The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

power point หน่วยที่ 3 สารละลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nga2020anna, 2022-04-01 04:31:05

power point หน่วยที่ 3 สารละลาย

power point หน่วยที่ 3 สารละลาย

Keywords: l,สารละลาย

รหสั วชิ า 30000-1308 วิทยาศาสตรง์ านธรุ กจิ และบริการ
(2-2-3)

ครอู ญั ชนา งาเจือ ผูส้ อน

ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ

เบอร์โทร 089-5699098 E-mail:[email protected]

30000-1308 รายวิชา วิทยาศาสตรง์ านธรุ กิจและบริการ

หน่วยที่ 2

เคร่ืองใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน
และสานักงาน

ความหมาย เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้ า

เคร่ืองใช้ไฟฟ้า เป็นเคร่ืองอำนวยควำม
สะดวกสบำย สำมำรถเปลี่ยนรูปพลงั งำนไฟฟ้ำให้
เป็นพลงั งำนรูปอ่ืน ๆ ตำมควำมตอ้ งกำรได้ เช่น
เปล่ียนพลงั งำนไฟฟ้ำเป็นพลงั งำนแสง พลงั งำน
ควำมร้อน พลงั งำนกล พลงั งำนเสียง ซ่ึงผใู้ ชต้ อ้ งมี
ควำมรู้จึงจะเลือกใชไ้ ฟฟ้ำไดอ้ ยำ่ งมีคุณค่ำ
ประหยดั และปลอดภยั

ประเภท เครอื่ งใชไ้ ฟฟ้ า

1. เครอื่ งใชไ้ ฟฟ้ าทใ่ี หแ้ สงสวา่ ง
2. เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้ าทใ่ี หพ้ ลงั งานกล
3. เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้ าทใ่ี หพ้ ลงั งานความรอ้ น
4. เครอ่ื งทาความเยน็
5. เครอื่ งใชไ้ ฟฟ้ าสานกั งาน

เครอ่ื งใชไ้ ฟฟเา้ครท่ืองี่ใไหฟฟแ้ ้าทสใี่ หง้แสสงวสว่า่างง

อุปกรณ์ไฟฟ้ำที่เปล่ียนพลงั งำนไฟฟ้ำเป็นพลงั งำนแสงสวำ่ ง คอื
หลอดไฟฟ้ำ หลอดไฟฟ้ำท่ีใชใ้ นบำ้ นแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ดงั น้ี

1. หลอดไฟธรรมดาหรือหลอดไฟชนิดไส้ โดยนกั วิทยำศำสตร์ ทอมสั
แอลวา เอดิสัน เป็นผปู้ ระดิษฐห์ ลอดไฟฟ้ำใชเ้ ป็นคร้ังแรก ดว้ ยกำรใช้
คำร์บอนเป็นไสห้ ลอด และไดพ้ ฒั นำปรับปรุงมำจนถึงปัจจุบนั ที่ใชว้ ตั ถุ
ชนิดอ่ืนทำเป็นไสห้ ลอด หลอดไฟธรรมดำมีส่วนประกอบ ดงั น้ี

1.1 หลอดแก้ว ทนควำมร้อนไดด้ ี ไม่แตกง่ำย ภำยในเป็นสุญญำกำศ
บรรจุแก๊สไนโตรเจน แก๊สอำร์กอนเลก็ นอ้ ยช่วยป้องกนั กำรระเหิดและไส้
หลอดระเบิด

1.2 ไส้หลอด ทำดว้ ยโลหะทงั สเตน มีควำมตำ้ นทำนไฟฟ้ำสูง
จุดหลอมเหลวสูง หำง่ำย รำคำถูก เม่ือกระแสไฟฟ้ำไหลผำ่ นไส้
หลอดจะเกิดควำมร้อนสูงจนเปล่งแสงสวำ่ งออกมำได้ ท่ีฉลำกหรือ
บนแผน่ ป้ำยจะมีขอ้ มูลระบุลกั ษณะเฉพำะของหลอดไฟ เช่น
กำลงั ไฟฟ้ำ ใหส้ งั เกตจำนวนวตั ต์ (W) ที่หลอด

2. หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลอู อเรสเซนต์ เป็นหลอดไฟท่ีมี
ประสิทธิภำพในกำรเปลี่ยนรูปพลงั งำนไฟฟ้ำเป็นพลงั งำนแสงไดส้ ูง
กวำ่ หลอดไฟธรรมดำใหค้ วำมสวำ่ งมำกกวำ่ หลอดไฟธรรมดำ
ประมำณ 5 เท่ำ มีอำยกุ ำรใชง้ ำนมำกวำ่ กวำ่ หลอดไฟธรรมดำถึง 8 เท่ำ
และช่วยประหยดั พลงั งำนไดม้ ำกกวำ่ เม่ือเทียบกบั หลอดชนิดไสท้ ี่
กำลงั ไฟฟ้ำเท่ำกนั ส่วนประกอบของหลอดฟลูออเรสเซนตม์ ีดงั น้ี

2.1 ตัวหลอดและข้วั หลอด ตวั หลอดทำดว้ ยแกว้ ทนควำม
ร้อน ภำยในเป็นสุญญำกำศ บรรจุไอปรอทและแก๊สอำร์กอนเลก็ นอ้ ย
มีข้วั 2 ข้วั ท่ีข้วั ไฟฟ้ำท้งั สองมีไสห้ ลอดที่ทำจำกทงั สเตน ผวิ ดำ้ นใน
ของหลอดฉำบไวด้ ว้ ยสำรเรืองแสง (fluorescent coating) เป็นสำรเคมี
ที่เปล่งแสงไดเ้ ม่ือกระทบกบั รังสีอลั ตรำไวโอเลต

สำรเคมีที่ฉำบไวข้ ำ้ งหลอดต่ำงชนิดกนั ใหส้ ีของแสงแตกต่ำงกนั
เช่น ถำ้ ฉำบดว้ ยแมกนีเซียม ทงั สเตน เรืองแสง ใหส้ ีทองแกมฟ้ำ ถำ้
ฉำบดว้ ยซิงคซ์ ิลิเกตใหแ้ สงสีเขียว

2.2 สตาร์ตเตอร์ ทำหนำ้ ท่ีเป็นสวิตชต์ ดั ไฟอตั โนมตั ิ อำศยั
หลกั กำรขยำยตวั ของโลหะคู่เม่ือไดร้ ับควำมร้อน เม่ือเปิ ดสวติ ช์
กระแสไฟฟ้ำจะไหลจำกแผน่ โลหะคู่ผำ่ นแก๊สอำร์กอนในครอบแกว้
ไปยงั โลหะตวั นำท่ีปลำยอีกขำ้ งหน่ึง ขณะที่กระแสไฟฟ้ำไหลผำ่ น
แก๊สอำร์กอนจะทำใหเ้ กิดประกำยไฟข้ึนมำ และทำใหแ้ ผน่ โลหะคู่
ร้อนข้ึนแลว้ งอมำแตะกบั อีกข้วั หน่ึงได้ ทำใหก้ ระแสไฟฟ้ำไหลผำ่ น
แผน่ โลหะท้งั สองไปสู่ข้วั หลอดโดยไม่ผำ่ นแก๊สอำร์กอน จนกระทง่ั
หลอดไฟติดสวำ่ ง ควำมร้อนบนแผน่ โลหะจะลดลง ทำใหแ้ ผน่ โลหะ
ท้งั สองแยกออกจำกกนั

2.3 แบลลสั ต์ มีลกั ษณะโครงสร้ำงคลำ้ ยหมอ้ แปลงไฟฟ้ำ คือมี
ขดลวดพนั อยบู่ นแกนเหลก็ ทำหนำ้ ท่ีเหน่ียวนำใหเ้ กิดควำมต่ำงศกั ย์
สูงท่ีข้วั หลอด จนทำใหอ้ ิเลก็ ตรอนอิสระท่ีอยใู่ นหลอดเคลื่อนท่ีไป
ขนไอปรอทที่บรรจุในหลอด แลว้ เกิดรังสีอลั ตรำไวโอเลต ทำใหส้ ำร
เรืองแสงท่ีเคลือบอยบู่ นหลอดเกิดกำรเรืองแสงข้ึน

การต่อวงจรไฟฟ้าของหลอดฟลอู อเรสเซนต์
ส่ วนประกอบของหลอดฟลูออเรสเซนต์

การทางานของหลอดฟลอู อเรสเซนต์

การทางานของหลอดฟลูออเรสเซนต์ คือเมื่อกดสวติ ซเ์ พ่ือเปิ ดไฟ
หรือปิ ดวงจรไฟฟ้ำ สตำร์ตเตอร์จะต่อวงจรไฟฟ้ำอยำ่ งรวดเร็ว ทำให้
แบลลสั ตม์ ีควำมต่ำงศกั ยส์ ูง ขณะเดียวกนั ข้วั ไฟฟ้ำมีกระแสไฟฟ้ำ
ไหลผำ่ นไสห้ ลอดท้งั สองโดยไม่ผำ่ นสตำร์ตเตอร์ สตำร์ตเตอร์ตดั
วงจรไฟฟ้ำทำใหไ้ สห้ ลอดท้งั สองดบั แต่มีกระแสไฟฟ้ำไหลผำ่ นไส้
หลอดได้ ทำใหอ้ ิเลก็ ตรอนพงุ่ ออกมำชนกบั อะตอมของไอปรอท เกิด
เป็นรังสีอลั ตรำไวโอเลตไปกระทบกบั สำรเรืองแสงท่ีฉำบไวข้ ำ้ ง
หลอด สำรเรืองแสงจะดูดกลืนรังสีอลั ตรำไวโอเลตแลว้ ปล่อยแสง
สวำ่ งออกมำ

แผนผงั การทางานของหลอดฟลูออเรสเซนต์

พลงั งำนไฟฟ้ำ ไอปรอท รังสีอตั รำไวโอเลต

สำรเรืองแสง พลงั งำนแสงสวำ่ ง

ประสิทธิภาพของหลอดฟลอู อเรสเซนต์

1. ใหแ้ สงสวำ่ งมำกกวำ่ หลอดไฟธรรมดำประมำณ 5 เท่ำ 2. มี

อำยกุ ำรใชง้ ำนนำนกวำ่ หลอดไฟธรรมดำประมำณ 8 เท่ำ 3. ใหแ้ สง

กระจำยไดท้ วั่ ถึง ไม่รวมเป็นจุด 4. มีหลำยสีข้ึนอยกู่ บั
5. ไม่ร้อนมำกเท่ำกบั หลอดไฟ
สำรเรืองแสงท่ีฉำบไว้

ธรรมดำ

รูปแบบของหลอดฟลูออเรสเซนต์ ปัจจุบนั มีกำรพฒั นำหลอด
ฟลูออเรสเซนตแ์ บบใหม่อีก 2 แบบ คือ

1. หลอดฟลูออเรสเซนต์ทม่ี ปี ระสิทธิภาพสูงหรือทเี่ รียกว่าหลอด
ผอม ซ่ึงประหยดั พลงั งำนไดม้ ำกกวำ่ หลอดฟลูออเรสเซนตธ์ รรมดำ

รูปแสดงหลอดฟลอู อเรสเซนต์

2. หลอดคอมแพค็ ฟลอู อเรสเซนต์(CFL) หรือหลอดตะเกยี บ มี
รำคำค่อนขำ้ งแพง แต่คุม้ ค่ำในระยะยำว อีกท้งั ประหยดั พลงั งำนได้
มำกกวำ่ และอำยกุ ำรใชง้ ำนกม็ ำกกวำ่ ดว้ ย

รูปแสดงหลอดคอมแพค็ ฟลูออเรสเซนต์

โดยทวั่ ไฟ หลอดคอมแพค็ ฟลูออเรสเซนต์ มี 2 แบบ คือ
แบบข้วั เกลียวและข้วั เสียบ

2.1 หลอด SL แบบข้วั เกลยี ว มีแบลลสั ตใ์ นตวั มีขนำด 9, 13, 18
และ 25 วตั ต์ ประหยดั ไฟร้อยละ 75 เม่ือเทียบกบั หลอดชนิดไส้ เหมำะ
กบั สถำนที่ท่ีเปิ ดไฟนำนๆ หรือบริเวณที่เปลี่ยนหลอดยำก เช่น โคมไฟ
หวั เสำ

2.2 หลอดตะเกยี บ 4 แท่ง ข้วั เกลยี ว ขนำด 9,11,15 และ 20 วตั ต์ มี
แบลลสั ตอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ในตวั เปิ ดติดทนั ที ไม่กระพริบ ประหยดั ไฟได้
ร้อยละ 80 เม่ือเทียบกบั หลอดชนิดไส้

2.3 หลอดตะเกยี บตัวยู 3 ขด ขนำดกะทดั รัด 20 และ 23 วตั ต์ กำจดั
ปัญหำหลอดยำวเกินโคมไฟ ประหยดั ไฟไดร้ ้อยละ 80 ของหลอดชนิด
ไส้

2.4 หลอดตะเกยี บข้ัวเสียบ แบลลสั ตภ์ ำยนอกขนำด 7, 9 และ 11
วตั ต์ ประหยดั ไฟร้อยละ 80 ของหลอดชนิดไส้

2.5 หลอดตะเกยี บ 4 แท่งข้ัวเสียบ แบลลสั ตภ์ ำยนอก ขนำด 8, 10,
13, 18 และ 26 วตั ต์ ประหยดั ไฟร้อยละ 80 ของหลอดชนิดไส้

เคร่อื งใช้ไฟฟเค้ารท่ือง่ใีใชห้ไฟพ้ ฟ้าลทใ่ีงั หง้พาลงันงากนกลล

เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ำที่ใหพ้ ลงั งำนกลประกอบดว้ ยมอเตอร์และเครื่อง
ควบคุมควำมเร็ว กำรทำใหเ้ ครื่องหมุนชำ้ หรือเร็วน้นั ทำไดโ้ ดยกำรเพิม่
หรือลดควำมตำ้ นทำนภำยในเคร่ือง ซ่ึงมีผลต่อปริมำณกระแสไฟฟ้ำท่ี
ไหลผำ่ นเคร่ือง และทำใหค้ วำมเร็วเปล่ียนไปได้

ตัวอย่าง
เครื่องใช้ไฟฟ้าท่ีให้

พลงั งานกล

มอเตอร์ เป็นอุปกรณ์ท่ีเปล่ียนพลงั งำนไฟฟ้ำเป็น
พลงั งำนกล ทำงำนตรงกนั ขำ้ มกบั ไดนำโม

หลกั การทางานของมอเตอร์
1. เม่ือใหก้ ระแสไฟฟ้ำผำ่ นขดลวดส่ีเหลี่ยมที่อยรู่ ะหวำ่ งแม่เหลก็ ที่
หนั ข้วั ต่ำงกนั เขำ้ หำกนั ขดลวดจะหมุนได้
2. มอเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลงั งำนไฟฟ้ำเป็นพลงั งำนกล
เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ำที่เปล่ียนพลงั งำนไฟฟ้ำเป็นพลงั งำนกล ไดแ้ ก่
เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ำท่ีประกอบดว้ ยมอเตอร์ทุกชนิด มอเตอร์ประกอบดว้ ย
ขดลวดในสนำมแม่เหลก็ เมื่อใหก้ ระแสไฟฟ้ำไหลผำ่ นในขดลวดจะเกิด
สนำมแม่เหลก็ ไฟฟ้ำเหน่ียวนำข้ึนโดยรอบขดลวด ซ่ึงจะผลกั กบั
สนำมแม่เหลก็ ถำวร ทำใหข้ ดลวดหมุนได้ เม่ือนำมอเตอร์ไปต่อกบั
เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ำ เช่น พดั ลม ทำใหใ้ บพดั หรืออุปกรณ์ของเครื่องเกิดกำร
เคล่ือนที่หรือหมุนได้ ซ่ึงใชไ้ ดก้ บั ไฟฟ้ำกระแสสลบั หรือไฟฟ้ำ
กระแสตรง

มอเตอร์เหน่ียวนา อำจเรียกวำ่ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั เป็น

มอเตอร์ที่ใชก้ บั เครื่องใชไ้ ฟฟ้ำในบำ้ น เม่ือกระแสไฟฟ้ำสลบั เขำ้ สู่

ขดลวดแม่เหลก็ จะเกิดสนำมแม่เหลก็ ชนิดสลบั ข้ึน เหน่ียวนำใหเ้ กิด
กระแสไฟฟ้ำในแท่งโลหะแกนหมุน กระแสไฟฟ้ำน้ีมีผลใหเ้ กิด
สนำมแม่เหลก็ ซ่ึงจะผลกั ข้วั แม่เหลก็ ท่ีอยรู่ อบ ๆ ทำใหแ้ กนหมุนได้
มอเตอร์ชนิดน้ีเป็นมอเตอร์ที่ไม่ตอ้ งใชแ้ ปรงใหย้ งุ่ ยำก เป็นที่นิยมใชก้ นั
อยใู่ นปัจจุบนั

ในปัจจุบนั ท่ีมีขำ่ วในหนงั สือพมิ พเ์ กี่ยวกบั อนั ตรำยที่เกิดจำกกำรใช้

มอเตอร์มำกมำย เนื่องจำกส่วนใหญ่เป็นกำรใชง้ ำนประเภทบดหรือปั่น
เช่น เคร่ืองบดหมู เครื่องบดน้ำพริก ซ่ึงผใู้ ชต้ อ้ งใชใ้ หถ้ ูกวิธี และมีควำม
ระมดั ระวงั ในกำรใชง้ ำน

เครื่องใชไ้ ฟฟ้าท่ีให้พลงั งานความรอ้ น

เปน็ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าทีเ่ ปลยี่ นพลังงานไฟฟา้ เป็นพลงั งานความรอ้ น

เครื่องใชไ้ ฟฟ้าท่ีให้พเครล่ืองงั ใชง้ไาฟฟน้าคทใ่ี วห้คาวมามรร้อ้อนน

เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ำท่ีเปล่ียนพลงั งำนไฟฟ้ำเป็นควำมร้อน มี
ส่วนประกอบท่ีสำคญั คือ

1. ขดลวดความร้อน เช่น ลวดนิโครม เป็นลวดโลหะผสมระหวำ่ ง
นิกเกิลกบั โครเมียม เพอื่ ใหม้ ีสมบตั ิดำ้ นตำ้ นทำนไฟฟ้ำสูง จุด
หลอมเหลวสูง และเกิดควำมร้อนสูง

2. สวิตซ์ความร้อน หรือ ตวั ควบคุมอุณหภูมิ (thermostat)
ประกอบดว้ ยแผน่ โลหะคูจ่ ึงโคง้ งอเม่ืออุณหภูมิสูงข้ึน ทำใหแ้ ยกออก
จำกจุดสมั ผสั กระแสไฟฟ้ำจึงไหลผำ่ นไม่ได้ เมื่อแผน่ โลหะเยน็ ลงจะ
เบนกลบั มำตำแหน่งเดิม และสมั ผสั กบั จุดสมั ผสั ใหม่อีก

เคร่ืองทาความเย็น

ในทางวทิ ยาศาสตรถ์ อื ว่าความเยน็ เป็นส่งิ ทไี่ มม่ ีอยจู่ ริง มแี ต่พลงั งานความร้อน
บรเิ วณใดทเี่ ยน็ กค็ อื ทน่ี นั่ ไมม่ คี วามร้อนหรอื มคี วามร้อนอยู่น้อย
ดงั น้นั เคร่อื งทาความเย็นจงึ เป็นอุปกรณท์ ่ลี ดหรือเพมิ่ ระดับของอณุ หภมู โิ ดยอาศยั การเปลย่ี น
สถานะของสารนนั่ เอง

อุณหภูมิต่ำท่ีสุดท่ีถือวำ่ ไมม่ ีควำมรอ้ นอยูเ่ ลยคือศูนยส์ มั บูรณ์ (Absolute zero) ซ่ึงมีคำ่
เทำ่ กบั 0 เคลวิน (0 K) หรือ -273.16 องศำเซลเซียส หรือ -459.67 องศำฟำเรนไฮต์ ท่ีเป็น

อุณหภูมิน้ีอนุภำคทุกชนิดจะหยุดกำรเคล่ือนไหวอยำ่ งส้ินเชิง อยำ่ งไรก็ตำมในทำงปฏิบตั ิยงั ไม่

สำมำรถสรำ้ งสภำพศูนยส์ มั บูรณข์ ้ึนมำไดจ้ ริง

เครอ่ื งใช้ไฟฟ้าสานักงาน

การประกอบธุรกิจหรือกิจการต่างๆ ในปัจจบุ นั มีการแข่งขนั สูง ทุกกิจการจงึ ตอ้ งมีการกากบั
ดูแลหรือการบริหารงานท่ีมีประสิทธิภาพ หน่วยที่ทาหนา้ ท่ีกากบั ดูแลการดาเนินงานดงั กลา่ วก็คือ
สานกั งานนนั่ เอง และปัจจยั สาคญั ทม่ี ีผลตอ่ การประกอบการก็คอื ความรวดเร็วในการปฏิบตั ิการ ซง่ึ
เป็ นปัจจยั สาคญั ในการดาเนินธุรกิจในปัจจุบนั และองคป์ ระกอบสาคญั ที่จะทาใหก้ ารดาเนินงาน
เป็นไปไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ก็คอื เครอื่ งมือเครอ่ื งใชใ้ นการทางานหรอื เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้ าสานกั งานนน่ั เอง

โทรศัพท์

โทรศพั ทไ์ รส้ าย
โทรศพั ทไ์ รส้ ำย โทรศพั ทม์ ือถือหรือโทรศพั ทเ์ คล่ือนท่ี (mobile telephone) เป็นวิทยุโทรศพั ทท์ ่ี

มีขนำดเล็กกำลงั ต่ำท่ีสำมำรถพกพำติดตวั ได้ และสำมำรถทำงำนในขอบเขตท่ีคล่ืนวิทยุเดินทำงไปถึง

โทรศพั ทไ์ รส้ ำยปัจจุบนั ใชร้ ะบบเซลลูลำร์ โดยแบง่ พ้ืนท่ีใหบ้ ริกำรออกเป็นหน่วยเล็กๆ เรียกวำ่ เซลล์
(Cell) มีควำมถ่ีในกำรใชง้ ำนเฉพำะของตวั เองและมีสถำนีฐำน (Base station) เป็นตวั ควบคุมกำรใช้

งำนภำยในเซลล์ มีรศั มีตง้ั แต่ 250 เมตรถึง 30 กิโลเมตร คือเขตบริกำรท่ีมีผูใ้ ชจ้ ำนวนมำกก็จะกำหนดใหม้ ีพ้ืนท่ี

เล็กลง เพ่ือใหม้ ีจำนวนเซลลม์ ำกข้ึน สำมำรถใชบ้ ริกำรไดม้ ำกข้ึน

การสูญเสียพลงั งานไฟฟ้า ควรเลือกใชเ้ คร่ืองใช้
ไฟฟ้ำในบำ้ นที่มีกำลงั ไฟฟ้ำเหมำะสมกบั

กำรใชง้ ำนจริง

ราคายตุ ิธรรม เหมำะสม ข้อความคานึงในการเลือก ความปลอดภยั ควรเลือกใช้
กบั คุณภำพในกำรใชง้ ำน ซื้อเคร่ืองใช้ไฟฟ้า เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ำท่ีผำ่ นกำรรับรอง
คุณภำพจำกสำนกั งำนมำตรฐำน

ผลิตภณั ฑอ์ ตุ สำหกรรมที่มี
เคร่ืองหมำย มอก.

การบารุงรักษา เป็นเคร่ืองใช้ การใช้งานง่าย ไม่ซบั ซอ้ น
ไฟฟ้ำท่ีหำอะไหล่ทดแทนได้ กำรติดต้งั ไม่ยงุ่ ยำก
ง่ำย และสะดวกต่อกำรซ่อมบำรุง

เทคนิคการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน

เทคนิคการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน

เทคนิคการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน

อย่าเดนิ สายไฟฟ้าลอด อย่าปิ ด-เปิ ดสวติ ซ์ ควรต่อสายเครื่องใช้ไฟฟ้า
ใต้พรม เคร่ืองใช้ไฟฟ้าขณะมือเปี ยก ลงดนิ

อย่าแก้ปัญหาเรื่องไฟฟ้าเอง ความปลอดภยั ในการใช้ อย่าใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้า
โดยไม่มีความรู้เกยี่ วกบั ไฟฟ้า เปี ยกนา้
ไฟฟ้า

ควรเปลย่ี นสายไฟฟ้าท่ีเก่า อย่าดงึ ปลกั๊ เคร่ืองใช้ไฟฟ้า ตดิ ต้งั เสาอากาศทีวหี ่างจาก
และใช้งานมานาน ขณะเครื่องใช้ไฟฟ้าทางาน สายไฟฟ้าไม่น้อยกว่า
3 เมตร

หนงั สือประกอบการเรยี น

ไตรภพ เทยี บพมิ พ์. วิทยาศาสตรง์ านธรุ กิจและบริการ . กรุงเทพฯ : ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อาชวี ะ, 2563.
ณัฐวฒุ ิ ประทมุ ชาต.ิ วิทยาศาสตรเ์ พอ่ื งานธรุ กิจและบริการ . กรงุ เทพฯ : ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อาชวี ะ, 2558.
ณฐั วุฒิ ประทมุ ชาต.ิ วิทยาศาสตรง์ านธรุ กิจและบริการ . กรุงเทพฯ : ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อาชวี ะ, 2563.
ภาวณิ ี รตั นคอนและคณะ. วิทยาศาสตรเ์ พอื่ งานธรุ กิจและบริการ . กรงุ เทพฯ : เอมพนั ธ,์ 2558.
นนทวัฒน์ โนคิม. วิทยาศาสตรเ์ พอ่ื งานธรุ กิจละบริการ . กรุงเทพฯ : ศนู ยห์ นงั สอื เมอื งไทย จากดั , 2558.
อบุ ลศรี ออ่ นพลี. วิทยาศาสตรง์ านธรุ กิจละบริการ . กรุงเทพฯ : จติ รวฒั น์, 2563.


Click to View FlipBook Version