The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้.คณิตศาสตรเครื่องมือกล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sangwankrutee, 2021-11-23 23:49:38

แผนการจัดการเรียนรู้.คณิตศาสตรเครื่องมือกล

แผนการจัดการเรียนรู้.คณิตศาสตรเครื่องมือกล

แผนการจัดการเรียนรู้
แบบมุ่งเนน้ สมรรถนะ
และบรู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ชอ่ื วิชา คณิตศาสตรเ์ คร่อื งมอื กล รหสั 20102-2005
หลักสูตร ประกาศนยี บตั รวิชาชพี พุทธศกั ราช 2562
ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม

จัดทำโดย
นายสงั วาร ทองมนั ปู

วทิ ยาลัยการอาชพี ขนุ หาญ จังหวดั ศรีสะเกษ
สำนกั งานคณะกรรมการ การอาชวี ศกึ ษาจงั หวัดศรีสะเกษ

หลักสตู รรายวิชา

ช่อื วิชา...คณติ ศาสตร์เครื่องมอื กล..รหสั วิชา.. 20102-2005..ทฤษฎ.ี .2..ปฎิบัต.ิ .0...หน่วยกิต..2..

หลักสตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี

จุดประสงคร์ ายวิชา

1. เพ่ือใหม้ คี วามเขา้ ใจในหลักวชิ าคณิตศาสตรเ์ ครื่องมือกล
2. เพ่อื ใหส้ ามารถประยกุ ต์ใชต้ วั เลขกบั งานชา่ งและคำนวณคา่ ในงานเครือ่ งกล
3. เพื่อใหม้ ีกจิ นสิ ยั ในการทำงานทม่ี รี ะเบียบแบบแผน มีความรับผิดชอบตอ่ ตนเองและสว่ นรวม

มาตรฐานรายวิชา

1. เข้าใจหลกั การคำนวณเกี่ยวกับงานดา้ นเครื่องกล
2. คำนวณหาความยาว พื้นที่ ปริมาตร นำ้ หนักวัสดุ และความเรว็ ต่างๆ ในงานเครื่องกล
3. คำนวณหาอัตราทดของระบบสง่ กำลงั
4. คำนวณหาเวลาในงานเครื่องมือกล

คำอธบิ ายรายวชิ า

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการคำนวณเส้นรอบรูป พื้นที่ ปริมาตร น้ำหนักของวัสดุ ฟังก์ชัน ตรีโกณมิติ ค่าพิกัดความเผอื่
ความเร็วตัด ความเร็วรอบและความเร็วขอบ อัตราทด ระบบส่งกำลังด้วยสายพานและเฟือง อัตราเรียว ระบบเกลียว การ
คำนวณหาเวลาในการกลึง ไส กดั และเจยี ระไน

โครงการสอน
วิชา คณติ ศาสตร์เครอ่ื งกล รหสั 20102-2005 หนว่ ยกิต 2 จำนวน 2 ชั่วโมง

หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียน จำนวนชว่ั โมง
1 หน่วยในระบบ SI-UNIT 2
2 ความยาว พ้ืนท่ี ปรมิ าตรและนำ้ หนักของชิ้นงาน 4
3 ฟงั ก์ชันตรโี กณมติ ิ 4
4 พิกดั ความเผ่ือและระบบงานสวม 4
5 ความเรว็ และการเคลอ่ื นทีใ่ นงานกล 4
6 การส่งกำลังด้วยสายพานและเฟือง 4
7 เกลียว 4
8 เรยี ว 4
9 การคำนวณหาเวลางานของเคร่อื งมือกล 6

รวม 36

การกำหนดเนื้อหา และกำหนดการสอน
คุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

รหัส 20102-2005 ( 2 ) วิชา คณิตศาสตรเ์ ครอื่ งกล

หนว่ ยที่ 1 หน่วยในระบบ SI-UNIT

สัปดาห์ เวลา สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรยี น คณุ ธรรม จริยธรรม
ท่ี (ชม.) การสอน คา่ นิยม และคุณลักษณะ

อันพงึ ประสงค์

1 2 1.ปฐมนิเทศ 1.จำแนกหนว่ ยวดั ใน 1. มีความซอื่ สตั ย์

- คำอธิบายรายวิชา ระบบตา่ งๆ ได้ สจุ ริตในการทำ

- หนว่ ยการเรยี น 2.บอกความหมายของ แบบทดสอบก่อนและ

- ขอ้ ตกลงในการเรียน หนว่ ยในระบบ SI-UNIT หลงั เรียน

2.หน่วยวดั ในระบบตา่ งๆ ได้ 2. มีความกลา้

3.หนว่ ยในระบบ SI-UNIT 3.บอกหน่วย และ แสดงออกในห้องเรียน

4.หนว่ ยและสัญลักษณ์ที่ สญั ลกั ษณ์ระบบ 3. มคี วามรบั ผดิ ชอบ

นิยมใช้ในทางชา่ ง SI-UNIT ท่ีนิยมใช้ใน ตอ่ หน้าทแี่ ละงานทไี่ ด้รับ

5.อกั ขระภาษากรกี งานชา่ งได้ มอบหมาย

6.ตัวเลขโรมนั 4.บอกอกั ขระภาษากรกี ได้ 4. ผ้เู รียนสามารถ

5.บอกคา่ ตวั เลขโรมันได้ ทำงานเป็นทมี

5. เป็นคนทต่ี รงตอ่

เวลาโดยส่งงานตามที่

กำหนด

6. มที ศั นคตทิ ี่ดีกับ

อาชีพ

การกำหนดเน้ือหา และกำหนดการสอน (ตอ่ )
คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
รหสั 20102-2005 2 ( 2 ) วิชา คณิตศาสตรเ์ ครื่องกล

หนว่ ยที่ 2 ความยาว พ้ืนท่ี ปริมาตร และนำ้ หนกั

สัปดาห์ เวลา สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรยี น คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
ท่ี (ชม.) การสอน คา่ นิยม และคุณลักษณะ

อนั พงึ ประสงค์

2-3 4 1.การหาความยาวเสน้ 1.คำนวณหาความยาว 1. มีความซือ่ สตั ย์

รอบรปู เส้นรอบรปู ได้ สุจรติ ในการทำ

2.การหาพื้นทห่ี นา้ ตดั ของ 2.คำนวณหาพื้นทห่ี นา้ ตัด แบบทดสอบกอ่ นและ

วตั ถุ ของวตั ถไุ ด้ หลังเรยี น

3.การหาปรมิ าตร 3.คำนวณหาปริมาตรได้ 2. มีความกลา้

4.การหาน้ำหนกั ของ 4.คำนวณหาน้ำหนักของ แสดงออก

ชิน้ งาน ชิ้นงานได้ 3. มีความ

รับผิดชอบต่อหนา้ ท่ีและ

งานทไี่ ดร้ ับมอบหมาย

5.การคำนวณหาราคางาน 5.คำนวณหาราคางานได้ 4. ผเู้ รียนสามารถ

ทำงานเปน็ ทีม

5. เปน็ คนทตี่ รงต่อ

เวลาโดยส่งงานตามท่ี

กำหนด

6. มีทศั นคตทิ ด่ี กี ับ

อาชีพ

การกำหนดเน้ือหา และกำหนดการสอน (ตอ่ )
คณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
รหัส 20102-2005 2 ( 2 ) วิชา คณติ ศาสตร์เคร่ืองกล

หน่วยท่ี 3 ฟังก์ชนั ตรโี กณมิติ

สัปดาห์ เวลา สาระการเรยี นรู้ จดุ ประสงค์การเรยี น คุณธรรม จริยธรรม
ที่ (ชม.) การสอน ค่านยิ ม และคุณลักษณะ

อนั พึงประสงค์

4-5 4 1.ฟังกช์ นั ตรโี กณมิติ 1.คำนวณหาคา่ ของ 1. มคี วามซอ่ื สตั ย์

2.กฎของไซน์ ฟังกช์ ันตรโี กณมติ ิได้ สจุ รติ ในการทำ

3.กฎของโคไซน์ 2.คำนวณหาคา่ ต่างๆ จาก แบบทดสอบกอ่ นและ

4.มมุ และการวัดมุม กฎของไซนไ์ ด้ หลังเรยี น

3.คำนวณหาค่าต่างๆ จาก 2. มคี วามกลา้

กฎของโคไซน์ได้ แสดงออกในห้องเรียน

4.คำนวณหามมุ ได้ 3. มคี วามรับผดิ ชอบ

ตอ่ หนา้ ทแ่ี ละงานทไี่ ดร้ ับ

มอบหมาย

4. ผูเ้ รยี นสามารถ

ทำงานเป็นทมี

5. เป็นคนทตี่ รงต่อ

เวลาโดยส่งงานตามท่ี

กำหนด

6. มีทัศนคตทิ ่ดี ีกบั

อาชีพ

การกำหนดเนื้อหา และกำหนดการสอน (ต่อ)
คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
รหสั 20102-2005 2 ( 2 ) วิชา คณติ ศาสตรเ์ ครือ่ งกล

หน่วยท่ี 4 พิกัดความเผื่อและระบบงานสวม

สปั ดาห์ เวลา สาระการเรยี นรู้ จุดประสงคก์ ารเรียน คุณธรรม จรยิ ธรรม
ที่ (ชม.) การสอน ค่านิยม และคณุ ลักษณะ

อนั พึงประสงค์

6-7 4 1.ความหมายของพิกัด 1.บอกความหมายของ 1. มคี วามซือ่ สตั ย์

ความเผื่อและงานสวม พิกดั ความเผื่อและงาน สุจริตในการทำ

2.สัญลกั ษณข์ องพกิ ัด สวมได้ แบบทดสอบก่อนและ

ความเผื่อ 2.บอกสัญลักษณ์ของพกิ ดั หลังเรียน

3.การคำนวณหาคา่ พิกดั ความเผอ่ื ได้ 2. มคี วามกล้า

ความเผอ่ื 3.คำนวณหาค่าพกิ ดั ความ แสดงออกในห้องเรียน

4.ระบบงานสวมและชนิด เผอื่ ได้ 3. มคี วามรับผดิ ชอบ

ของงานสวม 5.บอกระบบงานสวมและ ต่อหน้าทีแ่ ละงานท่ีไดร้ บั

5.การคำนวณหาพิกดั ของ ชนิดของงานสวมได้ มอบหมาย

งานสวม 4.คำนวณหาพกิ ดั ของงาน 4. ผ้เู รียนสามารถ

สวมได้ ทำงานเปน็ ทมี

5. เป็นคนทีต่ รงตอ่

เวลาโดยสง่ งานตามท่ี

กำหนด

6. มที ัศนคติที่ดกี ับ

อาชพี

การกำหนดเน้อื หา และกำหนดการสอน (ต่อ)
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
รหสั 20102-2005 2 ( 2 ) วิชา คณิตศาสตรเ์ คร่อื งกล

หนว่ ยท่ี 5 ความเร็วและการเคลือ่ นทใี่ นงานกล

สปั ดาห์ เวลา สาระการเรยี นรู้ จุดประสงคก์ ารเรียน คณุ ธรรม จริยธรรม
ที่ (ชม.) การสอน ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะ

อันพงึ ประสงค์

8-9 4 1.ความหมายของ 1.บอกความหมายของ 1. มคี วามซ่ือสัตย์

ความเรว็ ตัด ความเรว็ ความเร็วตดั ความเรว็ สจุ รติ ในการทำ

รอบ และความเรว็ ขอบ รอบ และความเรว็ ขอบ แบบทดสอบกอ่ นและ

2.การคำนวณหาความเร็ว ได้ หลงั เรียน

ตัดของเคร่ืองจกั รในงาน 2.สามารถคำนวณหา 2. มคี วามกล้า

กล ความเร็วตดั ของ แสดงออกในห้องเรียน

3.การคำนวณหาความเร็ว เครอ่ื งจักรในงานกลได้ 3. มีความรบั ผดิ ชอบ

รอบของเครอื่ งจักรใน 3.สามารถคำนวณหา ต่อหน้าท่ีและงานที่ไดร้ ับ

งานกล ความเร็วรอบของ มอบหมาย

เครอื่ งจักรในงานกลได้ 4. ผูเ้ รียนสามารถ

ทำงานเป็นทมี

4.การคำนวณหาความเรว็ 4.สามารถคำนวณหา 5. เปน็ คนทต่ี รงตอ่

ขอบของงาน ความเรว็ ขอบของงาน เวลาโดยสง่ งานตามที่

5.การเคล่อื นท่ีในงานกล ได้ กำหนด

5.สามารถคำนวณการ 6. มีทัศนคติท่ีดกี ับ

เคลือ่ นที่ในงานกลได้ อาชพี

การกำหนดเน้อื หา และกำหนดการสอน (ตอ่ )
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
รหสั 20102-2005 2 ( 2 ) วิชา คณติ ศาสตร์เครอ่ื งกล

หนว่ ยท่ี 6 การส่งกำลังด้วยสายพานและเฟอื ง

สปั ดาห์ เวลา สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรยี น คณุ ธรรม จริยธรรม
ที่ (ชม.) การสอน ค่านิยม และคุณลักษณะ

อันพงึ ประสงค์

10-11 4 1. ความหมายของ 1. บอกความหมาย 1. มีความซอื่ สตั ย์

การส่งกำลังดว้ ย ของการส่งกำลังด้วย สจุ ริตในการทำ

สายพานและเฟอื ง สายพานและเฟอื งได้ แบบทดสอบก่อนและ

2. การคำนวณหา 2. คำนวณหา หลังเรียน

ระยะห่างระหว่างตัวขบั ระยะห่างระหว่างตัวขับ 2. มีความกลา้

และตวั ตาม และตวั ตามได้ แสดงออกในห้องเรียน

3. การส่งกำลงั ด้วย 3. อธบิ ายการสง่ 3. มคี วามรบั ผดิ ชอบ

สายพาน กำลงั ด้วยสายพานได้ ต่อหน้าทแี่ ละงานทไี่ ด้รับ

4. การส่งกำลงั ดว้ ย 4. อธิบายการส่ง มอบหมาย

เฟือง กำลังดว้ ยเฟอื งได้ 4. ผ้เู รียนสามารถ

ทำงานเป็นทมี

5. เป็นคนทต่ี รงตอ่

เวลาโดยส่งงานตามที่

กำหนด

6. มที ศั นคตทิ ี่ดีกับ

อาชพี

การกำหนดเนื้อหา และกำหนดการสอน (ตอ่ )
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
รหสั 20102-2005 2 ( 2 ) วิชา คณติ ศาสตรเ์ ครือ่ งกล

หน่วยที่ 7 เกลียว

สัปดาห์ เวลา สาระการเรียนรู้ จดุ ประสงค์การเรียน คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
ท่ี (ชม.) การสอน คา่ นยิ ม และคณุ ลักษณะ

อันพงึ ประสงค์

12-13 4 1. เกลยี วชนดิ ตา่ ง ๆ 1. บอกชนิดของ 1. มคี วามซอื่ สตั ย์

2. ส่วนประกอบ เกลยี วได้ สุจริตในการทำ

ต่างๆ ของเกลียว 2. บอกส่วนประกอบ แบบทดสอบกอ่ นเรียน

3. การคำนวณหาคา่ ต่างๆ ของเกลียวได้ 2. มีความกล้า

ตา่ งๆ ของเกลียว 3. คำนวณหาคา่ ของ แสดงออกในห้องเรียน

4. การเลือกใช้ เกลยี วชนิดต่างๆ ได้ 3. มคี วามรบั ผิดชอบ

เกลยี วได้ถูกตอ้ ง 4. สามารถเลือกใช้ ต่อหนา้ ทีแ่ ละงานทีไ่ ดร้ ับ

เกลียวใหเ้ หมาะสมกับ มอบหมาย

งานได้ 4. ผ้เู รียนสามารถ

ทำงานเป็นทีม

5. เป็นคนทีต่ รงต่อ

เวลาโดยสง่ งานตามที่

กำหนด

6. มีทศั นคตทิ ่ีดกี ับ

อาชีพ

การกำหนดเนือ้ หา และกำหนดการสอน (ต่อ)
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
รหสั 20102-2005 2 ( 2 ) วิชา คณิตศาสตร์เครือ่ งกล

หน่วยที่ 8 เรียว

สัปดาห์ เวลา สาระการเรียนรู้ จดุ ประสงค์การเรียน คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
ท่ี (ชม.) การสอน ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะ

14-15 4 1. ชนิดและ 1.บอกชนดิ และมาตรฐาน อนั พึงประสงค์
1. มีความซอ่ื สตั ย์
มาตรฐานของเรียว ของเรยี วได้
สุจริตในการทำ
2. การคำนวณหาคา่ 2.คำนวณหาค่าต่าง ๆ แบบทดสอบก่อนและ
หลงั เรยี น
ต่าง ๆ ของอตั ราเรียว ของอตั ราเรียวได้ 2. มีความกลา้
แสดงออกในห้องเรียน
3. การคำนวณหาคา่ 3.คำนวณหาคา่ ต่าง ๆ ใน 3. มีความรบั ผิดชอบ
ตอ่ หน้าทแี่ ละงานที่ได้รับ
ตา่ ง ๆ ในการกลงึ เรียว การกลึงเรยี วด้วยชดุ มอบหมาย
4. ผูเ้ รยี นสามารถ
ดว้ ยชดุ ปอ้ มมีด ปอ้ มมดี ได้ ทำงานเป็นทีม
5. เปน็ คนทีต่ รงตอ่
4. การคำนวณหาคา่ 4.คำนวณหาคา่ ตา่ ง ๆ ใน เวลาโดยสง่ งานตามที่
กำหนด
ต่าง ๆ ในงานกลงึ เรยี ว งานกลึงเรียวด้วยการ 6. มีทัศนคตทิ ี่ดีกบั
อาชพี
ดว้ ยการปรับศูนย์ทา้ ย ปรบั ศนู ยท์ า้ ยแท่นได้

แท่น

5. การคำนวณหาคา่ 5.คำนวณหาคา่ ต่าง ๆ ใน

ตา่ ง ๆ ในงานกลึงเรยี ว งานกลงึ เรยี วด้วยชุด

ด้วยชดุ เคร่ืองมือพเิ ศษ เครอื่ งมอื พิเศษ ได้

การกำหนดเนอ้ื หา และกำหนดการสอน (ตอ่ )
คณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
รหสั 20102-2005 2 ( 2 ) วิชา คณิตศาสตร์เคร่อื งกล

หน่วยที่ 9 การคำนวณเวลางานกลงึ ไส กัด เจาะ และเจียระไน

สปั ดาห์ เวลา สาระการเรยี นรู้ จดุ ประสงค์การเรียน คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
ที่ (ชม.) การสอน คา่ นิยม และคณุ ลักษณะ

อันพงึ ประสงค์

16-18 6 1. การคำนวณหา 1.คำนวณหาเวลางานกลึง 1. มีความซ่ือสตั ย์

เวลางานกลึง ได้ สจุ ริตในการทำ

2. การคำนวณหา 2.คำนวณหาเวลางานกดั ได้ แบบทดสอบก่อนและ

เวลางานกัด 3.คำนวณหาเวลางานไสได้ หลังเรียน

3. การคำนวณหา 4.คำนวณหาเวลางานเจาะ 2. มีความกลา้

เวลางานไส ได้ แสดงออกในห้องเรียน

4. การคำนวณหา 5.คำนวณหาเวลางาน 3. มคี วาม

เวลางานเจาะ เจยี ระไนได้ รบั ผิดชอบตอ่ หนา้ ท่ี

5. การคำนวณหา และงานที่ไดร้ ับ

เวลางานเจียระไน มอบหมาย

4. ผูเ้ รยี นสามารถ

ทำงานเปน็ ทีม

5. เป็นคนทตี่ รงตอ่

เวลาโดยส่งงานตามที่

กำหนด

6. มีทศั นคตทิ ี่ดีกับ

อาชพี

รหสั วชิ า 20102-2005 แผนการจัดการเรียนรู้ สอนครงั้ ที่ 1
หน่วยที่ 1 ชอื่ วิชา คณิตศาสตร์เครื่องกล เวลา 2 ชม.
ชอ่ื หน่วย หน่วยในระบบ SI - UNIT

1. สาระสำคัญ
การออกแบบและการคำนวณชิ้นส่วนต่างๆ ในทางช่างสิ่งที่สำคัญที่สุดคือการ กำหนดหน่วยต่างๆ ที่ใช้ในการวัด รวมถึง

สญั ลักษณ์ทใี่ ชป้ ระกอบการคำนวณหาค่า ดังนัน้ ผู้เรียนต้องรู้จักระบบหน่วย และสัญลักษณ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นการกำหนด
และระบคุ ่าทถ่ี ูกต้องใหง้ า่ ยต่อการทำงาน

2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

จุดประสงค์ทั่วไป
1. เพือ่ ให้มีความร้เู กย่ี วกับหนว่ ยในระบบ SI-UNIT
2. เพอ่ื ให้มีความเขา้ ใจหน่วยและสัญลักษณท์ ี่นยิ มใช้ในทางช่าง
3. เพอื่ ให้มคี วามเข้าใจอักขระภาษากรกี
4. เพื่อใหม้ ีความเขา้ ใจตัวเลขโรมัน
5. เพือ่ ใหม้ คี วามรเู้ ร่อื งการแปลงหนว่ ย

จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
1. บอกความหมายของหน่วยในระบบ SI-UNIT ได้
2. บอกหน่วยและสญั ลกั ษณ์ระบบ SI-UNIT ที่นิยมใช้ในงานช่างได้
3. บอกอักขระภาษากรีกได้
4. บอกคา่ ตวั เลขโรมันได้
5. บอกวิธีการแปลงหนว่ ยได้

3. สาระการเรยี นรู้
1. หนว่ ยในระบบ SI-UNIT
2. หน่วยและสัญลกั ษณ์ท่นี ยิ มใชใ้ นทางช่าง
3. อักขระภาษากรีก
4. ตัวเลขโรมนั
5. การแปลงหน่วย

4. กจิ กรรมการเรยี นรู้
4.1 ขั้นเตรยี ม
1. ครูแจง้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เรอ่ื ง หน่วยในระบบ SI - UNIT
2. ให้นักศึกษาทำแบบทดสอบกอ่ นเรียนและประเมินผล
4.2 ข้ันนำ
ครผู ้สู อนถาม หรอื นำปญั หา หรือสร้างสถานการณท์ เ่ี ก่ียวข้องและตรงกับเร่ืองท่ีครผู ู้สอนจะทำการสอนเพื่อกระตุ้น

ใหน้ กั ศึกษาเกิดความสนใจและมสี ่วนรว่ มในการท่ีจะเรียนรู้ โดยครผู ู้สอนต้องยึดหลกั ในการนำเขา้ สบู่ ทเรียนดงั นี้

- ถามหรอื สรา้ งปัญหาท่เี กีย่ วข้องและตรงกับเนื้อหาในบทเรียนที่จะสอน
- ปญั หาท่ีถามควรเปน็ ปญั หาท่สี ามารถใช้ความรูเ้ ดิมจากทเี่ รียนมาแล้วแกไ้ ขปญั หาได้
- ให้นักศกึ ษาไดม้ ีสว่ นร่วมเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา
- ใช้ส่ือหรืออปุ กรณช์ ่วยสอนดงึ ดูดให้นักศึกษาเกดิ ความสนใจและมสี ว่ นร่วม
- ใชเ้ วลาในการนำเข้าสบู่ ทเรยี นอย่างสน้ั ๆ และใหเ้ นือ้ หาการสอนเม่อื เหน็ ว่านกั ศกึ ษามคี วามสนใจ
- จบขั้นนำหรือขั้นสนใจปัญหาด้วยเรื่องของบทเรียนที่จะเรียนและเริ่มสอนเนื้อหาตามที่ครูผู้สอนได้จัดเตรียมไว้ใน

ขัน้ ตอนต่อไป
4.3 ขั้นสอน

1. ครดู ำเนินการสอน โดยการอธิบายเน้ือหาสาระการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 1
2. ให้นกั ศกึ ษาศึกษาจากใบความรู้ และถามตอบ
3. ให้นักศกึ ษาทำใบงาน และครูผ้สู อนเฉลยและประเมนิ ผลใบงาน
4.4 ขนั้ สรุป
1. นกั ศึกษาและครูร่วมกนั สรุป เน้ือหาการเรยี นรู้
2. ทำแบบทดสอบหลงั เรยี นและเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลงั เรยี น
3. ประเมนิ ผลแบบทดสอบ
5. สือ่ การเรยี นการสอน
1. ใบความรู้
2. สื่อมลั ตมิ ีเดยี โปรแกรม Power Point
2. ใบงาน
3. แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรยี น
4. เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียนหลงั เรยี น
6. การวดั ผลประเมินผล
6.1 เคร่อื งมอื วัด
1. ใบงาน
2. แบบทดสอบกอ่ นเรยี นหลงั เรยี น
6.2 วธิ กี ารวดั ผล
1. การตรวจใบงาน
2. ทดสอบหลังเรยี น

- เกณฑก์ ารประเมินไดร้ ้อยละ 80 ถอื ว่า ผ่าน การประเมนิ

แบบทดสอบกอ่ นเรียน
เรือ่ ง หน่วยในระบบ SI-UNIT
คำช้ีแจง ใหเ้ ลอื กข้อท่ถี ูกที่สุดเพียงข้อเดียว (10 คะแนน)

1. ระบบ SI-UNIT หมายถึง 6. MICRO ไมโคร () มคี า่ เท่าไร
ก. มาตรฐานการวัดของญีป่ ุน่
ข. หน่วยท่ใี ชใ้ นงานอุตสาหกรรม ก. 10 −1
ค. ระบบมาตรฐานของหนว่ ยวัดสากล ข. 10 −2
ง. มาตรฐานการวดั ของเยอรมัน ค. 10 −3
ง. 10 −6
2. ขอ้ ใดคอื หน่วยวัดในระบบ SI-UNIT
ก. นิ้ว 7. อกั ขระหน่วยวัดภาษากรีก มีก่ีตัว
ข.ปอนด์ ก. 20 ตัว
ค.หลา ข. 25 ตัว
ง.มิลลเิ มตร ค. 24 ตัว
ง. 30 ตัว
3. สัญลักษณ์ขนาดเวลาที่มีหนว่ ยเปน็ วินาทีคือ
ก. Sic ข.Sec 8.  สัญลกั ษณ์น้หี มายถึงอะไร
ค.Min ง.Men ก. theta
ข. zeta
4. ขนาดของแรงท่ีมหี นว่ ยเป็น นิวตันใช้สัญลักษณ์ ค. alpha
อะไร ง. beta

ก. J ข. Pa 9. VII ค่าของตัวเลขโรมันที่ขดี เส้นใตม้ ีค่าเทา่ ใด
ค. K ง. N ก. 4 ข. 5
ค. 6 ง. 7
5.สัญลักษณ์ในการวัดขนาดความดนั ซึ่งมีหนว่ ย
เป็น พาสคาล คือขอ้ ใด 10. ถ้า 25 กโิ ลกรมั มคี ่าเท่ากับ 25x10 3 =
25000 กรัมแล้วมคี า่ เท่ากบั กี่ จิกะกรมั
ก. N
ข. Pa ก. 0.000025
ค. Ne ข. 0.00000025
ง. NT ค. 0.00025
ง. 0.025

ใบงานหนว่ ยท่ี 1
เรอ่ื ง หน่วยในระบบ SI – UNIT
1. จงอ่านเลขโรมันตอ่ ไปนี้
MCCMXLIII………………………………………………………………………
XXCV………………………………………………………………………………
DXV…………………………………………………………………………………
MCXI………………………………………………………………………………
DCCLV……………………………………………………………………..………
2. จงเขยี นเลขต่อไปนใ้ี หเ้ ป็นเลขโรมัน
335 …………………………………………………………………………………
568…………………………………………………………………………………
786…………………………………………………………………………………
1010…………………………………………………………………………………
1534…………………………………………………………………………………
2547 …………………………………………………………………………………
3. ให้นกั เรยี นเขยี นหน่วยของความยาวว่ามีอะไรบ้าง ( ในระบบเมตริก )
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
4. จงเขยี นตวั เลขของคำตอ่ ไปนี้
G……………………………………………………………………………………
M……………………………………………………………………………………
H……………………………………………………………………………………
K……………………………………………………………………………………
C……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………
5. จงหาค่าของความดัน 5 bar มคี า่ เทา่ กบั ก่ี Pa

……………………………………………………………………..…………………………
………………………………………………………………………………………...………

แบบทดสอบหลังเรียน
เรือ่ ง หน่วยในระบบ SI-UNIT
คำชแ้ี จง ให้เลอื กข้อทถี่ ูกทีส่ ุดเพียงข้อเดยี ว (10 คะแนน)

1. ข้อใดคอื หนว่ ยวัดในระบบ SI-UNIT 6. หนว่ ยในการหาความเรง่ (a) คือขอ้ ใด
ก. นว้ิ ก. เมตร/วนิ าที2
ข.ปอนด์ ข. รอบ/นาที
ค.หลา ค. เมตร/นาที
ง.มลิ ลเิ มตร ง. ไมล์

2. ขนาดของแรงท่ีมหี น่วยเปน็ นวิ ตนั ใช้สญั ลกั ษณ์ 7. LVII มีค่าเปน็ เทา่ ไร
อะไร ก. 57
ข. 67
ก. J ค. 87
ข. Pa ง. 97
ค. K
ง. N 8. MDCCLXII มคี า่ เปน็ เทา่ ไร
3.สัญลักษณ์ในการวดั ขนาดความดัน ซึ่งมีหน่วย ก. 1,760
เปน็ พาสคาล คอื ขอ้ ใด ข. 1,765
ก. N ข. Pa ค. 1,762
ค. Ne ง. No ง. 1,770
4. GIGA ( จิกะ) มีค่าเป็นเท่าไร
ก. 10 9 9. MCMLXXVII มีคา่ เปน็ เท่าไร
ข. 10 6 ก. 1,650
ค. 10 12 ข. 1,977
ค. 1,980
ง. 10 6 ง. 1,995

5. MICRO ไมโคร () มีคา่ เทา่ ไร 10. CXLVIII มคี ่าเปน็ เทา่ ไร
ก. 120
ก. 10 −1 ข. 125
ข. 10 −2 ค. 135
ค. 10 −3 ง. 148
ง. 10 −6

แผนการจัดการเรียนรู้

รหัสวิชา 20102-2005 ช่ือวิชา คณิตศาสตร์เคร่ืองกล สอนครั้งท่ี 2-3

หน่วยที่ 2 ช่ือหนว่ ย ความยาว พื้นที่ ปรมิ าตรและน้ำหนกั ของช้ินงาน เวลา 4 ชม.

1. สาระสำคัญ
ในการปฏิบตั งิ านทางช่างน้ัน จำเปน็ จะตอ้ งรูจ้ ักการคำนวณหาค่าตา่ งๆ เชน่ ความยาวเสน้ รอบรปู พนื้ ท่ี ปริมาตร มวล

และน้ำหนักของชิน้ งาน เพ่ือนำไปคำนวณหาราคางาน และทราบราคาวสั ดุ ผู้เรียนจะตอ้ งคำนวณหาคา่ ต่างๆ ให้ถูกต้อง

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
จดุ ประสงคท์ ั่วไป
1. เพอ่ื ให้มีความรู้การหาความยาวเส้นรอบรูป
2. เพอ่ื ให้มีความรู้การหาพ้ืนทหี่ นา้ ตัดของวัตถุ
3. เพ่ือให้มีความเข้าใจหลักการหาปรมิ าตร
4. เพื่อใหม้ ีความเข้าใจหลักการหานำ้ หนกั ของช้นิ งาน
5. เพอ่ื ใหม้ ีความเข้าใจหลักการคำนวณหาราคางาน
จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม
1. คำนวณหาความยาวเส้นรอบรูปได้
2. คำนวณหาพื้นทีห่ นา้ ตัดของวตั ถไุ ด้
3. คำนวณหาปรมิ าตรได้
4. คำนวณหานำ้ หนักของชนิ้ งานได้
5. คำนวณหาราคางานได้

3. สาระการเรียนรู้
1. การหาความยาวเสน้ รอบรูป
2. การหาพนื้ ท่ีหนา้ ตัดของวตั ถุ
3. การหาปรมิ าตร
4. การหาน้ำหนกั ของช้ินงาน
5. การคำนวณหาราคางาน

4. กจิ กรรมการเรียนรู้
4.1 ข้ันเตรียม
1. ครูแจ้งจดุ ประสงค์การเรียนรู้ เรื่อง ความยาว พน้ื ที่ ปริมาตร น้ำหนกั ของช้ินงาน
2. นักศกึ ษาทำแบบทดสอบก่อนเรยี น และประเมนิ ผล
4.2 ขนั้ นำ
ครผู ้สู อนถาม หรือนำปญั หา หรอื สร้างสถานการณท์ ีเ่ กยี่ วขอ้ งและตรงกับเรื่องที่ครผู สู้ อนจะทำการสอนเพ่ือกระตุ้น

ใหน้ กั ศึกษาเกดิ ความสนใจและมีสว่ นรว่ มในการที่จะเรียนรู้ โดยครูผ้สู อนต้องยึดหลักในการนำเขา้ สู่บทเรยี นดงั น้ี
- ถามหรอื สรา้ งปัญหาทเ่ี กย่ี วข้องและตรงกับเน้ือหาในบทเรยี นที่จะสอน

- ปญั หาที่ถามควรเปน็ ปญั หาที่สามารถใช้ความรเู้ ดมิ จากที่เรียนมาแล้วแก้ไขปัญหาได้
- ให้นักศกึ ษาไดม้ สี ่วนรว่ มเสนอแนะในการแก้ไขปญั หา
- ใช้สอ่ื หรืออุปกรณ์ช่วยสอนดึงดดู ให้นักศกึ ษาเกิดความสนใจและมีสว่ นรว่ ม
- ใช้เวลาในการนำเขา้ สบู่ ทเรียนอย่างสัน้ ๆ และใหเ้ นือ้ หาการสอนเมื่อเห็นวา่ นักศึกษามคี วามสนใจ
- จบขั้นนำหรือขั้นสนใจปัญหาด้วยเรื่องของบทเรียนที่จะเรียนและเริ่มสอนเนื้อหาตามที่ครูผู้สอนได้จัดเตรียมไว้ใน

ขัน้ ตอนต่อไป
4.3 ขน้ั สอน

1. ครดู ำเนินการสอน โดยการอธบิ ายเน้อื หาสาระการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 2
2. ให้นักศึกษาศึกษาจากใบความรู้ และถามตอบ
3. ให้นกั ศึกษาทำใบงาน และครผู ู้สอนเฉลยและประเมนิ ผลใบงาน
4.4 ข้ันสรปุ
1. นกั ศึกษาและครูรว่ มกนั สรุป เนอ้ื หาการเรยี นรู้
2. ทำแบบทดสอบหลงั เรยี นและเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรยี น
3. ประเมนิ ผลแบบทดสอบ
5. สอ่ื การเรียนการสอน
1. ใบความรู้
2. ส่อื มลั ติมีเดยี โปรแกรม Power Point
2. ใบงาน
3. แบบทดสอบก่อนเรยี นหลงั เรยี น
4. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนหลงั เรยี น

6. การวัดผลประเมินผล
6.1 เครื่องมือวดั
1. ใบงาน
2. แบบทดสอบกอ่ นเรยี นหลังเรียน
6.2 วธิ กี ารวดั ผล
1. การตรวจใบงาน
2. ทดสอบหลังเรียน
- เกณฑก์ ารประเมนิ ได้ร้อยละ 80 ถอื วา่ ผ่าน การประเมิน

แบบทดสอบกอ่ นเรียน
เร่อื ง ความยาว พ้ืนท่ี ปริมาตร และน้ำหนกั ของชิน้ งาน
คำช้ีแจง ใหเ้ ลือกข้อท่ีถูกที่สุดเพียงข้อเดยี ว (10 คะแนน)

1. เสน้ รอบรูป หมายถงึ ขอ้ ใด 6. ปรมิ าตร หมายถงึ

ก. เสน้ ทีล่ ้อมรอบอยูร่ อบๆรปู ท่ีเป็นรูป 2D ก. ขนาดของเนอ้ื วัสดุ

ข. ความยาวของดา้ นผวิ ข้างงาน ข. ความจทุ ี่มีอยใู่ นรปู ทรงต่างๆของภาชนะ

ค. ความสูงและความยาวมารวมกนั ค. นำ้ หนักของวัสดุ

ง. พนื้ ท่ีหนา้ ตดั ของงาน ง. ความหนาแนน่ ของวัสดุ

2. สญั ลักษณ์ N ในสูตรหาความยาวเส้นรอบรปู หลาย 7. หน่วยของการหาปริมาตร คอื ขอ้ ใด

เหลยี่ มด้านเท่าหมายถึงข้อใด ก. ตารางเมตร

ก. ความยาวเสน้ รอบรปู ข. มลิ ลิเมตร

ข. จำนวนดา้ นของรปู สีเ่ หล่ียม ค. กรัม

ค. ความยาวด้าน ง. ลกู บาศก์เมตร

ง. ความสงู ของด้าน 8. จากสูตร W= mg สัญลักษณท์ ่ขี ดี เสน้ ใต้

3. ข้อใดคอื สตู รในการหาความยาวเสน้ รอบรูป หมายถึงอะไร

หลายเหล่ียมด้านเท่า ก. มวล ข. แรงน้ำหนัก

ก. C = √a2 + b2 ข. ความเร่ง ง. ไม่มขี ้อถูก

ข. L = N x I 9. ขอ้ ใด คือการคำนวณหามวลและนำ้ หนกั

ค. L = 2πR ช้ินงาน

ง. L = πD ก. มวล = กวา้ ง x ยาว x สงู

4. พน้ื ท่ี หมายถึงข้อใด ข. มวล = พนื้ ท่หี นา้ ตัด x ยาว

ก. จำนวนขนาดของหน่วยท่ีมีค่าบรรจุอยใู่ น ค. มวล = ปริมาตร x ความหนาแน่นของ-

รปู ทรงตา่ งๆทางเรขาคณติ ชน้ิ งาน

ข. บรเิ วณผิวหนา้ ตัด ง. มวล = เสน้ รอบรูป x ปรมิ าตร

ค. ความยาวของดา้ นผวิ ขา้ งงาน 10. ความหนาแน่นของ เหล็ก มคี ่าเท่าไร

ง. ขนาดของ Diameter ก. 7.3 กก. /ดม.

lxh ข. 8.89 กก. /ดม.

5. จากสูตร A = 2 คือสูตรในการคำนวณหา ค. 9.81 นิวตนั

ในขอ้ ใด ง. 7.85 กก. /ดม.

ก. ความยาว ข. ปริมาตร

ค. พื้นท่ี ง. นำ้ หนัก

ใบงานหน่วยท่ี 2
เรือ่ ง ความยาว พนื้ ที่ ปรมิ าตร และน้ำหนักของชน้ิ งาน

1. ใหน้ กั เรยี นหาความยาวของเส้นรอบรปู วา่ มคี วามยาวเทา่ ใด
………………………………………………..…………………………………………………..………
…………………………………………..…………………………………………………..…
………………………………………………..…
………………………………………………..…

2. จงหาความยาวที่ยืดออกของเหล็กเส้น
………………………………………………..…
………………………………………………..…
………………………………………………..…
………………………………………………..…

3. จงหาพืน้ ทหี่ น้าตัดของรปู 6 เหลยี่ ม
………………………………………………..…
………………………………………………..…
………………………………………………..…
………………………………………………..…

4. จงหาปรมิ าตรของรูปทรงกลม
………………………………………………..…
………………………………………………..…
………………………………………………..…
………………………………………………..…

5. จงหาปรมิ าตร และน้ำหนักของชน้ิ งาน โดยกำหนดให้วสั ดคุ อื เหล็ก (Fe)ค่าความหนาแน่นเทา่ กับ 7.85 Kg/dm
ปรมิ าตร.....................................................ลบ.มม.
น้ำหนัก.......................................................กก.

6. จากรปู จงคำนวณหาคา่ ดังต่อไปน้ี
กำหนดใหว้ สั ดุเป็นอลูมิเนียม (ค่าความหนาแนน่ เปดิ จากตารางท่ี 2.1)
พ้ืนท่หี นา้ ตดั ..............................................ตร.มม.
ปรมิ าตร.....................................................ลบ.มม.
น้ำหนัก.......................................................นิวตัน

ถา้ ตอ้ งการซ้ือวสั ดปุ ระเภทเหลก็ ท่ีมีขนาดพืน้ ทหี่ นา้ ตดั ต่างชนิดกันแต่ละชนิดใช้ความยาวโดยประมาณ 1 เมตร เพื่อนำมาผลิต
ชนิ้ ส่วน ถ้ารา้ นขายวสั ดุกำหนดราคาขายวัสดปุ ระเภทเหลก็ เป็นกิโลกรัมละ 45 บาท จงคำนวณหาราคาเหล็กตามตารางที่กำหนด
เมือ่ ค่าความ

ขนาด ราคา ราคา ราคา
das Kg/m (บาท) Kg/m (บาท) Kg/m (บาท)
(มม.)

10

15

22

30

36

แบบทดสอบหลังเรียน

เรื่อง ความยาว พน้ื ที่ ปรมิ าตร และน้ำหนักของช้ินงาน

คำชีแ้ จง ใหเ้ ลือกข้อทถ่ี ูกทีส่ ุดเพียงข้อเดยี ว (10 คะแนน)

5. รปู สามเหลี่ยมรปู หนึง่ มขี นาดฐาน 20 มม.

สูง 50 มม. จงหาขนาดพน้ื ทหี่ นา้ ตัด

ก. 450 มม2. ข. 480 มม2.

ค. 495 มม2. ง. 500 มม2.

จากรูป ใช้ตอบคำถามขอ้ ที่ 1-2

1. จากรปู สูตรทใ่ี ช้ในการคำนวณคอื ขอ้ ใด

ก. L = l1+l2+l3+l4 6. จากรูปจงหาขนาดพนื้ ทหี่ นา้ ตัดของวงรี

ข. L = πr+ l1+l2+l3+….ln ก. 1,178.1 มม2. ข. 1,175.20
ค. L = N x l
มม2.

ง. L = πd+l1+l2+l3+….ln ค. 1,177 มม2. ง. 1,179.53
2. จากรูป ความยาวของเส้นรอบรปู คือข้อใด
มม2.

ก. 280 มม. ข. 285 มม.

ค. 270 มม. ง. 275 มม.

จากรูปใช้ตอบคำถามขอ้ ท่ี 7-10

3. จากรูป เสน้ รอบรูป (La) มคี า่ เทา่ ใด 7. จากรปู ชิน้ งานหมายเลข 2 มปี ริมาตร

ก. 65 มม2. ข. 60 มม2. (V)เท่าใด

ค. 62.83 มม2. ง. 63.83 มม2. ก. 12,500 มม3. ข. 11,500 มม3.

4. ช้นิ งานมีขนาดความกวา้ ง 95 มม. ยาว 175 ค. 10,500 มม3. ง. 12,300 มม3.

มม.และหนา 50 มม.จงคำนวณหาพ้นื ทีห่ น้าตัด 8. จากรูปชน้ิ งานหมายเลข 3 มีปริมาตร

งาน (V)เทา่ ใด

ก. 16,000 มม2. ข. 16,600 มม2. ก. 2,500 มม3. ข. 3,000 มม3.

ค. 16,625 มม2. ง. 18,825 มม2. ค. 3,500 มม3. ง. 3,250 มม3.

9. จากรูปชน้ิ งาน มีปริมาตร(V) รวมเทา่ ใด

ก. 32,000 มม3. ข. 32,500 มม3.

ค. 33,250 มม3. ง. 33,000 มม3.

10. จากรปู จงหานำ้ หนักของชิน้ งาน

กำหนดให้

ช้นิ งานทำจากเหลก็ (ค่าความหนาแน่น = 7.85)

ก. 0.259 Kg. ข. 2.59 Kg.

ค. 0.30 Kg. ง. 0.50 Kg.

รหสั วิชา 20102-2005 แผนการจดั การเรยี นรู้ สอนครงั้ ท่ี 4-5
หนว่ ยที่ 3 ชอื่ วิชา คณิตศาสตรเ์ คร่ืองกล เวลา 4 ชม.
ชือ่ หน่วย ฟงั กช์ นั ตรโี กณมิติ

1. สาระสำคัญ
ฟงั กช์ นั ตรโี กณมติ ิ มคี วามสัมพันธ์กบั งานช่างอุตสาหกรรมเป็นอย่างมาก เรา สามารถนำมาคำนวณหาค่าความยาวด้าน

ช้นิ งานหรือคำนวณหาคา่ มมุ ของช้นิ งานได้ ทำให้ สามารถทำงานได้อย่างถูกต้องตามใบงาน ชิ้นงานสามารถนำไปใช้งานได้อย่าง
ถกู ตอ้ ง

2. จุดประสงค์การเรยี นรู้
จดุ ประสงคท์ ว่ั ไป
1. เพื่อให้มีความเข้าใจหลกั การหาคา่ ของฟงั กช์ ันตรโี กณมติ ิ
2. เพอื่ ใหม้ คี วามเขา้ ใจหลักการหาค่าตา่ งๆ จากกฎของไซน์
3. เพ่อื ให้มคี วามเขา้ ใจหลกั การหาคา่ ตา่ งๆ จากกฎของโคไซน์
4. เพ่อื ใหม้ คี วามเขา้ ใจหลกั การคำนวณหาค่ามุม
จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม
1. คำนวณหาค่าของฟังกช์ ันตรีโกณมติ ไิ ด้
2. คำนวณหาคา่ ตา่ งๆ จากกฎของไซนไ์ ด้
3. คำนวณหาคา่ ต่างๆ จากกฎของโคไซนไ์ ด้
4. คำนวณหามมุ ได้

3. สาระการเรียนรู้
1. ฟงั ก์ชันตรีโกณมิติ
2. กฎของไซน์
3. กฎของโคไซน์
4. มมุ และการวัดมมุ

4. กจิ กรรมการเรยี นรู้
4.1 ขนั้ เตรยี ม

1. ครูแจง้ จุดประสงค์การเรียนรู้ เร่ือง ฟงั ก์ชันตรีโกณมติ ิ
2. นกั ศึกษาทำแบบทดสอบก่อนเรียน และประเมินผล

4.2 ขัน้ นำ

ครูผสู้ อนถาม หรอื นำปญั หา หรือสร้างสถานการณท์ ่เี ก่ียวขอ้ งและตรงกับเรื่องที่ครผู ู้สอนจะทำการสอนเพ่ือกระตุ้น
ใหน้ กั ศึกษาเกิดความสนใจและมสี ว่ นรว่ มในการที่จะเรยี นรู้ โดยครูผู้สอนต้องยดึ หลกั ในการนำเข้าสูบ่ ทเรยี นดงั นี้

- ถามหรอื สร้างปัญหาทเี่ ก่ียวข้องและตรงกับเน้ือหาในบทเรียนทจี่ ะสอน
- ปัญหาที่ถามควรเป็นปญั หาท่ีสามารถใช้ความรเู้ ดมิ จากทเี่ รียนมาแล้วแกไ้ ขปญั หาได้

- ให้นกั ศึกษาได้มีส่วนรว่ มเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา
- ใช้สอื่ หรอื อปุ กรณช์ ่วยสอนดึงดดู ให้นกั ศกึ ษาเกดิ ความสนใจและมีสว่ นร่วม
- ใช้เวลาในการนำเข้าสบู่ ทเรียนอย่างสั้นๆ และใหเ้ น้ือหาการสอนเม่ือเห็นว่านกั ศกึ ษามีความสนใจ
- จบขั้นนำหรือขั้นสนใจปัญหาด้วยเรื่องของบทเรียนที่จะเรียนและเริ่มสอนเนื้อหาตามที่ครูผู้สอนได้จัดเตรียมไว้ใน

ขน้ั ตอนต่อไป
4.3 ขนั้ สอน

1. ครูดำเนนิ การสอน โดยการอธิบายเนอื้ หาสาระการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 3
2. ให้นกั ศึกษาศึกษาจากใบความรู้ และถามตอบ
3. ให้นักศึกษาทำใบงาน และครผู ้สู อนเฉลยและประเมนิ ผลใบงาน
4.4 ขั้นสรปุ
1. นักศึกษาและครรู ว่ มกนั สรุป เนื้อหาการเรียนรู้
2. ทำแบบทดสอบหลังเรยี นและเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน
3. ประเมินผลแบบทดสอบ
5. สื่อการเรียนการสอน
1. ใบความรู้
2. สอ่ื มัลตมิ ีเดยี โปรแกรม Power Point
2. ใบงาน
3. ข้อสอบกอ่ นเรียนหลังเรยี น

6. การวดั ผลประเมินผล
6.1 เคร่ืองมือวัด
1. ใบงาน
2. แบบทดสอบกอ่ นเรียนหลงั เรยี น
3. เฉลยแบบสอบก่อนเรยี นหลังเรยี น
6.2 วิธีการวดั ผล
1. การตรวจใบงาน
2. ทดสอบหลงั เรยี นได้

- เกณฑก์ ารประเมินได้ร้อยละ 80 ถอื ว่า ผ่าน การประเมิน

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
เรือ่ ง ฟงั กช์ ันตรโี กณมิติ
คำชแ้ี จง ใหเ้ ลอื กข้อที่ถูกท่สี ุดเพียงข้อเดยี ว (10 คะแนน)

1. จากรปู ดา้ น a มีคา่ เท่าใด 7.จากรปู แรงในแนวแกน x คอื ขอ้ ใด

ก. 3.2

ข. 2.8

ค. 5.9

ง. 6.4

2.จากรปู ขอ้ ท่ี 1 มุม d มีค่าเท่ากับก่ีองศา ก. Fx = 30 x cos 30°

ก. 38.62 องศา ข. 36.62 องศา ข. Fx = 30 x sin 30°

ค. 32.62 องศา ง. 30.62 ค. Fx = 30 x tan 30°

องศา ง. ไม่มขี ้อถูก

3.จากรปู ดา้ น a มีค่าเท่าใด 8. จากขอ้ 7 แรงในแรงแกน y คอื ข้อใด

ก. 7.21 x Tan 34° ก. Fy = 30 x cos 30°

ข. 7.21 x cos 34° ข. Fy = 30 x sin 30°

ค. 7.21 x sin 34 ค. Fy = 30 x tan 30°

ง. 7.21 x cot 34 ง. ไมม่ ีข้อถกู

4. จากรูปข้อท่ี 2 ดา้ น b มีค่าเทา่ ใด 9. ต้นไม้ทำมุมตั้งฉากกับพื้นโลกและพระ

ก. 7.21 x Tan 34° ข. 7.21 x cos อาทิตย์ทำมมุ กบั ยอดของต้นไม้ 30 องศา สง่ ผล

34° ให้เงาของต้นไม้ทอดยาวไปตามพื้นโลกเป็น

ค. 7.21 x sin 34° ง. 7.21 x cot ระยะทาง 60 เมตร อยากทราบว่าต้นไม้ต้นนี้

34° สูงก่เี มตร

5. กำหนดให้ 180 องศาเทา่  เรเดยี น ถ้า ก. 7.3 เมตร ข. 6.5 เมตร

360 องศา เทา่ กเี่ รเดยี น ค. 9.6 เมตร ง. 10.4 เมตร
10. ใครเปน็ คนคดิ คน้ สูตรคณิตศาสตร์ ฟงั กช์ ัน
ก. 3 เรเดยี น ข. 4 ตรีโกณมิติ
เรเดยี น
ก. ปีธากอรัส
ค. 2 เรเดยี น ง. 6 เรเดยี น ข. อลั เบิร์ต ไอนส์ ไตน์
6. ขอ้ ใดกลา่ วถูกต้อง ค. อะเลก็ ซานเดรีย
ง. ปแิ ยร์ เดอ แฟร์มาต์
ก. tan 45° = 0 ข. sin 45° =
1

ค. cos 45° = 0 ง. tan 45° =

1

ใบงานหน่วยท่ี 3 เรเดียนจะมคี ่าเทา่ ไร
เรอื่ ง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
จงคำนวณหาค่าต่างๆ ลงในช่องวา่ งใหถ้ ูกต้อง
1. ชิน้ งานรปู สามเหลยี่ มดงั รปู จงคำนวณหาคา่ มมุ B
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
2. งานรปู สามเหลยี่ มชนิ้ หน่งึ ดงั รูป จงคำนวณหาค่าความยาวดา้ น BC
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
3. มุม 45 องศา จะมคี า่ เป็นก่ีเรเดียน
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
4. ชนิ้ งานรปู วงกลมถูกแบ่งออกเป็น 6 ส่วน อยากทราบวา่ แต่ละส่วนจะมีก่ีองศา และถ้าเทียบเป็น
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
5. ช้นิ งานหนา้ ตัดเป็นรปู วงกลมมีรัศมี 20 มม. จงคำนวณหาคา่ ความลึกที่จะกดั งาน (t1)
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………

แบบทดสอบหลังเรยี น

เรอ่ื ง ฟังก์ชนั ตรโี กณมติ ิ

คำช้ีแจง ให้เลอื กข้อทถี่ ูกทสี่ ุดเพยี งข้อเดียว (10 คะแนน)

1. จากรปู ดา้ น a มีค่าเทา่ ใด 7.จากรปู แรงในแนวแกน x คือขอ้ ใด

จ. 3.2

ฉ. 2.8

ช. 5.9

ซ. 6.4

2.จากรูปข้อที่ 1 มุม d มคี า่ เท่ากบั กี่องศา จ. Fx = 30 x cos 30°

ก. 38.62 องศา ข. 36.62 องศา ฉ. Fx = 30 x sin 30°

ค. 32.62 องศา ง. 30.62 ช. Fx = 30 x tan 30°

องศา ซ. ไมม่ ีข้อถกู

3.จากรปู ดา้ น a มีคา่ เทา่ ใด 8. จากขอ้ 7 แรงในแรงแกน y คือข้อใด

จ. 7.21 x Tan 34° จ. Fy = 30 x cos 30°

ฉ. 7.21 x cos 34° ฉ. Fy = 30 x sin 30°

ช. 7.21 x sin 34 ช. Fy = 30 x tan 30°

ซ. 7.21 x cot 34 ซ. ไมม่ ีข้อถูก

4. จากรปู ข้อท่ี 2 ด้าน b มีค่าเท่าใด 9. ต้นไม้ทำมุมตั้งฉากกับพื้นโลกและพระ

ก. 7.21 x Tan 34° ข. 7.21 x cos อาทติ ยท์ ำมุมกับยอดของตน้ ไม้ 30 องศา สง่ ผล

34° ให้เงาของต้นไม้ทอดยาวไปตามพื้นโลกเป็น

ค. 7.21 x sin 34° ง. 7.21 x cot ระยะทาง 60 เมตร อยากทราบว่าต้นไม้ต้นนี้

34° สงู ก่เี มตร

5. กำหนดให้ 180 องศาเท่า  เรเดยี น ถ้า ก. 7.3 เมตร ข. 6.5 เมตร

360 องศา เทา่ ก่ีเรเดียน ค. 9.6 เมตร ง. 10.4 เมตร

ก. 3 เรเดียน ข. 4 10. ใครเป็นคนคดิ คน้ สูตรคณติ ศาสตร์ ฟังกช์ นั
เรเดยี น ตรโี กณมิติ

ค. 2 เรเดียน ง. 6 เรเดยี น ก. ปธี ากอรสั
6. ขอ้ ใดกล่าวถูกต้อง ข. อัลเบริ ต์ ไอนส์ ไตน์
ค. อะเลก็ ซานเดรีย
ก. tan 45° = 0 ข. sin 45° = ง. ปแิ ยร์ เดอ แฟร์มาต์
1

ค. cos 45° = 0 ง. tan 45° =

1

แผนการจัดการเรียนรู้

รหัสวชิ า 20102-2005 ช่ือวชิ า คณติ ศาสตรเ์ ครื่องกล สอนครง้ั ที่ 6-7

หน่วยท่ี 4 ชอ่ื หน่วย พกิ ดั ความเผอ่ื และระบบงานสวม เวลา 4 ชม.

1. สาระสำคญั
ในการปฏิบัติงาน และผลิตชิ้นส่วนเครื่องจักรต่างๆ ในงานเครื่องกลโดยส่วนมากจะเกี่ยวข้องกับระบบงานสวมและพิกัด

ความเผื่อดังนั้นในการผลิตชิ้นส่วนต้องรู้จักพิกัดความเผื่อ ระบบงานสวม การสวมอัด สวมคลอน สวมพอดี เพื่อเกิดความเข้าใจ
ตรงกนั และยอมรับในความคลาดเคล่อื นทเี่ กดิ ข้นึ หรอื ตามวตั ถุประสงค์ของงาน

2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
จดุ ประสงคท์ ่ัวไป
1. เพื่อให้มีความเข้าใจความหมายของพิกดั ความเผอื่ และงานสวม
2. เพ่อื ใหม้ ีความรู้สัญลกั ษณข์ องพิกัดความเผอื่
3. เพอื่ ให้มีความเข้าใจหลกั การคำนวณหาคา่ พกิ ัดความเผื่อ
4. เพื่อใหม้ ีความร้รู ะบบงานสวมและชนิดของงานสวม
5. เพ่อื ให้มีความเข้าใจหลักการคำนวณหาพิกดั ของงานสวม
จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม
1. บอกความหมายของพิกัดความเผื่อและงานสวมได้
2. บอกสัญลักษณ์ของพกิ ัดความเผ่ือได้
3. คำนวณหาค่าพกิ ัดความเผื่อได้
4. บอกระบบงานสวมและชนิดของงานสวมได้
5. คำนวณหาพกิ ัดของงานสวมได้

3.สาระการเรียนรู้
1. ความหมายของพิกดั ความเผ่ือและงานสวม
2. สญั ลกั ษณข์ องพิกดั ความเผื่อ
3. การคำนวณหาค่าพิกดั ความเผ่อื
4. ระบบงานสวมและชนิดของงานสวม
5. การคำนวณหาพกิ ดั ของงานสวม

4. กจิ กรรมการเรียนรู้
4.1 ขน้ั เตรยี ม
1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรยี นรู้ เรื่อง พกิ ัดความเผ่ือและงานสวม
2. ใหน้ ักศึกษาทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและประเมินผล

4.2 ข้ันนำ
ครูผูส้ อนถาม หรอื นำปญั หา หรือสรา้ งสถานการณ์ทเ่ี กีย่ วขอ้ งและตรงกับเรื่องท่ีครผู สู้ อนจะทำการสอนเพ่ือกระตุ้น

ให้นกั ศึกษาเกดิ ความสนใจและมีสว่ นร่วมในการทีจ่ ะเรียนรู้ โดยครูผสู้ อนตอ้ งยึดหลักในการนำเขา้ ส่บู ทเรยี นดงั น้ี
- ถามหรอื สร้างปัญหาทเ่ี กย่ี วข้องและตรงกับเน้ือหาในบทเรียนทจี่ ะสอน
- ปัญหาท่ีถามควรเป็นปญั หาท่สี ามารถใช้ความร้เู ดิมจากทีเ่ รียนมาแล้วแก้ไขปัญหาได้
- ใหน้ กั ศึกษาไดม้ ีส่วนรว่ มเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา
- ใชส้ ือ่ หรืออุปกรณ์ช่วยสอนดงึ ดูดให้นกั ศกึ ษาเกดิ ความสนใจและมสี ่วนรว่ ม
- ใชเ้ วลาในการนำเข้าส่บู ทเรียนอย่างส้ันๆ และใหเ้ นื้อหาการสอนเม่ือเหน็ วา่ นักศกึ ษามคี วามสนใจ
- จบขั้นนำหรือขั้นสนใจปัญหาด้วยเรื่องของบทเรียนที่จะเรียนและเริ่มสอนเนื้อหาตามที่ครูผู้สอนได้จัดเตรียมไว้ใน
ขน้ั ตอนตอ่ ไป

4.3 ขนั้ สอน
1. ครดู ำเนนิ การสอน โดยการอธิบายเน้ือหาสาระการเรยี นรู้ หน่วยที่ 4
2. ให้นกั ศกึ ษาศึกษาจากใบความรู้ และถามตอบ
3. ให้นักศกึ ษาทำใบงาน และครผู ู้สอนเฉลยและประเมินผลใบงาน

4.4 ขนั้ สรปุ
1. นักศึกษาและครูรว่ มกนั สรุป เน้ือหาการเรยี นรู้
2. ทำแบบทดสอบหลังเรียนและเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน
3. ประเมนิ ผลแบบทดสอบ

5. สอ่ื การเรยี นการสอน
1. ใบความรู้
2. ส่ือมัลตมิ ีเดีย โปรแกรม Power Point
2. ใบงาน
3. แบบทดสอบก่อนเรยี นหลังเรยี น
4. เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหลงั เรียน

6. การวดั ผลประเมินผล
6.1 เครือ่ งมอื วดั
1. ใบงาน
2. แบบทดสอบก่อนเรยี นหลงั เรยี น
6.2 วิธกี ารวัดผล
1. การตรวจใบงาน
2. ทดสอบหลังเรยี น
- เกณฑก์ ารประเมินไดร้ ้อยละ 80 ถอื วา่ ผ่าน การประเมิน

แบบทดสอบก่อนเรียน
เรอ่ื ง พิกดั ความเผอ่ื และระบบงานสวม
คำชีแ้ จง ใหเ้ ลือกข้อทถ่ี ูกทีส่ ุดเพียงข้อเดียว (10 คะแนน)

1. พกิ ดั ความเผือ่ หมายถึงข้อใด 6. พิกัดความเผอื่ แบ่งออกเป็น 18 พิกัด พิกัดท่ี
ก. คา่ ทีย่ อมให้คลาดเคล่ือนได้ 5-9 หมายถึง
ข. ขนาดโตสดุ ของชิน้ งาน ก. พิกัดแคบมาก
ค. ขนาดเลก็ สุดของชิน้ งาน ข. พกิ ัดงานขึ้นรปู
ง. ขนาดกำหนดของช้ินงาน ค. พกิ ดั แคบปกติ
ง. พิกดั งานหยาบ
2. สญั ลักษณ์ N คอื ข้อใด
ก. รคู ว้าน 7. พิกัดงานข้นึ รูปอยู่ในช่วงใด
ข. เพลา ก. 5-9
ค. ขนาดกำหนด ข. 10-11
ง. เส้นศนู ย์ ค. 12-13
ง. 14-18
3. สูตรการหาพิกดั ความเผอื่ คือขอ้ ใด
ก. ขนาดกำหนด - ขนาดเลก็ สุด 8. dg คอื สญั ลักษณ์ของข้อใด
ข. ขนาดใหญ่สดุ - ขนาดเล็กสุด ก. รูคว้านใหญ่สุด
ค. ขนาดกำหนด + ความเผ่อื ตำ่ สดุ ข. ขนาดเพลาใหญ่สดุ
ง. ขนาดกำหนด + ความเผอ่ื สงู สุด ค. ขนาดเพลาเลก็ สุด
ง. ขนาดรูควา้ นเลด็ สดุ
4. สญั ลกั ษณ์พกิ ดั ความเผอ่ื สำหรบั รูควา้ นคอื ข้อใด
ก. a 9. รคู วา้ นคงท่ี H8-d9 เหมาะกับงานชนิดใด
ข. b ก. เพลาหมุนในรคู ว้าน
ค. c ข. การตปี ลอก
ง. d ค. ช้นิ งานสวมติดกันแน่น
ง. แบริง่ ปลอก
5. สัญลกั ษณ์พิกดั ความเผ่ือสำหรับเพลา
ก. E 10. พิกัดงานสวม M7 – h6 เหมาะกับงานชนดิ
ข. G ใด
ค. R
ง. M ก. พลเู ลยส์ ายพาน
ข. ปลอกนำเจาะ
ค. เครื่องมือกอ่ สร้าง
ง. แบรงิ่ ปลอก

ใบงานหนว่ ยที่ 4
เร่ือง พิกดั ความเผือ่ และงานสวม

1.จงบอกความหมายของพิกดั ความเผื่อทใี่ ช้ในงานอุตสาหกรรมการผลติ มาพอสังเขป
............................................................................................................................. .....................
............................................................................................................ ......................................
............................................................................................................................. .....................

2.จงบอกความหมายของระบบงานสวมทใ่ี ชใ้ นกระบวนการผลิตมาพอสังเขป
....................................................................................................................................... ...........
...................................................................................................................... ............................
............................................................................................................................. .....................

3. จากตารางจงบอกความหมายของสัญลักษณ์ตามค่าพิกัดความเผ่อื ที่กำหนดให้ถกู ต้อง

ขนาดกำหนด รคู วา้ น เพลา ระบบ ชนิดงานสวม

Ø45 H6
j6

Ø50 F7
h5
H6
Ø45 f7

Ø50 P6
h5
H6
Ø45 n7

Ø50 H7
r6

4.เพลาขนาด Ø50 - 0.025 จงคำนวณหาขนาดตา่ ง ๆ
- 0.050

ก. เพลาโตสดุ .....................................................มม.

ข. เพลาเล็กสุด....................................................มม.

ค. พิกัดความเผ่ือของเพลา..................................มม.

5.รูคว้านขนาด Ø80 +0.076 จงคำนวณหาขนาดตา่ ง ๆ
-0.030

ก. รคู วา้ นโตสุด.....................................................มม.

ข. รูควา้ นเล็กสุด....................................................มม.

ค. พิกดั ความเผื่อของรูคว้าน..................................มม.

6. จากโจทย์ Ø20 H6 จงคำนวณหาค่าตา่ งๆ ต่อไปนี้
n5

รูคว้าน มม. เพลา มม.
ค่าความเผอื่ สูงสุดของเพลา
ค่าความเผ่ือสงู สดุ ของรูควา้ น

คา่ ความเผ่อื ตำ่ สดุ ของรคู ว้าน คา่ ความเผือ่ ตำ่ สดุ ของเพลา

รคู ว้านใหญส่ ดุ เพลาใหญ่สดุ

รคู วา้ นเล็กสดุ เพลาเล็กสุด

พิกัดความเผื่อรคู วา้ น พกิ ดั ความเผื่อเพลา

ระยะอัดมากสุด = มม.

ระยะอดั น้อยสุด = มม.

พิกดั งานสวม = มม.

7. จากโจทย์ Ø50 H7 จงคำนวณหาค่าตา่ งๆ ต่อไปน้ี
m6

รคู ว้าน มม. เพลา มม.
มม.
ค่าความเผ่อื สูงสุดของรคู ว้าน คา่ ความเผ่อื สงู สุดของเพลา

คา่ ความเผอ่ื ต่ำสุดของรูคว้าน คา่ ความเผือ่ ตำ่ สดุ ของเพลา

รคู ว้านใหญ่สดุ เพลาใหญส่ ุด

รูคว้านเล็กสดุ เพลาเลก็ สุด

พกิ ดั ความเผ่ือรคู ว้าน พกิ ดั ความเผ่ือเพลา

ระยะอัดมากสดุ = มม.

ระยะคลอนมากสุด = มม.

พิกัดงานสวม = มม.

8. จากโจทย์ Ø110 H7 จงคำนวณหาคา่ ต่างๆ ต่อไปน้ี
g6

รูคว้าน มม. เพลา

คา่ ความเผอื่ สงู สุดของรูควา้ น ค่าความเผื่อสงู สดุ ของเพลา

คา่ ความเผอ่ื ต่ำสดุ ของรคู วา้ น คา่ ความเผอ่ื ต่ำสดุ ของเพลา

รคู วา้ นใหญ่สุด เพลาใหญส่ ุด

รคู วา้ นเล็กสดุ เพลาเลก็ สุด

พกิ ดั ความเผ่ือรูควา้ น พกิ ัดความเผ่ือเพลา

ระยะคลอนมากสุด = มม.

ระยะคลอนน้อยสดุ = มม.

พกิ ดั งานสวม = มม.

แบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง พกิ ดั ความเผือ่ และระบบงานสวม
คำช้ีแจง ใหเ้ ลอื กข้อทถ่ี ูกทส่ี ุดเพยี งข้อเดียว (10 คะแนน)

1. dg คอื สญั ลักษณ์ของข้อใด 6. คา่ พิกดั ความเผ่ือของรคู ว้าน Ø25 J6 คือข้อใด

ก. รูคว้านใหญ่สดุ ก. 25 - 0.013
- 0.010
ข. ขนาดเพลาใหญ่สุด + 0.018
ข. 25 + 0.000
ค. ขนาดเพลาเลก็ สุด
ค. 25 + 0.008
ง. ขนาดรูคว้านเลด็ สุด - 0.005
+ 0.002
2. รคู ว้านคงที่ H8-d9 เหมาะกบั งานชนดิ ใด ก. 25 - 0.004

ก. เพลาหมุนในรูควา้ น 7. ขนาดเพลาเลก็ สดุ Ø20 + 0.000 คอื ขอ้ ใด
- 0.013
ข. การตีปลอก
ก. 19.978
ค. ช้ินงานสวมตดิ กนั แน่น
ข. 19.987
ง. แบรงิ่ ปลอก
ค. 20.013
3. พกิ ดั งานสวม M7 – h6 เหมาะกบั งานชนดิ ใด
ง. 21.000
ก. พลูเลยส์ ายพาน
8. สญั ลกั ษณ์ Sg หมายถึงข้อใด
ข. ปลอกนำเจาะ ก. ระยะคลอนนอ้ ยสุด

ค. เครอื่ งมือกอ่ สร้าง ข. ระยะคลอนมากสดุ

ง. แบร่ิงปลอก ค. ระยะอดั มากสดุ

4. ช่วงพกิ ัด 10-11 หมายถึงข้อใด ง. ระยะอดั มากสุด

ก. ช่วงพกิ ดั กวา้ ง 9. รีมเมอรแ์ บ่งออกเปน็ กี่ชนิด

ข. พกิ ดั งานข้ึนรูป ก. 2 ชนดิ

ค. งานตเี หลก็ ข. 4 ชนดิ

ง. พิกดั แคบมาก ค. 6 ชนดิ

5. จากคา่ Ø20 + 0.013 ขนาดรูคว้านโตสุดคอื ง. 8 ชนิด
+ 0.000

ก. 20.000 10.สตู รการหาพิกดั ความเผื่อคอื ข้อใด

ข. 19.987 ก. ขนาดกำหนด - ขนาดเล็กสดุ

ค. 20.013 ข. ขนาดใหญ่สดุ - ขนาดเลก็ สดุ

ง. 21.000 ค. ขนาดกำหนด + ความเผ่อื ตำ่ สุด

ง. ขนาดกำหนด + ความเผอื่ สูงสดุ

แผนการจดั การเรยี นรู้

รหสั วชิ า 20102-2005 ช่ือวชิ า คณิตศาสตรเ์ คร่ืองกล สอนคร้ังท่ี 8-9
เวลา 4 ชม.
หน่วยท่ี 5 ช่อื หนว่ ย ความเรว็ และการเคลือ่ นทใ่ี นงานกล

1. สาระสำคญั
ในการทำงานเกี่ยวกับการผลิตชิ้นส่วนต่างๆ ต้องมีเครื่องจักรเข้ามาเกี่ยวข้องในการทำงาน ความเร็วของการตัดงาน

ความเร็วรอบของเครื่องจักร และความเรว็ ขอบงานต้องมีความสัมพันธ์กนั เพ่ือให้เกดิ ความปลอดภัย ลดการส้นิ เปลืองวัสดุ และรู้
ถึงการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ในงานกล ดังนั้นผู้ที่ปฏิบัติงานต้องสามารถหาความเร็วต่างๆ และคำนวณหาการเคลื่อนที่ในงานกลได้
เพ่ือให้เกดิ ประสทิ ธิภาพ

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
จดุ ประสงคท์ ่ัวไป
1. เพอ่ื ให้รู้ความหมายของความเรว็ ตดั ความเรว็ รอบ และความเร็วขอบ
2. เพ่ือใหร้ ู้หลักการคำนวณหาความเร็วตดั ของเคร่ืองจกั รในงานกล
3. เพ่ือให้รหู้ ลกั การคำนวณหาความเรว็ รอบของเครอ่ื งจักรในงานกล
4. เพอื่ ให้รหู้ ลักการคำนวณหาความเร็วขอบของงาน
5. เพ่ือให้รหู้ ลักการคำนวณการเคลอ่ื นท่ีในงานกล
จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม
1. บอกความหมายของความเรว็ ตัด ความเร็วรอบ และความเร็วขอบได้
2. สามารถคำนวณหาความเร็วตัดของเคร่อื งจักรในงานกลได้
3. สามารถคำนวณหาความเร็วรอบของเครื่องจักรในงานกลได้
4. สามารถคำนวณหาความเร็วขอบของงานได้
5. สามารถคำนวณการเคลอ่ื นท่ีในงานกลได้

3. สาระการเรียนรู้
1. ความหมายของความเรว็ ตัด ความเร็วรอบ และความเรว็ ขอบ
2. การคำนวณหาความเรว็ ตัดของเคร่อื งจักรในงานกล
3. การคำนวณหาความเร็วรอบของเครื่องจักรในงานกล
4. การคำนวณหาความเร็วขอบของงาน
5. การเคลอ่ื นท่ีในงานกล

4. กจิ กรรมการเรยี นรู้

4.1 ขนั้ เตรยี ม

1. ครแู จ้งจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เรื่อง ความเร็วและการเคลือ่ นท่ใี นงานกล
2. ให้นกั ศกึ ษาทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและประเมนิ ผล

4.2 ข้นั นำ

ครผู สู้ อนถาม หรือนำปัญหา หรอื สรา้ งสถานการณ์ท่เี กยี่ วข้องและตรงกบั เรื่องที่ครูผสู้ อนจะทำการสอนเพื่อกระตุ้น
ให้นักศกึ ษาเกิดความสนใจและมสี ่วนรว่ มในการทีจ่ ะเรียนรู้ โดยครผู ู้สอนตอ้ งยดึ หลักในการนำเข้าสู่บทเรียนดงั น้ี

- ถามหรือสร้างปญั หาท่เี กี่ยวข้องและตรงกับเน้ือหาในบทเรยี นท่ีจะสอน
- ปัญหาที่ถามควรเปน็ ปญั หาท่สี ามารถใช้ความรู้เดมิ จากทีเ่ รียนมาแลว้ แกไ้ ขปญั หาได้
- ใหน้ ักศกึ ษาได้มีสว่ นร่วมเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา
- ใชส้ ื่อหรอื อุปกรณช์ ว่ ยสอนดึงดดู ใหน้ กั ศกึ ษาเกิดความสนใจและมสี ว่ นร่วม
- ใชเ้ วลาในการนำเข้าสบู่ ทเรียนอย่างสน้ั ๆ และให้เน้อื หาการสอนเม่ือเห็นว่านกั ศกึ ษามีความสนใจ
- จบขั้นนำหรือขั้นสนใจปัญหาด้วยเรื่องของบทเรียนที่จะเรียนและเริ่มสอนเนื้อหาตามที่ครูผู้สอนได้จัดเตรียมไว้ใน

ขน้ั ตอนตอ่ ไป
4.3 ขัน้ สอน

1. ครดู ำเนนิ การสอน โดยการอธิบายเนื้อหา และสาระการเรยี นรู้ หน่วยที่ 5
2. ให้นกั ศึกษาศึกษาจากใบความรู้ และถามตอบ
3. ให้นกั ศึกษาทำใบงาน และครผู ู้สอนเฉลยและประเมนิ ผลใบงาน
4.4 ข้ันสรปุ
1. นกั ศกึ ษาและครรู ว่ มกนั สรุป เน้ือหาการเรียนรู้
2. ทำแบบทดสอบหลงั เรียนและเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรยี น
3. ประเมินผลแบบทดสอบ
5. สอ่ื การเรียนการสอน

1. ใบความรู้
2. ส่ือมัลตมิ ีเดยี โปรแกรม Power Point
2. ใบงาน
3. ข้อสอบกอ่ นเรียนหลงั เรียน

6. การวัดผลประเมินผล
6.1 เครื่องมอื วดั
1. ใบงาน
2. ขอ้ สอบก่อนเรยี นหลังเรยี น
6.2วิธีการวัดผล
1. การตรวจใบงาน
2. ทดสอบหลังเรยี นได้

- เกณฑก์ ารประเมินได้ร้อยละ 80 ถือว่า ผ่าน การประเมิน

แบบทดสอบกอ่ นเรียน

เร่ือง ความเร็วในงานกล

คำช้ีแจง ให้เลอื กข้อท่ีถูกที่สุดเพยี งข้อเดยี ว (10 คะแนน)

1. สูตรการหาความเร็วตดั ในงานกลึง คือข้อใด 6. สูตรการหาความเร็วขอบของล้อหินเจียระไน

ก. v = 1000V ข. n = 1000V คอื ขอ้ ใด
πd πd
1000V nL ก. v = dn ข. n = 1000V
ค. d = πn ง. v = 600 1000 πd
dn nL
2. ตอ้ งการกลงึ งาน ขนาด Ø20 x 300 ใช้ความเร็ว ค. v= 1000 x 60 ง. v = 600

รอบ 200 รอบ/นาที ความเรว็ ตัด มคี า่ เทา่ ไร 7. สตู รการหาการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง คอื

ก. 12 เมตร/นาที ข้อใด

ข. 12.75 เมตร/นาที ก. v = S ข. n = 1000V
ค. 13 เมตร/นาที T πd
nL
ง. 14.5 เมตร/นาที ค. v = πdn ง. v = 600

3. ตอ้ งการกลึงงาน ขนาด Ø25 x 300 ใช้ความเรว็ 8. เคร่ืองใสมีการตัง้ ระยะชักไว้ 250 มม. และ

ตัด 22 เมตร/นาที ความเร็วรอบ มีค่าเทา่ ไร ใช้เวลาในการใส 1 นาที จงคำนวณหา

ก. 250 รอบ/นาที ความเร็วของงานไส

ข. 260 รอบ/นาที ก. 10 เมตร/นาที ข. 12 เมตร/นาที

ค. 275 รอบ/นาที ค. 14 เมตร/นาที ง. 15 เมตร/นาที

ง. 280 รอบ/นาที 9. เลือ่ ยกลเครื่องหนง่ึ มีความยาวช่วงชักเท่ากับ

4. ในการกลงึ ชิ้นงานใช้ความเรว็ ตดั 18 เมตร/นาที 145 มม. และมีคู่จังหวะชัก 60 คู่จงั หวะชกั ต่อ

ความเรว็ รอบเทา่ กบั 250 รอบ/นาทีขนาดเสน้ ผ่าน นาที จงคำนวณหาคา่ ความเร็วเฉลยี่ ใหม้ ีหน่วย

ศูนยก์ ลางเท่ากบั เปน็ เมตร/นาที

ก. 20.5 มม. ข. 22.9 มม. ก. 16 เมตร/นาที ข. 18 เมตร/นาที

ค. 25.4 มม. ง. 26 มม. ค. 20 เมตร/นาที ง. 22 เมตร/นาที

5. ส่ิงท่ีต้องคำนงึ ถึงในการคำนวณหาความเรว็ รอบ 10. ซ่ึงขนาดเส้นผา่ ศนู ยก์ ลางของดอกสวา่ น

และความเร็วตดั คือข้อใด เท่ากับ 12 มม. เจาะดว้ ยความเรว็ รอบ 800

ก. ขนาดของชิน้ งาน รอบ/นาที ความเร็วเจาะมีค่าเท่าไร

ข. ชนดิ ของวัสดุ ก. 29.16 เมตร/นาที ข. 30.16 เมตร/

ค. ความยาวของวสั ดุ นาที

ง. ความแข็งของวสั ดุ ค. 31.16 เมตร/นาที ง. 32.16 เมตร/

นาที

ใบงานหนว่ ยท่ี 5
เร่ือง ความเร็วและการเคลอื่ นที่ในงานกล
1. ต้องการกลึงงานขนาด Ø50 มม. ยาว 250 มม. ดว้ ยความเร็วรอบ 150 รอบ/นาที จงคำนวณหาความเร็วตดั

2. ต้องการกดั ทองเหลือง ด้วยดอกกดั Ø20 มม. ความเร็วตัดทใ่ี ช้ 100 เมตร/นาที จงคำนวณหาความเรว็ รอบของดอกกดั

3. เคร่ืองเจียระไนเคร่อื งหน่งึ มขี นาดลอ้ หนิ เจียระไนขนาด Ø200 มม. เจยี ระไนงานโต 25 มม. ดว้ ยความเรว็ รอบ 1,450
รอบ/นาที จงคำนวณหาความเร็วขอบของล้อหนิ เจยี ระไน

4. เครอ่ื งไสเคร่ืองหนง่ึ ไดม้ ีการตัง้ ระยะชักของมีดไสไว้ 120 มม. และได้ใช้เวลาในการไสงาน 1 นาที จงคำนวณหาความเร็ว
ของมดี ไส

5. เลอ่ื ยกลเคร่ืองหนง่ึ ถูกกำหนดให้มีความยาวชว่ งชกั เท่ากับ 245 มม. และมีคู่จังหวะชกั 40 คู่จงั หวะชกั ตอ่ นาที จง
คำนวณหาคา่ ความเรว็ เฉลี่ยใหม้ ีหน่วยเปน็ เมตร / นาที

แบบทดสอบหลังเรียน

เรอื่ ง ความเร็วและการเคลื่อนทีใ่ นงานกล

คำชีแ้ จง ให้เลือกข้อท่ถี ูกที่สุดเพียงข้อเดียว (10 คะแนน)

1. สูตรการหาความเร็วตดั ในงานกลงึ คอื ข้อใด 6. สตู รการหาความเร็วขอบของล้อหิน

ก. v = 1000V ข. n = 1000V เจยี ระไน คือข้อใด
πd πd
1000V nL ก. v = dn ข. n = 1000V
ค. d = πn ง. v = 600 1000 πd
dn nL
2. ตอ้ งการกลึงงาน ขนาด Ø20 x 300 ใช้ ค. v= 1000 x 60 ง. v = 600

ความเร็ว รอบ 200 รอบ/นาที ความเร็วตัด มี 7. สูตรการหาการเคล่อื นท่ใี นแนวเส้นตรง

ค่าเท่าไร คอื ขอ้ ใด

ก. 12 เมตร/นาที ก. v = S ข. n = 1000V
T πd
ข. 12.75 เมตร/นาที nL
600
ค. 13 เมตร/นาที ค. v = πdn ง. v =

ง. 14.5 เมตร/นาที 8. เคร่อื งใสมกี ารตงั้ ระยะชักไว้ 250 มม.

3. ต้องการกลงึ งาน ขนาด Ø25 x 300 ใช้ และใชเ้ วลาในการใส 1 นาที จงคำนวณหา

ความเรว็ ตดั 22 เมตร/นาที ความเร็วรอบ มคี า่ ความเรว็ ของงานไส

เทา่ ไร ก. 10 เมตร/นาที ข. 12 เมตร/นาที

ก. 250 รอบ/นาที ค. 14 เมตร/นาที ง. 15 เมตร/

ข. 260 รอบ/นาที นาที

ค. 275 รอบ/นาที 9. เล่ือยกลเครือ่ งหนึ่งมีความยาวชว่ งชัก

ง. 280 รอบ/นาที เทา่ กบั 145 มม. และมีคจู่ ังหวะชกั 60 คู่

4. ในการกลึงช้ินงานใชค้ วามเรว็ ตัด 18 เมตร/ จงั หวะชกั ต่อ นาที จงคำนวณหาคา่

นาที ความเร็วรอบเท่ากับ 250 รอบ/นาทีขนาด ความเรว็ เฉลยี่ ใหม้ ีหน่วยเป็น เมตร/นาที

เสน้ ผ่านศนู ย์กลางเทา่ กบั ก. 16 เมตร/นาที ข. 18 เมตร/นาที

ก. 20.5 มม. ข. 22.9 มม. ค. 20 เมตร/นาที ง. 22 เมตร/นาที

ค. 25.4 มม. ง. 26 มม. 10. ซ่ึงขนาดเสน้ ผ่าศนู ย์กลางของดอกสว่าน

5. ส่งิ ที่ต้องคำนึงถงึ ในการคำนวณหาความเรว็ เท่ากับ 12 มม. เจาะดว้ ยความเรว็ รอบ 800

รอบและความเรว็ ตัด คือข้อใด รอบ/นาที ความเร็วเจาะมคี ่าเทา่ ไร

ก. ขนาดของชนิ้ งาน ก. 29.16 เมตร/นาที ข. 30.16 เมตร/

ข. ชนดิ ของวัสดุ นาที

ค. ความยาวของวัสดุ ค. 31.16 เมตร/นาที ง. 32.16 เมตร/

ง. ความแข็งของวัสดุ นาที

แผนการจดั การเรยี นรู้

รหสั วชิ า 20102-2005 ชือ่ วชิ า คณิตศาสตร์เครอื่ งกล สอนคร้ังท่ี 10-11

หน่วยท่ี 6 ช่อื หน่วย การส่งกำลงั ดว้ ยสายพานและเฟือง เวลา 4 ชม.

1. สาระสำคญั
ในการผลิตเครื่องจักรกลต่างๆ หรือแม้แต่เครื่องจักรที่ใช้ในงานกล ต้องมีระบบส่งกำลัง เพื่อส่งให้เครื่องจักรสามารถ

ทำงานได้ ดงั นนั้ ตอ้ งอาศัยการส่งกำลัง การสง่ กำลงั ในงานกลน้ันมีอยู่หลายชนิด เช่น การสง่ กำลงั ดว้ ยสายพาน การส่งกำลังด้วย
โซ่ การส่งกำลงั ดว้ ยเฟืองเป็นต้น ในการเลอื กใช้ต้องเลอื กให้เหมาะสมกับการทำงานเพ่ือใหเ้ กดิ การทำงานท่ีมปี ระสิทธิภาพ

2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
จุดประสงคท์ ั่วไป
1. เพื่อใหม้ ีความร้เู ร่ืองความหมายการส่งกำลังด้วยสายพานและเฟือง
2. เพื่อใหเ้ ข้าใจหลักการหาระยะห่างระหวา่ งตัวขับและตัวตาม
3. เพ่ือให้มีความร้เู ร่ืองการสง่ กำลังด้วยสายพาน
4. เพอ่ื ใหม้ ีความรเู้ ร่ืองการส่งกำลังด้วยเฟือง
จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
1. บอกความหมายของการสง่ กำลังดว้ ยสายพานและเฟืองได้
2. คำนวณหาระยะห่างระหว่างตัวขบั และตัวตามได้
3. อธบิ ายการส่งกำลงั ดว้ ยสายพานได้
4. อธบิ ายการส่งกำลงั ดว้ ยเฟืองได้

3.สาระการเรียนรู้
1. ความหมายของการส่งกำลังดว้ ยสายพานและเฟือง
2. การคำนวณหาระยะห่างระหว่างตวั ขับและตวั ตาม
3. การสง่ กำลงั ด้วยสายพาน
4. การส่งกำลงั ดว้ ยเฟือง

4. กิจกรรมการเรยี นรู้

4.1 ขั้นเตรียม

1. ครแู จ้งจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เร่ือง การสง่ กำลังชนดิ ตา่ งๆทง้ั จากสายพานและเฟือง
2. ให้นกั ศึกษาทำแบบทดสอบกอ่ นเรียนและประเมนิ ผล
4.2 ข้นั นำ

ครผู ู้สอนถาม หรอื นำปัญหา หรือสรา้ งสถานการณ์ทเี่ ก่ียวขอ้ งและตรงกับเร่ืองท่ีครผู ู้สอนจะทำการสอนเพ่ือกระตุ้น
ใหน้ ักศกึ ษาเกดิ ความสนใจและมีสว่ นรว่ มในการที่จะเรยี นรู้ โดยครผู สู้ อนตอ้ งยดึ หลักในการนำเขา้ สู่บทเรียนดังนี้

- ถามหรอื สรา้ งปญั หาทเ่ี กีย่ วขอ้ งและตรงกับเน้ือหาในบทเรยี นท่ีจะสอน

- ปญั หาท่ีถามควรเป็นปญั หาท่ีสามารถใช้ความรเู้ ดมิ จากท่เี รยี นมาแลว้ แกไ้ ขปญั หาได้
- ให้นกั ศึกษาได้มีสว่ นร่วมเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา
- ใชส้ ื่อหรืออุปกรณช์ ่วยสอนดึงดดู ใหน้ กั ศกึ ษาเกดิ ความสนใจและมสี ว่ นรว่ ม
- ใชเ้ วลาในการนำเข้าสบู่ ทเรยี นอยา่ งส้นั ๆ และใหเ้ นื้อหาการสอนเมอ่ื เหน็ ว่านักศกึ ษามีความสนใจ
- จบขั้นนำหรือขั้นสนใจปัญหาด้วยเรื่องของบทเรียนที่จะเรียนและเริ่มสอนเนื้อหาตามที่ครูผู้สอนได้จัดเตรียมไว้ใน

ขั้นตอนต่อไป
4.3 ข้ันสอน

1. ครดู ำเนินการสอน โดยการอธิบายเนื้อหา และสาระการเรยี นรู้ หน่วยที่ 6
2. ให้นกั ศึกษาศึกษาจากใบความรู้ และถามตอบ
3. ให้นักศึกษาทำใบงาน และครูผสู้ อนเฉลยและประเมินผลใบงาน
4.4 ข้นั สรปุ
1. นักศึกษาและครูรว่ มกันสรุป เนอ้ื หาการเรยี นรู้
2. ทำแบบทดสอบหลังเรียนและเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลงั เรยี น
3. ประเมนิ ผลแบบทดสอบ
5. ส่อื การเรยี นการสอน

1. ใบความรู้
2. สอื่ มัลตมิ ีเดยี โปรแกรม Power Point
2. ใบงาน
3. ข้อสอบกอ่ นเรยี นหลังเรียน

6. การวัดผลประเมินผล
6.1 เคร่อื งมือวดั
1. ใบงาน
2. ข้อสอบก่อนเรยี นหลงั เรยี น

6.2 วธิ ีการวดั ผล

1. การตรวจใบงาน
2. ทดสอบหลงั เรียนได้

- เกณฑ์การประเมินได้ร้อยละ 80 ถือว่า ผ่าน การประเมนิ

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

เรื่อง การสง่ กำลังด้วยสายพานและเฟอื ง

คำชแ้ี จง ให้เลอื กข้อที่ถูกทส่ี ุดเพยี งข้อเดยี ว (10 คะแนน)

1. ส่วนของล้อขับท่ีมขี นาดใหญ่จะส่งผลอยา่ งไร 5. ความยาวเสน้ ผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยของล้อขับ

กบั การเคลอ่ื นท่ีของล้อตาม เมอ่ื คา่ C จากตาราง เท่ากับขอ้ ใด

ก. เคลื่อนท่ีเร็วข้นึ ก. 140 มม. ข. 150 มม.

ข. เคลอื่ นที่ชา้ ลง ค. 155 มม. ง. 165 มม.

ค. เคลือ่ นท่ีอยา่ งสมำ่ เสมอ 6. ความยาวเส้นผา่ นศูนยก์ ลางเฉลยี่ ของล้อตาม

ง. ข้ึนอยกู่ ับความเร็วของมอเตอร์ เมอื่ ค่า C จากตาราง เทา่ กบั 5

2. สตู รในการคำนวณหาอัตราทดของล้อขับและล้อ ก. 99 มม. ข. 100 มม.

ตาม คือข้อใด ค. 102 มม. ง. 105 มม.

ก. i = d 1 ข. i= d1 xn 7. ค่า do ของเฟอื ง หมายถึงข้อใด
d 2 d2 ก. เสน้ ผ่านศูนยก์ ลางพิตช์

ค. i = d 1 - n1 ง. i = d.n ข. เสน้ ผา่ นศูนย์กลางยอดฟัน
d 2 n2 ค. ความสูงโคนฟัน
ง. ช่องว่างยอดฟัน
3. ถ้าขนาดของ Ø ล้อขับเทา่ กบั 150 มม. และØ
ของล้อตามเทา่ กบั 200 มม. อัตราทดมคี า่ เทา่ ไร 8. ค่า hf ของเฟือง หมายถึงข้อใด
ก. ระยะห่างของศนู ย์กลางเพลาทั้งสอง
ก. 0.75 ข. 0.8
ข. ความสูงยอดฟัน
ค. 1.5 ง. 1.75
4. ถ้าอัตราทด i  1 มคี วามหมายว่าอยา่ งไร ค. ความสูงโคนฟนั
ง. ระยะพติ ช์
ก. ล้อตามหมุนเรว็ เทา่ กับล้อขบั
9. เฟืองตรงตัวหน่ึงมีโมดูล 2.5 มม. จำนวน
ข. ล้อตามหมนุ ชา้ กวา่ ล้อขับ
ฟนั เฟือง30 ฟันให้คำนวณหา ระยะพติ ชข์ อง
ค. ลอ้ ตามหมนุ เร็วกวา่ ลอ้ ขับ
เฟอื ง (t)
ง. ล้อตามหมนุ เท่ากนั ลอ้ ขับ
ก. 7.25 มม. ข. 7.5 มม.
จากโจทย์ทกี่ ำหนดให้ ใช้ตอบคำถามข้อ 5-6
เครื่อง Milling ที่ใช้อยู่ในโรงงานมีการส่ง ค. 7.85 มม. ง. 8 มม.

กำลังด้วยสายพานลิ่มและตัวมอเตอรเ์ องก็หมุนด้วย 10. เฟืองตวั หนง่ึ มี 60 ฟัน มีค่าโมดลู เทา่ กบั
ความเร็วรอบ 1,450 รอบต่อนาที ล้อขับเองก็มี 2 จงคำนวณหา เส้นผ่าศนู ยก์ ลางวงกลมพิตช์
ความโต 175 มม.สายพานที่ใช้ประกอบสี่เส้นมี (do)
ความกว้าง 17 มม. เมื่ออัตราทดเท่ากับ 1.6 จง ก. 120 มม. ข. 125 มม.

คำนวณหา ค. 130 มม. ง. 145 มม.

ใบงานหนว่ ยที่ 6
เร่ือง การส่งกำลังดว้ ยสายพานและเฟือง

1. จงบอกหนา้ ท่ีหลักการใชง้ านของสายพานมาพอสังเขป
2. จงบอกหนา้ ทหี่ ลกั การใช้งานของเฟืองมาพอสงั เขป
3. ปั้มนำ้ ตัวหนึ่งขับด้วยมอเตอร์และใชส้ ายพานแบน ซง่ึ ล้อขับของมอเตอรม์ ีขนาดเสน้ ผ่านศนู ย์กลาง 105 มม. และหมนุ ด้วย

ความเร็วรอบ 1,450 รอบตอ่ นาทีโดยกำหนดให้ล้อตามมขี นาดความโต 65 มม. จงคำนวณหาความเร็วรอบของล้อตาม
4. เครื่อง Milling ที่ใช้อยู่ในโรงงานมีการสง่ กำลังด้วยสายพานลิม่ และตัวมอเตอร์เองก็หมุนด้วยความเร็วรอบ 1,450 รอบ

ตอ่ นาที ลอ้ ขับมีความโต 155 มม. สายพานทใี่ ช้ประกอบมีจำนวนสเี่ สน้ มีความกว้าง 12 มม. ให้คำนวณหา
ก. ความโตของล้อขบั
ข. ความโตของล้อตาม ( เมอื่ N = 750 รอบ/นาที )
ค. อัตราทด

5. ต้องการผลิตเฟืองสะพานตวั หนึ่งใหม้ ีขนาดโมดูล 4 มม. เฟอื งขับมีจำนวนฟันเท่ากบั 45 ฟัน โดยให้เฟืองขับหมุนขับด้วย
ความเรว็ รอบ 12 รอบตอ่ หนง่ึ ช่วงชกั สะพานจงคำนวณหาค่าตอ่ ไปนี้
ก. ช่วงระยะแล่น
ข. ขนาดวงกลมพติ ช์ของเฟืองขับ

6. ชุดเฟอื งขบั มีระบบสง่ กำลงั ดงั รูปโดยกำหนดให้ nA = 1,450 รอบต่อนาที และมีฟันเฟือง
Z1 = 26 , ฟัน Z2 = 68 ฟัน , Z3 = 45 ฟัน , Z4 = 120 ฟนั .จงคำนวณหา

nA z1 z4 nE ก. อัตราทดในแตล่ ะชดุ เฟือง
ข. อตั ราทดรวมของชดุ เฟือง

ค. ความเรว็ รอบครั้งสุดท้าย

z2 z3 ง. ความเร็วรอบของแกนเฟืองสะพาน

7. เฟืองหนอนชดุ หน่งึ เกลียวตัวหนอนเปน็ เกลียว 6 เกลยี วต่อนว้ิ ช่วงเคล่ือนเกลยี วหมุนนาทลี ะ 200 รอบ ถ้าอัตราทด

เท่ากับ 18 : 1

จงคำนวณหา ก. ความเรว็ รอบของเฟอื งตาม

ข.จำนวนฟันของเฟืองตาม

แบบทดสอบหลังเรยี น

เรอ่ื ง การสง่ กำลังด้วยสายพานและเฟอื ง

คำช้แี จง ให้เลอื กข้อที่ถูกทส่ี ุดเพียงข้อเดยี ว (10 คะแนน)

1. ส่วนของล้อขับท่ีมขี นาดใหญ่จะส่งผลอย่างไร 5. ความยาวเสน้ ผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยของล้อขับ

กับการเคลอ่ื นท่ีของล้อตาม เมอ่ื ค่า C จากตาราง เท่ากับขอ้ ใด

ก. เคล่ือนท่ีเร็วข้นึ ก. 140 มม. ข. 150 มม.

ข. เคลอื่ นที่ชา้ ลง ค. 155 มม. ง. 165 มม.

ค. เคลือ่ นท่ีอยา่ งสมำ่ เสมอ 6. ความยาวเสน้ ผ่านศูนยก์ ลางเฉลยี่ ของล้อตาม

ง. ข้ึนอยกู่ ับความเร็วของมอเตอร์ เมอื่ ค่า C จากตาราง เทา่ กบั 5

2. สตู รในการคำนวณหาอัตราทดของลอ้ ขับและล้อ ก. 99 มม. ข. 100 มม.

ตาม คือข้อใด ค. 102 มม. ง. 105 มม.

ก. i = d 1 ข. i= d1 xn 7. ค่า do ของเฟอื ง หมายถึงข้อใด
d 2 d2 ก. เสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางพิตช์

ค. i = d 1 - n1 ง. i = d.n ข. เสน้ ผ่านศูนย์กลางยอดฟัน
d 2 n2 ค. ความสูงโคนฟนั
ง. ช่องว่างยอดฟัน
3. ถา้ ขนาดของ Ø ล้อขับเทา่ กับ 150 มม. และØ
ของล้อตามเทา่ กบั 200 มม. อัตราทดมีคา่ เทา่ ไร 8. ค่า hf ของเฟือง หมายถึงข้อใด
ก. ระยะหา่ งของศนู ย์กลางเพลาทง้ั สอง
ก. 0.75 ข. 0.8
ข. ความสูงยอดฟัน
ค. 1.5 ง. 1.75
4. ถา้ อัตราทด i  1 มคี วามหมายว่าอยา่ งไร ค. ความสูงโคนฟัน
ง. ระยะพติ ช์
ก. ลอ้ ตามหมุนเรว็ เทา่ กับล้อขบั
9. เฟืองตรงตัวหน่ึงมีโมดูล 2.5 มม. จำนวน
ข. ล้อตามหมนุ ชา้ กวา่ ล้อขับ
ฟนั เฟือง30 ฟันให้คำนวณหา ระยะพติ ชข์ อง
ค. ลอ้ ตามหมนุ เร็วกวา่ ลอ้ ขับ
เฟือง (t)
ง. ล้อตามหมนุ เท่ากนั ลอ้ ขับ
ก. 7.25 มม. ข. 7.5 มม.
จากโจทย์ทกี่ ำหนดให้ ใช้ตอบคำถามขอ้ 5-6
เครื่อง Milling ที่ใช้อยู่ในโรงงานมีการส่ง ค. 7.85 มม. ง. 8 มม.

กำลังด้วยสายพานลิ่มและตัวมอเตอร์เองกห็ มุนด้วย 10. เฟืองตัวหนงึ่ มี 60 ฟัน มีค่าโมดูลเท่ากบั
ความเร็วรอบ 1,450 รอบต่อนาที ล้อขับเองก็มี 2 จงคำนวณหา เสน้ ผ่าศนู ยก์ ลางวงกลมพิตช์
ความโต 175 มม.สายพานที่ใช้ประกอบสี่เส้นมี (do)
ความกว้าง 17 มม. เมื่ออัตราทดเท่ากับ 1.6 จง ก. 120 มม. ข. 125 มม.

คำนวณหา ค. 130 มม. ง. 145 มม.

รหัสวิชา 2102–2105 แผนการจัดการเรยี นรู้ สอนครงั้ ท่ี 12-13
หนว่ ยที่ 7 ช่อื วิชา คณติ ศาสตรเ์ ครื่องกล เวลา 4 ชม.
ช่ือหน่วย เกลียว

1. สาระสำคญั
เกลยี วในงานอุตสาหกรรม มีอยู่หลายชนิดแต่ละชนดิ กเ็ หมาะสำหรบั งานแตล่ ะประเภท แตกต่างๆกนั เกลียวอาจแบ่งตาม

ระบบของหน่วยการวัด เกลียวในระบบเมตริกเป็นการบอกลักษณะเกลียวเป็นระยะพิตช์ เช่น เกลียวสามเหลี่ยม ส่วนอีกระบบ
หนึง่ กค็ ือ เกลยี วระบบองั กฤษ มีหนว่ ยการวัดเป็นนว้ิ จะบอกเปน็ จำนวนเกลยี ว เช่น เกลียววติ เวอต เป็นตน้

2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
จดุ ประสงค์ทั่วไป
1.เพอื่ ให้มคี วามรู้เรื่องเกลียวชนดิ ต่าง ๆ
2. เพือ่ ให้มีความรเู้ รื่องสว่ นประกอบต่างๆ ของเกลยี ว
3. เพ่อื ใหม้ ีความเข้าใจหลักการคำนวณหาค่าต่างๆ ของเกลยี ว
4. เพื่อใหม้ ีความเข้าใจการเลือกใช้เกลียว
จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
1. บอกชนิดของเกลียวได้
2. บอกส่วนประกอบตา่ งๆ ของเกลียวได้
3. คำนวณหาคา่ ของเกลยี วชนดิ ต่างๆ ได้
4. สามารถเลอื กใช้เกลยี วใหเ้ หมาะสมกับงานได้

3. สาระการเรียนรู้
1. เกลยี วชนิดตา่ ง ๆ
2. สว่ นประกอบต่างๆ ของเกลยี ว
3. การคำนวณหาคา่ ตา่ งๆ ของเกลียว
4. การเลือกใช้เกลียว

4. กิจกรรมการเรียนรู้

4.1 ขนั้ เตรียม

1. ครูแจ้งจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เร่อื ง เกลยี ว และความรู้เกีย่ วกับเกลยี วที่ใชใ้ นงาน อุตสาหกรรม

2. ให้นกั ศกึ ษาทำแบบทดสอบก่อนเรียนและประเมินผล

4.2 ขัน้ นำ

ครผู ู้สอนถาม หรือนำปญั หา หรอื สรา้ งสถานการณท์ เ่ี กย่ี วข้องและตรงกับเรื่องท่ีครูผู้สอนจะทำการสอนเพ่ือกระตุ้น

ใหน้ กั ศกึ ษาเกดิ ความสนใจและมีสว่ นร่วมในการท่ีจะเรียนรู้ โดยครผู ู้สอนต้องยดึ หลกั ในการนำเข้าสบู่ ทเรียนดังน้ี

- ถามหรอื สร้างปัญหาทเ่ี กย่ี วข้องและตรงกับเน้ือหาในบทเรียนท่จี ะสอน

- ปญั หาทถี่ ามควรเป็นปัญหาท่ีสามารถใชค้ วามรูเ้ ดมิ จากท่ีเรียนมาแล้วแกไ้ ขปัญหาได้

- ใหน้ กั ศึกษาได้มีสว่ นร่วมเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา
- ใชส้ ่ือหรอื อปุ กรณช์ ว่ ยสอนดงึ ดดู ให้นักศกึ ษาเกิดความสนใจและมสี ่วนรว่ ม
- ใช้เวลาในการนำเขา้ สู่บทเรียนอย่างสนั้ ๆ และให้เนอื้ หาการสอนเมื่อเหน็ วา่ นกั ศึกษามีความสนใจ
- จบขั้นนำหรือขั้นสนใจปัญหาด้วยเรื่องของบทเรียนที่จะเรียนและเริ่มสอนเนื้อหาตามที่ครูผู้สอนได้จัดเตรียมไว้ใน

ขน้ั ตอนตอ่ ไป
4.3 ขนั้ สอน

1. ครดู ำเนนิ การสอน โดยการอธบิ ายเนื้อหา และสาระการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 7
2. ให้นกั ศกึ ษาศึกษาจากใบความรู้ และถามตอบ
3. ให้นกั ศึกษาทำใบงาน และครผู ูส้ อนเฉลยและประเมนิ ผลใบงาน
4.4 ขน้ั สรุป
1. นกั ศกึ ษาและครูรว่ มกันสรุป เนือ้ หาการเรยี นรู้
2. ทำแบบทดสอบหลงั เรยี นและเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลงั เรยี น
3. ประเมินผลแบบทดสอบ
5. สอื่ การเรียนการสอน
1. ใบความรู้
2. สอื่ มลั ตมิ เี ดีย โปรแกรม Power Point
2. ใบงาน
3. ขอ้ สอบก่อนเรยี นหลงั เรียน
6. การวัดผลประเมินผล
6.1 เคร่อื งมือวดั
1. ใบงาน
2. แบบทดสอบกอ่ นเรยี นหลังเรียน
6.2 วธิ ีการวัดผล
1. การตรวจใบงาน
2. ทดสอบหลังเรยี นได้

- เกณฑ์การประเมนิ ไดร้ ้อยละ 80 ถอื วา่ ผ่าน การประเมิน

แบบทดสอบกอ่ นเรียน
เร่อื ง เกลยี ว

คำชแ้ี จง ให้เลอื กข้อทีถ่ ูกท่ีสุดเพียงข้อเดียว (10 คะแนน)

1.ชนิดของเกลียวแบ่งตามรูปรา่ งไดก้ ่ีชนิด 5. หมายเลข 7 หมายถึงสว่ นใด
ก. ขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางวดั ใน
ก. 3 ชนิด ข. 4 ชนดิ ข. มมุ ช่วงเคล่ือน
ค. โคนเกลยี ว
ค. 5 ชนดิ ง. 6 ชนดิ ง. ความลกึ ฟันเกลียว
“เกลียวหนอนตวั หน่งึ ท่ีเป็นเกลียวสาม

ปากและมเี กลียวอยู่ 6 เกลียวในความยาว 47
มม.” ใช้ตอบคำถามข้อที่ 6-8

6. จงคำนวณหาระยะพติ ช์ ตามโจทย์กำหนด

รูปแสดง สว่ นประกอบของเกลยี ว ก. 5.83 มม. ข. 6.83 มม.
จากรปู ใชต้ อบคำถามข้อที่ 2-5
2. หมายเลข 3 หมายถึงสว่ นใด ค. 7.00 มม. ง. 7.83 มม.

ก. ขนาดเส้นผา่ นศูนย์กลางวดั ใน 7. จงคำนวณหาโมดลู ตามโจทย์กำหนด
ข. ขนาดเสน้ ผ่านศูนยก์ ลางของยอดฟัน
ค. โคนเกลยี ว ก. 1.5 ข. 2
ง. ความลกึ ฟนั เกลียว
3. หมายเลข 6 หมายถึงสว่ นใด ค. 2.49 ง. 3
ก. สันเกลียว
ข. มุมช่วงเคลื่อน 8. จงคำนวณหาช่วงเคลือ่ นที่ของเกลยี วตาม
ค. โคนเกลยี ว
ง. ความลกึ ฟันเกลียว โจทย์กำหนด
4. หมายเลข 8 หมายถึงสว่ นใด
ก. ขนาดเสน้ ผ่านศนู ยก์ ลางวดั ใน ก. 23.56 ข. 24.00
ข. ขนาดเสน้ ผา่ นศูนย์กลางของยอดฟัน
ค. ความลึกฟันเกลียว ค. 25.45 ง. 22.34
ง. มุมเกลียว
9. ลักษณะเกลียวท่ีใช้ในงานประปา และงาน

สขุ ภัณฑ์ควรใช้เกลียวชนดิ ใด

ก. เกลยี วยอดแหลม ข. เกลยี วฟนั เลือ่ ย

ค. เกลียววิตเวอต ง. เกลียวส่ีเหล่ียม

คางหมู

10. ในการเลอื กใช้เกลียวสิ่งที่ต้องคำนงึ ถึงมาก

ท่ีสุด คอื ข้อใด

ก. วัสดุท่ใี ช้

ข. ลกั ษณะงานทีน่ ำไปใช้

ค. กระบวนการผลติ

ง. ความสวยงาม

ใบงานหน่วยท่ี 7

เรอ่ื ง เกลยี ว

1. จงบอกส่วนตา่ ง ๆ ของเกลยี วจากรูปทกี่ ำหนด

หมายเลข 6……………………………………… หมายเลข 1………………………………………
หมายเลข 2………………………………………
หมายเลข 3………………………………………
หมายเลข 4………………………………………
หมายเลข 5………………………………………

หมายเลข 7………………………………………
หมายเลข 8………………………………………

2. เกลียวแบง่ ออกเป็นกป่ี ระเภท มอี ะไรบ้าง
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
3. สลักเกลยี วตวั หนง่ึ เปน็ เกลียวเมตริก วัดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ยอดเกลยี วโต 35 มม. เมื่อวัดความยาวได้ 22 มิลลิเมตร จะมี

เกลยี วอยู่ 12 เกลยี วพอดี จงคำนวณหา
- ระยะพติ ช์
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………...
………………………………………………………………………………………………
- จงเขยี นสญั ลักษณ์เกลยี ว
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………...

4. เกลยี ว W 24 x 1/6 น้วิ
จงทำการคำนวณหา

ก .ขนาดเสน้ ผ่านศูนยก์ ลางแกนเกลยี วของสลกั เกลยี ว
ข. ระยะพิตช์ เป็นมิลลิเมตร


Click to View FlipBook Version