าบลกะลุวอ อ าเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส รหัสไปรษณีย์ 96000 (เยื้องโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลกะลุวอ) โทรศัพท์ : 085-5484133 Website : http://narathiwat.nfe.go.th/tbkaluwo E-mail : [email protected] สังกัด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเมืองนราธิวาส ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยจังหวัดนราธิวาส ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ลักษณะที่ตั้งและอาณาเขต ที่ตั้ง ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอ าเภอเมืองนราธิวาส ห่างจากที่ว่าการอ าเภอเมืองนราธิวาสประมาณ 9 กิโลเมตร ข้อมูลพื้นฐาน กศน.ต าบลกะลุวอ


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 3 เนื้อที่ อาณาเขตพื้นที่ 75 ตารางกิโลเมตร หรือ 46,579 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อที่ใกล้เคียงดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับต าบลกะลุวอเหนือ อ าเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส ทิศใต้ ติดต่อกับต าบลมะรือโบออก อ าเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ทิศตะวันออก ติดต่อกับต าบลไพรวัน อ าเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ทิศตะวันตก ติดต่อกับต าบลล าภู และต าบลบางปอ อ าเภอเมืองนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส ประวัติความเป็นมาของกศน.ค าบล ประวัติกศน.ต าบลกะลุวอ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๐ กศน.อ าเภอเมืองนราธิวาส ได้เล็งเห็นความส าคัญของการศึกษาในชุมชน เพื่อเป็น การขยายโอกาสทางการศึกษาให้กับผู้ด้อยโอกาส ขาดโอกาสและพลาดโอกาสทางการศึกษาในระบบ จึงได้ขอ อนุญาตขอใช้ที่ท าการของผู้ใหญ่บ้าน บ้านรอตันบาตู เป็นที่ท าการครูอาสาฯ เพื่อเป็นอาคารส าหรับพบกลุ่ม จัดการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมต่างๆ ในต าบลกะลุวอ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๔๓ องค์การบริหารส่วนต าบลกะลุวอ ได้ย้ายที่ท าการไปอยู่ที่อาคารหลังใหม่ กศน. อ าเภอเมืองนราธิวาส จึงได้ท าเรื่องขออนุญาตใช้สถานที่ในการพบกลุ่ม พร้อมได้ยกระดับจากที่ท าการพบกลุ่ม มา เป็นศูนย์การเรียนชุมชนต าบล ซึ่งได้ด าเนินการพบกลุ่ม และจัดกิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียนประเภทต่างๆ ให้กับนักศึกษาและประชาชนในต าบลกะลุวอ ต่อมาตัวอาคารเกิดช ารุดทรุดโทรม องค์การบริหารส่วนต าบล


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 4 กะลุวอ โดยนายรอมือลี หะยีและ นายกอบต. กะลุวอ ได้สนับสนุนงบประมาณในการซ่อมแซมอาคารดังกล่าว และต่อมาในปี ๒๕๕๐ ศรช.กะลุวอ ได้รับคัดเลือกให้เป็น ศรช. ต้นแบบ ของอ าเภอเมืองนราธิวาส ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ส านักงานกศน. ได้เล็งเห็นความส าคัญของการศึกษาในชุมชนจึงได้ยกระดับให้ ศรช. เป็น กศน. ประจ าต าบลดังกล่าว บริบททั่วไป กศน.ต าบล สืบเนื่องจากมีพ่อค้าจากตรังกานู ประเทศมาเลเซีย ได้เดินทางจากตรังกานูด้วยเรือส าเภาบรรทุก สินค้าประเภท ถ้วย ชาม สังคโลก และอื่นๆ โดยเดินเรือทางอันดามันเข้าสู่จังหวัดนราธิวาส ผ่านแม่น้ าบางนรา เข้าคลองยะกัง เพื่อถ่ายสินค้า หลังจากนั้นได้เดินทางผ่านแม่น้ าบางนราตอนล่างเข้าสู่ ม.๓ บ้านกาแนะในปัจจุบัน และผ่านเข้าคลองเล็กๆ พอเดินทางไปได้สักระยะหนึ่งปรากฏว่าคลองตัน คนที่อยู่หัวเรือได้ตะโกนบอกว่า “กลัว” เป็นภาษามาเลย์ซึ่งแปลว่า ออก ต่อมาจึงเพี้ยนมาเป็นกะลุวอจนถึงปัจจุบันนี้ วิสัยทัศน์ คนไทยทุกชวงวัยได้รับโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีทักษะที่ จ าเป็น และสมรรถนะที่สอดรับกับทิศทางการพัฒนาประเทศ สามารถด ารงชีวิตได้อย่างเหมาะสมบนรากฐาน ของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พันธกิจ 1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อยกระดับการศึกษาและ พัฒนาสมรรถนะ ทักษะการเรียนรู้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย ให้พร้อมรับการ เปลี่ยนแปลงและการปรับตัวในการด ารงชีวิตได้อย่างเหมาะสม ก้าวสู่การเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างยั่งยืน 2. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา การวัดและประเมินผลในทุกรูปแบบให้มีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้และ บริบทในปัจจุบัน 3. ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และน าเทคโนโลยีมาพัฒนาเพื่อเพิ่มช่องทางและ โอกาสการเรียนรู้ รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดและให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมายอย่างทั่วถึง 4. ส่งเสริมสนับสนุน แสวงหา และประสานความร่วมมือเชิงรุกกับภาคีเครือข่าย ให้เข้ามามีส่วน ร่วมในการสนับสนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิตใน รูปแบบต่าง ๆให้กับประชาชน


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 5 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการภายในองค์กรให้มีเอกภาพ เพื่อการบริหารราชการที่ดี บนหลัก ของธรรมาภิบาล มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคล่องตัวมากยิ่งขึ้น 6. ยกระดับการบริหารและการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะ คุณธรรม และจริยธรรมที่ดี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการให้บริการทางการศึกษาและการเรียนรู้ที่มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น อัตลักษณ์ สุภาพ มีน้ าใจ ใฝ่เรียนรู้ เอกลักษณ์ งานดี กิจกรรมเด่น เน้น ICT เป้าประสงค์ 1. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษารวมทั้งประชาชนทั่วไปได้รับโอกาสทาง การศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตาม อัธยาศัยที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง เป็นไปตามบริบท สภาพปัญหาและความต้องการของแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย 2. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม หน้าที่ความ เป็นพลเมืองที่ดีภายใต้การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ที่สอดคล้องกับ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อันน าไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน เพื่อพัฒนาไปสู่ความมั่นคงและยั่งยืนทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม 3. ประชาชนได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเองผ่านแหล่งเรียนรู้ ช่องทางการเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบต่าง ๆ รวมทั้งมีเจตคติทางสังคม การเมือง วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถคิด วิเคราะห์ แยกแยะอย่างมีเหตุผล และน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน รวมถึงการแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างสร้างสรรค์ 4. หน่วยงานและสถานศึกษา กศน. มีหลักสูตร สื่อ นวัตกรรม ช่องทางการเรียนรู้ และ กระบวนการเรียนรู้ ในรูปแบบที่หลากหลาย ทันสมัย และรองรับกับสภาวะการเรียนรู้ในสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตตามความต้องการของประชาชนและชุมชน รวมทั้งตอบสนองกับการ เปลี่ยนแปลงบริบทด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 6 5. หน่วยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถน าเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมา พัฒนาเพื่อเพิ่มช่องทางการเรียนรู้ และน ามาใช้ในการยกระดับคุณภาพในการจัดการเรียนรู้และโอกาสการ เรียนรู้ให้กับประชาชน 6. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งการขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรู้ของชุมชน 7. หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการองค์กรที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และ เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล 8. บุคลากร กศน. ทุกประเภททุกระดับได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มทักษะและสมรรถนะในการ ปฏิบัติงานและการให้บริการทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมถึงการปฏิบัติงานตาม สายงานอย่างมีประสิทธิภาพ สภาพปัญหาและความต้องการทางการศึกษาของประชาชนที่จ าแนกตามลักษณะของกลุ่มเป้าหมาย ที่ กิจกรรม/ด้าน ปัญหาและความต้องการทางการศึกษา หมายเหตุ 1. ด้านการรู้หนังสือ ต าบลกะลุวอเป็นพื้นที่ที่มีอาณาเขตติดกับอ าเภอเมือง นราธิวาสซึ่งเป็นเขตเทศบาลเมือง ท าให้ประชาชนในพื้นที่ ซึ่งเป็นพื้นที่ใกล้เคียงได้รับการพัฒนาทางด้านการศึกษา พร้อมๆกันไปด้วย แต่อีกส่วนหนึ่งในสภาพของการรู้หนังสือ ไทย ยังมีกลุ่มเป้าหมายที่อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ อีกเยอะ แต่เป็นกลุ่มผู้สูงอายุ นอกจากนั้น อีกกลุ่มหนึ่งที่ กศน.ต าบล กะลุวอต้องเข้าไปให้บริการและกลุ่มเป้าหมายต้องการที่จะ เรียนรู้เพิ่มเติม คือ กลุ่มที่ลืมหนังสือ ซึ่ง ทั้ง 2 กลุ่ม ดังกล่าว เกิดจากในพื้นที่ของสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ไม่ได้ใช้ภาษาไทยในการด าเนินชีวิตประจ าวัน ท าให้ มีการ ลืมหนังสืออ่านไม่ออก เขียนไม่ได้เกิดขึ้น 2. ด้านการศึกษาระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ในปัจจุบัน การศึกษานอกระบบมีแนวโน้มที่จะจัด การศึกษาเพื่อรองรับกลุ่มเยาวชนที่ออกมาจากในระบบมาก ยิ่งขึ้น ซึ่งกลุ่มเป้าหมายดังกล่าวส่วนใหญ่เป็นเยาวชนที่ออก กลางคัน กศน.ต าบลกะลุวอจึงต้องรณรงค์ให้กลุ่มเป้าหมาย ดังกล่าวได้กลับเข้าสู่กระบวนการเรียนต่อไป แต่ทั้งนั้น กศน.ต าบลกะลุวอ ก็ยังไม่ทิ้งกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการพัฒนา ผลการวิเคราะห์ (SWOT Analysis) ของกศน.ต าบลกะลุวอ


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 7 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม กศน. ต าบลกะลุวอ (SWOT Analysis) 1. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน ประเด็น การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน Strengths (S-จุดแข็ง) Weaknesses (W-จุดอ่อน) 1. ด้านบุคลากร - มีความรู้ ความสามารถในการ ปฏิบัติงานร่วมกับชุมชน - มีจ านวนเพียงพอในการปฏิบัติงาน - มีความสามารถในการจัดกิจกรรมที่ หลากหลาย - มีความสามัคคี ท างานเป็นทีม - บุคลากรมีการเข้าออกบ่อยท าให้งานขาดความ ต่อเนื่อง - บุคลากรขาดความรู้/ทักษะในการน า ICT มาใช้ ในการปฏิบัติงาน - ขาดความกระตือรือร้นและความเอาใจใส่ 2. ด้านงบประมาณ - มีระเบียบ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ที่ชัดเจน - ผู้ปฏิบัติงานไม่ศึกษาระเบียบให้ชัดเจน - บางกิจกรรมไม่มีงบประมาณในการด าเนินงาน โดยตรงและบางกิจกรรมงบประมาณไม่เพียงพอ ต่อความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย คุณภาพชีวิต พัฒนาตนเองเพื่อการท างานอีกด้วย 3. ด้านการศึกษาต่อเนื่อง - ด้านอาชีพ - ด้านการพัฒนาทักษะชีวิต - ด้านการพัฒนาสังคมและ ชุมชน - ด้านปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ปัญหาและความต้องการที่หลากหลายในพื้นที่ ท าให้ กศน.ต าบลกะลุวอต้องมีกิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อ ตอบสนองตรงต่อตามความต้องการของประชาชน ไม่ว่าจะ เป็นเรื่องของการเสริมสร้างอาชีพ การมีอาชีพเสริม การ พัฒนาคุณภาพชีวิตด้านต่างๆ ของกลุ่มต่างๆ ปัญหาและ ความต้องการดังกล่าว ได้รับการตอบสนองจาก กศน.ต าบล กะลุวอ ด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย ตรงตามความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมาย 4. ด้านการศึกษาตามอัธยาศัย ปัญหาและอุปสรรคส าคัญในการจัดการศึกษาตาม อัธย าศัย คือป ระช าชนในพื้นที่ไม่สนใจ ไม่มีค ว าม กระตือรือร้นในการขวนขวายเข้าหาแหล่งเรียนรู้ กศน. ต าบลกะลุวอ จึงได้จัดกิจกรรมที่หลากหลายเคลื่อนที่เข้าสู่ ชุมชน เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ กระตุ้นให้มีความอยากรู้ อยากเห็นเพิ่มมากขึ้นสามารถ เลือกเรียน รู้ในกิจกรรมต่ างๆ ต ามความต้องก ารได้ หลากหลาย อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มแหล่งเรียนรู้ที่สามารถ เข้าถึงได้ทุกคน ทุกที่ ทุกเวลา อีกด้วย


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 8 3. ด้านอาคาร สถานที่ สื่อ วัสดุอุปกรณ์ - อาคารเป็นเอกเทศ - สถานที่ตั้งเป็นศูนย์กลางของต าบล สะดวกในการให้บริการและการ ประสานงาน - มีบริเวณและพื้นที่ เหมาะสมในการ จัดกิจกรรม - ขาดงบประมาณในการบ ารุงรักษา - บุคลากรขาดความรู้ในการบ ารุงรักษาสื่อ และ วัสดุอุปกรณ์ 4. ด้านโครงการสร้าง องค์กร/การบริหาร จัดการ ค่านิยมองค์กร - โครงสร้างการบริหารชัดเจน - มีค าสั่งแต่งตั้งบุคลากรในการ ปฏิบัติงานตามหน้าที่ - มีการวางแผนการด าเนินที่ชัดเจน - บุคลากรปฏิบัติตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายไม่ เต็มความสามารถ - ขาดการประชาสัมพันธ์งาน กศน.และกิจกรรม เด่น อย่างต่อเนื่อง - ไม่มีการน าผลการนิเทศมาปรับปรุงพัฒนางาน ประเด็น การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก Opportunities (O-โอกาส) Threats (T-อุปสรรค) 1. ด้านนโยบาย กฎหมายที่ เกี่ยวข้อง - มีนโยบาย แผนงานและโครงการลงพื้นที่ อย่างชัดเจน - มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายและแนว ทางการปฏิบัติงานบ่อยครั้ง - มีหนังสือ ค าสั่งการที่เป็นเรื่องเร่งด่วน บ่อยครั้งจนกระทบการเรียนการสอน 2. ด้านความปลอดภัยใน พื้นที่ - สถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัด ชายแดนใต้เป็นปัญหาในการท างานบ้าง 3. ด้านสังคม-วัฒนธรรม - ชุมชนให้ความส าคัญกับการเสริมสร้าง โอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอด ชีวิต -ชุมชนให้ความส าคัญในการเร่งสร้าง โอกาสทางการศึกษาวิชาชีพส่งเสริม ค่านิยมด้านอาชีพหรือสร้างอาชีพและการ มีงานท า -ชุมชนยึดมั่นในหลักค าสอนและหลัก ปฏิบัติของศาสนาอย่างเคร่งครัด -ชุมชนมีความรักและร่วมอนุรักษ์ใน ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น - ครอบครัวบางส่วนขาดความรู้ความเข้าใจ ในการส่งเสริมด้านเรียนการสอน - ปัญหาครอบครัวแตกแยก 4.ด้านเศรษฐกิจ - ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงาน เครือข่ายในพื้นที่ - ค่าครองชีพสูง


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 9 2. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก • จุดแข็ง(Strengths) จุดแข็ง เหตุผลประกอบ/ข้อมูลสนับสนุน/หลักฐาน/ตัวชี้วัด 1. สถานศึกษามีการก าหนดปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ และเป้าหมาย แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนการปฏิบัติการ ประจ าปี แผนที่ชัดเจนและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และ จุดเน้นของส านักงาน กศน. สอดคล้องกับแผนพัฒนาใน 1.แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2.แผนปฏิบัติการอ าเภอ ต าบล 3.แผนงาน/โครงการ 5. ด้านเทคโนโลยี/การ คมนาคม ติดต่อสื่อสาร - มีเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่สามารถน ามาจัด กระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ - สื่อเทคโนโลยีและสารสนเทศที่ได้รับไม่ เพียงพอกับความต้องการของจ านวน ผู้รับบริการ - บุคลากรขาดความรู้ด้านเทคโนโลยี ทางการสอน 6.ด้านสิ่งแวดล้อม - มีแหล่งเรียนรู้ ฐานเรียนรู้ และภูมิปัญญา ที่หลากหลาย - สภาพแวดล้อมชุมชนมีความเสี่ยงต่อสิ่ง เสพติดและอบายมุข ประเด็น S (จุดแข็ง) W (จุดอ่อน) O (โอกาส) T (อุปสรรค) 1. การบริหาร งบประมาณ - มีระเบียบ ขั้นตอนที่ ชัดเจน - เจ้าหน้าที่ไม่ศึกษา ระเบียบ - เจ้าหน้าที่ไม่ยืดหยุ่น - ได้รับการสนับสนุน จากหลายหน่วยงานทั้ง ภาครัฐและเอกชน - การเบิกจ่ายล่าช้า 2. ภาคีเครือข่าย - มีความหลากหลายทั้ง ภาครัฐและเอกชน - ขาดการประสานงาน ในการร่วมกันวาง แผนการท างานอย่าง ต่อเนื่อง - เครือข่ายให้ความ ร่วมมือในการจัด กิจกรรม - เครือข่ายที่ให้การ สนับสนุนมีไม่ สอดคล้องกับความ ต้องการในการจัด กิจกรรมการศึกษา 3. อาคาร สถานที่ 4. ศูนย์การเรียน ชุมชนประจ าต าบล (กศน.ต าบล) - สะดวกในการให้บริการ และการประสานงาน - มีบริเวณ แลอาคาร สถานที่เหมาะสมในการ จัดกิจกรรม - มีการให้บริการ ครอบคลุมทุกต าบล - ขาดบุคลากรด้านการ ดูแลอาคารสถานที่ - ส่วนใหญ่ไม่เป็น เอกเทศ - สะดวกในการเดินทาง มารับบริการ - ชุมชนและเครือข่าย ให้ความร่วมมือในการ จัดกิจกรรมการศึกษา นอกโรงเรียน - ขาดงบประมาณใน การจัดจ้างบุคลากร ด้านอาคารสถานที่ - ขาดงบประมาณใน การพัฒนา ศรช.เพื่อ ตอบสนองความ ต้องการในการ บริการที่หลากหลาย


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 10 พื้นที่จชต. 2. บุคลากรมีจ านวนเพียงพอในการปฏิบัติงานและได้รับ การอบรมอย่างต่อเนื่อง 1. มีค าสั่งแต่งตั้งบุคลากรในการปฏิบัติหน้าที่ 3.การจัดกระบวนการเรียนรู้และให้บริการการศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย ได้อย่าง ต่อเนื่อง ทั่วถึง สอดคล้องและตรงตามความต้องการของ ประชาชนในพื้นที่รวมทั้งมีหลักสูตร สื่อและเทคโนโลยีดิจิทัล พร้อมรองรับในการจัดการเรียนรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมาย จ านวนกลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเรียนในกิจกรรม การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่องและการศึกษา ตามอัธยาศัย 4. มีหน่วยงานภาคีเครือข่าย ทั้งภาครัฐและเอกชน ร่วม ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย บันทึกข้อตกลงร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ 5.ในพื้นที่มีแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นพร้อมร่วม สนับสนุนให้บริการแก่ผู้รับบริการ กศน.ทุกกลุ่มเป้าหมาย ห้องสมุดประช าชนประจ าจังหวัด ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อ การศึกษา แหล่งเรียนรู้ทั้งองค์กรภาครัฐและเอกชน กศน. ต าบลทุกแห่ง 6. มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษากระตุ้นให้ สถานศึกษาพัฒนาการศึกษาต่อเนื่องเป็นไปตามมาตรฐาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 1.มีค าสั่งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบตามมาตรฐานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2.มีเครื่องมือประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา • จุดอ่อน(Weaknesses) จุดอ่อน เหตุผลประกอบ/ข้อมูลสนับสนุน/หลักฐาน/ตัวชี้วัด 1.นโยบายส่วนกลาง มีการเปลี่ยนแปลง นโยบาย และแนวทางปฏิบัติบ่อยครั้ง การด าเนินงานขาดความต่อเนื่องและล่าช้าในขั้นตอนการ ด าเนินงาน 2. บุคลากรมีการโยกย้าย เปลี่ยนแปลงบ่อย การโยกย้าย การเปลี่ยนแปลง การด าเนินงานขาดความ ต่อเนื่องล่าช้า 3.บุคลากรไม่ศึกษาคู่มือการปฏิบัติงาน ไม่สามารถปฏิบัติงานได้ถูกต้องครบถ้วน • โอกาส (Opportunities) โอกาส เหตุผลประกอบ/ข้อมูลสนับสนุน/หลักฐาน/ตัวชี้วัด 1.นโยบายส่วนกลาง เน้นให้ความส าคัญกับ การศึกษาตลอดชีวิต เน้นการสร้างงาน สร้าง อาชีพ 1.แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2. แผนการศึกษาแห่งชาติ 3. ยุทธศาสตร์และจุดเน้นประจ าปีงบประมาณ 4. แผนยุทธศาสตร์ในพื้นที่ เช่น แผนยุทธศาสตร์ การศึกษาจชต. 2.กลุ่มเป้าหมายมีความหลากหลายในด้าน อาชีพ อายุ ประสบการณ์และให้ความส าคัญ กับการเรียนรู้ตลอดชีวิต ต้องการพัฒนา จ านวนผู้รับบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 11 คุณภาพชีวิตของตนเองให้ดีขึ้น 3. มีแหล่งเรียนรู้ ฐานเรียนรู้ ภูมิปัญญา และ เครือขายทั้งภาครัฐและเอกชนที่หลากหลายให้ การสนับสนุนการจัดการศึกษา 1. ท าเนียบ 2 .การร่วมท า MOU ของหน่วยงาน 4. ชุมชนยึดมั่นในหลักค าสอนและหลักปฏิบัติ ของศาสนาอย่างเคร่งครัด มีความรักและร่วม อนุรักษ์ในศิลปวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น การด าเนินงานการจัดกิจกรรม/โครงการ • อุปสรรค(Threats) อุปสรรค เหตุผลประกอบ/ข้อมูลสนับสนุน/หลักฐาน/ตัวชี้วัด 1.สถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัด ชายแดนใต้ เหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ 2. สภาพแวดล้อมชุมชนมีความเสี่ยงต่อสิ่งเสพ ติดและอบายมุข กลุ่มเป้าหมายเป็นกลุ่มเสี่ยง 3. ผู้รับบริการไปใช้แรงงานในต่างประเทศ การเดินทางเข้า-ออกประเทศเพื่อนบ้าน


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 12 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อ าเภอเมืองนราธิวาส มีโครงการ/กิจกรรมต่างๆ ในแผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.256 6 ตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร รวมทั้งสิ้น 13 โครงการที่ต้องปฏิบัติตามนโยบายและจุดเน้นที่ส าคัญของส านักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (ส านักงาน กศน.) ตามบทบาทภารกิจของหน่วยงานและ ความต้องการของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย 1. โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. โครงการการส่งเสริมการรู้หนังสือ 3. โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 4. โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน 5. โครงการการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6. โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย 7. โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 8. โครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ 9. โครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน 10. โครงการการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของ ผู้สูงอายุ 11. โครงการกีฬา กศน.ชายแดนใต้เกมส์ 12. โครงการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในสถาบันศึกษาปอเนาะ 13. โครงการส่งเสริมทักษะการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารในจังหวัดชายแดนใต้ แผนปฏิบัติการและงบประมาณรายจ่าย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ กศน.อ าเภอเมืองนราธิวาส


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 13 ในปงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอ าเภอเมืองนราธิวาส ได้รับการจัดสรรงบประมาณส าหรับการด าเนินงานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย จากงบประมาณรายจ่ายประจ าปงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยจ าแนกเป็นแผนงาน ตางๆ ดังนี้ ล าดับ แผนงาน/โครงการ ประเภท งบประมาณ จ านวน เป้าหมาย จ านวนเงิน (บาท) แผนงาน : ยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา 1 โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับ อนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน -ค่าหนังสือเรียน -ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน -ค่าจัดการเรียนการสอน งบเงินอุดหนุน 234 234 234 286,071 51,812 58,592 175,667 แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ 2 โครงการการส่งเสริมการรู้หนังสือ งบด าเนินงาน 15 คน 8,328 3 โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต งบด าเนินงาน 14 คน 1,560 4 โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน งบด าเนินงาน 8 คน 3,428 5 โครงการการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง งบด าเนินงาน 3 คน 1,200 ผลผลิตที่ 5 ผู้รับบริการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 6 โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย - ห้องสมุดประชาชนจังหวัด - บ้านหนังสือชุมชน - หน่วยบริการเคลื่อนที่ (รถโมบาย) - อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน - ห้องสมุดชาวตลาด งบด าเนินงาน งบด าเนินงาน งบด าเนินงาน งบด าเนินงาน งบด าเนินงาน 714 คน 252 คน 228 คน 22 คน 182 คน - - - - - แผนงาน : ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 7 โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน -กิจกรรมพัฒนาอาชีพระยะสั้น (กลุ่มสนใจ ไม่เกิน 30 ชม.) -กิจกรรมชั้นเรียนวิชาชีพ (31 ชม.ขึ้นไป) -กิจกรรม 1 อ าเภอ 1 อาชีพ งบรายจ่ายอื่น 38 คน 7 คน 11 คน - 16,900 7,000 9,900 - งบประมาณรายจ่าย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 14 ล าดับ แผนงาน/โครงการ ประเภท งบประมาณ จ านวน เป้าหมาย จ านวนเงิน (บาท) แผนงาน : ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรมภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ 8 โครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ งบรายจ่ายอื่น 2 คน 2,582 แผนงาน : ยุทธศาสตร์พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล งบรายจ่ายอื่น 9 โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล งบรายจ่ายอื่น 15 คน 3,000 แผนงาน : ยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 10 โครงการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อ คงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ งบรายจ่ายอื่น 12 คน 870 แผนงาน : ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ โครงการบริหารจัดการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมการพัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและ ตามอัธยาศัยในจังหวัดชายแดนใต้ 11 โครงการกีฬา กศน.ชายแดนใต้เกมส์ งบรายจ่ายอื่น 2 คน 2,542 12 โครงการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในสถาบันศึกษาปอเนาะ - กิจกรรมส่งเสริมทักษะอาชีพ - กิจกรรมสนับสนุนชมรมอาสาพัฒนาปอเนาะ - กิจกรรมส่งเสริมมุมเรียนรู้ -กิจกรรม 1 ปอเนาะ 1 โครงการพัฒนา งบรายจ่ายอื่น งบรายจ่ายอื่น งบรายจ่ายอื่น งบรายจ่ายอื่น 1 แห่ง 1 แห่ง 1 แห่ง 1 แห่ง 14,197 7,342 642 1,071 5,142 13 โครงการส่งเสริมทักษะการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารใน จังหวัดชายแดนใต้ - กิจกรรมจัดซื้อสื่อภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร - กิจกรรมค่ายฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาไทย - กิจกรรมจัดซื้อสื่อภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร - กิจกรรมค่ายฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาต่างประเทศ งบรายจ่ายอื่น งบรายจ่ายอื่น งบรายจ่ายอื่น งบรายจ่ายอื่น 3 คน 3 คน 3 คน 3 คน 15,340 2,322 5,348 2,322 5,348


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 15 ส่วนที่ 2 จุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 15 ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ 2566 ส ำนักงำน กศน. เป็นหน่วยงำนที่มีภำรกิจในกำรจัดกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย ตระหนักถึงควำมส ำคัญของกำรพัฒนำคนตลอดช่วงชีวิต ได้มุ่งมั่นขับเคลื่อนภำรกิจหลักตำมแผนพัฒนำ ประเทศและนโยบำยและจุดเน้นของกระทรวงศึกษำธิกำรที่มุ่งหวังให้ผู้เรียนทุกช่วงวัยจะได้รับกำรพัฒนำในทุก มิติ ทั้งในด้ำนโอกำส ควำมเท่ำเทียม ควำมเสมอภำค ควำมปลอดภัย และมีสมรรถนะที่ส ำคัญจ ำเป็นใน ศตวรรษที่ ๒๑ และมีควำมพร้อมร่วมขับเคลื่อนกำรพัฒนำประเทศสู่ควำมมั่นคงมั่งคั่งและยั่งยืน โดยเน้นกำร พัฒนำคุณภำพ กำรศึกษำนอกระบบระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน กำรศึกษำต่อเนื่อง และกำรศึกษำตำมอัธยำศัย อันจะน ำไปสู่ กำรสร้ำงโอกำส ควำมเท่ำเทียมและลดควำมเหลื่อมล้ ำทำงกำรศึกษำ ยกระดับคุณภำพและเพิ่ม ประสิทธิภำพ กำรให้บริกำรส ำหรับทุกกลุ่มเป้ำหมำย และสร้ำงควำมพึงพอใจให้กับผู้รับบริกำร โดยได้ก ำหนด จุดเน้นกำรด ำเนินงำน ส ำนักงำน กศน. ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ดังนี้ หลักการ กศน. เพื่อประชำชน “ก้ำวใหม่ : ก้ำวแห่งคุณภำพ” จุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย ๑.๑ สร้ำงควำมปลอดภัยในหน่วยงำน/สถำนศึกษำ และป้องกันจำกภัยคุกคำมในชีวิตรูปแบบ ต่ำงๆ ผ่ำนกิจกรรม “White Zone กศน. ปลอดภัย ไร้สำรเสพติด” เน้นแนวทำงกำรปฏิบัติภำยใต้หลักกำร ๓ ป. ได้แก่ ป้องกัน ปลูกฝัง และปรำบปรำม โดยวำงแผนและมำตรกำรด้ำนควำมปลอดภัยจำกสถำนกำรณ์ ต่ำงๆ อำทิเช่น โรคระบำด เหตุกำรณ์ควำมไม่สงบ เป็นต้น ให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลำกรในรูปแบบต่ำงๆ อย่ำง เข้มข้น รวมทั้ง ด ำเนินกำรศึกษำ วิเครำะห์ วิจัย ติดตำมประเมินผลกำรด ำเนินกำร เพื่อปรับปรุง พัฒนำ และ ขยำยผลต่อไป ๑.๒ ปลูกฝังทัศนคติ พฤติกรรม และองค์ควำมรู้ที่เกี่ยวข้อง โดยบูรณำกำรกระบวนกำร จัดกำร เรียนรู้เพื่อสร้ำงโอกำสในกำรเรียนรู้ และสร้ำงภูมิคุ้มกันควบคู่กับกำรใช้สื่อสังคมออนไลน์ในเชิงบวกและ สร้ำงสรรค์ พร้อมทั้งหำแนวทำงวิธีกำรปกป้องคุ้มครองต่อสถำนกำรณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลำกร ทำงกำรศึกษำ ๑.๓ เสริมสร้ำงกำรรับรู้ ควำมเข้ำใจ ควำมตระหนักด้ำนสิ่งแวดล้อมให้กับประชำชน และวำงแผน เตรียมควำมพร้อมในกำรป้องกัน รับมือ และเยียวยำ เหตุกำรณ์ภัยพิบัติจำกธรรมชำติ รวมทั้งกำรปรับตัว รองรับกำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศที่จะเกิดขึ้นในอนำคต


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 15 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา ๒.๑ ส่งเสริม สนับสนุนให้สถำนศึกษำน ำหลักสูตรฐำนสมรรถนะไปสู่กำรปฏิบัติอย่ำงเต็มรูปแบบ เพื่อสร้ำงสมรรถนะที่ส ำคัญจ ำเป็นส ำหรับศตวรรษที่ ๒๑ ให้กับผู้เรียน ๒.๒ พัฒนำทักษะดิจิทัลส ำหรับผู้เรียนทุกช่วงวัย เพื่อรองรับกำรเปลี่ยนแปลงสู่สังคมดิจิทัลในโลก ยุคใหม่ ๒.๓ ส่งเสริมกำรจัดกำรศึกษำเพื่อเสริมสร้ำงควำมมั่นคง กำรสร้ำงควำมเข้ำใจที่ถูกต้องในกำร ปกครอง ระบอบประชำธิปไตย กำรเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม สร้ำงวินัย จิตสำธำรณะ อุดมกำรณ์ ควำมยึดมั่น ในสถำบันหลักของชำติ กำรเรียนรู้ประวัติศำสตร์ของชำติและท้องถิ่น เสริมสร้ำงวิถีชีวิตของควำม เป็นพลเมืองและมีศีลธรรมที่เข้มแข็ง รวมถึงกำรมีจิตอำสำ โดยผ่ำนกิจกรรมต่ำงๆ ที่เป็นกำรเพิ่มทักษะที่จ ำเป็น ต่อกำรด ำรงชีวิต เช่น ทักษะควำมคิดสร้ำงสรรค์ กำรคิดวิเครำะห์ กำรตัดสินใจ กำรสื่อสำรระหว่ำงบุคคล กำรเตรียมพร้อมรับควำมเปลี่ยนแปลงที่เหมำะสมกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับกำรเรียนรู้ประวัติศำสตร์ ของท้องถิ่น ๒.๔ ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จำกกำรลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) ทั้งในสถำนศึกษำ และแหล่งเรียนรู้ต่ำงๆ รวมทั้งพัฒนำ Digital Learning Platform แพลตฟอร์มกำรเรียนรู้ของส ำนักงำน กศน. ที่หลำกหลำยทั้งในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ และให้มีคลังสื่อกำรเรียนรู้ที่เป็นสื่อที่ถูกต้องตำมกฎหมำย เข้ำถึงกำรสืบค้นได้ง่ำยและสะดวกรวดเร็ว และน ำไปใช้ในกำรจัดกำรเรียนรู้ตอบสนองควำมสนใจรำยบุคคล ของผู้เรียน ๒.๕ ส่งเสริมให้ควำมรู้ด้ำนกำรเงินและกำรออม (Financial Literacy) กำรวำงแผนและสร้ำงวินัย ทำงกำรเงินให้กับบุคลำกรและผู้เรียน กศน. โดยบูรณำกำรกำรท ำงำนร่วมกับหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง อำทิ กระทรวงกำรคลัง ธนำคำร สหกรณ์ ผ่ำนกระบวนกำรเรียนรู้ โครงกำร และกิจกรรมต่ำง ๆ ๒.๖ ปรับโฉมศูนย์วิทยำศำสตร์เพื่อกำรศึกษำ ศูนย์ฝึกและพัฒนำอำชีพฯ ห้องสมุดประชำชน และแหล่งเรียนรู้อื่นๆ ของ กศน. ให้มีควำมทันสมัย สวยงำม สะอำด จูงใจผู้เข้ำรับบริกำร มีฐำนจัดกำรเรียนรู้ ด้ำนต่ำงๆ อำทิ ด้ำนวิทยำศำสตร์ ด้ำนอำชีพ มีมุมกิจกรรมเชิงสร้ำงสรรค์ ท ำกิจกรรมร่วมกับครอบครัว พื้นที่ กำรเรียนรู้ ในรูปแบบ Public Learning Space/Co - learning Space ที่ผู้รับบริกำรสำมำรถรับเอกสำร รับรองกำรเข้ำร่วม กิจกรรม เพื่อน ำไปใช้ประโยชน์ในส่วนที่เกี่ยวข้องหรือสะสมหน่วยกำรเรียนรู้ (Credit Bank) ๒.๗ จัดท ำรำยละเอียดกำรก่อสร้ำงแหล่งเรียนรู้ กศน. เพื่อเป็นข้อมูลประกอบกำรจัดท ำค ำขอ งบประมำณในกำรปรับปรุง/ซ่อมแซม ๒.8 ส่งเสริมให้สถำนศึกษำน ำผลกำรทดสอบกำรศึกษำแห่งชำติ (N-net) ไปใช้วำงแผนพัฒนำ ประสิทธิภำพในกำรจัดกำรเรียนกำรสอน และยกระดับคุณภำพกำรศึกษำของผู้เรียน ๒.๙ เร่งด ำเนินกำรเรื่อง Academic Credit-bank System ในกำรสะสมและเทียบโอนหน่วยกิต เพื่อกำรสร้ำงโอกำสในกำรศึกษำในชุมชน ๒.๑๐ สร้ำงอำสำสมัคร กศน. เพื่อเป็นเครือข่ำยในกำรส่งเสริม สนับสนุนกำรจัดกำรศึกษำ ตลอดชีวิต ๒.๑๑ ส่งเสริมกำรมีส่วนร่วมของภำคีเครือข่ำยทุกภำคส่วน เพื่อสร้ำงควำมพร้อมในกำรจัด กำรศึกษำ นอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย และกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้ตลอดชีวิตส ำหรับประชำชน ๒.๑๒ ส่งเสริมกำรจัดกิจกรรมกำรอ่ำนเพื่อป้องกันโรคสมองเสื่อมและกำรลืมหนังสือในผู้สูงอำยุ


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 15 ๒.๑๒ ส่งเสริมกำรจัดกิจกรรมกำรอ่ำนเพื่อป้องกันโรคสมองเสื่อมและกำรลืมหนังสือในผู้สูงอำยุ ๒.๑๓ ส่งเสริมกำรน ำระบบประกันคุณภำพกำรศึกษำภำยในมำใช้เป็นแนวทำงในกำรยกระดับ คุณภำพให้กับผู้เรียน และผู้รับบริกำรของส ำนักงำน กศน. ๓. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย ๓.๑ พัฒนำข้อมูลระบบสำรสนเทศของผู้เรียนระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนรำยบุคคล เพื่อใช้เป็น ฐำนข้อมูล ประกอบกำรส่งต่อผู้เรียน และกำรค้นหำเด็กตกหล่นและออกกลำงคัน ผ่ำนโครงกำร “พำน้อง กลับมำเรียน” และ “กศน.ปักหมุด” ๓.๒ พัฒนำข้อมูล และวำงแผนทำงเลือกทำงกำรศึกษำและกำรเรียนรู้ที่หลำกหลำยให้กับผู้เรียน กลุ่มเป้ำหมำยพิเศษ และกลุ่มเปรำะบำง ในกำรเข้ำถึงกำรศึกษำ กำรเรียนรู้ และกำรฝึกอำชีพอย่ำงเท่ำเทียม ๓.๓ พัฒนำทักษะฝีมือ พัฒนำกำรทำงร่ำงกำยและจิตใจกลุ่มผู้สูงอำยุ ให้สำมำรถพึ่งพำตนเองได้ สำมำรถด ำเนินชีวิตได้เต็มตำมศักยภำพ โดยเน้นกำรด ำเนินกิจกรรมใน ๔ มิติ ได้แก่ ด้ำนสุขภำพ ด้ำนสังคม ด้ำนเศรษฐกิจ ด้ำนสภำพแวดล้อมและเทคโนโลยี ๔. การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ๔.๑ พัฒนำหลักสูตรอำชีพที่เน้น New skill Up - skill และ Re - skill ที่สอดคล้องกับมำตรฐำน อำชีพ บริบทพื้นที่ และควำมสนใจ พร้อมทั้งสร้ำงช่องทำงอำชีพในรูปแบบที่ควำมหลำกหลำยของ กลุ่มเป้ำหมำย เช่น ผู้พิกำร ผู้สูงอำยุ ควำมต้องกำรของตลำดแรงงำน และกลุ่มอำชีพใหม่ที่รองรับ Disruptive Technology เพื่อกำรเข้ำสู่กำรรับรองสมรรถนะและได้รับคุณวุฒิตำมกรอบคุณวุฒิแห่งชำติ รวมทั้งสำมำรถน ำ ผลกำรเรียนรู้และ ประสบกำรณ์เทียบโอนเข้ำสู่ระบบกำรสะสมหน่วยกำรเรียนรู้ (Credit Bank) เพื่อให้ กลุ่มเป้ำหมำยมีกำรศึกษำ ในระดับที่สูงขึ้น ๔.๒ ประสำนกำรท ำงำนร่วมกับศูนย์ให้ค ำปรึกษำกำรจัดตั้งธุรกิจ (ศูนย์ Start-up) ของ อำชีวศึกษำ ๔.๓ ยกระดับผลิตภัณฑ์ สินค้ำ บริกำรจำกโครงกำรศูนย์ฝึกอำชีพชุมชน ที่เน้น “ส่งเสริมควำมรู้ สร้ำงอำชีพ เพิ่มรำยได้ และมีคุณภำพชีวิตที่ดี” ให้มีคุณภำพมำตรฐำน เป็นที่ยอมรับของตลำด ต่อยอดภูมิ ปัญญำ ท้องถิ่นเพื่อสร้ำงมูลค่ำเพิ่ม พัฒนำสู่วิสำหกิจชุมชน ตลอดจนเพิ่มช่องทำงประชำสัมพันธ์และช่องทำง กำรจ ำหน่ำย ๕. การพัฒนาบุคลากร ๕.๑ ส่งเสริม สนับสนุนกำรด ำเนินกำรตำมหลักเกณฑ์กำรประเมินวิทยฐำนะแนวใหม่ (Performance Appraisal : PA) โดยใช้ระบบกำรประเมินต ำแหน่งและวิทยฐำนะของข้ำรำชกำรครูและ บุคลำกร ทำงกำรศึกษำระบบ Digital Performance Appraisal (DPA) ๕.๒ พัฒนำครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำให้มีควำมพร้อมด้ำนวิชำกำรและทักษะกำรจัดกำร เรียนรู้ กำรใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมผ่ำนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่ำง ๆ รวมทั้งให้ค ำปรึกษำเส้นทำงกำรเรียนรู้ กำรประกอบอำชีพ และกำรด ำเนินชีวิตของผู้เรียนได้ตำมควำมสนใจและควำมถนัดของแต่ละบุคคล


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 15 ๕.๓ พัฒนำขีดควำมสำมำรถของข้ำรำชกำรพลเรือนในสังกัดให้มีสมรรถนะที่สอดคล้องและ เหมำะสมกับกำรเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกอนำคต ๕.๔ จัดกิจกรรมเสริมสร้ำงควำมสัมพันธ์ของบุคลำกร กศน. และกิจกรรมเพิ่มประสิทธิภำพ ในกำรท ำงำนร่วมกันในรูปแบบต่ำง ๆ อำทิ กำรแข่งขันกีฬำ กำรอบรมเชิงปฏิบัติกำรพัฒนำประสิทธิภำพ ในกำรท ำงำน ๕.๕ เร่งรัดติดตำมกำรแก้ไขปัญหำหนี้สินครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ และจัดตั้งกองทุน สวัสดิกำร เพื่อช่วยเหลือบุคลำกรในสังกัดส ำนักงำน กศน. ส่วนกลำงและส่วนภูมิภำค ๕.๖ บูรณำกำรกำรท ำงำนร่วมกันระหว่ำงหน่วยงำน/สถำนศึกษำในสังกัด กศน. เพื่อพัฒนำ บุคลำกรในด้ำนวิชำกำร อำทิ องค์ควำมรู้ด้ำนวิทยำศำสตร์ กำรจัดท ำหลักสูตรท้องถิ่นหรือหลักสูตรสถำนศึกษำ 6. การพัฒนาระบบราชการ การบริหารจัดการ และการบริการภาครัฐ ๖.๑ ปรับปรุงระบบฐำนข้อมูลสำรสนเทศด้ำนกำรศึกษำเพื่อกำรบริหำรจัดกำรอย่ำงเป็นระบบ เช่น ข้อมูลกำรรำยงำนผลกำรด ำเนินงำน ข้อมูลเด็กตกหล่นจำกกำรศึกษำในระบบและเด็กออกกลำงคัน เด็กเร่ร่อน ผู้พิกำร ๖.๒ ส่งเสริมกำรใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรมเป็นเครื่องมือในกำรบริหำรจัดกำรอย่ำงเต็ม รูปแบบ รองรับกำรปฏิบัติรำชกำรที่รองรับชีวิตและกำรท ำงำนวิถีใหม่ และน ำไปปรับใช้ได้กับสถำนกำรณ์ ใน ภำวะปกติและไม่ปกติ อำทิ กำรแพร่ระบำดของโรคติดเชื้อหรือภัยพิบัติทำงธรรมชำติ โดยให้พิจำรณำภำรกิจ และลักษณะงำน รูปแบบ ขั้นตอนวิธีกำรท ำงำน รูปแบบกำรให้บริกำรประชำชน และเทคโนโลยีที่ใช้สนับสนุน กำรปฏิบัติงำน ให้มีควำมเหมำะสม ๖.๓ ส่งเสริมพัฒนำคุณภำพกำรบริหำรจัดกำรภำครัฐสู่ระบบรำชกำร ๔.๐ และกำรประเมิน คุณภำพและควำมโปร่งใสกำรด ำเนินงำนของภำครัฐ (ITA) ๖.๔ ปรับปรุงกฎหมำย ระเบียบ ค ำสั่ง และข้อบังคับต่ำง ๆ ให้มีควำมทันสมัย เอื้อต่อกำรบริหำร จัดกำร และกำรจัดกำรเรียนรู้ ๖.๕ เร่งจัดท ำกฎหมำยล ำดับรองเพื่อรองรับพระรำชบัญญัติส่งเสริมกำรเรียนรู้ พ.ศ. ....... ควบคู่ กับกำรเตรียมควำมพร้อมในกำรสร้ำงกำรรับรู้ให้กับประชำชนได้รับทรำบอย่ำงทั่วถึง การน าไปสู่การปฏิบัติและการติดตามผล ๑. สื่อสำร ถ่ำยทอด และสร้ำงควำมเข้ำใจในแนวนโยบำย จุดเน้น และทิศทำงกำรด ำเนินงำน ให้กับ บุคลำกรทุกระดับทุกประเภทในหน่วยงำน/สถำนศึกษำในสังกัด ๒. วำงแผนกำรด ำเนินงำนตำมแผนปฏิบัติรำชกำร แผนปฏิบัติกำร แผนพัฒนำ และแผนกำรใช้ จ่ำย ของหน่วยงำนและสถำนศึกษำ ให้มีควำมชัดเจน ๓. ก ำกับ และติดตำมกำรปฏิบัติงำนในพื้นที่อย่ำงใกล้ชิด โดยเฉพำะกำรสร้ำงควำมร่วมมือกับ เครือข่ำย ในระดับชุมชน ๔. สรุปและรำยงำนผลกำรด ำเนินงำนเป็นระยะ และน ำผลกำรด ำเนินงำนมำวิเครำะห์เพื่อ วำงแผน ปรับปรุง และแก้ไขแผนกำรด ำเนินงำน เพื่อให้กำรขับเคลื่อนคุณภำพทำงกำรศึกษำเกิดประสิทธิภำพ


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 32 ส่วนที่ 3 การบริหารจัดการด้านการศึกษา กศน.ต าบลกะลุวอ


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 32 การบริหารจัดการด้านการศึกษา ของ กศน.ต าบลกะลุวอ ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลสารสนเทศ 1. ชื่อกศน. กศน.ต าบลกะลุวอ 2. ที่ตั้ง / การติดต่อ ตั้งอยู่ อาคารเอนกประสงค์บ้านรอตันบาตู หมู่ที่ 7 บ้านรอตันบาตู ต าบลกะลุวอ อ าเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 96000 โทรศัพท์ 085-5484133 Website : http://narathiwat.nfe.go.th/tbkaluwo E-mail : [email protected] 3. สังกัด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเมืองนราธิวาส 4. ประวัติความเป็นมาของกศน.ต าบลกะลุวอ 4.1 ประวัติกศน.ต าบลกะลุวอ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๐ กศน.อ าเภอเมืองนราธิวาส ได้เล็งเห็นความส าคัญของการศึกษาในชุมชน เพื่อเป็นการ ขยายโอกาสทางการศึกษาให้กับผู้ด้อยโอกาส ขาดโอกาสและพลาดโอกาสทางการศึกษาในระบบ จึงได้ขออนุญาต ขอใช้ที่ท าการของผู้ใหญ่บ้าน บ้านรอตันบาตู เป็นที่ท าการครูอาสาฯ เพื่อเป็นอาคารส าหรับพบกลุ่ม จัดการเรียน การสอนและจัดกิจกรรมต่างๆ ในต าบลกะลุวอ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๔๓ องค์การบริหารส่วนต าบลกะลุวอ ได้ย้ายที่ท าการไปอยู่ที่อาคารหลังใหม่ กศน. อ าเภอเมืองนราธิวาส จึงได้ท าเรื่องขออนุญาตใช้สถานที่ในการพบกลุ่ม พร้อมได้ยกระดับจากที่ท าการพบกลุ่ม มา เป็นศูนย์การเรียนชุมชนต าบล ซึ่งได้ด าเนินการพบกลุ่ม และจัดกิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียนประเภทต่างๆ ให้กับนักศึกษาและประชาชนในต าบลกะลุวอ ต่อมาตัวอาคารเกิดช ารุดทรุดโทรม องค์การบริหารส่วนต าบลกะลุ วอ โดยนายรอมือลี หะยีและ นายกอบต. กะลุวอ ได้สนับสนุนงบประมาณในการซ่อมแซมอาคารดังกล่าว และ ต่อมาในปี ๒๕๕๐ ศรช.กะลุวอ ได้รับคัดเลือกให้เป็น ศรช. ต้นแบบ ของอ าเภอเมืองนราธิวาส ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ส านักงานกศน. ได้เล็งเห็นความส าคัญของการศึกษาในชุมชนจึงได้ยกระดับให้ ศรช. เป็น กศน. ประจ าต าบลดังกล่าว


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 32 สภาพทั่วไป ประวัติความเป็นมาของ กศน.ต าบล เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๐ กศน.อ าเภอเมืองนราธิวาส ได้เล็งเห็นความส าคัญของการศึกษาในชุมชน เพื่อเป็นการ ขยายโอกาสทางการศึกษาให้กับผู้ด้อยโอกาส ขาดโอกาสและพลาดโอกาสทางการศึกษาในระบบ จึงได้ขออนุญาต ขอใช้ที่ท าการของผู้ใหญ่บ้าน บ้านรอตันบาตู เป็นที่ท าการครูอาสาฯ เพื่อเป็นอาคารส าหรับพบกลุ่ม จัดการเรียน การสอนและจัดกิจกรรมต่างๆ ในต าบลกะลุวอ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๔๓ องค์การบริหารส่วนต าบลกะลุวอ ได้ย้ายที่ท าการไปอยู่ที่อาคารหลังใหม่ กศน. อ าเภอเมืองนราธิวาส จึงได้ท าเรื่องขออนุญาตใช้สถานที่ในการพบกลุ่ม พร้อมได้ยกระดับจากที่ท าการพบกลุ่ม มา เป็นศูนย์การเรียนชุมชนต าบล ซึ่งได้ด าเนินการพบกลุ่ม และจัดกิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียนประเภทต่างๆ ให้กับนักศึกษาและประชาชนในต าบลกะลุวอ ต่อมาตัวอาคารเกิดช ารุดทรุดโทรม องค์การบริหารส่วนต าบลกะลุ วอ โดยนายรอมือลี หะยีและ นายกอบต. กะลุวอ ได้สนับสนุนงบประมาณในการซ่อมแซมอาคารดังกล่าว และ ต่อมาในปี ๒๕๕๐ ศรช.กะลุวอ ได้รับคัดเลือกให้เป็น ศรช. ต้นแบบ ของอ าเภอเมืองนราธิวาส ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ส านักงานกศน. ได้เล็งเห็นความส าคัญของการศึกษาในชุมชนจึงได้ยกระดับให้ ศรช. เป็น กศน. ประจ าต าบลดังกล่าว บริบททั่วไป กศน.ต าบล สืบเนื่องจากมีพ่อค้าจากตรังกานู ประเทศมาเลเซีย ได้เดินทางจากตรังกานูด้วยเรือส าเภาบรรทุกสินค้า ประเภท ถ้วย ชาม สังคโลก และอื่นๆ โดยเดินเรือทางอันดามันเข้าสู่จังหวัดนราธิวาส ผ่านแม่น้ าบางนรา เข้า คลองยะกัง เพื่อถ่ายสินค้า หลังจากนั้นได้เดินทางผ่านแม่น้ าบางนราตอนล่างเข้าสู่ ม.๓ บ้านกาแนะในปัจจุบัน และผ่านเข้าคลองเล็กๆ พอเดินทางไปได้สักระยะหนึ่งปรากฏว่าคลองตัน คนที่อยู่หัวเรือได้ตะโกนบอกว่า “กลัว” เป็นภาษามาเลย์ซึ่งแปลว่า ออก ต่อมาจึงเพี้ยนมาเป็นกะลุวอจนถึงปัจจุบันนี้ ลักษณะที่ตั้งและอาณาเขต ที่ตั้ง ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอ าเภอเมืองนราธิวาส ห่างจากที่ว่าการอ าเภอเมืองนราธิวาสประมาณ 9 กิโลเมตร เนื้อที่ อาณาเขตพื้นที่ 75 ตารางกิโลเมตร หรือ 46,579 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อที่ใกล้เคียงดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับต าบลกะลุวอเหนือ อ าเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส ทิศใต้ ติดต่อกับต าบลมะรือโบออก อ าเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ทิศตะวันออก ติดต่อกับต าบลไพรวัน อ าเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ทิศตะวันตก ติดต่อกับต าบลล าภู และต าบลบางปอ อ าเภอเมืองนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 32 ประวัติหมู่บ้าน หมู่ที่ ๑ บ้านยาบี บ้านยาบีก่อตั้งมาประมาณ ๕๐ กว่าปีมาแล้ว เดิมรวมอยู่กับต าบลกะลุวอ ต่อมาเมื่อมีบ้านเรือน หนาแน่นมากขึ้นจึงได้แยกตัวออกมาตั้งเป็นอีกต าบลหนึ่ง เรียกว่า ต าบลกะลุวอ จากต านานเล่ากันว่า สมัยก่อนได้มีชาวบ้านจีนคู่หนึ่งได้เดินทางมาจากจีนแผ่นดินใหญ่ โดยทางเรือ ได้มาตั้งถิ่นฐานกับชาวบ้านที่มีอยู่ก่อนบ้างแล้ว ต่อมาชาวจีนดังกล่าวได้ท าการปลูกมันสัมปะหลังจ านวนมากซึ่ง มันสัมปะหลังภาษายาวี เรียกว่า “อูบี” ต่อมามีผู้เข้ามาซื้อมันสัมปะหลังกันเยอะจนเรียกเพี้ยน “ยาบี” และ เรียกชื่อหมู่บ้านนั้นว่า บ้านยาบีจนถึงปัจจุบัน นายหะยีเจ๊ะหลง หะยียูโซ๊ะ และนายนิแต นิเลาะ เป็นผู้สร้างและบุกเบิกหมู่บ้าน ลักษณะการตั้ง บ้านเรือนเป็นไปในลักษณะเบาบาง ไม่หนาแน่น ประชากรในหมู่บ้าน ๙๙ % เป็นชาวไทยมุสลิมและเป็นชาว ไทยพุทธอีก ๑% มีผู้ใหญ่บ้านคนแรกชื่อ นายสือแม ตาแย๊ะ ต่อมาคือ ก านันสุมิตร หะยีเจ๊ะหลง ต่อมานาย สมาน เจะมะ และปัจจุบันมีนายอับดุลอาซิดอเลาะ ซึ่งด ารงต าแหน่ง ผู้ใหญ่บ้าน ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาได้มีการติดตั้งไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ ถนน และท่อส่งน้ าซึ่งส่งผลให้หมู่บ้าน ยาบีมีความสะดวกสบายดังกล่าว นายมาโนชญ์ สูยี ผู้ให้ข้อมูล


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 32 ประวัติหมู่บ้าน หมู่ที่ ๒ บ้านก าแพง ความเป็นมา “บ้านก าแพง” หมู่ที่ ๒ ต าบลกะลุวอ อ าเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส เหตุที่ได้ชื่อว่า “บ้านก าแพง” นั้น มีความเป็นมาจากภูเขาลูกหนึ่ง ซึ่งอยู่ทางทิศใต้ของหมู่บ้าน เป็นภูเขาที่มีความแปลก เพราะมีลักษณะคล้ายกับ ก าแพง ซึ่งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีถ้ าซึ่งภายในถ้ ามีสถานที่ศักดิ์สิทธิ์เป็นที่เคารพ สักการะของประชาชนในหมู่บ้าน สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ว่านี้คือ พ่อท่านดาตู เวลามีงานมีการในหมู่บ้าน ชาวบ้านก็ขึ้น ไปยืมถ้วยชามกับท่าน เป็นอย่างนี้เรื่อยมา เนื่องจากถ้วยชามที่พ่อท่านดาตูให้ยืมเป็นของสวยงาม มีค่า ท าด้วย เงินแท้ ทองแท้ ท าให้ชาวบ้านที่ยืมไปบางคนโลภมากเวลาคืนของจะคืนไม่ครบ มักจะเก็บเอาไว้เอง พอหลาย ๆ ครั้งเข้า พ่อท่านดาตูก็ไม่พอใจ ท่านก็ปิดถ้ าตั้งแต่นั้นมา ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๗๑ เริ่มมีคนอพยพเข้ามาอยู่ เพื่อจับจองที่ดินสร้างที่อยู่อาศัยและประกอบอาชีพ เริ่มแรกมีครอบครัวอยู่ประมาณ ๒๐ ครอบครัว และมี มากขึ้นเรื่อยๆ อาศัยอยู่เป็นกลุ่มๆ มีชื่อกลุ่มบ้านเรียกขานแตกต่างกัน ได้แก่ บ้านในบ้าน , บ้านใหม่ , บ้าน เจาะลึก , และบ้านปลักปลาหมอ ซึ่งชื่อกลุ่มบ้านยังใช้เรียกอยู่จนปัจจุบัน คนในหมู่บ้านมีความรัก ความ สามัคคี การสัญจรในอดีตใช้เดินเท้าตามรอยเท้าสัตว์และทางน้ าใช้เรือล่องตามแม่น้ าบางนรา ภาษาพูด ดั้งเดิมใช้ภาษาเจ๊ะเห และมีการใช้ภาษามลายูในการติดต่อสื่อสาร มีสูงอายุเป็นผู้น าของบ้านก าแพง คือ พ่อ แก่หมวก ไชยยาวและพ่อเกี้ยว อาชีพหลัก เกษตรกรรม ปัญหาในหมู่บ้าน -ตู้โทรศัพท์สาธารณะไม่เพียงพอ - แหล่งผลิตน้ าประปาหมู่บ้าน แนวทางแก้ไข ติดต่อประสานงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด าเนินการ


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 32 ประวัติหมู่บ้าน หมู่ที่ ๓ บ้านกาแนะ ความเป็นมา ก่อนมาสงครามโลกครั้งที่ ๑ มีชาวจีนคนหนึ่งเดินทางมาจากแผ่นดินใหญ่โดยทางน้ า ได้มาเปิดร้านขาย ของช า ต่อมามีประชากรเพิ่มขึ้นเลยเรียกหมู่บ้านนี้ว่า “ บ้านกาแนะ ” ตามชื่อของชาวจีน หลังจากนั้นชาว จีนกาแนะคนนั้นก็ย้ายออกไปจากหมู่บ้านโดยที่ไม่มีใครรู้ว่าไปอยู่ที่ไหน ผู้บุกเบิกบ้านกาแนะคนต่อมาคือ คุณแขวน (คุณแขวน เป็นชื่อต าแหน่งที่ชาวบ้านเรียกคน คนหนึ่ง ต าแหน่งคุณแขวงเทียบเท่ากับก านันในปัจจุบัน) คุณแขวงเป็นคนแรกที่ปกครองบ้านกาแนะ ต่อมาได้มีการ เลือกตั้งผู้ใหญ่บ้านขึ้นปกครองหมู่บ้านโดยเรียงตามล าดับดังนี้ ๑. นายอาลี ไม่ทราบนามสกุล ๒. นายมะทาแม อาลี ๓. นายมะสาและ อาลี ๔. นายดอเลาะ อาลี ๕. นายเจ๊ะอีซอ อายีเจ๊ะเดห์ ๖. นายปริญญา หะยีอารง ๗. นายตูแวมามุ ตูแวดอเลาะ ๘. นายกูอารือมัน ตูแวดอเลาะ คนปัจจุบัน อาชีพหลัก - ท าสวนยาง - ท านา - รับจ้างทั่วไป ปัญหาในหมู่บ้าน - ปัญหายาเสพติด แนวทางแก้ไข - รณรงค์ให้มีการเลิกเสพสารเสพติดทุกชนิด - รณรงค์ให้มีการเล่นกีฬา


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 32 ประวัติหมู่บ้าน หมู่ที่ ๔ บ้านกูแบสาลอ ความเป็นมา เดิมมีคนมาจากหมู่บ้านกูแบสาลอ ประเทศมาเลเซีย เข้ามาจับปลาที่บึงของหมู่บ้าน ไดเข้ามาอาศัยอยู่ นานโดยอาศัยจับปลาในบึงเป็นอาชีพ ต่อมาก็ได้เดินทางกลับไปยังประเทศมาเลเซียพักหนึ่งและก็ได้เดินทาง กลับมาใหม่ คราวนี้ได้มาบุกเบิกถางป่าเขาที่นี่และตั้งหลักแหล่งอาศัยอยู่ที่หมู่บ้านนี้เลยและได้ตั้งชื่อหมู่บ้านนี้ ว่า “ บ้านกูแบสาลอ “ โดยมีที่มาคือ ค าว่า กูแบ ภาษามาลายู แปลว่า บึง ส่วนค าว่า สาลอ ก็เอามาจากชื่อ หมู่บ้านเดิมของเขาที่ประเทศมาเลเซีย อาชีพหลัก เกษตรกรรม ปัญหาในหมู่บ้าน ยาเสพติด แนวทางแก้ไข รณรงค์ต่อต้านยาเสพติด


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 32 ประวัติหมู่บ้าน หมู่ที่ ๕ บ้านจาเราะสะโตร์ ความเป็นมา แต่ก่อนบ้านจาเราะสะโตร์ยังเป็นป่าเขาไม่มีใครบุกเบิก ต่อมาได้มีนายเจ๊ะแว, นายนิบูละ, และนายล๊อ ลี ไม่ทราบนามสกุลเดินทางมาจากบ้านยาบีได้เข้ามาท าการบุกเบิกถางป่าเพื่อที่จะเข้ามาท านาที่นี่เพราะที่บ้าน ยาบีท านาไม่ได้เนื่องจากน้ าท่วม หลังจากนั้นก็ได้ปลูกสร้างบ้านเรือนอาศัยตลอดมา จาเราะสะโตร์เป็นภาษามาลายู แปลว่า ต้นสะท้อน ซึ่งยืนต้นอยู่ริมคลองของหมู่บ้านมีล าต้นขนาดใหญ่ ต่อมามีการปลูกสร้างบ้านเรือนและมีประชากรเพิ่มขึ้น เลยเรียกหมู่บ้านนี้ว่า “ บ้านจาเราะสะโตร์ “ ตามชื่อ ของต้นไม้ดังกล่าว การปกครองได้มีการเลือกตั้งผู้ใหญ่บ้าน โดยเรียงตามล าดับดังนี้ ๑. นายโน๊ะ หะยียูโซ๊ะ ๒. นายสนิ โสเล๊าะ ๓. นายเจ๊ะลี อาลีร ๔. นายโปจิ โสเล๊าะ ๕. นายอาแซ เจ๊ะปอ ๖. นายวีรยุทธ เจ๊ะปอ คนปัจจุบัน อาชีพหลัก - ท านา - ท าสวนยาง ปัญหาในหมู่บ้าน ปัญหาการว่างงานของประชากรในหมู่บ้าน แนวทางแก้ไข ๑. มีการจ้างแรงงานในท้องถิ่นโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๒. ให้หน่วยงานต่างๆเข้ามาส่งเสริมเรื่องอาชีพเสริม


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 32 ประวัติหมู่บ้าน หมู่ที่ ๖ บ้านโคกศิลา ความเป็นมา เดิมนั้นมีชาวบ้านกลุ่มหนึ่งมาจากบ้านปูยูมาเลเซีย ล่องเรือมาตามคลองบางนรามาขึ้นที่ท่าเรือแอรอง แล้วได้มาถางป่าท าไร่อยู่บนโคก ที่บนโคกแห่งนั้นที่ต้นไม้ใหญ่ต้นหนึ่งภาษามาลายูเรียกต้นไม้นั้นว่า “ ต้นศิรา “ (ภาษาไทยแปลว่า ต้นไทรขี้ใต้) ชาวบ้านที่มาจากบ้านปูยูนั้นมาจากตระกูลมะดาโอ๊ะ ต่อมามีคนมาอาศัยอยู่ เพิ่มขึ้น ก็ได้มีการจัดตั้งโรงเรียนขึ้นชื่อว่า “ โรงเรียนบ้านโคกศิลา ” ซึ่งได้เปลี่ยนค าว่า “ ศิรา ” มาเป็น “ ศิลา ” เมื่อมีการตั้งโรงเรียน ต่อมาได้มีการแต่งตั้งผู้ใหญ่บ้านคนแรกขึ้นเพื่อปกครองหมู่บ้าน คือ นายสะแลมัน เจ๊ะมะ เมื่อมี ประชากรเพิ่มมากขึ้นก็เรียกหมู่บ้านนี้ว่า บ้านโคกศิลา เป็นต้นมา ปัจจุบันมีผู้น าหมู่บ้าน ด ารงต าแหน่งก านันประจ าต าบลกะลุวอ คือ นายสตอปา เจ๊ะมะ อาชีพหลัก กรีดยาง ปัญหาในหมู่บ้าน - ยาเสพติด - ว่างงาน แนวทางแก้ไข ๑. มีการจ้างแรงงานในท้องถิ่นโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๒. ให้หน่วยงานต่างๆเข้ามาส่งเสริมเรื่องอาชีพเสริม


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 32 ประวัติหมู่บ้าน หมู่ที่ ๗ บ้านรอตันบาตู ความเป็นมา เดิมนั้นพื้นที่นี้เป็นป่าดงดิบ ประมาณ ๑๐๐ ปีผ่านมา ได้มีชาวมาเลเซียครอบครัวหนึ่งอพยพเข้ามา บุกเบิกและได้ตั้งหลักแหล่งประกอบอาชีพ ในสมัยนั้นอุดมสมบูรณ์ไปด้วยพืชพันธ์นานาชนิด ซึ่งประกอบด้วย ต้นหวายชนิดหนึ่งเรียกว่า หวายหิน เป็นภาษามาลายูแปลเป็นไทยว่า “ รอตันบาตู “ อาชีพหลัก เกษตรกรรม ปัญหาในหมู่บ้าน - ยาเสพติด แนวทางแก้ไข - รณรงค์ให้มีการเลิกเสพสารเสพติดทุกชนิด - รณรงค์ให้มีการเล่นกีฬา


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 32 ประวัติหมู่บ้าน หมู่ที่ ๘ บ้านกาโมแร หมู่บ้านกาโมแร เป็นหมู่บ้านที่แยกจากหมู่บ้านกาแนะ หมู่ที่ ๓ ต าบลกะลุวอ สาเหตุที่แยก เนื่องจากหมู่บ้านกาแนะมีประชากรเพิ่มขึ้น ดังนั้น เพื่อต้องการให้ประชากรมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จึงได้แยก หมู่บ้านเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านเล่ากันมาว่า เดิมมีชาวบ้านกลุ่มเดียวกับหมู่บ้านกา แนะ มาบุกเบิกตั้งหมู่บ้านตั้งแต่สมัย ๒๐๐ ปีก่อน ขณะนั้นยังไม่ได้ตั้งชื่อหมู่บ้าน ต่อมาชาวบ้านจึงได้แต่งตั้ง หัวหน้ากลุ่มชื่อว่า “ โต๊ะแขวงอูมา “ ซึ่งเป็นคนที่มีความคิดเฉลียวฉลาดมาก และเขาได้เรียกชาวบ้านประชุม เพื่อจัดตั้งชื่อหมู่บ้านว่า “ หมู่บ้านกือเเนะ ” หมายถึง สายรัดเข็มขัดคนสมัยก่อนที่นิยมใช้กันแทบทุกคน มี ลักษณะต่อเป็นพ่วงท าด้วยเหล็กยาว และได้ตั้งชื่อหมู่บ้านเป็นทางการหมู่บ้านกาแนะปัจจุบัน ต่อมาได้แยก หมู่บ้านกาแนะออกเป็น ๒ หมู่บ้าน และตั้งชื่อหมู่บ้านใหม่ว่า “ หมู่บ้านกาโมแร ” อาชีพหลัก เกษตรกรรม ปัญหาในหมู่บ้าน น้ าท่วมที่นา แนวทางแก้ไข ก่อสร้างคูระบายน้ ารอบหมู่บ้านโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 32 2. สภาพชุมชน การเมืองการปกครอง 1.1 จ านวนหมู่บ้าน มีจ านวน 8 หมู่บ้าน มีหน่วยบริหารราชการส่วนท้องถิ่น 1 แห่ง คือ องค์การ บริหารส่วนต าบลกะลุวอ - หมู่ที่ 1 บ้านยาบี มีนายอับดุลตอเละ ยูนุ เป็นผู้ใหญ่บ้าน - หมู่ที่ 2 บ้านก าแพง มีนายมานพ ยะทัง เป็นผู้ใหญ่บ้าน - หมู่ที่ 3 บ้านกาแนะ มีนายกูอารมัน ตูแวดอเลาะ เป็นก านัน - หมู่ที่ 4 บ้านกูแบสาลอ มีนายรอสาลี หะยีเปาะแต เป็นผู้ใหญ่บ้าน - หมู่ที่ 5 บ้านจาเราะสะโตร์ มีนายวีรยุทธ เจ๊ะปอ เป็นผู้ใหญ่บ้าน - หมู่ที่ 6 บ้านโคกศิลา มีนายการียา ปิ เป็นผู้ใหญ่บ้าน - หมู่ที่ 7 บ้านรอตันบาตู มีอัซมิง ดือราแม เป็นผู้ใหญ่บ้าน - หมู่ที่ 8 บ้านกาโมแร นายมาหามาตร์รอยาลี อีซอ เป็นผู้ใหญ่บ้าน


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 32 ข้อมูลประชากร หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน ชาย หญิง รวมทั้งสิ้น จ านวน ครัวเรือน 1 บ้านยาบี 853 957 1,810 378 2 บ้านก าแพง 339 350 689 227 3 บ้านกาแนะ 471 523 994 214 4 บ้านกูแบสาลอ 2,059 838 2,897 1.019 5 บ้านจาเราะสะโตร์ 714 736 1,450 378 6 บ้านโคกศิลา 419 736 1,455 337 7 บ้านรอตันบาตู 834 940 1,774 412 8 บ้านกาโมแร 378 390 768 141 รวมทั้งสิ้น 6,367 5,470 11.837 3,178 ความหนาแน่นของประชากรเฉลี่ย 97 / ตร.กม. โดยนับถือศาสนาพุทธ ประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ นับถือ ศาสนาอิสลาม ประมาณ 90 เปอร์เซ็นต์ การศึกษา 1.1 การศึกษา * โรงเรียนประถมศึกษา 6 แห่ง 1. โรงเรียนบ้านยาบี ม.1 2. โรงเรียนบ้านก าแพง ม.2 3. โรงเรียนบ้านกาแนะ ม.3 4. โรงเรียนบ้านกูแบสาลอ ม.4 5. โรงเรียนบ้านโคกศิลา ม.6 6. โรงเรียนบ้านไร่พญา ม.7


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 32 * โรงเรียนมัธยมศึกษาขยายโอกาส 1 แห่ง คือ โรงเรียนบ้านบ้านไร่พญา * ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 แห่งคือ - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกูแบสาลอ ม.4และ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านรอตันบาตู ม.7 * กศน.ต าบล จ านวน 1 แห่ง ม.7 * ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจ าหมู่บ้าน 8 แห่ง (หมู่บ้านละ 1 แห่ง) * โครงการพระราชด าริ 16 โครงการ คือ 1. โครงการพัฒนาลุ่มแม่น้ าบางนรา 2. โครงการจัดหาน้ าเพิ่มเติมให้อ่างเก็บน้ า 3. โครงการศิลปะชีพจักสานย่านลิเพา 4. โครงการป้องกันและก าจัดแมลงล่า 5. โครงการหมู่บ้านราษฎรเขาส านัก 6. สวนยางพาราทรงเช่า 7. โครงการจัดตั้งศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ม.4 บ้านกูแบสาลอ 8. โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน 9. โครงการห้องสมุดโรงเรียนบ้านโคกศิลา 10. โครงการจัดท าปุ๋ยหมักโรงเรียนบ้านโคกศิลา 11. โครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนบ้านโคกศิลา 12. โครงการก่อสร้างถังเก็บน้ าฝนซิเมนต์โรงเรียนบ้านโคกศิลา 13. โครงการปรับปรุงภาวะโภชนาการของเด็กอายุ 0-60 เดือน 14. โครงการส่วนพฤกษศาสตร์จังหวัดชายแดนภาคใต้ 15. โครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ตามโครงการพระราชด าริ ในสมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถ ม.7 บ้านรอตันบาตู 16. โครงการศูนย์ศิลปาชีพ ม.2 บ้านก าแพง 1.2 สถาบันและองค์กรทางศาสนา - วัด 1 แห่ง คือ วัดก าแพง ม.2 บ้านก าแพง - ส านักสงฆ์ 1 แห่ง คือ ส านักสงฆ์เขานาคา ม.5บ้านจาเราะสะโตร์ - มัสยิด 10 แห่ง (หมู่บ้านละ 1 แห่ง ยกเว้น ม.3 บ้านกาแนะ มี 2 แห่งและบ้านยา บี มี 2 แห่ง) 1.3 การสาธารณสุข - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจ าหมู่บ้าน/ต าบล มีจ านวน 2 แห่ง 1.4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน - หมู่บ้าน อพป. 4 หมู่บ้าน - ชรบ.หมู่บ้าน ทุกหมู่บ้าน


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 32 อาชีพ อาชีพหลัก ได้แก่ ท าสวนยางพารา การท านา การท าสวนมะพร้าว การปลูกผลไม้ต่าง ๆ การประมง แล การเลี้ยงสัตว์ ฯลฯ ผลผลิตทางด้านการเกษตรจึงท ารายได้ให้อ าเภอเป็นอันดับหนึ่ง อาชีพเสริม ได้แก่ การค้าขาย และการบริการ เศรษฐกิจ 1.1 อาชีพ ร้อยละ 70 ประกอบอาชีพเกษตรกรรมท าสวนยางพารา ท านาข้าวและปลูกไม้ผล ร้อย ละ 20 ประกอบอาชีพรับจ้างในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส และใกล้เคียงและประเทศ มาเลเซีย ร้อยละ 7 ประกอบอาชีพค้าขาย ร้อยละ 3 ประกอบอาชีพรับราชการและอื่นๆ 1.2 หน่วยธุรกิจ ร้านค้าชุมชน 1 แห่ง ณ บ้านกาโมแร ม.8 ประชากรที่อยู่ในวัยแรงงาน ว่างงาน จ านวนมากบางส่วนขาดอาชีพเสริมหลังจากกรีดยาง เสร็จและในช่วงฤดูฝนเนื่องจากรีดยางไม่ได้ 1. การเกษตรกรรม - การท านาปี พื้นที่ท านาปีทั้งหมด 2,290 ไร่ แยกเป็น ม.1 บ้านยาบี พื้นที่ท านาปี 426 ไร่ นาร้าง 150 ไร่ ม.2 บ้านก าแพง พื้นที่ท านาปี 495 ไร่ นาร้าง 120 ไร่ ม.3 บ้านกาแนะ พื้นที่ท านาปี 499 ไร่ นาร้าง 260 ไร่ ม.5 บ้านจาเราะสะโตร์ พื้นที่ท านาปี 220 ไร่ นาร้าง 50 ไร่ ม.7 บ้านรอตันบาตู พื้นที่ท านาปี 650 ไร่ นาร้าง 330 ไร่ - การท านาปรัง ม.1 บ้านยาบี พื้นที่ท านาปี 100 ไร่ ม.2 บ้านก าแพง พื้นที่ท านาปี 150 ไร่ - การท าไร่ พื้นที่ท าไร่ทั้งหมด 7,581 ไร่ ปลูกมากอันดับ 1 คือ ยางพารา - การท าสวน พื้นที่ท าสวนผลไม้ทั้งหมด 576 ไร่ ปลูกมากคือ มะม่วงหิมพานต์และ ลองกอง 2. การอุตสาหกรรม ไม่มี 3. การพาณิชย์มีสถานบริการน้ ามันเชื้อเพลิงมือหมุน จ านวน 11 แห่ง ภูมิประเทศ มีสภาพภูมิประเทศเป็นเทือกเขาและป่าไม้เป็นส่วนใหญ่ มีที่ราบลุ่มทุ่งนาน้อย ดินมีลักษณะเป็นดิน ทราย ดินป่าพรุ มีน้ าท่วมขังและเปรี้ยวฝาดไม่สามารถท านาได้ ส่วนพื้นที่ที่สามารถท านาได้ก็จะมีน้ าท่วม ในฤดูฝนเนื่องจากประตูเขื่อนบางนราปิดกั้น ภูมิอากาศ เป็นแบบมรสุมเขตร้อน แบ่งออกเป็น 2 ฤดู ได้แก่


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 32 1. ฤดูฝน แบ่งออกเป็น 2 ช่วง ได้แก่ ช่วงที่รับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งพัดเอาความชื้นจากทะเล อันดามันและมหาสมุทรอินเดียเข้ามา ท าให้มีฝนตกชุกในเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม อีกช่วงหนึ่งก็คือ ช่วงที่รับลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งพัดเอาความชื้นจากอ่าวไทยเข้ามา ท าให้ฝนตกชุกอีกในเดือน พฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม 2. ฤดูร้อน ฤดูร้อนอยู่ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน เนื่องจากได้รับลมตะวันออกเฉียง ใต้ซึ่งเป็นลมร้อนที่พัดมาจากทะเลจีนใต้ ท าให้อากาศโดยทั่วไปร้อนและชื้น ศิลปและวัฒนธรรม ลิเกฮูลู (ดิเกฮูลู), มะโย่ง, โนราแขก,ร ากลองยาว ประเพณีศาสนาอิสลามที่ส าคัญในท้องถิ่น - วันอิดิลพิตรี หรือวันฮารียอปอซอ เป็นวันที่นับจากถือศีลอด หนึ่งเดือน - วันเมาลิด เป็นวันทีระลึกถึงศาสดาของศาสนาอิสลาม - ประเพณีขึ้นบ้านใหม่ - พิธีเข้าสุนัต ซึ่งอิสลามพึงกระท าเพื่อสะดวกในการประกอบพิธีละหมาด - ประเพณีการแต่งงาน หรือบาแกปูโล๊ะ แปลว่า การกินข้าวเหนียว - การท าความเคารพศพ เมื่อศพผ่านมาให้ยืนตรง และศพแต่ละศพจะไว้ได้ไม่เกิน 24 ชั่วโมง ต้องท าพิธีฝังให้เรียบร้อย ในด้านความเชื่อและค่านิยม ชาวไทยอิสลามถือว่าการไปประกอบพิธีทางศาสนา ที่นครเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย เป็นค่านิยมสูงสุดในหมู่คนไทยอิสลาม เมื่อกลับมาจะได้รับการยก ย่องเป็นหะยี ผู้ที่เป็นหะยีแล้วจะต้องมีศาสนบัญญัติห้าประการคือ ต้องปฏิญาณตน ต้องถือละหมาด ต้องถือศีลอด ต้องให้ทาน ต้องไปประกอบพิธีที่นครเมกกะ ส าหรับผู้ที่นับถือพุทธศาสนา ก็มีขนบธรรมเนียมประเพณีความเลื่อมใสศรัทธาในพระ รัตนตรัย และมีค่านิยมเหมือนกับชาวพุทธทั่วไป ศาสนา เชื้อชาติ ส่วนมากเป็นชาวไทยเชื้อสายมลายูดั้งเดิม ชาวไทย ชาวไทยเชื้อสายจีน และชาวมาเลเซีย อพยพจากมาเลเซีย ศาสนา ชาวไทยมุสลิม 90 % ชาวไทยพุทธ 10 % ภาษา ส่วนใหญ่ 90 % ใช้ภาษามลายูท้องถิ่น ซึ่งเรียกว่า "ภาษามลายูพื้นที่" ในชีวิตประจ าวัน คล้ายคลึงกับภาษามลายูในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และบรูไน มุสลิมเชื่อว่าศาสนาอิสลามเป็น ศาสนาของพระเจ้าที่ประทานให้มวลมนุษย์โดยผ่านศาสนฑูตมูฮ ามัด นอกจากนี้ชาวไทยที่เป็นพุทธศาสนิกชน ใช้ภาษาพูดหลากหลาย มีการใช้ภาษาไทยถิ่นใต้, ภาษาไทยตากใบ ส าเนียงภาษาเจ๊ะเห มีพูดกันมานานและมีอยู่ในกลุ่มคนไทยพุทธ ดั้งเดิมของ จังหวัด นราธิวาส เป็นเอกลักษณ์ประจ าถิ่นของอ าเภอตากใบ และภาษาจีน


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 32 เครือข่ายที่สนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรม กศน. 1. วัดก าแพง - สนับสนุนวิทยากรด้านเสวนาธรรม - ประชาสัมพันธ์การรับสมัคร 2. มัสยิด - สนับสนุนวิทยากรด้านเสวนาธรรม - ประชาสัมพันธ์การรับสมัคร - ให้ความร่วมมือในการประชาสัมพันธ์ - ให้ใช้สถานที่ในการจัดกิจกรรม 3. องค์การบริหารส่วนต าบลกะลุวอ - บริการข้อมูลพื้นฐานทั่วไป - ช่วยประชาสัมพันธ์งาน กศน. 4. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล - บริการข้อมูลพื้นฐานทั่วไป - สนับสนุนวิทยากรด้านสุขภาพ 5. ผู้น าชุมชน - ประชาสัมพันธ์งาน กศน. - ให้ความร่วมมือในการจัดเวทีชาวบ้าน - ให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรม กศน.ในพื้นที่ 6. หน่วยงานทหาร - ให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรม กศน. - ดูแลรักษาความปลอดภัยภายในอาคารสถานที่


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 32 ท าเนียบบุคลากร กศน.ต าบลกะลุวอ กศน.ต าบลกะลุวอ อ าเภอเมืองนราธิวาส มีบุคลากร ดังนี้ รายละเอียด ชื่อ - สกุล ต าแหน่ง วุฒิการศึกษา/วิชาเอก/สาขา เบอร์โทรศัพท์ นางสาวปารีดะห์ ยูโซ๊ะ ครูกศน.ต าบลกะลุวอ ปริญญาตรี ครุศาสตร์บัณฑิต/การศึกษา นอกระบบ 095-6191355 นางสาวซูไฮดา ยูโซ๊ะ ครูผู้ช่วยต าบลกะลุวอ ปริญญาตรี วท.บ. / เทคโนโลยีอาหาร 086-9583058 นางซูรีดา อับดุลซามะ ครูผู้ช่วยต าบลกะลุวอ ปริญญาตรี ศศ.บ. / ภาษาอังกฤษ 063-9931183 นางยุพินธ์ ทองค า ครูอาสาฯต าบลกะลุวอ ปริญญาตรี รัฐศาสตร์ /ป.บัณฑิต วิชาชีพครู 065-3739089 นางสาวฮามีด๊ะ ซูเล็ง ครูอาสาฯประจ าสถาบัน ศึกษาปอเนาะฯ ปริญญาตรี คอมพิวเตอร์ธุรกิจ / ป.บัณฑิต วิชาชีพครู 093-6976214


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 32 ข้อมูลและแหล่งเรียนรู้ในชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งเรียนรู้ในชุมชน ที่ ชื่อแหล่งเรียนรู้ สถานที่ที่ตั้ง 1. โครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงและฟาร์มตัวอย่าง หมู่ที่ 7 บ้านรอตันบาตู ต าบลกะลุวอ อ าเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 2. สวนพฤกษศาสตร์ในโครงการพระราชด าริ หมู่ที่ 5 บ้านจาเราะสะโตร์ ต าบลกะลุวอ อ าเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 3. โครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชด าริ หมู่ที่ 5 บ้านจาเราะสะโตร์ ต าบลกะลุวอ อ าเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 4. อ่างเก็บน้ าใกล้บ้าน หมู่ที่ 7 บ้านรอตันบาตู ต าบลกะลุวอ อ าเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 5. ศูนย์หม่อนไหมฯ หมู่ที่ 5 บ้านจาเราะสะโตร์ ต าบลกะลุวอ อ าเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 6. ค่ายกัลยาณิวัฒนา หมู่ที่ 4 บ้านกูแบสาลอ ต าบลกะลุวอ อ าเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 7. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจ าต าบล หมู่ที่ 7 บ้านรอตันบาตู ต าบลกะลุวอ อ าเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 8. สถาบันศึกษาปอเนาะวะอซุฎดีน หมู่ที่ 7 บ้านรอตันบาตู ต าบลกะลุวอ อ าเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 9. วัดก าแพง หมู่ที่ 2 บ้านก าแพง ต าบลกะลุวอ อ าเภอเมือง


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 32 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต าบล ชื่อ - สกุล ความสามารถ สาขา /ผลิตภัณฑ์ ที่อยู่ปัจจุบัน โทรศัพท์ เลขที่ หมู่ที่/ชุมชน ต าบล กะลุวอ นายดินเล๊าะ มามะ - สมุนไพร/นวดแผนโบราณ - การละเล่นพื้น บ้าน ว่าว ลูกข่าง 42 ม.7 บ้านรอตันบาตู กะลุวอ - นางสารียะห์ มามะ จักรสานย่านลิเภา 62/3 ม.6 บ้านโคกลา กะลุวอ 083-0863454 นายมาโนชญ์ สูยี ไร่นาสวนผสม 74/1 ม.1 บ้านยาบี กะลุวอ 081-3888926 นายรอมือลี หะยีและ ปราชญ์บ้านด้านการศึกษา 46 ม.7 บ้านรอตันบาตู กะลุวอ 081-9594287 นางจิตรา อุดมวัฒนเจริญ จักรสานใบลาน 18/1 ม.2 บ้านก าแพง กะลุวอ 084-8541075 นางเจะปารีดะ มะโซ แปรรูปผลิตภัณฑ์กระจูด 51 ม.1 บ้านยาบี กะลุวอ 090-7196587


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 32 กศน.ต าบล ที่ ชื่อ กศน.ต าบล ที่ตั้ง ผู้รับผิดชอบ 1 กศน.ต าบลกะลุวอ อาคารเอนกประสงค์บ้านรอตันบาตู หมู่ที่ 7 บ้านรอตันบาตู ต าบลกะลุวอ อ าเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 96000 นางสาวปารีดะห์ ยูโซ๊ะ สถาบันศึกษาปอเนาะ ที่ ชื่อสถาบันศึกษาปอเนาะ ที่ตั้ง ผู้รับผิดชอบ 1 สถาบันศึกษาปอเนาะวะอซุฎดีน หมู่ที่ 7 บ้านรอตันบาตู ต าบลกะลุวอ อ าเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 96000 นางสาวฮามีด๊ะ ซูเล็ง วิทยากรอาชีพ ที่ ชื่อ - สกุล ต าแหน่ง วุฒิการศึกษา/วิชาเอก/สาขา 1 นางสาวนิฮายาตี นิแปเราะ วิทยากรอาชีพ ปริญญาตรี / พัฒนาชุมชน / ศิลปะประดิษฐ์ 2 นางสาวนูรฟาฎีลา วาราวอ วิทยากรอาชีพ ปริญญาตรี / ครุศาสตร์บัณฑิต / ภาษาอังกฤษ


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 32 ครู กศน.ต าบล ผู้อ านวยการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเมืองนราธิวาส โครงสร้างการบริหารงาน กศน.ต าบลกะลุวอ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเมืองนราธิวาส …………………………... คณะกรรมกศน.ต าบล ข้าราชการ ครู อาสาฯปอเนาะ 1. งานส่งเสริมการรู้หนังสือ 2. งานการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบ 3. งานการศึกษาต่อเนื่อง - งานการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ - งานการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต - งานการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน - งานจัดการเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4. งานการศึกษาตามอัธยาศัย 5. งานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย วิทยากร เครือข่าย ครูอาสาฯประจ า ครู ประจ ากลุ่ม ต าบล


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 32 ข้อมูลด้านบุคลากร 1.1 ข้อมูลด้านบุคลากร (จ านวนตามต าแหน่ง) ที่ ต าแหน่ง/ประเภท จ านวน (คน) หมายเหตุ 1 ข้าราชการครู 1.1 ข้าราชการครู 2 2 พนักงานราชการ 2.1 ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน 2.2 ครู กศน.ต าบล 2.3 ครูอาสาฯ ปอเนาะ 1 1 1 3 ลูกจ้างเหมาบริการ 3.1 ครูประจ ากลุ่ม (ค่ายกัลยาณิวัฒนา) 2 รวม 7 1.2 ข้อมูลด้านนักศึกษา ระดับ จ านวนเป้าหมาย (คน) ภาคเรียนที่ 2/2565 นักศึกษา กศน.ต าบล นักศึกษา ปอเนาะ นักศึกษา เทียบระดับ นักศึกษา พิการ นักศึกษาทหารกอง ประจ าการ นักศึกษา ผู้ต้องขัง รวม ประถม 6 1 - - 11 - 18 มัธยมต้น 43 22 - - 110 - 175 มัธยมปลาย 57 17 - - 89 - 163 รวม 106 40 - - 210 - 356 1.3 ข้อมูลด้านการจัดการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมาย ผู้รับบริการ และงบประมาณ - การศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ กิจกรรมการศึกษา ประเภทกลุ่มเป้าหมาย จ านวนเป้าหมาย (คน) งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) 1 ค่าหนังสือเรียน นักศึกษา กศน. 234 51,812 2 ค่ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นักศึกษา กศน. 234 58,592 3 ค่าจัดการเรียนการสอน นักศึกษา กศน. 234 175,667


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 32 - การศึกษาต่อเนื่อง ที่ โครงการ/กิจกรรม ประเภท กลุ่มเป้าหมาย จ านวนเป้าหมาย (คน) งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) 1 โครงการส่งเสริมการรู้หนังสือ ประชาชนผู้ลืม หนังสือ 15 8,328 2 โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ประชาชนในพื้นที่ 14 1,560 3 โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ประชาชนในพื้นที่ 8 342 4 โครงการการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ประชาชนในพื้นที่ 3 1,200 - การศึกษาตามอัธยาศัย ที่ กิจกรรมการศึกษา ประเภท กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย (คน) งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) 1 ห้องสมุดประชาชน นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ในพื้นที่ต าบล กะลุวอ อ าเภอ เมืองนราธิวาส 714 - 2 บ้านหนังสือชุมชน 252 - 3 หน่วยบริการเคลื่อนที่ (รถโมบาย) 228 - 4 อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน 22 - 5 ห้องสมุดเคลื่อนที่ส าหรับชาวตลาดฯ 182 - รวม 1,398 - โครงการตามงบรายจ่ายอื่น ที่ โครงการ/กิจกรรม ประเภท กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย (คน) งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) 1 โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน - กิจกรรมพัฒนาอาชีพระยะสั้น (กลุ่มสนใจ ไม่เกิน 30 ชม.) - กิจกรรมชั้นเรียนวิชาชีพ (31 ชม. ขึ้น) - กิจกรรม 1 อ าเภอ 1 อาชีพ ประชาชนในพื้นที่ ต าบลกะลุวอ 38 7 11 - 16,900 7,000 9,900 - 2 โครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ 2 2,582 3 โครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน 15 3,000 4 โครงการการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ 12 870


แผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ต าบลกะลุวอ 32 - โครงการบริหารจัดการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ โครงการ/กิจกรรม ประเภท กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย (คน) งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) 1 โครงการกีฬา กศน.ชายแดนใต้เกมส์ นักศึกษา กศน. 2 2,542 2 โครงการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในสถาบันศึกษา ปอเนาะ - กิจกรรมส่งเสริมทักษะอาชีพ - กิจกรรมส่งเสริมมุมเรียนรู้ - กิจกรรม 1 ปอเนาะ 1 โครงการพัฒนา - กิจกรรมสนับสนุนชมรมอาสาพัฒนาปอเนาะ สถาบันศึกษา ปอเนาะ 1 แห่ง 7,342 1,071 5,142 642 3 โครงการส่งเสริมทักษะการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารใน จังหวัดชายแดนใต้ - กิจกรรมขับเคลื่อนศูนย์พัฒนาทักษะเพื่อการสื่อสาร - กิจกรรมจัดซื้อสื่อภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร - กิจกรรมค่ายฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาไทย - กิจกรรมจัดซื้อสื่อภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร - กิจกรรมค่ายฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาต่างประเทศ ประชาชนในพื้นที่ ต าบลกะลุวอ - แห่ง 3 คน 3 คน 3 คน 3 คน - 2,322 5,348 2,322 5,348


37 ส่วนที่ 4 แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ 2566 และรายละเอียดงาน/โครงการ


แผนปฏิบัติการประจส านักงานส่งเสริมการศึกษา(งาน/โคร หน่วยงาน . สถานศึกษา กศน,ต ำบลกะลุวอ ที่ ชื่อโครงการ วัตถุประสงค์ กิจกรรมหลัก ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1 โครงกำรสนับ สนุน ค่ำใช้จ่ำยใน กำรจัด กำรศึกษำ ตั้งแต่ระดับ อนุบำลจนจบ กำรศึกษำขั้น พื้นฐำน 1.เพื่อจัดหำหนังสือเรียน ให้กับนักศึกษำ กศน. 2.เพื่อจัดกิจกรรมพัฒนำ คุณภำพผู้เรียน ตำม นโยบำยให้เป็นไปอย่ำงมี ประสิทธิภำพ 3.เพื่อขยำยโอกำสทำง กำรศึกษำให้กับประชำกร วัยแรงงำนที่ไม่จบ กำรศึกษำภำคบังคับและไม่ อยู่ในระบบโรงเรียน 1. ส ำรวจกลุ่มเป้ำหมำย 2. ประชุม/วำงแผนกำร ด ำเนินงำน 3. เขียนโครงกำรเพื่อขออนุมัติ 4. แต่งตั้งคณะท ำงำน ด ำเนินงำนฝ่ำยต่ำงๆ 5.ด ำเนินงำนตำมโครงกำร โครงกำรสนับสนุนค่ำใช้จ่ำย ในกำรจัดกำรศึกษำตั้งแต่ ระดับอนุบำลจนจบ กำรศึกษำขั้นพื้นฐำน 6. นิเทศ/ติดตำมผล 7. สรุปประเมินผลโครงกำร 8. รำยงำนผลกำร ด ำเนินงำนโครงกำร กลุ่มเป้ำหมำยร้อย ละ 100 ผ่ำนกำรเข้ร่วมกิจกรรมตำม โครง กำรสนับสนุนค่ำ ใช้จ่ำยในกำรจัดกำรศึกษำตั้งแต่ ระดับอนุบำลจนจบกำรศึกษำขั้นพื้นฐำ


38 กศน-กผ-๐๑ จ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รงการในภาพรวม) กศน.อ ำเภอเมืองนรำธิวำส . ส ำนักงำน กศน.จังหวัดนรำธิวำส ดความส าเร็จ เป้าหมาย งบประมาณ (บาท) เชิงคุณภาพ ประเภท กลุ่มเป้าหมาย จ านวน กลุ่มเป้าหมาย (คน/แห่ง) งบอุดหนุน งบ ด าเนินงาน งบ รายจ่าย อื่น ข้ำ น ด บ น ร้อยละ 80 ของกลุ่ม เป้ำหมำยได้รับกำร พัฒนำคุณภำพชีวิต จำกกำรเข้ำร่วม โครงกำรสนับสนุน ค่ำใช้จ่ำยในกำรจัด กำรศึกษำตั้งแต่ระ ดับอนุบำลจนจบ กำร ศึกษำขั้น พื้นฐำน และน ำ ควำมรู้ที่ได้ รับไป ปรับใช้ในชีวิต ประจ ำวัน นักศึกษำ กำรศึกษำนอก ระบบระดับ กำรศึกษำขั้น พื้นฐำน - ป ระถมศึ กษ ำ 18 คน - มั ธ ย ม ศึ ก ษ ำ ตอนต้น 175 คน - มัธยมศึกษำตอน ปลำย 163 คน รวม 356 คน -ค่ำหนังสือ เรียน 51,812 บำท -ค่ำกิจกรรม พัฒนำคุณภำพ ผู้เรียน 58,592 บำท -ค่ำจัดกำร เรียนกำรสอน 175,667 บำท รวม 356 286,071 - - รวมสุทธิ 356 286,071 - -


Click to View FlipBook Version