The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ดวงพร สุชาติ สชส.11

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phon03102545, 2021-09-17 05:59:41

ดวงพร สุชาติ สชส.11

ดวงพร สุชาติ สชส.11

รายงาน
เรอ่ื ง นันทนาการเพ่ือพฒั นาสขุ ภาพ

ผู้จดั ทำ
นางสาวดวงพร สชุ าติ สชส.1/1 เลขท่ี4

เสนอ
อาจารย์ สปุ ระวัติ ขนั ทอง
รายงานเล่มนเ้ี ป็นส่วนหนึ่งของวิชานนั ทนาการเพื่อพัฒนาสุขภาพ

รหสั 30000-1610
หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชีพขั้นสงู

วทิ ยาลยั เทคนิคกนั ทรลักษ์
ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 25564

คำนำ

รายงานเลม่ นี้จดั ทำขนึ้ มาเพื่อเปน็ ส่วนหนง่ึ ของวชิ านันทนาการเพอ่ื พัฒนาสขุ ภาพ รหสั วชิ า 30000-1610
หลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพขน้ั สงู เพ่ือให้ไดศ้ ึกษาหาความรูใ้ นเร่ืองนนั้ ทนาการเพอื่ สขุ ภาพและศกึ ษา
อยา่ งเขา้ ใจนำไปใช้ประโยชนก์ ับการเรียน

ผ้จู ดั ทำหวงั ว่า รายงานเล่มน้จี ะเป็นประโยชน์กับผอู้ า่ น หรือนกั เรยี น นักศกึ ษา ทกี่ ำลงั หาข้อมูลเรอ่ื งนอ้ี ยู่
หากมขี อ้ แนะนำหรือผดิ พลาดประการใด ผ้จู ดั ทำขอทำการนอ้ มรับไว้และขออภัยมา ณ ทนี่ ดี้ ้วย

ผจู้ ดั ทำ
ดวงพร สชุ าติ

นนั ทนาการ

หมายถงึ กจิ กรรมทค่ี นเราใช้เวลาวา่ งจากภารกจิ งานประจำโดยเข้าร่วมดว้ ยความสมคั รใจ และกิจกรรม
ท่ที ำต้องไม่ขัดตอ่ ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วฒั นธรรม และกฎหมายบา้ นเมือง เพ่ือกอ่ ใหเ้ กดิ การพัฒนาหรือ
ความเจรญิ งอกงามทางกาย อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญา

1. ความหมายของนนั ทนาการ
นนั ทนาการ เป็นคำมาจากคำเดิมวา่ "สันทนาการ" ซ่ึงพระยาอนมุ านราชธน หรือเสถยี รโกเศศได้บญั ญัติไว้
เม่ือปี พ.ศ.2507 และตรงกับศพั ท์ภาษาอังกฤษวา่ "Recreation" มีนกั วิชาการไดใ้ หค้ วามหมายของ
นนั ทนาการไว้หลากหลาย ซึ่งสามารถสรุปไดด้ งั น้ี

นนั ทนาการ หมายถึง การทำใหช้ ีวติ สดชน่ื โดยการเสรมิ สรา้ งพลังงานข้ึนใหม่ หลังจากท่รี ่างกายใช้
พลังงานแลว้ เกิดเป็นความเหนอื่ ยเมอ่ื ยลา้ ทางร่างกาย จติ ใจและทางสมอง เมอ่ื บุคคลเข้ารว่ มกิจกรรม
นนั ทนาการจะชว่ ยขจัด หรอื ผ่อนคลายความเหน่อื ยเมื่อยลา้ ทางดา้ นร่างกายและจติ ใจ ในความหมายนี้
นนั ทนาการจงึ เป็นการตอบสนองความต้องการทางกายและจติ ใจของบุคคลไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง

นนั ทนาการ หมายถึง กจิ กรรม (Activities) ตา่ งๆ ทบ่ี ุคคลเข้ารว่ มในชว่ งเวลาวา่ ง โดยไมม่ กี ารบงั คับ
หรือเข้าร่วมดว้ ยความสมคั รใจ มีผลกอ่ ใหเ้ กดิ การพัฒนาอารมณ์สุข สนกุ สนานหรือความสขุ สงบ และ
กิจกรรมนนั้ ๆ จะตอ้ งเป็นกิจกรรมท่ีสงั คมยอมรบั ซงึ่ เป็นกจิ กรรมท่มี คี วามหลากหลาย เช่น กจิ กรรมศลิ ป
หตั กรรม การอา่ น-เขียน กิจกรรมอาสาสมัคร ศลิ ปะวฒั นธรรม งานอดเิ รก เกม กีฬา การละคร ดนตรี
กจิ กรรมเขา้ จงั หวะ และนนั ทนาการกลางแจง้ นอกเมอื ง

นนั ทนาการ หมายถงึ กระบวนการ (Process) หรือประสบการณท์ ่บี คุ คลได้รับโดยอาศัยกจิ กรรม
นนั ทนาการในช่วงเวลาวา่ งเป็นสือ่ ก่อใหเ้ กดิ การพัฒนาหรอื ความเจรญิ งอกงามทางกาย อารมณ์ สงั คม และ
สตปิ ัญญาของบุคคล

นนั ทนาการ หมายถงึ เป็นสถาบนั ทางสงั คมหรอื แหลง่ ศูนยก์ ลางของสงั คม เพอ่ื ให้บคุ คล หรือสมาชิก
เขา้ ร่วมกิจกรรมนนั ทนาการแล้วก่อใหเ้ กดิ ความเจรญิ งอกงามทางรา่ งกายและพัฒนาทางด้านอารมณ์ จติ ใจ
และสงั คม ซ่ึงโดยปกติรัฐมหี น้าทจี่ ัดแหลง่ นนั ทนาการในรปู แบบต่างๆ เช่น สวนสาธารณะในเมอื ง
สวนหย่อม ศูนย์เยาวชน หอ้ งสมุดสำหรับประชาชน ดนตรสี ำหรับประชาชน วนอุทยาน และอุทยาน
แห่งชาติ
2.จุดมงุ่ หมายของนนั ทนาการ
2.1 เพอื่ พฒั นาอารมณ์

กจิ กรรมนนั ทนาการเปน็ กระบวนการเสริมสร้าง และพฒั นาอารมณข์ องบุคคลและชุมชน โดยอาศยั
กิจกรรมตา่ งๆ เปน็ สอ่ื กลางในช่วงเวลาว่าง หรอื เวลาอิสระ การเข้ารว่ มกจิ กรรมต้องเปน็ ไปดว้ ยความสมคั ร
ใจ และกจิ กรรมน้นั จะตอ้ งเปน็ กจิ กรรมที่สังคมยอมรับ สามารถกอ่ ให้เกิดความสขุ สนกุ สนาน เพลดิ เพลนิ

2.2 เพอ่ื เสริมสร้างประสบการณ์ใหม่
กิจกรรมนนั ทนาการ ช่วยสรา้ งประสบการณ์ใหมใ่ หแ้ ก่ผรู้ ว่ มกิจกรรม ทง้ั น้ีเพราะความหลากหลาย

กิจกรรม เช่น การท่องเทยี่ ว ทศั นศกึ ษา การเสริมสร้างประสบการณ์ใหมใ่ นสถานท่ีและทรพั ยากรทอ่ งเทีย่ ว
ขน้ึ อยกู่ ับประสบการณ์ และพ้ืนฐานเดิมของบคุ คลหรอื ชุมชน

2.3 เพอ่ื เพิ่มพนู ประสบการณ์
กจิ กรรมสรา้ งเสรมิ ประสบการณ์ หรอื กจิ กรรมบางอย่างที่เคยเขา้ รว่ มมาแลว้ แต่ผเู้ ข้าร่วมอยากสรา้ ง

ความประทับใจ หรือความทรงจำเดมิ กจ็ ะเป็นการเพมิ่ พูนประสบการณท์ ัง้ สนิ้
2.4 เพอ่ื ส่งเสรมิ การมสี ว่ นรว่ ม

กจิ กรรมนนั ทนาการ จะส่งเสรมิ การมีสว่ นรว่ มของบคุ คลและชุมชน ฝึกให้มีโอกาสเข้ารว่ มกจิ กรรม
ของชมุ ชนดว้ ยความสนใจและสมคั รใจ ส่งเสรมิ การทำงานร่วมกนั เปน็ ทีม เปน็ ส่วนหนงึ่ ของกลมุ่ ร้จู ักสทิ ธิ
และหนา้ ท่ี ตลอดจนความรบั ผิดชอบต่อตนเองและผู้อนื่ ในฐานะองคก์ รของสังคม
2.5 เพอ่ื ส่งเสริมการแสดงออก

กิจกรรมนนั ทนาการหลายประเภท เป็นการส่งเสริมให้บคุ คลได้แสดงออกทางดา้ นความรูส้ ึกนกึ คดิ
สรา้ งสรรค์ การระบายอารมณ์ การเลยี นแบบสถานการณ์ หรอื พฤติกรรมต่างๆ ทำใหส้ ามารถเรยี นรูแ้ ละรูจ้ ัก
ตนเองมากขนึ้ สร้างความมนั่ ใจ ความเขา้ ใจและการควบคมุ ตนเอง

2.6 เพอ่ื ส่งเสริมคณุ ภาพชีวติ
กจิ กรรมนนั ทนาการเป็นกิจกรรมทช่ี ่วยพฒั นาอารมณ์ ความสุข ความสามารถของบคุ คล สุขภาพและ

สมรรถภาพทางกายและจติ ใจ ความสมดลุ ทางกาย และจิต สิง่ เหล่านจ้ี ะช่วยพฒั นาคุณภาพชวี ิต ของสงั คม
ทุกเพศและวยั นอกจากน้ี ยังชว่ ยพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของกลุ่มประชากรทกุ กลุ่มดว้ ย
2.7 เพอื่ ส่งเสรมิ ความเป็นมนษุ ยชาติ

กจิ กรรมนนั ทนาการจะชว่ ยส่งเสรมิ พฤตกิ รรม และพฒั นาความเจรญิ งอกงามของบคุ คลท้งั ทางกาย
อารมณ์ สงั คม สติปญั ญา และจิตใจของคนทกุ คน ทกุ เพศ ทกุ วยั ตามความสนใจและความต้องการของ
บคุ คล เช่น การจดั กจิ กรรมนันทนาการนานาชาติ คือ มหกรรมกฬี าโอลิมปิค ซ่ึงจะชว่ ยสง่ เสริมความเข้าใจ
อนั ดแี ละมติ รภาพของมวลมนุษยชาติ
2.8 เพ่อื สง่ เสรมิ ความเป็นพลเมอื งดี

กจิ กรรมนนั ทนาการเปน็ การให้การศกึ ษาแกเ่ ยาวชนในดา้ นการชว่ ยเหลือตนเอง รู้จกั สทิ ธิ หนา้ ที่ ความ
รับผิดชอบ ระเบยี บวินยั และการปรับตวั ให้เข้ากบั กล่มุ และสงั คมได้เปน็ อยา่ งดี เปน็ การพัฒนาบทบาทของ
การเปน็ พลเมอื งดี ไม่เห็นแก่ตวั ช่วยเหลือสังคมสว่ นรวมเป็นสำคัญ สง่ ผลใหส้ งั คมอบอุ่น และเพ่ิมพนู
คณุ ภาพชวี ติ

ความหมายของสุขภาพ

คาํ วา่ สขุ ภาพ (health) เปน็ คาํ ทีม่ คี วามหมายกวา้ งขวาง มผี ใู้ ห้ความหมายไว้หลายแนวคิดดังนค้ี ือ
พจนานกุ รม ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542 (2546 ,หนา้ 1201) ให้ความหมาย คาํ วา่ สขุ ภาพ หมายถึง
ความสขุ ปราศจากโรค ความสบาย

ฮอย แมน (H.S.Hoyman) นักสขุ ศกึ ษา คนสาํ คญั ของ
ประเทศอเมรกิ า กลา่ วไวว้ ่า สขุ ภาพ หมายถงึ สภาวะ
แห่งความสมบรู ณ์ท่ีสดุ ในการดาํ รงชวี ิตอยดู่ ว้ ยดขี องแต่
ละบคุ คล ซึ่งจะพงึ มีได้

องค์การอนามัยโลก ให้ความหมายของสุขภาพ หมายถงึ
สภาวะแหง้ ความสมบรู ณ์ ของร่างกายและจิตใจ รวมถึง
การดาํ รงชวี ิตอยใู่ นสังคมดว้ ยดี และคําว่า สุขภาพน้ี มิไดห้ มายความเฉพาะเพียงแต่ความปราศจากโรค และ
ทุพพลภาพเทา่ น้นั
สรปุ ความหมาย ของสุขภาพ หมายถงึ สภาวะแหง่ ความสมบูรณข์ องรา่ งกาย และ จิตใจ รวมถงึ การ
ปรบั ตัวอยใู่ นสงั คมดว้ ยดีมมี นษุ ยสัมพนั ธ์ท่ีดตี ่อผู้อน่ื มีคุณธรรม และจติ วญิ ญาณทด่ี ี ปราศจากการเปน็ โรค
และปราศจากความพกิ าร

จะเห็นได้วา่ ความหมายของสุขภาพ ครอบคลุม กว้างขวางมาก เป็นความหมาย ของสขุ ภาพ ในอุดมคติ
(ideal health) ซง่ึ ในความเป็นจรงิ สุขภาพท่เี ป็นอยู่จรงิ (real health) จะเป็น สภาวะสขุ ภาพสว่ นบคุ คล ที่
สามารถข้นึ ๆ ลงๆ ได้มีการเปล่ียนแปลง ข้ึนอยกู่ บั การดูแล เอาใจใส่ตอ่ สขุ ภาพของบุคคลน้ัน

ประเภทของสขุ ภาพ แบ่งเปน็ 2 ประเภทใหญ่ๆ คอื

1. แบง่ ตามประโยชนท์ บ่ี คุ คลจะพงึ ได้รับ คอื

1.1 สขุ ภาพสว่ นบคุ คล (personal health)

1.2 สขุ ภาพสว่ นชุมชน (community health)

2. แบ่งตามสภาพของบุคคล คือ

2.1 สขุ ภาพกาย (physical health)

2.2 สขุ ภาพจติ (mental health)

2.3 สขุ ภาพสังคม (social health)

2.4 สขุ ภาพดา้ นคณุ ธรรม หรอื จติ วญิ ญาณ (moral health or spiritual health)

พระพุทธภาษิต ได้กล่าวไวว้ า่ "อโรคยา ปรมา ลาภา" ซ่งึ แปลวา่ ความไมม่ ีโรคเป็นลาภอันประเสรฐิ
ถือวา่ เปน็ ลาภที่ยิ่งใหญ่ เป็นความโชคดสี งู สุด ถ้าคนเรามีสขุ ภาพดี หรอื คาํ กล่าวทว่ี ่า สขุ ภาพ คือ คุณภาพ
ชีวิต คนทม่ี สี ุขภาพดี คือ คนท่มี คี วามหวงั และคนที่มคี วามหวงั คอื
คนทม่ี ี ทกุ ส่ิง ทกุ อย่าง

จะเหน็ ไดว้ า่ คํากลา่ วมาทงั้ หมดนีเ้ ป็นการบอกถึงความสําคญั ของสุขภาพซึ่งโดยท่วั ไปคนปกติมักไม่
ค่อยมองเหน็ คณุ ค่าของสุขภาพกันมากนกั จะแตกตา่ งจากคนทีเ่ จ็บป่วยหรือพกิ าร หรอื อาจกล่าวไดว้ ่าคนที่
มสี ขุ ภาพดหี รือคนปกตยิ อ่ มจะมองเห็นความสําคัญของสุขภาพได้นอ้ ยกวา่ คนทเี่ จ็บปว่ ย หรอื คนพกิ าร

สขุ ภาพมคี วามสาํ คญั ต่อมนษุ ย์ทกุ คน ไม่วา่ เศรษฐี ผ้ดู ี มง่ั มีหรือยากจน ถ้าสขุ ภาพของประชาชนใน
ประเทศดี การพฒั นาประเทศ ยอ่ มเป็นไปดว้ ยดี กระทรวงสาธารณสุข เปน็ หน่วยงานหลกั ในการดแู ล
สขุ ภาพของคนไทย และองค์การอนามัยโลก เปน็ หน่วยงานของความร่วมมอื ระหวา่ งประเทศ มีจดุ มุง่ หมาย
ต้องการให้ ประชากรโลกมสี ขุ ภาพดี

สขุ ภาพของคนเรา เกี่ยวขอ้ งกบั ปจั จัยหลายด้าน ท้งั สว่ นบคุ คล สงั คม และ
สง่ิ แวดลอ้ ม องคป์ ระกอบที่มอี ทิ ธิพลตอ่ สขุ ภาพ มี 4 องค์ประกอบทสี่ าํ คญั ดงั น้ี คอื

1. พนั ธุกรรม หรอื กรรมพันธุ์ (heredity)

คอื การถา่ ยทอดลักษณะตา่ งๆ จากบรรพบุรษุ ไปสู่ลกู หลาน โดยการสบื สายโลหิต ในเซลลข์ อง
ส่งิ มีชวี ิต จะมสี ิ่งที่อยภู่ ายในนวิ เคลียส (nucleus) เรยี กวา่ โครโมโซม (chromosome) ใน แตล่ ะโครโมโซม
จะมสี ่วนเลก็ ๆ ท่เี รยี กว่า ยีน (gene) ซง่ึ เป็นหนว่ ยสารเคมีทซี่ ับซอ้ น ของโปรตนี เรยี กวา่ DNA
(deoxyribonucleic acid) และ RNA (ribonucleic acid) ซึ่งเป็นสง่ิ ทถ่ี ่ายทอดลักษณะ ตา่ งๆ จากบรรพบุรษุ
ไปสู่ลกู หลาน ยนี มักจะอยู่เปน็ ค่ๆู ซึ่งมาจากโครโมโซม ของสเปริ ์มและไข้ เซลล์ของมนุษย์จะประกอบดว้ ย
โครโมโซม 23 คู่ เปน็ โครโมโซมของเซลล์ร่างกายทว่ั ไป 22 คู่ และ อกี 1 คู่ จะทาํ หนา้ ทีเ่ ก่ียวกบั การ
กําหนดเพศ มโี รค และความผดิ ปกตบิ างอย่าง ทส่ี ามารถถา่ ยทอด ทางพันธุกรรมได้ เชน่ ศรี ษะล้าน ในผูช้ าย
โรคตาบอดสี โรคเลือดไหลไม่หยุด โรคผวิ หนงั บางชนดิ โรคประสาท โรคจติ บางชนิด นว้ิ กดุ นิว้ เกิน ปาก
แหว่ง เพดานโหว่ โรคภูมิแพ้ โรคเบาหวาน โรคเลือดธาลัสซเี มีย

ปัจจัยทางพนั ธกุ รรม เปน็ สง่ิ ท่เี ราไมส่ ามารถควบคุมได้ทง้ั หมด การจะมสี ขุ ภาพที่ดี จึงต้องอาศยั การ
ควบคุม ปจั จยั อื่นๆ รว่ มดว้ ย

2. สิ่งแวดลอ้ ม (environment)

สง่ิ แวดล้อม คอื สิ่งท่ีอยรู่ อบๆ ตวั เรา และสิง่ แวดลอ้ มมอี ทิ ธพิ ลต่อสุขภาพของคนเรา
สง่ิ แวดล้อมแบ่งเป็น

2.1 สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (physical environment)

สง่ิ แวดล้อมทางกายภาพ คอื สิง่ ทีไ่ มม่ ชี ีวติ อยรู่ อบๆ ตวั เรา ไดแ้ ก่ ภูมปิ ระเทศ
ภูมอิ ากาศ เชน่ ความรอ้ น แสง เสยี ง อากาศเป็นพิษ นำ้ เนา่ เสีย ความแออัดของรถยนต์ เปน็ ต้น

ส่ิงแวดลอ้ มทางกายภาพ มอี ิทธิพลตอ่ คนอย่างมากในปจั จบุ ันทาํ ใหเ้ กิดโรค
และความผิดปกติต่างๆ กับรา่ งกาย และจติ ใจ

2.2 สงิ่ แวดล้อมทางชีวภาพ (biological environment)

สงิ่ แวดลอ้ มทางชีวภาพ คอื สิง่ แวดล้อมท่มี ีชวี ติ มีอิทธิพลต่อสุขภาพ
ของคนเรา สิ่งมีชวี ิต มที ั้งพืชและสตั ว์ บางอยา่ งมีคณุ บางอยา่ งมีโทษ เชน่ เชอ้ื โรคทั้งหลาย
หนอนพยาธติ ่างๆ เป็นต้น

2.3 ส่ิงแวดลอ้ มทางเศรษฐกจิ (economic environment)

สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจ ไดแ้ ก่ อาชพี รายได้ ฐานะทางการเงนิ ของแตล่ ะคน
ซึ่งจะมีอทิ ธพิ ลต่อสขุ ภาพ คนรวย คนฐานะปานกลาง คนยากจน จะมีวถิ กี ารดาํ เนนิ ชีวิตที่แตกต่าง
กัน การเกดิ โรคจะแตกต่างกันดว้ ย

2.4 สิง่ แวดลอ้ มทางสังคม (social environment)

ส่ิงแวดลอ้ มทางสังคมได้แก่ นโยบายทางการเมอื ง ทางด้านสาธารณสุข
ขนบธรรมเนยี มประเพณี วฒั นธรรม โดยเฉพาะปจั จบุ นั วฒั นธรรมการกินของคนไทยเปล่ยี นแปลง
ไป คนไทยนยิ มบริโภคอาหารฝรั่งและอาหารขยะ (Junk food) มากขนึ้ ทาํ ใหเ้ กดิ โรคอ้วน โรคความ ดนั
โลหติ สูง โรคหวั ใจ และโรคเบาหวานตามมา

3. พฤติกรรมสุขภาพ (health behavior)

พฤตกิ รรมสขุ ภาพหมายถึงการกระทําหรือการปฏิบัตขิ องบคุ คลท่มี ผี ลตอ่ สขุ ภาพซง่ึ เปน็ ผลมาจากการ
เรียนรูข้ องบุคคลเป็นสําคัญโดยแสดงออกให้เห็นได้ในลักษณะของการกระทาํ และไมก่ ระทาํ ในสง่ิ ทเ่ี ป็นผล
ตอ่ สุขภาพ หรือผลเสยี ต่อสุขภาพ (คณะกรรมการสขุ ศกึ ษา,2539 หน้า 23)

พฤตกิ รรมสุขภาพของคนอาจแบง่ เป็น 3 ประเภท คือ

3.1 พฤตกิ รรมการปอ้ งกนั โรค และสง่ เสรมิ สขุ ภาพ (preventive and promotive healthbehavior) พฤตกิ รรม
การป้องกนั โรค เชน่ การไปตรวจร่างกายเปน็ ประจําทกุ ปี การสวมหมวกนริ ภยั เมอื่ ขับขร่ี ถจักรยานยนต์
เปน็ ต้น พฤติกรรมส่งเสรมิ สขุ ภาพ เช่น การรบั ประทานอาหารทีป่ ระโยชนก์ ารออกกาํ ลงั กายเปน็ ประจํา การ
ผกั ผอ่ นที่เพียงพอ ซง่ึ พฤตกิ รรมสขุ ภาพเหล่าน้ี เป็นการกระทาํ ใน ภาวะปกติของคน เม่ือยังไมไ่ ด้เจ็บปว่ ย

3.2 พฤติกรรมเม่ือเจ็บปว่ ย (illness behavior) หมายถงึ การปฏบิ ัติทบ่ี ุคคล เมื่อรูส้ ึก มคี วามผดิ ปกติเกดิ
ขึ้นกับตนเอง ซึง่ แบ่งเปน็ 2 ระยะ คือ ระยะแรก เปน็ การรบั รู้ ถา้ ความผิดปกตทิ เ่ี กดิ ขน้ึ กบั ระยะทมี่ ี
พฤติกรรมตอบสนอง กบั ความผดิ ปกตนิ ัน้ ๆ ซงึ่ จะแตกต่างกนั ไป ในแต่ละคน

3.3 พฤติกรรม ที่เปน็ บทบาทของการเจ็บปว่ ย (sick role behavior) หมายถึง การปฏิบตั ทิ ่บี คุ คลกระทํา
หลงั จากได้ทราบผลการวนิ จิ ฉยั แล้ว เป็นพฤตกิ รรมทท่ี าํ ตามคําสัง่ หรอื คาํ แนะนําของผใู้ ห้การรกั ษา เพอื่ ให้
หายจากการเจบ็ ปว่ ยน้ัน พฤตกิ รรมสขุ ภาพของบคุ คล ถือว่า เป็นองค์ประกอบทมี่ อี ิทธิพลสําคญั ทีส่ ุด ของ
สุขภาพคนเราถึง 51% พฤตกิ รรมสขุ ภาพของคนเรา จะถูกต้อง เหมาะสมเพียงใด ขน้ึ อยกู่ บั ความรทู้ ัศน คติ
และการปฏิบัติของบคุ คลนั่นเอง

4. บริการสขุ ภาพ (health service)

การบรกิ ารสขุ ภาพ เปน็ บริการท่ีจัดทําข้นึ ในหลายรูปแบบ โดยหนว่ ยงานของภาครฐั
และเอกชน ทัง้ ในสว่ นกลางและส่วนภูมภิ าค

คุณภาพของการบริการทางสขุ ภาพ เปน็ ปจั จยั ทีส่ าํ คญั ถา้ หากมแี หลง่ บริการ
สขุ ภาพที่เพยี งพอ และมีคุณภาพทดี่ ีจะชว่ ยปอ้ งกนั ปัญหาตา่ งๆ ทางดา้ นสุขภาพท่เี กดิ ขน้ึ ได้

ลกั ษณะของการบริการสขุ ภาพท่ดี ี ประกอบด้วยลักษณะดงั น้ี

1.1 บริการกระจายครอบคลมุ

1.2 การเขา้ ถึงบรกิ ารเชิงภมู ิศาสตร์

1.3 การเข้าถงึ บรกิ ารเชิงวัฒนธรรม

1.4 การเขา้ ถึงบรกิ ารเชิงเศรษฐกจิ

1.5 ความต่อเน่ืองของบรกิ าร

1.6 คณุ ภาพบรกิ ารตอบสนองต่อการแก้ปญั หาด้านสุขภาพ

นันทนาการเพอ่ื พัฒนาสุขภาพ

สุขภาพเป็นสงิ่ สำคญั สำหรับทุกคน จดุ มงุ่ หมายของนนั ทนาการประการหนง่ึ ก็เพื่อพัฒนาสขุ ภาพกาย
และสขุ ภาพจติ ของคนใหส้ มบรู ณ์ยงิ่ ขนึ้ ดงั นน้ั กจิ กรรมนนั ทนาการเปน็ อกี กิจกรรมหนงึ่ ท่มี คี วามสำคัญ
เพิ่มข้ึนพร้อมกบั ความสนใจในสุขภาพของคนในปัจจบุ นั คอื นนั ทนาการเพ่ือสุขภาพ เช่น เตน้ รำ ร้องเพลง
กฬี าชนดิ ต่างๆ ออกกำลังกาย เตน้ แอโรบคิ การฝึกสมาธิ โยคะ
ประเภทของกจิ กรรมกฬี า แบง่ ออกเป็น 6 ประเภทใหญ่ๆ ดงั น้ี

1. เกม คอื กจิ กรรมทม่ี ีความหลากหลายในรปู แบบตา่ งๆ เช่นเกมเบ็ดเตลด็ เกมทนี่ ำไปสู่กฬี าใหญ่ เกม
ประกวด เกมสร้างสรรค์ เกมกลุ่มสมั พันธ์ เกมสง่ เสรมิ คณุ ค่าทางศิลปวัฒนธรรม และการละเล่นพ้ืนบา้ น
เชน่ ชักเยอ่ วง่ิ เปีย้ ว ลงิ จบั หลกั อกี าฟกั ไข่ และมอญซ่อนผ้า

2. กีฬาประเภทเด่ยี วและประเภทคู่ เช่น ยิงธนู กรีฑา
ว่ายนำ้ แบดมินตนั ปิงปอง เทนนิส และแข่งเรือ
3. กฬี าประเภททมี ปจั จบุ ันไดร้ ับความนิยมสูง เนื่องจาก
กีฬาประเภททีม จะชว่ ยสง่ เสรมิ คณุ คา่ ทางสงั คม ความ
สามัคคี มนษุ ยสัมพนั ธ์ การรวมกลุม่ เปน็ สมาชกิ ของ
กลุ่ม การแสดงออกในความมุ่งม่นั สคู่ วามสำเร็จ กฬี า
ประเภททมี ไดแ้ ก่ ฟุตบอล บาสเกตบอล ตะกร้อ ฮอกกี้ วอลเลยบ์ อล และแชรบ์ อล
4. กีฬาสำหรับสตรีและเดก็ เปน็ การจัดการกีฬา เพื่อสง่ เสริมให้สตรีมีโอกาสได้เขา้ รว่ มกจิ กรรมกฬี ามากขึ้น
เช่น หว่ งยาง แชร์บอล ว่ายนำ้ วอลเลยบ์ อล และยิมนาสตกิ
สว่ นในเดก็ นนั้ ปจั จุบนั องคก์ รทเ่ี กยี่ วข้องกับการจัดกจิ กรรมกฬี า ได้มกี ารส่งเสริมและเปดิ โอกาสให้
เด็กไดม้ ีส่วนในการเล่นและแขง่ ขันกีฬา ตามความเหมาะสมกบั สภาพร่างกาย เชน่ ฟตุ บอล วา่ ยนำ้ กรฑี า
(ระยะสัน้ ) ยิมนาสติก และวอลเลยบ์ อล

5. กฬี านนั ทนาการ หมายถงึ กีฬามวลชน (Mass Sport) หรอื กฬี าทนี่ ิยมเล่นกันทัง้ ชาย หญงิ เดก็ ผู้ใหญ่ และ
ผสู้ งู อายุ และกฬี าในกลุ่มคนพิเศษ เชน่ คนพกิ าร โดยมจี ุดม่งุ หมายเพื่อใหผ้ ู้เขา้ ร่วมเลน่ กีฬาในช่วงเวลาวา่ ง
เป็นการส่งเสริมคุณค่าการพัฒนาคณุ ภาพชีวิต โดยมไิ ดม้ ุ่งผลสมั ฤทธิจ์ ากการแข่งขนั เช่น เดนิ วิง่ เพอ่ื
สขุ ภาพ กฬี าระหวา่ งเมอื ง แรลล่ที วั ร์ การทดสอบ สมรรถภาพทางกาย ดำนำ้ และปีนเขา

6. กีฬาเพื่อการแข่งขัน หมายถงึ กฬี าที่เปน็ เรอ่ื งทกั ษะทางการกีฬาเพื่อความเปน็ เลศิ ในการแข่งขนั มกี าร
ฝกึ ซอ้ มกนั อยา่ งต่อเนอ่ื ง โดยหวงั ผลประโยชนจ์ ากการแขง่ ขนั ฉะนน้ั ในสว่ นของผู้เลน่ จะไมถ่ อื ว่าเป็น
กจิ กรรมนนั ทนาการ แตใ่ นสว่ นของผูช้ มนัน้ ถือว่าใช่ เพราเปน็ การใหค้ วามสนกุ สนานเพลิดเพลนิ พักผอ่ น
หยอ่ นใจ เสรมิ สรา้ งประสบการณ์ พฒั นาการทางดา้ นอารมณแ์ ละมสี ว่ นร่วมได้อกี ดว้ ย เช่น ฟุตบอล เซปกั
ตะกรอ้ มวยสากล เทนนิส และบาสเกตบอล
คณุ คา่ ของกจิ กรรมกฬี า

• พฒั นาทางด้านรา่ งกาย จิตใจ สงั คม และสติปญั ญา
• สร้างความสมัครสมานสามคั คีในหมคู่ ณะและต่างคณะ
• ส่งเสรมิ การมมี นษุ ยสมั พันธก์ บั บุคคลอ่ืนได้ดี
• มีความรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและสว่ นร่วม
• พฒั นาบคุ ลกิ ภาพ
• มจี ิตใจเอ้ือเฟื้อเผ่อื แผต่ ่อบคุ คลอ่นื และมนี ้ำใจเปน็ นักกีฬา
• เสรมิ สร้างการทำงานรว่ มกนั เป็นทีม
• เป็นกจิ กรรมทมี่ ุ่งเนน้ ทางดา้ นการส่งเสรมิ ความแขง็ แรงสมบูรณใ์ ห้แก่รา่ งกาย
• ประเภทของกจิ กรรมเพือ่ พัฒนาสุขภาพ และสมรรถภาพ มดี ังน้ี

• การออกกำลงั กายเพ่ือสุขภาพ
• การพักผอ่ น
• การส่งเสรมิ สขุ ภาพจิต เชน่ ไปเทีย่ ว ชมภาพยนตร์ ฝกึ สมาธิ
คุณค่าของกจิ กรรมพัฒนาสขุ ภาพ และสมรรถภาพ
• พัฒนาคณุ ภาพชีวติ ทางด้านสขุ ภาพกาย และจิตใจ
• พัฒนาสมรรถภาพทางกาย
• สรา้ งความสมดุลของรา่ งกาย
• ผอ่ นคลายความตงึ เครียด จากการดำเนนิ ชีวติ ประจำวัน

เปน็ กจิ กรรมทีช่ ว่ ยส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ การเรยี นรไู้ ด้หลายอยา่ ง โดยเฉพาะในเรือ่ งของการทำงานเปน็ ทมี ซ่งึ
มกั จะเป็นปญั หาและอปุ สรรคในการทำงานร่วมกันสำหรบั สังคมไทยในปจั จบุ ัน ดังนั้นกจิ กรรมประเภทน้ี
จึงเหมาะกบั การนำไปใชใ้ นชมุ ชน หรือในหน่วยงานทมี่ ีจำนวนบคุ ลากรมากๆ เช่น กระทรวง ทบวง กรม
หน่วยงานภาคเอกชน และในสถานศกึ ษาทกุ ระดบั เปน็ ตน้ โดยมกี จิ กรรมกล่มุ สมั พันธใ์ ห้เลือกจัดไดต้ าม
ความเหมาะสม และโอกาส ดังตอ่ ไปน้ี
ประเภทของกจิ กรรมกลุ่มสัมพนั ธ์ มนษุ ยสมั พนั ธ์

• การอภิปราย เช่นปญั หา และอุปสรรคของการทำงาน เศรษฐกจิ และสง่ิ แวดล้อม
• เกมส่งเสรมิ คุณคา่ ประชาธิปไตย
• เกมการทำงานเปน็ ทีม
• เกมคา่ นิยม
• เกมสังเกตพฤติกรรม

• เกมฝึกการฟงั - พดู - คดิ
• เกมการปกครอง และบรหิ ารกลุ่ม
• เกมการสรา้ งความคนุ้ เคย เชน่ เปดิ หน้าตา่ งหัวใจ และสมั ภาษณ์สมาชกิ กลุม่ เปน็ ตน้
คณุ คา่ ของกจิ กรรมนนั ทนาการกลมุ่ สมั พนั ธ์ มนุษยสัมพนั ธ์
• รู้จักการทำงานร่วมกันเปน็ กล่มุ
• สามารถดำเนินชีวติ อยู่รว่ มกบั สงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข
• ทำให้บคุ คลเกดิ ความร้สู ึกในการเห็นคณุ ค่าแหง่ ตน
• ฝึกทกั ษะการเปน็ ผู้นำ และ ผู้ตามที่ดี
• เป็นกจิ กรรมพฒั นาสงั คมและทรัพยากรมนษุ ย์
• ช่วยละลายพฤตกิ รรมของกลุ่ม
• ช่วยลดความเหน็ แก่ตวั มีความเห็นใจและเข้าใจบคุ คลอ่นื
• ทำใหเ้ กดิ ความรว่ มมือ และทำใหป้ ระสบผลสำเรจ็ ตามจุดมุ่งหมายทีต่ ้ังใจไว้ได้งา่ ยข้นึ

อ้างอิง

https://exercisebymoji.blogspot.com/2019/04/blog-post_33.html
http://elearning.nsru.ac.th/2550/ebook_4000104/lesson1/resources/resource_1/content/screen15.htm
https://sites.google.com/site/wanneenunkeaw/bth-thi5


Click to View FlipBook Version