The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการประวัติศาสตร์ชาติไทย (พัฒนาคุณภาพผู้เรียน)2_65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by city1716, 2022-05-17 06:36:01

โครงการประวัติศาสตร์ชาติไทย (พัฒนาคุณภาพผู้เรียน)2_65

โครงการประวัติศาสตร์ชาติไทย (พัฒนาคุณภาพผู้เรียน)2_65

รายงานสรุปผล

โครงการอบรมให้ความรปู้ ระวัติศาสตรช์ าตไิ ทย
ปงี บประมาณ 2565
กศน. ตาบลมะรือโบอก

ระหว่างวนั ท่ี 12-14 มกราคม 2565

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอเจาะไอรอ้ ง

สานักงาน กศน.จังหวัดนราธวิ าส

บนั ทกึ ขอ้ ความ

ส่วนราชการ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอเจาะไอรอ้ ง

ที่ ศธ ๐๒๑๐.๔๐๐๔ / วันที่ 17 มกราคม ๒๕๖5

เรือ่ ง รายงานผลโครงการอบรมใหค้ วามรปู้ ระวตั ศิ าสตร์ชาติไทย

เรยี น ผ้อู านวยศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอเจาะไอร้อง

๑. เรื่องเดิม ตามท่ี งานการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้จัดโครงการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์
ชาติไทย ในวันที่ 12-14 เดือน มกราคม พ.ศ.๒๕๖๕ ณ ณ กศน. อาเภอเจาะไอร้อง มีกลุ่มเป้าหมายเป็น
นักศกึ ษา กศน.ตาบลมะรืโบออก จานวน 30 คน จัดเปน็ รนุ่ ทง้ั หมด ๓ ร่นุ ร่นุ ละ 10 คน นัน้

๒. ขอ้ เท็จจริง ในการน้ี งานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้จัดทาสรุปผลการดาเนนิ งานโครงการ ดัง
ตารางตอ่ ไปน้ี พรอ้ มรปู เลม่ สรปุ ผลการดาเนินงานตามท่แี นบมาพร้อมน้ีด้วยแลว้

ที่ โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ รอ้ ยละ เปา้ หมาย รอ้ ยละ เปา้ หมายเชงิ คุณภาพ ไม่
การ เชงิ ปรมิ าณ ของ (ตามวัตถปุ ระสงค)์ บรรลุ บรร
๑ โครงการอบรมให้ความรู้ จดั สรร เบกิ จ่าย เบกิ จ่าย เปา้ หมาย
. ประวัติศาสตร์ชาติไทย 4,333 4,333 แผน ผล ทเ่ี ข้าร่วม ตัวชีว้ ดั ความสาเรจ็ ลุ
๑๐๐.๐๐
(กศน.ตาบลมะรือโบออก ) 30 32 ๑๐๐ ข้อท่ี ๑ ร้อยละ ๘๐ - รอ้ ยละ ๑๐๐ 
ข้อที่ ๒ ร้อยละ ๘๐ - รอ้ ยละ ๑๐๐ 

๓. ข้อกฎหมาย ระเบียบ คาส่ัง ตามคาสั่งสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี ๔๘๙/
๒๕๕๑ ลงวันที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๕๑ เรื่อง การมอบอานาจให้ผู้อานวยการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอและผู้อานวยการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศัยเขตปฏบิ ัตริ าชการแทน ขอ้ ๑

๔. ข้อพจิ ารณาและเสนอแนะ -
จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดทราบ

(ลงชอื่ )
(นางสาวซาณียา ยะโก๊ะ)
ครผู ชู้ ่วย

ความเห็นผอู้ านวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเจาะไอร้อง

............................................................................................................................. .................................................
...................................................................................................................................... ........................................

ลงชอ่ื
(นายคมกฤช สาหลัง)

ผูอ้ านวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเจาะไอร้อง

คำนำ

ตามที่สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนราธิวาส ได้จัดสรร
งบประมาณประจาปี ๒๕๖5 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเจาะไอร้อง
ตระหนักถึงความสาคัญดังกล่าว จึงจัดโครงการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย เพ่ือให้นักศึกษา กศน.
ตาบลมะรือโบออก อาเภอเจาะไอร้อง ให้ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณ
ของพระมหากษัตริยไ์ ทย มีความรักชาตแิ ละเทิดทนู สถาบนั พระมหากษตั ริยไ์ ทย ต่อไป

บัดน้ีการดาเนินการดังกล่าวลุล่วงไปด้วยดี ทาง กศน.ตาบลมะรือโบออก อาเภอเจาะไอร้อง ได้
ดาเนินการจัดโครงการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย ดาเนินการ ในระหว่าง 12 - ๑4 มกราคม
๒๕๖5 ณ อาคารอเนกประสงค์กศน.อาเภอเจาะไอร้อง จานวน 30 คน จัดเป็นรุ่น ท้ังหมด ๓ รุ่น รุ่นละ 10
คน กลุ่มเป้าหมายไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพตอ่ ไป

จัดทำโดย
กศน.ตำบลมะรอื โบออก

สำรบัญ หน้ำ

บทที่ ๑ บทนำ ๑
- ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของโครงกำร ๑
- วตั ถุประสงค์ ๒
- เปำ้ หมำย ๒
- งบประมำณ ๒
- ผูร้ บั ผิดชอบโครงกำร ๓
- เครือขำ่ ยท่ีเกี่ยวข้อง ๓
- ผลลัพธ์

บทท่ี ๒ เอกสำรที่เกย่ี วข้อง ๕
- ควำมหมำยของประวตั ิศำสตร์ ๕
- กำรประกอบประวตั ิศำสตร์ ๗
- วิธกี ำรทำงประวัติศำสตร์ ๘

- ประวัตคิ วำมเป็นมำ ๑๐
- ประเภทของหลักฐำนทำงประวตั ิศำสตร์ไทย
- หลกั ฐำนทำงประวัติศำสตร์ ๑๓
- ขอ้ มูลที่ไดจ้ ำกหลักฐำนทง้ั ควำมจรงิ และข้อเท็จจริง ๑๒
บทที่ ๓ วิธดี ำเนินกำร ๑๒
- ขั้นกำรเตรียมกำร ๑๕
- ข้นั ดำเนินกำร
- นเิ ทศติดตำมผล และรำยงำนผล / ประเมินผล ๑๘
บทที่ ๔ ผลกำรศึกษำ ๑๘
บทที่ ๕ สรปุ ผลกำรศึกษำ ๑๘
- สรปุ ผลกำรศกึ ษำ
- ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั
- ข้อเสนอแนะ
บรรณำนกุ รม
ภำคผนวก
- ภำพประกอบกจิ กรรม
- โครงกำร



บทที่ ๑
บทนำ

ควำมเป็นมำและควำมสำคัญ

ตามนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ และแผนยุทธศาสตร์
การศึกษาเขตพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) โดย มียุทธศาสตร์ท่ี ๑
ด้านความมั่นคง เพื่อพัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ รณรงค์เสริมสร้างความรัก
และความภาคภูมิใจในความเป็นคนไทยและชาติไทย โดยกาหนดให้ผนวกเอาประเด็นด้านการศึกษา
ประวัติศาสตร์แห่งการชาติบ้านเมือง ด้วยสถาบันพระมหากษัตริย์ เพื่อให้สถานศึกษาสามารถนาไปบริหาร
จัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาประชาชนโดยผ่านกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ภายในสถานศึกษา มุ่งเน้นให้ประชาชน
ได้รับการปลูกฝังภาคภูมิใจในประวัติศาสตร์ชาติไทย ความภาคภูมิใจในความเป็นไทย ตลอดจนเกิดความรัก
และเทิดทูนในสถาบันพระมหากษัตริย์ไทย สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ
ที่ต้องการให้มีการพัฒนาคน อย่างรอบด้านและสมดุล เพ่ือเป็นฐานหลักของการพัฒนาในระดับที่สูงข้ึน
และเป็นการเสริมสร้างให้กับผู้เข้ารับการอบรมมีจิตสานึกและมีความภูมิใจในความเป็นไทย มีระเบียบวินัย
มีจิตสาธารณะ คานึงถึงประโยชน์ของส่วนรวม และยึดม่ันในการปกครองร ะบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์เป็นประมุข และรังเกียจการทุจริตคอร์รัปชั่น ดารงชีวิตด้วยความมีคุณธรรม จริยธรรม
และความเปน็ พลเมืองท่ีดี

เน่ืองจากนักศึกษา กศน.อาเภอเจาะไอร้องยังไม่มีความรู้ ความเข้าใจท่ีถูกต้องเกี่ยวกับประวัติศาสตร์
ชาติไทยและการเสียสละของพระมหากษัตริย์ไทยในอดีต ทาให้มีความเข้าใจผิดๆเก่ียวกับความเป็นมาของ
ประเทศไทย ซึ่งจะมีผลเสยี ต่อทศั นคติของนกั ศึกษาเกี่ยวกับประวัตศิ าสตรช์ าติไทยและพระมหากษตั รยิ ์ไทย

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเจาะไอร้อง ตระหนักถึงความสาคัญ
ดังกล่าว จึงจัดโครงการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย เพ่ือให้นักศึกษา กศน.อาเภอเจาะไอร้องมี
ความร้คู วามเข้าใจเกย่ี วกับประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย และมีความรักชาติและเทิดทนู สถาบนั พระมหากษัตริย์ไทย

วตั ถุประสงค์
๑ เพ่ือให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับประวัติศาสตร์ ชาติไทย และบุญคุณของ

พระมหากษัตริยไ์ ทย
๒ เพ่ือให้นักศึกษามคี วามรกั ชาติและเทดิ ทูนสถาบันพระมหากษตั ริย์ไทย

เป้ำหมำย
๑.เชิงปรมิ ำณ
นกั ศกึ ษา กศน.อาเภอเจาะไอร้อง ทกุ ระดับ จานวน 90 คน แบ่งเปน็ ๓ ร่นุ ๆ ละ 30 คน
นักศึกษากศน.ตาบลมะรืโบออก จานวน 30 คน แบ่งเปน็ ๓ รนุ่ ๆ ละ 10 คน

๒. เชงิ คุณภำพ
นกั ศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับประวัติศาสตร์ชาติไทย และ มีความรักชาติและเทิดทูนสถาบัน
พระมหากษัตริย์ไทย



งบประมำณ
แผนงาน : ยทุ ธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศกึ ษา โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการ

จัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน รหัสงบประมาณ ๒๐๐๐๒๔๓๐๑๖๕๐๐154
เป็นเงนิ ท้ังส้นิ 1๓,30๐ บาท (หนึง่ หมนื่ สามพนั สามร้อยบาทถว้ น) คือ

รุ่นท่ี ๑

- ค่าอาหาร

นักศกึ ษา จานวน ๓0 คน X ๗๐ บาท เปน็ เงิน ๒,10๐ บาท

- ค่าอาหารวา่ งและเคร่ืองดมื่

นักศกึ ษา จานวน ๓0 คน X ๒๐ บาท X ๒ มื้อ เป็นเงิน ๑,20๐ บาท

รุน่ ท่ี ๒

- คา่ อาหาร

นักศึกษา จานวน ๓0 คน X ๗๐ บาท เป็นเงิน ๒,10๐ บาท

- ค่าอาหารวา่ งและเครอ่ื งดื่ม

นกั ศึกษา จานวน ๓0 คน X ๒๐ บาท X ๒ ม้อื เปน็ เงนิ ๑,20๐ บาท

รุ่นท่ี ๓

- คา่ อาหาร

นกั ศกึ ษา จานวน ๓0 คน X ๗๐ บาท เปน็ เงิน ๒,10๐ บาท

- ค่าอาหารว่างและเครื่องดืม่

นักศึกษา จานวน ๓0 คน X ๒๐ บาท X ๒ มื้อ เปน็ เงนิ ๑,20๐ บาท

- ค่าตอบแทนวิทยากร

- คา่ วสั ดดุ าเนนิ งาน เปน็ เงิน 2,4๐๐ บาท

- ค่าป้าย เ ป็ น เ งิ น 1 , 0 ๐ ๐

บาท

รวมทัง้ ส้นิ 13,30๐ บาท ตัวอกั ษร (หนงึ่ หมน่ื สามพนั สามร้อยบาทถว้ น)

หมายเหตุ : ทุกรายการถวั เฉลย่ี จา่ ยตามท่ีจา่ ยจรงิ

แผนกำรใช้งบประมำณ

กิจกรรมหลกั ไตรมำสที่ ๑ ไตรมำสที่ ๒ ไตรมำสที่ ๓ ไตรมำสที่ ๔
๑.สำรวจกลุ่มเป้ำหมำย
๒.วำงแผนกำรดำเนนิ งำน --- -
๓.เขียนโครงกำรเพอื่ ขออนุมตั ิ
๔.แต่งตั้งคณะทำงำนดำเนินงำนฝำ่ ยตำ่ ง ๆ --- -
๕.ดำเนนิ กำรตำมโครงกำรอบรม
ประวัตศิ ำสตร์ชำติไทย และบุญคณุ ของ --- -
พระมหำกษัตริย์ไทย
--- -

- 13,30๐ - -

๖.นิเทศ/ตดิ ตำมผล --- ๓
๗.สรุปประเมินผลโครงกำร ---
-
๘.รำยงำนผลกำรดำเนินโครงกำร --- -
-

ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงกำร
นางสาวนาอหี ม๊ะ อาแวกาจิ ตาแหนง่ ครู อาสาฯปอเนาะ โทร ๐82-8259510

เครือข่ำย
1.กอ.รมน.จังหวัดนราธวิ าส
2.วฒั นธรรมอาเภอเจาะไอร้อง

โครงกำรที่เกีย่ วข้อง
-

ผลลพั ท์ ( Outcome )
นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับประวัติศาสตร์ชาติไทย และมีความรักชาติและเทิดทูนสถาบัน

พระมหากษตั ริย์ไทย



บทท่ี ๒
เอกสารท่ีเก่ยี วข้อง

วธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์

การศึกษาประวัติศาสตร์ มีความเก่ียวข้องสัมพันธ์กับหลักฐานทางประวัติศาสตร์กาลเวลา และนัก
ประวัติศาสตร์ ดังน้ัน จาเป็นต้องมีวิธีการในการรวบรวมค้นคว้าหาข้อมูล เพ่ือนามาวิเคราะห์หาเหตุผล
และข้อสรุป ซึ่งจะเป็นข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากที่สุด โดยวิธีการทาง
ประวัติศาสตร์

๑. การกาหนดหัวเรื่องท่ีจะศึกษา/การต้งั ประเด็นท่จี ะศึกษา

การศึกษาเรื่องราวในประวัติศาสตร์เร่ิมจากความสงสัย อยากรู้ ไม่แน่ใจกับคาอธิบายเรื่องราวที่มีมา
แต่เดิม ดังนั้น ผู้ศึกษาจึงเร่ิมจากการกาหนดเรื่องหรือประเด็นที่ต้องการศึกษาซึ่งในตอนแรก อาจกาหนด
ประเด็นที่ต้องการศึกษาไว้กว้าง ๆ ก่อน แล้วจึงค่อยจากัดประเด็นลงให้แคบ เพื่อให้เกิดความชัดเจนใน
ภายหลงั เพราะบางเรอื่ งขอบเขตของการศึกษาอาจกว้างมากท้ังเหตุการณ์ บุคคล และเวลาการกาหนดหัวเรื่อง
อาจเกย่ี วกบั เหตกุ ารณ์ ความเจริญ ความเส่ือมของอาณาจักรตัวบุคคลในช่วงเวลาใดเวลาหน่ึง อาจยาวหรือสั้น
ตามความเหมาะสม ซ่ึงผศู้ ึกษาเห็นวา่ เป็นช่วงเวลาที่สาคัญ และยังมีหลักฐานข้อมูลท่ีผู้ต้องการศึกษาหลงเหลือ
อยู่ หัวขอ้ เร่อื งอาจปรับให้มีความเหมาะสมหรือเปลี่ยนแปลงได้ ถ้าหากหลักฐานท่ีใช้ในการศึกษามีน้อยหรือไม่
นา่ เช่อื ถอื

๒. การรวบรวมหลักฐาน/สืบค้นและรวบรวมข้อมลู
การรวบรวมหลักฐาน คือ การรวบรวมรายละเอียดและสิ่งต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับหัวข้อท่ีจะศึกษา

ซึง่ มีทงั้ หลักฐานที่เป็นลายลกั ษณอ์ ักษร และหลักฐานทไี่ ม่เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร

๑) หลักฐานที่เปน็ ลายลักษณ์อักษร ไดแ้ ก่ หลกั ฐานทีเ่ ปน็ ตัวหนังสือโดยมนุษยไ์ ด้ท้ิงร่องรอยขดี เขยี นเป็น
ตวั หนังสือประเภทตา่ ง ๆ ในรูปของการจารกึ ในศลิ าจารกึ และการจารึกบนแผน่ โลหะ นอกจากนี้หลกั ฐานทาง
ประวัติศาสตร์ทเี่ ปน็ ลายลักษณอ์ กั ษรประเภทอื่น เชน่ พงศาวดาร จดหมายเหตุ ตานาน เอกสารพน้ื บา้ น และ
กฎหมาย

๒) หลักฐานท่ีเปน็ วัตถุ ได้แก่ วตั ถุที่มนษุ ย์แตล่ ะยุคแต่ละสมัยไดส้ ร้างขนึ้ และตกทอดมาจนถงึ ปัจจุบัน เชน่
โบราณสถาน ประกอบด้วย วัด เจดยี ์ มณฑป และโบราณวตั ถุ เชน่ พระพทุ ธรปู ถว้ ยชามสังคโลก

ประเภทของหลักฐานทางประวัตศิ าสตรไ์ ทย

แบง่ ตามลาดบั ความสาคญั ของหลักฐานทางประวตั ิศาสตรเ์ ป็น ๒ ประเภท คือ

๑) หลักฐานช้ันต้นหรือหลักฐานปฐมภูมิ (Primary Sources) เป็นหลักฐานที่มาจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน
สมัยน้ันจริง ๆ โดยมีการบันทึกของผู้ท่ีเก่ียวกับเหตุการณ์โดยตรงหรือผู้ท่ีรู้เหตุการณ์น้ันด้วยตนเอง ดังนั้น
หลักฐานช่วงต้น จึงเป็นหลักฐานท่ีมีความสาคัญและน่าเชื่อถือมากท่ีสุด เพราะบันทึกของบุคคลที่เก่ียวข้องกับ
เหตกุ ารณ์หรือผูอ้ ยใู่ นเหตกุ ารณ์บันทึกไว้ เช่น จดหมายเหตุ คาสัมภาษณ์เอกสารทางราชการ ทั้งท่ีเป็นเอกสาร



ลบั และเอกสารท่เี ปดิ เผยบนั ทึกความทรงจากฎหมายหนังสอื พมิ พ์ ประกาศ สนุ ทรพจน์ รายงานข่าว ภาพยนตร์
สไลด์ วีดีทัศน์แถบบนั ทึกเสียง ภาพถ่าย เหตกุ ารณ์ท่เี กดิ ข้นึ โบราณสถาน แหลง่ โบราณคดี โบราณวตั ถุ เปน็ ตน้

๒) หลักฐานช้ันรองหรือหลักฐานทุติยภูมิ (Secondary Sources) เป็นหลักฐานท่ีเขียนขึ้นโดยบุคคลท่ีไม่ได้
มีส่วนเก่ียวข้องกับเหตุการณ์น้ันโดยตรง โดยมีการเรียบเรียงข้ึนภายหลังจากเกิดเหตุการณ์นั้น ๆ ส่วนใหญ่อยู่
ในรูปของบทความทางวิชาการและหนังสือต่าง ๆ เช่นพงศาวดาร ตานาน บันทึกคาบอกเล่า ผลงานทางการ
ศกึ ษาค้นคว้าของนกั วชิ าการ เปน็ ตน้ สาหรบั หลกั ฐานชัน้ รองนน้ั มีข้อดี คือ มีความสะดวกและง่ายในการศึกษา
ทาความเข้าใจ เน่อื งจากเป็นข้อมูลท่ีได้ผ่านการศึกษาค้นคว้าตรวจสอบข้อมูล วิเคราะห์เหตุการณ์ และอธิบาย
ไวอ้ ย่างเป็นระบบโดยนกั ประวัติศาสตร์มาแลว้

หลักฐานช้นั ต้นและหลักฐานชนั้ รองจดั ว่ามคี ุณค่าแตกต่างกัน คือ หลักฐานชั้นต้นมีความสาคัญมาก เพราะเป็น
หลกั ฐานร่วมสมยั ท่บี นั ทกึ โดยผู้รเู้ ห็น หรอื ผทู้ ่ีเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์โดยตรง ส่วนหลักฐานชั้นรองเป็นหลักฐาน
ทท่ี าขน้ึ ภายหลงั โดยใช้ขอ้ มูลจากหลักฐานชัน้ ตน้ แตห่ ลกั ฐานชั้นรองจะช่วยอธิบาย เร่ืองราวให้เข้าใจหลักฐาน
ช้ันต้นได้ง่ายขึ้น ละเอียดข้ึนอันเป็นแนวทางไปสู่หลักฐานข้อมูลอ่ืน ๆ ซ่ึงปรากฏในบรรณานุกรมของหลักฐาน
ช้ันรองท้ังหลกั ฐานช้นั ต้น และช้นั รองสามารถคน้ คว้าได้จากห้องสมุดของทางราชการ และของเอกชนตลอดจน
ฐานข้อมลู ในเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต (website)

แหลง่ รวบรวมหลกั ฐานประวตั ศิ าสตรไ์ ทยทีส่ าคญั คอื สานักหอจดหมายเหตแุ ห่งชาติ

ทั้งในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด ซ่ึงรวบรวมเอกสาร ตัวเขียนที่เป็นสมุดฝรั่ง ภาพถ่ายเก่าส่วน
สานักหอสมุดแห่งชาติเป็นที่เก็บเอกสารตัวเขียนท่ีเป็นสมุดไทยพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติทั้งในพระนครและ
ต่างจังหวัดเป็นสถานที่ท่ีมีศิลาจารึกโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุเก็บไว้จานวนมาก นอกจากนี้หอสมุดกลางของ
มหาวิทยาลัยต่าง ๆบางแห่งก็มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์เก็บไว้เช่นกันหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทยส่วน
หนึ่งมีการพิมพ์เผยแพร่ โดยหลายหน่วยงานซึ่งทาให้เกิดความสะดวกแก่การศึกษาค้นคว้า รวมทั้งมีการ
ปริวรรตหรือถอดเป็นภาษาปัจจุบันด้วยหน่วยงานสาคัญที่เป็นแหล่งพิมพ์เผยแพร่ หลักฐานประวัติศาสตร์ไทย
คือ กรมศิลปากรคณะกรรมการชาระประวตั ิศาสตร์ไทย สมาคมประวัตศิ าสตร์ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพ
รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี สานักพมิ พม์ หาวทิ ยาลยั ตา่ ง ๆ ตลอดจนสานักพิมพ์เอกชนทง้ั หลาย
การใชห้ ลักฐานทางประวัติศาสตร์ทเ่ี ปน็ หลักฐานชัน้ ต้นใชไ้ ด้สะดวกพอสมควรแตบ่ างส่วนอาจใช้จากฉบับสาเนา
เพราะต้นฉบับเดิมกระดาษกรอบและขาดง่าย เน่ืองจากอากาศร้อนชื้นและมีอายุมาก ดังนั้น การใช้จึงต้อง
ระมดั ระวงั และตอ้ งช่วยกันถนอมรักษา เพราะหลักฐานเหล่านี้เป็นสมบัติท่ีสาคัญของชาติ ไม่สามารถจะหามา
ใหมท่ ดแทนได้

หลักฐานทางประวัติศาสตร์

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หมายถึง ร่องรอยหรือหลักฐานท่ีเกิดข้ึนในอดีตท่ีมีความเก่ียวข้องกับพัฒนาการ
และความเป็นมาของมนุษย์ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความคิด ความเช่ือและการดา เนินชีวิตของมนุษย์ในแต่ละยุค
สมยั หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์เป็นส่ิงสาคัญในการศึกษาเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์ เพราะช่วยให้สามารถทา
ความเข้าใจเก่ียวกับเร่ืองราวที่เกิดขึ้นในอดีตได้อย่างถูกต้อง ตรงประเด็น ทราบเร่ืองราวได้อย่างใกล้เคียงกับ
ความจริงที่สุด
ตัวอยา่ งหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ทใี่ ช้ในการศึกษาเหตุการณ์สาคัญในสมัยรตั นโกสินทร์



๑) จารึก เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ประเภทลายลักษณ์อักษรที่มีการบันทึกลงในวัตถุต่าง ๆ เช่น
แผ่นศลิ าแผน่ ผนงั แผน่ กระเบอื้ ง ใบลาน เปน็ ต้น มักเป็นการบันทึกเร่ืองราวของช่วงเวลานั้น ๆ หรือบันทึกวิชา
ความรูต้ ่าง ๆ เมื่อทาการจารึกแลว้ จะไม่มีการแกไ้ ข เพราะเปน็ การจารึกเพียงคร้ังเดียวจึงมีความน่าเช่ือถือ เช่น
จารึกที่วัดพระเชตุพลวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร กรุงเทพฯ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว
(รัชกาลที่ ๓) แหง่ กรุงรตั นโกสินทรโ์ ปรดเกล้าฯ ใหร้ วบรวมสรรพวิชาทีส่ าคญั แลว้ จารกึ ไวบ้ นแผ่น

๒) พงศาวดาร เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีมีลักษณะเป็นบันทึกเร่ืองราวเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์
และราชวงศ์เนื้อหามักเป็นเร่ืองท่ีเกิดข้ึนในอาณาจักรหรือราชสานัก ซึ่งช่วยให้ความรู้เก่ียวกับพระมหากษัตริย์
และราชสานักได้อย่างดี เช่นพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์
เป็นต้น

๓) บันทึกของชาวต่างชาติ เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ชาวต่างชาติซึ่งเข้ามาในประเทศไทยได้บันทึกถึง
เหตุการณ์ท่ีตนเองได้ประสบพบเห็นในช่วงเวลาน้ัน ๆ เช่นการดาเนินชีวิตของผู้คน ลักษณะทางภูมิศาสตร์
วัฒนธรรมและประเพณี เป็นตน้ บนั ทกึ ของชาวต่างชาติท่ีน่าสนใจ เช่น บันทึกของเซอร์ จอห์น เบาว์ริ่งราชทูต
ที่สมเด็จพระนางเจ้าวิคตอเรียแห่งอังกฤษส่งมาเจริญสัมพันธไมตรีในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า
เจ้าอยหู่ วั (รัชกาลที่ ๔) ใน พ.ศ. ๒๓๙๗ ซ่งึ ไดม้ ีโอกาสบันทึกถึงราชสานักและบ้านเมืองในสมัยนัน้ เป็นตน้

๔) เอกสารทางราชการ เป็นเอกสารที่หน่วยงานราชการต่าง ๆ ออกขึ้น เพ่ือใช้ในงานหรือกิจการท่ีมีความ
เกย่ี วขอ้ งซึง่ ถือเปน็ หลักฐานที่มีความน่าเช่ือถอื เพราะเป็นบันทึกท่ีอยู่ในช่วงเวลานั้นเช่น กฎหมายตราสามดวง
ที่ชาระแก้ไขในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลท่ี ๑) เอกสารแจ้งข่าวของ
กระทรวงการต่างประเทศในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลท่ี ๕) พระราชหัตถเลขา
ของพระมหากษตั ริย์ ทม่ี ถี งึ หนว่ ยงานตา่ ง ๆ เป็นตน้

๕) แหล่งโบราณสถาน โบราณสถานสาคัญที่สามารถใช้ในการศึกษาเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์ท่ีเกิดข้ึน
ในรัชสมัยรัตนโกสินทร์นั้น มีด้วยกันหลายแห่งด้วยกัน เช่น วัดพระศรีรัตนศาสดารามและพระบรมมหาราชวัง
วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร วัดพระเชตุพลวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร ป้อมพระสุเมรุ พระท่ีน่ัง
จักรมี หาปราสาท พระทีน่ ง่ั อนันตสมาคม เปน็ ตน้

ทม่ี ำ : ท่ีมำ : www.rimkhobfabooks.com
www.attazone02.blogspot.com



ท่มี ำ : www.rimkhobfabooks.com
ภำพ : ป้อมพระสุเมรุ กรุงเทพฯ

ภำพ: วดั พระศรีรตั นศำสดำรำมภำพ ภำพ : วัดอรณุ รำชวรำรำม รำชวรมหำวหิ ำร

ข้อมูลท่ีไดจ้ ำกหลกั ฐำนท้งั ควำมจริงและข้อเทจ็ จริง

ในกำรสรุปข้อมูลท่ีได้จำกหลักฐำน สิ่งที่ผู้ทำกำรศึกษำค้นคว้ำจะมีท้ังข้อเท็จจริงและควำมจริงท่ีปรำกฏอยู่บน
หลกั ฐำน ผ้ทู ่ที ำกำรศึกษำจะต้องทำควำมเขำ้ ใจก่อนว่ำข้อเท็จจริงกับควำมจริงท่ีได้จำกหลักฐำนน้ันแตกต่ำงกัน
อยำ่ งไร

ข้อเท็จจริง คือ เรื่องรำวหรือสิ่งท่ีปรำกฏอยู่ในหลักฐำนซ่ึงมีท้ังส่วนที่เป็นจริง (ข้อจริง)และส่วนท่ีไม่เป็นควำม
จริง (ข้อเทจ็ ) ปะปนกันอยู่ จงึ ต้องได้รบั กำรประเมนิ และตรวจสอบควำมน่ำเช่ือถืออย่ำงรอบคอบ

ควำมจริง คือ เร่ืองรำวซึ่งได้รับกำรประเมิน และให้กำรยอมรับว่ำมีควำมน่ำเช่ือถือเป็นเร่ืองรำวท่ีใกล้เคียงกับ
ควำมเป็นจริงมำกท่ีสดุ และมีหลกั ฐำนทนี่ ำ่ เช่ือถือไดใ้ ห้กำรสนบั สนนุ

ดังนั้น กำรศึกษำเรื่องรำวทำงประวัติศำสตร์ โดยใช้ข้อมูลจำกหลักฐำนน้ันจึงต้องมีกำรแยกแยะถึงข้อเท็จจริง
และควำมจริงเสมอ เพรำะเรื่องรำวในประวตั ิศำสตร์เป็นส่ิงที่เกิดขึ้นมำแล้วในอดีต เรำจึงไม่สำมำรถทรำบได้ว่ำ
เร่ืองรำวที่เกิดข้ึนน้ันเป็นอย่ำงไร กำรใช้ข้อมูลจำกหลักฐำนจึงต้องทำกำรพิจำรณำอย่ำงถี่ถ้วนจนกว่ำจะได้
ขอ้ มลู ทม่ี คี วำมนำ่ เชอื่ ถอื เพื่อให้ไดเ้ รื่องรำวทีใ่ กลเ้ คียงกับควำมจรงิ มำกท่ีสดุ



๓. กำรประเมินคุณค่ำของหลกั ฐำน/กำรวิเครำะหแ์ ละตีควำมข้อมูลทำงประวตั ศิ ำสตร์

หลักฐำนทำงประวัติศำสตร์ที่ค้นคว้ำมำได้ ก่อนท่ีจะทำกำรศึกษำจะต้องมีกำรประเมินคุณค่ำว่ำเป็นหลักฐำนท่ี
แทจ้ ริงเพียงใด กำรประเมินคณุ ค่ำของหลักฐำนนเ้ี รยี กว่ำ“วพิ ำกษว์ ิธีทำงประวตั ศิ ำสตร์” มี ๒ วิธี ดังตอ่ ไปน้ี

๑) กำรประเมินคุณค่ำภำยนอกหรือวิพำกษ์วิธีภำยนอก หมำยถึง กำรประเมินคุณค่ำของหลักฐำนจำก
ลักษณะภำยนอกของหลักฐำนทำงประวัติศำสตร์ บำงคร้ังก็มีกำรปลอมแปลงเพื่อกำรโฆษณำชวนเชื่อ ทำให้
หลงผิด หรือเพื่อเหตุผลทำงกำรเมือง กำรค้ำ ดังน้ัน จึงต้องมีกำรประเมินว่ำเอกสำรน้ัน เป็นของจริงหรือไม่
ในส่วนวิพำกษ์วิธีภำยนอก เพื่อประเมินหลักฐำนว่ำเป็นของแท้ พิจำรณำได้จำกสิ่งท่ีปรำกฏภำยนอก เช่น เนื้อ
กระดำษ ของไทยแต่เดิมจะหยำบและหนำส่วนกระดำษฝรั่งท่ีใช้กันอยู่ในปัจจุบัน เริ่มเข้ำมำในรัชสมัย
พระบำทสมเด็จพระนั่งเกล้ำเจ้ำอยู่หัว (รัชกำลท่ี ๓) แต่ทำงรำชกำรจะใช้กระดำษฝร่ังหรือสมุดฝร่ังมำกข้ึน ใน
ตน้ รัชสมยั พระบำทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้ำเจำ้ อยหู่ ัว (รัชกำลท่ี ๕) เกยี่ วกบั ตัวพิมพ์ดีดเร่ิมใช้มำกขึ้นในกลำงรัช
สมัยพระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว ถ้ำปรำกฏว่ำมีหลักฐำนทำงประวัติศำสตร์ไทยในรัชสมัย
พระบำทสมเดจ็ พระนั่งเกล้ำเจำ้ อย่หู วั ใช้ตัวพิมพ์ดีด ก็ควรสงสยั ว่ำหลักฐำนนั้นเปน็ ของปลอม

๒) กำรประเมินคุณค่ำภำยในหรือวิพำกษ์วิธีภำยใน เป็นกำรประเมินคุณค่ำของหลักฐำนจำกข้อมูลภำยใน
หลักฐำนนั้น เป็นต้นว่ำ มีช่ือบุคคล สถำนท่ี เหตุกำรณ์ ในช่วงเวลำที่หลักฐำนน้ันทำ ขึ้นหรือไม่ ดังเช่น
หลักฐำนซึ่งเช่ือว่ำเป็นของสมัยสุโขทัยแต่มีกำรพูดถึงสหรัฐอเมริกำในหลักฐำนน้ัน ก็ควรสงสัยว่ำหลักฐำนน้ัน
เป็นของสมัยสุโขทัยจริงหรือไม่ เพรำะในสมัยสุโขทัยยังไม่มีประเทศสหรัฐอเมริกำ แต่น่ำจะเป็นหลักฐำนท่ีทำ
ขึน้ เมอ่ื คนไทยได้รับรู้ว่ำมีประเทศสหรัฐอเมริกำแล้ว หรือหลักฐำนเป็นของเก่ำสมัยสุโขทัยจริง แต่กำรคัดลอก
ต่อกันมำมกี ำรเติมชอ่ื ประเทศสหรฐั อเมริกำเข้ำไป เปน็ ตน้

วิพำกษ์วิธีภำยในยังสังเกตได้จำกกำรกล่ำวถึงตัวบุคคล เหตุกำรณ์ สถำนท่ีถ้อยคำ เป็นต้น ในหลักฐำนว่ำมี
ควำมถูกต้องในสมัยน้ัน ๆ หรือไม่ ถ้ำหำกไม่ถูกต้องก็ควรสงสัยว่ำเป็นหลักฐำนปลอมแปลง หลักฐำนท่ีแท้จริง
เท่ำน้ันท่ีมีคุณค่ำในทำงประวัติศำสตร์ส่วนหลักฐำนปลอมแปลงไม่มีคุณค่ำใด ๆ อีกทั้งจะทำให้เกิดควำมรู้ท่ีไม่
ถูกตอ้ ง ดังนน้ั กำรประเมนิ คุณคำ่ ของหลักฐำนจึงมีควำมสำคัญและจำเป็นมำก

๔. กำรวิเครำะห์ สังเครำะห์ และจัดหมวดหม่ขู ้อมลู

เมื่อทรำบว่ำหลักฐำนนั้นเป็นของแท้ ให้ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงหรือควำมจริงในประวัติศำสตร์ผู้ศึกษำ
ประวัติศำสตร์ก็จะต้องศึกษำข้อมูลหรือข้อสนเทศในหลักฐำนนั้นว่ำให้ข้อมูลทำงประวัติศำสตร์อะไรบ้ำง
ข้อมูลนั้นมีควำมสมบูรณ์เพียงใด หรือข้อมูลนั้นมีจุดมุ่งหมำยเบื้องต้นอย่ำงไร มีจุดมุ่งหมำยแอบแฝงหรือไม่
ข้อมูลมีควำมยุติธรรมหรือไม่ จำกนั้นจึงนำข้อมูลทั้งหลำยมำจัดหมวดหมู่ เช่น ควำมเป็นมำของเหตุกำรณ์
สำเหตุที่ทำให้เกิดเหตุกำรณ์ควำมเป็นไปของเหตุกำรณ์ ผลของเหตุกำรณ์ เป็นต้น เม่ือได้ข้อมูลเป็นเร่ือง
เป็นประเด็นแลว้ ผู้ศึกษำประวัติศำสตร์เร่ืองนั้นก็จะต้องหำควำมสัมพันธ์ของประเด็นต่ำง ๆ และตีควำมข้อมูล
ว่ำมขี อ้ เท็จจรงิ ใดท่ซี อ่ นเร้นอำพรำงไมก่ ล่ำวถึงหรือในทำงตรงกันขำ้ มอำจมีขอ้ มลู กล่ำวเกนิ ควำมเปน็ จริงไปมำก



ในกำรวิเครำะห์ สังเครำะห์ข้อมูล ผู้ศึกษำประวัติศำสตร์ควรมีควำมละเอียดรอบคอบ วำงตัวเป็นกลำง
มจี นิ ตนำกำร มคี วำมรอบรู้ โดยศึกษำข้อมูลทง้ั หลำยอย่ำงกว้ำงขวำง และนำผลกำรศึกษำเร่ืองน้ันท่ีมีแต่เดิมมำ
วิเครำะหเ์ ปรยี บเทยี บ รวมทงั้ จัดหมวดหมู่ข้อมลู ให้เปน็ ระบบ

๕. กำรเรียบเรียงและกำรนำเสนอข้อมลู /กำรเรียบเรยี ง รำยงำน ข้อเท็จจรงิ ทำงประวัติศำสตร์

กำรเรียบเรียงหรือกำรนำ เสนอจัดเป็นขั้นตอนสุดท้ำยของวิธีกำรทำงประวัติศำสตร์ ซึ่งมีควำมสำคัญมำก
โดยผู้ศกึ ษำประวตั ศิ ำสตรจ์ ะตอ้ งนำขอ้ มูลท้งั หมดมำรวบรวมและเรียบเรียงหรือนำเสนอให้ตรงกับประเด็นหรือ
หัวเร่ืองทตี่ นเองสงสยั ต้องกำรอยำกรเู้ พมิ่ เตมิ ทั้งจำกควำมรู้เดมิ และควำมรู้ใหม่ รวมไปถึงควำมคิดใหม่ที่ได้จำก
กำรศึกษำคร้ังนี้ซ่ึงเท่ำกับเป็นกำรร้ือฟื้นหรือจำลองเหตุกำรณ์ทำงประวัติศำสตร์ขึ้นมำใหม่ อย่ำงถูกต้องและ
เป็นกลำงในขั้นตอนกำรนำเสนอ ผู้ศึกษำควรอธิบำยเหตุกำรณ์อย่ำงมีระบบและมีควำมสอดคล้องต่อเน่ือง
เป็นเหตุเป็นผล มีกำรโต้แย้งหรือสนับสนุนผลกำรศึกษำวิเครำะห์แต่เดิม โดยมีข้อมูลสนับสนุนอย่ำงมีน้ำหนัก
เป็นกลำง และสรุปกำรศึกษำว่ำสำมำรถให้คำตอบท่ีผู้ศึกษำมีควำมสงสัยอยำกรู้ได้เพียงใด หรือมีข้อเสนอแนะ
ให้สำ หรับ ผู้ที่ต้องกำ รศึกษ ำต่อไปอย่ ำงไรบ้ำง จะเ ห็นได้ ว่ำวิ ธีกำร ทำง ประวั ติศำ สตร์เ ป็นวิ ธีกำร ศึกษ ำ
ประวัติศำสตร์อยำ่ งมีระบบ มีควำมระมดั ระวงั รอบคอบ มีเหตุผลและเป็นกลำง ซื่อสัตย์ต่อข้อมูลตำมหลักฐำน
ท่ีค้นคว้ำมำอำจกล่ำวได้ว่ำ วิธีกำรทำงประวัติศำสตร์เหมือนกับวิธีกำรทำงวิทยำศำสตร์ จะแตกต่ำงกันก็เพียง
วิธีกำรทำงวิทยำศำสตร์สำมำรถทดลองได้หลำยครั้ง จนเกิดควำมแน่ใจในผลกำรทดลอง แต่เหตุกำรณ์ทำง
ประวัตศิ ำสตร์ไม่สำมำรถทำให้เกิดขึ้นใหม่ได้อีก ผู้ศึกษำประวัติศำสตร์ที่ดีจึงเป็นผู้ฟ้ืนอดีตหรือจำลองอดีตให้มี
ควำมถูกต้องและสมบูรณ์ที่สุด โดยใช้วิธีกำรทำงประวัติศำสตร์เพ่ือท่ีจะได้เกิดควำมเข้ำใจอดีต อันจะนำมำสู่
ควำมเข้ำใจในปจั จบุ ัน

ภำพ : ป้อมพระจลุ จอมเกลำ้

๑๐

ตัวอยำ่ งกำรนำวธิ กี ำรทำงประวตั ศิ ำสตร์มำใช้ศึกษำประวตั ิศำสตรไ์ ทย
กำรศกึ ษำเรือ่ งรำวเกีย่ วกับปอ้ มพระจุลจอมเกล้ำ จังหวัดสมทุ รปรำกำรดว้ ยวิธีกำรทำงประวตั ศิ ำสตร์
๑. กำรกำหนดหัวเร่ืองท่ีจะศึกษำ/กำรต้ังประเด็นที่จะศึกษำ จะต้องต้ังประเด็นปัญหำเพ่ือใช้เป็นแนวทำงใน
กำรศึกษำก่อน เพรำะกำรต้ังประเด็นปัญหำจะช่วยกำหนดเป้ำหมำยในกำรศึกษำประวัติศำสตร์ไทยได้อย่ำง
ถกู ตอ้ งและตรงประเด็น กำรตั้งกำหนดปัญหำเพ่อื ใชเ้ ปน็ แนวทำงในกำรศึกษำนั้นมดี ว้ ยกันหลำยอยำ่ ง ดังนี้
“ปอ้ มพระจลุ จอมเกล้ำสรำ้ งข้นึ มำเม่อื ใด”
“ใครเปน็ ผู้ท่สี รำ้ งปอ้ มพระจุลจอมเกล้ำน้ขี น้ึ ”
“ปอ้ มพระจลุ จอมเกล้ำถูกสรำ้ งขน้ึ ไวใ้ นบรเิ วณใด”
“ป้อมพระจุลจอมเกลำ้ ถูกสรำ้ งขึ้นดว้ ยจุดประสงค์ใด”
“ลักษณะโดยทวั่ ไปของปอ้ มพระจุลจอมเกล้ำเปน็ อยำ่ งไร”
“ปอ้ มพระจุลจอมเกล้ำมคี วำมสำคญั อย่ำงไรในทำงประวตั ศิ ำสตร์”

๒. กำรรวบรวมหลักฐำน/สืบค้นและรวบรวมข้อมูล ในกำรศึกษำเร่ืองรำวเกี่ยวกับป้อมพระจุลจอมเกล้ำน้ัน
ผู้ท่ีได้ศึกษำจะต้องทำกำรค้นคว้ำและรวบรวมข้อมูลหลักฐำนเก่ียวกับป้อมพระจุลจอมเกล้ำจำกแหล่งต่ำง ๆ
ซึ่งแหล่งข้อมูลที่สำมำรถรวบรวมข้อมูลหลักฐำนได้นั้นมีด้วยกันหลำยอย่ำง เช่น ห้องสมุดโรงเรียน
ห้องสมุดประชำชน หอสมุดแห่งชำติหอจดหมำยเหตุแห่งชำติ พิพิธภัณฑสถำนแห่งชำติ พิพิธภัณฑ์ทหำรเรือ
จังหวัดสมุทรปรำกำร ปอ้ มพระจุลจอมเกล้ำจังหวัดสมุทรปรำกำร เว็บไซต์ต่ำง ๆ นิตยสำร สำรคดี รวมถึงผู้ที่มี
ควำมรู้เกย่ี วกับประวัตศิ ำสตรห์ รือเกีย่ วกับป้อมพระจลุ จอมเกล้ำ เป็นต้น

๓. กำรประเมินค่ำของหลักฐำน/กำรวิเครำะห์และตีควำมข้อมูลทำงประวัติศำสตร์ เมื่อทำกำรวิเครำะห์
ข้อมูลหลักฐำนจนได้ข้อมูลท่ีมีควำมถูกต้องและตรวจสอบควำมน่ำเชื่อถือของข้อมูลหลักฐำนเหล่ำนั้น ท้ังนี้
ในกำรศึกษำเรอื่ งรำวเกย่ี วกบั ปอ้ มพระจุลจอมเกลำ้ นัน้ ควรใช้ข้อมูลหลักฐำนที่มีควำมหลำกหลำยและจะต้องมี
กำรเทียบเคียงข้อมูลหลกั ฐำนหลำย ๆ อยำ่ ง เพื่อใหไ้ ดข้ ้อมลู ทมี่ ีควำมถูกต้องมำกที่สดุ และจะต้องวิเครำะห์ด้วย
ใจทีเ่ ปน็ กลำง ไมม่ อี คติ

๔. กำรวิเครำะห์ สังเครำะห์และจัดหมวดหมู่ข้อมูล เมื่อทำกำรวิเครำะห์ข้อมูลหลักฐำนที่มีจนได้ข้อมูลท่ีมี
ควำมถูกต้องและใกล้เคียงมำกที่สุดแล้ว ผู้ที่ทำกำรศึกษำจะต้องนำข้อมูลที่มีเหล่ำนี้ไปใช้ในกำรตอบประเด็น
ปญั หำท่ีต้ังไว้เก่ยี วกับปอ้ มพระจลุ จอมเกล้ำ ดงั น้ี

 ป้อมพระจลุ จอมเกล้ำสรำ้ งขน้ึ มำเมื่อใด เรมิ่ สร้ำงเม่อื พ.ศ. ๒๔๒๗ รัชสมัยพระจุลจอมเกล้ำ
เจ้ำอยหู่ ัว พระมหำกษตั ริยร์ ชั กำลที่ ๕ แหง่ กรุงรตั นโกสนิ ทร์
 ใครเป็นผู้ที่สร้ำงป้อมพระจุลจอมเกล้ำน้ีข้ึน พระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว
รชั กำลท่ี ๕
 ป้อมพระจุลจอมเกล้ำถูกสร้ำงข้ึนไว้ในบริเวณใด บริเวณปำกแม่น้ำเจ้ำพระยำฝั่งขวำตำบล
แหลมฟำ้ ผำ่ อำเภอพระสมทุ รเจดยี ์ จังหวดั สมุทรปรำกำร
 ป้อมพระจุลจอมเกล้ำถูกสร้ำงขึ้นด้วยจุดประสงค์ใด เพ่ือสกัดกั้นกำรรุกรำนของกองเรือ
ต่ำงชำตทิ ีจ่ ะรกุ ล้ำเขำ้ มำบริเวณปำกแม่น้ำเจำ้ พระยำ
 ลกั ษณะโดยท่ัวไปของปอ้ มพระจุลจอมเกล้ำเปน็ อย่ำงไร ป้อมพระจุลจอมเกล้ำมีลักษณะกำร
สรำ้ งเปน็ ปอ้ มปืนใหญ่แบบตะวันตก ประกอบด้วยหลุมปืนใหญ่จำนวน ๗ หลุม ติดต้ังปืนอำร์ม
สตรองขนำด ๑๕๕ มิลลิเมตร เรียกว่ำ “ปืนเสือหมอบ”ซึ่งสั่งมำจำกประเทศอังกฤษ ภำยใน

๑๑

ประกอบด้วยคูหำและห้องสำหรับเก็บกระสุนปืนใหญ่ มีกำรออกแบบป้อม เพ่ือลดกำรสูญเสีย
หำกถกู โจมตีดว้ ยกำรยิงจำกปืนใหญ่จำกฝำ่ ยตรงขำ้ ม
 ป้อมพระจุลจอมเกล้ำมีควำมสำคัญอย่ำงไรในทำงประวัติศำสตร์ วิกฤติกำรณ์ ร.ศ. ๑๑๒
(พ.ศ. ๒๔๓๖) ในช่วงทม่ี หำอำนำจตะวนั ตกพยำยำมคุกคำมประเทศไทยป้อมพระจุลจอมเกล้ำ
มีบทบำทสำคัญในกำรสกัดก้ันกำรรุกรำนของกองเรือฝร่ังเศส จำนวน ๓ ลำ ท่ีเข้ำมำบริเวณ
ปำกแม่น้ำเจ้ำพระยำ เกิดกำรต่อสู้กันและทหำรท่ีป้อมพระจุลจอมเกล้ำสำมำรถยิงเรือรบ
ฝรัง่ เศสจนเกยตื้นได้ ๑ ลำ เรือรบท่ีเหลือของฝร่ังเศสได้รับควำมเสียหำย แต่สำมำรถฝ่ำเข้ำไป
จนถึงกรุงเทพฯ ได้ ปัจจุบันป้อมพระจุลจอมเกล้ำอยู่ในควำมดูแลของกองทัพเรือ โดยฐำน
ทัพเรือกรุงเทพซึ่งได้เปิดให้ประชำชนท่ัวไปเข้ำไปเท่ียวชม และศึกษำเรื่องรำวท่ีสำคัญทำง
ประวัติศำสตร์ของชำติตลอดจนชมทัศนียภำพของระบบนิเวศที่อยู่โดยรอบป้อมพระ
จลุ จอมเกลำ้ อกี ด้วย

๕. กำรเรียบเรียงและนำเสนอข้อมูล/กำรเรียบเรียงรำยงำนข้อเท็จจริงทำงประวัติศำสตร์ ในกำรเรียบเรียง
เรื่องรำวทำงประวัตศิ ำสตรน์ น้ั ผ้ทู ่ีทำกำรศกึ ษำจะตอ้ งลำดบั เรอื่ งรำวให้มคี วำมถูกตอ้ งตำมข้อมูลท่ีได้มำ และใน
กำรนำเสนอข้อมูลทไ่ี ด้จำกหลักฐำนทำงประวตั ศิ ำสตร์นั้นสำมำรถทำได้หลำยวิธีกำร เช่น กำรนำข้อมูลเก่ียวกับ
ป้อมพระจุลจอมเกล้ำมำเล่ำให้เพื่อน ๆ ฟัง กำรจัดทำรำยงำนเกี่ยวกับป้อมพระจุลจอมเกล้ำและควำมสำคัญ
ทำงประวตั ศิ ำสตร์ กำรจัดนิทรรศกำรเพ่ือเผยแพร่ควำมรู้ เป็นตน้

ภำพ : ป้อมพระจุลจอมเกลำ้ ภำพ : ปนื เสอื หมอบ

๑๒

บทที่ ๓
วิธดี ำเนินกำร

โครงการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย ของ กศน.ตาบลมะรือโบออก อาเภอเจาะไอร้อง
จังหวัดนราธิวาส เป็นโครงการที่จัดทาข้ึนในระหว่าง 12 - ๑4 มกราคม ๒๕๖5 ณ อาคาร
อเนกประสงค์กศน.อาเภอเจาะไอร้อง จานวน 30 คน จัดเป็นรุ่น ทั้งหมด ๓ รุ่น รุ่นละ 10 คน มี
ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย มีความรักชาติและ
เทิดทูนสถาบันพระมหากษตั รยิ ไ์ ทยและสามารถนาความรไู้ ปถ่ายทอดให้กับประชาชนในชุมชนได้ โดยมีขั้นตอน
การดาเนนิ งาน ดงั นี้

ข้นั ท่ี ๑ ขน้ั การเตรยี มการ
๑.๑ประชุม/วางแผนบุคลากร
๑.๒ จัดเวทีประชาคมสารวจความต้องการของกล่มุ เปา้ หมาย
๑.๓ เขยี นโครงการเพอ่ื เสนอขออนุมัตงิ บประมาณในการดาเนนิ โครงการ

ขั้นท่ี ๒ ข้ันดาเนินการ
ดาเนินการจัดกิจกรรมตามโครงการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย และ
บุญคุณของพระมหากษัตริยไ์ ทย

ขน้ั ที่ ๓ นเิ ทศตดิ ตามผล และรายงานผล / ประเมนิ ผล
๓.๑ การนิเทศติดตามผลการดาเนินโครงการ
๓.๒ การประเมินผลและสรุปผลการดาเนนิ โครงการ
๓.๓ การรายงานและเผยแพร่ผลการดาเนินโครงการ

ดชั นชี ีว้ ดั ผลสาเรจ็ ของโครงการ (Key Performance Indicator : KPI)

ตัวชี้วัดควำมสำเร็จ สอดคล้องกบั วธิ กี ำรประเมนิ เครื่องมือที่ใช้
มำตรฐำน กศน.ที่ กำรสงั เกต แบบบันทกึ กำรสังเกต
ผลผลิต (Outputs)
กล่มุ เป้าหมายนักศึกษา ๑,๒ ประเมินควำมพงึ พอใจ แบบประเมนิ ควำมพงึ
กศน.จานวน 90 คน ของผู้เข้ำรว่ มกิจกรรม พอใจ
จัดเป็นรนุ่ ทั้งหมด ๓ รุน่ ๑,๒
รุ่นละ 30 คน
ผลลัพธ์ (Outcomes) ร้อย
ละ ๘๐ ของกลมุ่ เป้าหมายมี
ความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับ
ประวตั ิศาสตร์ชาติไทย และ
บุญคุณของพระมหากษัตริย์
ไทย มีความรักชาติและ

๑๓

เ ทิ ด ทู น ส ถ า บั น
พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย์ ไ ท ย
ความรู้ไปถ่ายทอดให้กับ
นักศึกษาในสถาบันศึกษา
ปอเนาะ

๑๔

บทท่ี ๔
ผลกำรศกึ ษำ

โครงการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย
ซ่ึงโดยดาเนินการ ในระหว่าง 12 - ๑4 มกราคม ๒๕๖5 ณ อาคารอเนกประสงค์กศน.อาเภอเจาะไอร้อง
จานวน 30 คน จัดเปน็ รุ่น ท้ังหมด ๓ รุ่น รนุ่ ละ 10 คน ปรากฏผลดังน้ี

๑. ผลการศึกษาขอ้ มูลเกีย่ วกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
ผู้ตอบแบบสอบถามในการศึกษาในคร้ังนี้ เป็นกลุ่มนักศึกษา กศน.ตาบลมะรือโบออก อาเภอเจาะ
ไอรอ้ ง จงั หวัดนราธิวาส ท่เี ข้ารว่ มโครงการโดยใช้ค่าร้อยละดังปรากฏในตารางที่ ๑ ดงั น้ี

ตาราง ๑ แสดงจานวนและค่าร้อยละของนกั ศึกษากลุ่มเป้าหมายจาแนกตามสถานภาพของกล่มุ เป้าหมาย

สถำนภำพของประชำกร จำนวน ร้อยละ

๑. เพศ 20 62.5%
๑.๑ ชาย 12 37.5%
๑.๒ หญงิ 32 ๑๐๐%
รวม
32 ๑๐๐%
๒. อายุ ๐ ๐
๒.๑ ระหว่าง ๑๕-๓๙ ปี 30 ๑๐๐%
๒.๒ ๔๐-๕๙ ปขี ึน้ ไป
รวม ๐ ๐
20 62.5%
๓. ระดับการศึกษา 12 37.5%
๓.๑ ประถมศึกษา -
๓.๒ มัธยมศกึ ษาตอนตน้ - -
๓.๓ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 32 -
๓.๔ ปวส. ๑๐๐.๐%
๓.๕ ปรญิ ญาตรี
รวม

จากตารางที่ ๑ ผตู้ อบแบบสอบถามมจี านวน 30 คน จาแนกตามสถานภาพ ดังนี้
๑. เพศชายจานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 62.5% เป็นเพศหญิง จานวน 12 คนคิด

เป็นรอ้ ยละ 37.5%
๒. อายุ ระหว่าง ๑๕- ๓๙ ปี จานวน 32 คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐๐%
๓. ระดับการศกึ ษาระดับประถมศึกษา จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐ ระดับมัธยมศึกษา

ตอนตน้ จานวน 20 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 62.5% ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน 12 คน คิดเป็นร้อย
ละ 37.5%

๒. ผลการศกึ ษาระดบั ความพงึ พอใจของผู้เข้าร่วมโครงการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย ซ่ึง
ได้ดาเนินการ ในระหว่าง 12 – ๑4 มกราคม ๒๕๖5 กลุ่มเป้าหมายเป็นนักศึกษา กศน.ตาบลมะรือบออก
อาเภอเจาะไอร้อง จานวน 32 คน ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเจาะ
ไอรอ้ ง จังหวัดนราธิวาส

๑๕

ตาราง ๒ คา่ เฉลี่ยความพงึ พอใจของโครงการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของ
พระมหากษัตริย์ไทย ซึ่งได้ดาเนินการ ในระหว่าง 12 - 14 มกราคม ๒๕๖5 มีกลุ่มเป้าหมายเป็นนักศึกษา
กศน.ตาบลมะรือโบออก อาเภอเจาะไอร้อง จานวน 32 คน ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศัยอาเภอเจาะไอร้อง โดยภาพรวมและรายดา้ น

ดา้ น ความพงึ พอใจ  ระดบั ลาดับท่ี
๑ หลักสูตร ๔.๐๔ มาก ๑
๒ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ๔.๐๔ มาก ๑

๓ วิทยากรผสู้ อน ๓.๙๒ มาก ๒

๔ สื่อและวัสดุอปุ กรณ์ ๓.๙๐ มาก ๓
๕ ผลท่ไี ดร้ บั จากการเรยี นรหู้ รือการเขา้ ร่วมกจิ กรรม ๓.๘๑ มาก ๔
๖ ความพงึ พอใจต่อการให้บริการ ๔.๐๔ มาก ๑
๓.๙๖ มาก
รวม

จากตาราง ๒ พบว่าความความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย
ซึ่งโดยดาเนินการ ในระหว่าง 12 - ๑4 มกราคม ๒๕๖5 มีกลุ่มเป้าหมายเป็นนักศึกษา กศน.ตาบลมะรื
อโบออก อาเภอเจาะไอร้อง จานวน 32 คน ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ
เจาะไอร้องจังหวัดนราธิวาสโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่ามีความพึงพอใจอยู่
ในระดับมาก โดยเรียงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้านความพึงพอใจต่อการให้บริการผู้เรียนมีความ
พึงพอใจต่อการให้บริการ เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความเต็มใจ รวดเร็ว ช้ีแจงข้อมูลรายละเอียดชัดเจนและมี
การติดต่อประสานงาน ดา้ นหลักสูตรมีเนื้อหาตรงตามความต้องการของผู้เรียน ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจหรือมีทักษะตามจุดประสงค์ของหลักสูตร การจัดกิจกรรมเป็นไป
ตามลาดับขั้นตอนเรียงลาดับจากง่ายไปหายาก ด้านวิทยากรมีความรู้และชานาญในเรื่องท่ีสอน ถ่ายทอด
ความรู้ได้ชัดเจนและเข้าใจง่าย ด้านส่ือและวัสดุอุปกรณ์สอดคล้องกับขั้นตอนการจัดกิจกรรมและด้านผลที่
ได้รับจากการเรียนรู้หรือการเข้าร่วมกิจกรรม ผู้เรียนได้รับความรู้และทักษะด้านการประกอบอาชีพ มีความ
เช่อื ม่นั ตอ่ ความสามารถในสถานศกึ ษาของ กศน. ในการจดั กจิ กรรมตามลาดบั

๑๖

บทที่ ๕
สรุปผลการศึกษา

จากผลการประเมนิ ความพึงพอใจตามโครงการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย โดยดาเนินการ
ในระหวา่ ง 12 - ๑4 มกราคม ๒๕๖5 มีกลุ่มเป้าหมายเป็นนักศึกษา กศน.ตาบลมะรือโบออก อาเภอเจาะ
ไอร้อง จานวน 32 คน ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเจาะไอร้อง จังหวัด
นราธิวาส มกี ล่มุ เปา้ หมายจานวน 32 คน มีผู้ตอบแบบประเมินความพงึ พอใจหลังการเข้ารับการเรียนโครงการ
อบรมให้ความร้ปู ระวตั ิศาสตร์ชาติไทย และบุญคณุ ของพระมหากษตั รยิ ์ไทย กลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจานวน 32
คน โดยเป็นเพศชาย 20 คน คิดเป็นร้อยละ 62.5 ปอร์เซ็นต์ เพศหญิง 12 คิดเป็นร้อยละ 37.5
เปอร์เซ็นต์ ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง ๑๕ - ๓๙ ปี คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ปอร์เซ็นต์ ผู้เข้าร่วมโครงการอบรมให้
ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเจาะไอร้อง
จังหวัดนราธิวาสมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ย ๓.๙๖ คิดเป็นร้อยละ ๗๙.๒๐ และเม่ือ
พิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านความพึงพอใจต่อการให้บริการผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการให้บริการด้าน
หลักสูตรมีเนื้อหาตรงตามความต้องการของผู้เรียน ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้
ความเข้าใจหรือมีทักษะตามจุดประสงค์ของหลักสูตรด้านวิทยากรมีความรู้และชานาญในเรื่องท่ีสอนด้านสื่อ
และวัสดุอุปกรณ์สอดคล้องกับข้ันตอนการจัดกิจกรรมและด้านผลท่ีได้รับจากการเรียนรู้หรือการเข้าร่วม
กิจกรรม ผู้เรียนได้รับความรู้ ตามลาดับ

ประโยชนก์ ารเข้ารว่ มโครงการ
กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรม โครงการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย กลุ่มเป้าหมายมี

ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย มีความรักชาติและ
เทดิ ทนู สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ไทย

ข้อคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผ้เู ขา้ ร่วมการอบรม
๑. นกั ศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั ประวัตศิ าสตรช์ าติไทย
๒. นักศึกษามีความรักชาติและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ไทย ควรมีการดาเนินโครงการอย่าง
ต่อเน่ือง

๑๗

บรรณานกุ รม

๑๘

ภำคผนวก

๑๙

รปู กจิ กรรม

โครงการอบรมให้ความรปู้ ระวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทย

๒๐

รปู กิจกรรม

โครงการอบรมใหค้ วามรู้ประวัตศิ าสตรช์ าติไทย

๒๑

รูปกจิ กรรม

โครงกำรอบรมใหค้ วำมรูป้ ระวัติศำสตร์ชำตไิ ทย

.

คณะผู้จัดทา ๒๒

คณะทางาน คณะทางาน
คณะทางาน
1. ขา้ ราชการครูทุกท่าน คณะทางาน
2. ครอู าสาฯปอเนาะทุกทา่ น คณะทางาน
3. ครูกศน.ตาบล คณะทางานและเลขานุการ
4. ครอู าสาประจาตาบล ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอเจาะไอร้อง
5. นายสุรศักดิ์ สอดี
ท่ปี รึกษา
นายคมกฤช สาหลงั

๒๓

โครงการดาเนินงาน

๒๔

คาสงั่ คณะทางานโครงการฯ

๒๕

รายชื่อผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม

๒๖

ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเจาะไอร้อง
ถนน เจาะไอร้อง-ไอสะเตียร์ ตาบลจวบ อาเภอเจาะไอร้อง
จังหวัด นราธวิ าส 96130
โทรศพั ท์ 073-544177 โทรสาร 073-544177
E-mail : [email protected]


Click to View FlipBook Version