The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการเสริมสร้างสุขภาวะอนามัยในชุมชนชนเจาะไอร้องมะรือโบออก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by city1716, 2022-05-17 06:36:38

โครงการเสริมสร้างสุขภาวะอนามัยในชุมชนชนเจาะไอร้องมะรือโบออก

โครงการเสริมสร้างสุขภาวะอนามัยในชุมชนชนเจาะไอร้องมะรือโบออก

สรุปผลการดาเนนิ งาน
การศึกษาเพอ่ื พัฒนาทกั ษะชวี ติ
โครงการเสรมิ สรา้ งสุขภาวะในชุมชนเจาะไอร้อง

๑๐ มกราคม ๒๕๖๕
ณ อาคารอเนกประสงค์ กศน.อาเภอเจาะไอรอ้ ง จงั หวดั นราธวิ าส

สรุปผลการดาเนนิ งาน
โครงการเสรมิ สร้างสขุ ภาวะอนามยั ในชมุ ชนเจาะไอรอ้ ง

บนั ทกึ ขอ้ ความ

ส่วนราชการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเจาะไอร้อง

ท่ี ศธ ๐๒๑๐.๔๐๐๓/ วันท่ี ๑๔ มกราคม ๒๕๖5

เรอื่ ง สรุปผลการดาเนินโครงการเสรมิ สร้างสขุ ภาวะอนามัยในชุมชนชนเจาะไอรอ้ ง

เรียน ผอู้ านวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเจาะไอร้อง

๑. เร่ืองเดมิ ตามท่ี งานการศึกษาต่อเน่ือง ได้โครงการเสริมสร้างสุขภาวะอนามัยในชุมชนชน

เจาะไอร้อง ในวันท่ี ๑๐ เดือน มกราคม พ.ศ.๒๕๖๕ ณ อาคารอเนกประสงค์ กศน.อาเภอเจาะไอร้อง โดยมี

กลุม่ เปา้ หมายเป็นประชาชนทว่ั ไปในพน้ื ท่ี ตาบลมะรอื โบออก อาเภอเจาะไอร้อง จานวน 12 คน น้ัน

๒. ข้อเท็จจริง ในการนี้ งานการศึกษาต่อเนื่อง ได้จัดทาสรุปผลการดาเนินงานโครงการ ดัง

ตารางตอ่ ไปน้ี พรอ้ มรูปเล่มสรปุ ผลการดาเนินงานตามทีแ่ นบมาพร้อมน้ีด้วยแล้ว

ที่ โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ร้อยละ เปา้ หมาย ร้อยละ เปา้ หมายเชิงคุณภาพ บรรลุ ไม่
จดั สรร เบิกจ่าย การ เชิงปรมิ าณ ของ (ตามวตั ถปุ ระสงค์) บรร
เบกิ จา่ ย เปา้ หมาย ลุ
แผน ผล ทเ่ี ข้าร่วม ตวั ช้วี ดั ความสาเร็จ

๑ โครงการเสริมสร้างสุข 1,751 1,751 ๑๐๐.๐๐ 12 13 ๑๐๐ ข้อที่ ๑ รอ้ ยละ ๘๐ - ร้อยละ ๑๐๐ 
ขอ้ ท่ี ๒ รอ้ ยละ ๘๐ - รอ้ ยละ ๑๐๐ 
. ภาวะอนามัยในชุมชนชน

เจาะไอร้อง

๓. ข้อกฎหมาย ระเบียบ คาส่ัง ตามคาสั่งสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี ๔๘๙/
๒๕๕๑ ลงวันท่ี ๒๑ เมษายน ๒๕๕๑ เรื่อง การมอบอานาจให้ผู้อานวยการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอและผู้อานวยการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยเขตปฏิบัติราชการแทน ขอ้ ๑

๔. ข้อพิจารณาและเสนอแนะ -
จึงเรียนมาเพอ่ื โปรดทราบ

(ลงชอ่ื )....................................
(นางสาวซาณียา ยะโกะ๊ )
ครผู ู้ชว่ ย

ความเห็นผู้อานวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเจาะไอร้อง

............................................................................................................................. .................................................

ลงชอ่ื ........................................
(นายคมกฤช สาหลัง)

ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเจาะไอร้อง

สรุปผลการดาเนินงาน
โครงการเสริมสรา้ งสุขภาวะอนามยั ในชมุ ชนเจาะไอรอ้ ง

คานา

ตามที่สานักงาน กศน.ได้กาหนดในคู่มือการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน ตามหลักเกณฑ์การเบิก
ค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชนของสถานศึกษา ในสังกัดสานักงาน กศน.ตอนท่ี ๒ การจัด
กิจกรรมฝึกอบรมประชาชนขั้นตอนการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน ๔. การดาเนินงานโครงการฝึกอบรม
(๓) การดาเนินงานหลังการฝึกอบรม๓.๑) การประเมินและติดตามผลการฝึกอบรม จะต้องมีการนาข้อมูล
เก่ียวกับการประเมินผลการฝึกอบรมที่เก็บรวบรวมไว้ มาวิเคราะห์สรุป เพ่ือจัดทารายงานเสนอต่อฝ่ายบริหาร
และแจ้งผู้เกี่ยวข้อง เพ่ือประโยชน์ในการปรับปรุงแก้ไขโครงการฝึกอบรม ท้ังในแง่ของหลั กสูตร วิทยากร
เอกสาร และการบริหารโครงการฝึกอบรม และเม่ือถึงระยะเวลาที่เหมาะสมอาจต้องดาเนินการติดตามผลการ
ฝกึ อบรมต่อไป

เพ่ือให้การจัดทาโครงการเสริมสร้างสุขภาวะอนามัยในชุมชนเจาะไอร้องบรรลุตามวัตถุประสงค์ของ
โครงการ จาเป็นต้องมีการประเมินผลการดาเนินโครงการดังกล่าวเพ่ือประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการ
โครงการเสริมสรา้ งสุขภาวะอนามยั ในชุมชนเจาะไอร้อง

ในการน้ี งานการศึกษาต่อเน่ือง ขอขอบคุณบุคลากร กศน.อาเภอเจาะไอร้องและผู้ท่ีเก่ียวข้องทุกท่าน
ท่ีให้ความอนุเคราะห์ข้อมูลในสรุปผลการดาเนินงานโครงการเสริมสร้างสุขภาวะอนามัยในชุมชนเจาะไอร้องใน
ครั้งน้ี และเพ่ือให้ดาเนินโครงการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ งานการศึกษาต่อเนื่องจึงได้จัดทาสรุปผลการดาเนิน
โครงการดงั กล่าวเพอ่ื นาผลการดาเนินงานมาใช้เปน็ แนวทางในพัฒนาการดาเนนิ งานต่อไป

งานการศึกษาต่อเน่ือง
กศน.ตาบลมะรือโบออก

มกราคม ๒๕๖๕

สรปุ ผลการดาเนินงาน ก

โครงการเสริมสรา้ งสขุ ภาวะอนามยั ในชุมชนเจาะไอร้อง

สารบญั

เรอ่ื ง หนา้

 สรุปผลการดาเนนิ โครงการฯ ก
 คานา ข
 สารบญั ค–ง
 บทที่ ๑ บทนา

ความเป็นมาและความสาคัญของการประเมนิ

วตั ถุประสงค์ของการประเมนิ ๑

ขอบเขตของการประเมิน ๒

นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ ๒

ประโยชนท์ ีไ่ ด้รบั จากประเมิน ๓

 บทท่ี ๒ เอกสารและงานวจิ ยั ท่เี ก่ียวขอ้ ง

เอกสารแนวคิด ทฤษฎที ี่เก่ียวกบั การประเมินโครงการ ๔

 บทท่ี ๓ วิธดี าเนินการ ๑๔
ประชากรท่ีใชใ้ นการประเมิน ๑๔
เครื่องมือท่ใี ช้ในการประเมิน

การสรา้ งเครื่องมือที่ใชใ้ นการประเมิน ๑๕

การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ๑๕
การวิเคราะห์ข้อมูล ๑๕
สถิติทใ่ี ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมลู ๑๖
 บทท่ี ๔ ผลการประเมิน
การเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ๑๗
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ตอนท่ี ๑.ขอ้ มูลเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของผู้เข้าร่วมโครงการ ๑๗

ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ตอนท่ี ๒.ขอ้ มูลระดับความพงึ พอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้

ของผู้เข้ารว่ มโครงการ ๑๘

ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ตอนที่ ๓.ข้อมูลเกี่ยวกับข้อเสนอแนะอื่นๆ ของผู้เข้ารว่ มโครงการ ๒๐

สรุปผลการดาเนนิ งาน ข

โครงการเสริมสร้างสขุ ภาวะอนามยั ในชมุ ชนเจาะไอรอ้ ง

สารบญั หน้า

เรื่อง ๒๑
๒๑
 บทท่ี ๕ สรปุ ผลการประเมนิ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ๒๑
วตั ถุประสงค์ของการประเมิน ๒๒
ขอบเขตการประเมิน ๒๒
ประชากรท่ีใช้ในการประเมนิ ๒๒
เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการประเมิน ๒๓
การเก็บรวบรวมข้อมูล ๒๓
การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ๒๔
สรปุ ผลการประเมิน
การอภิปรายผล ๒๖
ขอ้ เสนอแนะ
๓๔
 ภาคผนวก
ภาคผนวก ก ๓๗
 โครงการเสริมสร้างสุขภาวะอนามยั ในชมุ ชนเจาะไอร้อง
ภาคผนวก ข ๓๙
ใบลงทะเบยี นผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการฯ ๔๑
ภาคผนวก ค ๔๒
แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรยี นต่อการเรยี นรู้โครงการฯ
ภาคผนวก ง
ภาพกิจกรรมโครงการฯ
ผจู้ ดั ทา

บรรณานกุ รม

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน ค

โครงการเสรมิ สร้างสขุ ภาวะอนามยั ในชมุ ชนเจาะไอร้อง

บทท่ี ๑
บทนา

ความเปน็ มาและความสาคญั ของการประเมิน

สุขอนามัยดีที่ของคนในชุมชน ถือได้ว่า เป็นเป้าหมายหลักของสังคม กระทรวงสาธารณสุขได้กาหนด
นโยบายให้โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบล ดาเนินการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่
ให้มีสุขอนามัยที่ดีมีอายุยืนยาว จึงมีความจาเป็นอย่างย่ิง ท่ีทุกฝ่ายจะต้องร่วมมืออย่าง จริงจังและต่อเน่ืองใน
การเตรียมความพร้อมให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ จากสภาพปัญหาด้าน
สุขภาพของประชาชนในปัจจุบัน นับว่า เป็นปัญหาใหม่ท่ีสาคัญ ปัญหาหนึ่งท่ีไม่สามารถจะมองข้ ามได้
เนื่องจากปัญหาด้านสุขภาพจะส่งผลกระทบต่อปัญหาอื่น ๆ อีกมากมายเช่น ปัญหา ด้านเศรษฐกิจ สังคม
การศกึ ษา สุขภาพ เปน็ ตน้ และปัจจุบนั ปัญหาด้านสขุ ภาพของประชาชนเพ่มิ ขึ้นเรื่อย ๆ ขาดการดูแลเอาใจใส่ที่
ถูกต้อง อาจส่งผลถึงคุณภาพชีวิต และพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ดีของบุคคล การแก้ไขปัญหาสุขภาพท่ีเกิดขึ้นใน
ปัจจบุ นั จาเปน็ ตอ้ งส่งเสรมิ การมีสว่ นร่วมทุกภาคสว่ น ทง้ั หน่วยภาครฐั องค์กรชมุ ชน ผู้นาชุมชนและอาสาสมัคร
สาธารณสุข ตลอดจน ประชาชนท่ัวไปในพ้ืนท่ีให้เข้ามามีส่วนร่วมและตระหนักในการแก้ไขปัญหาร่วมกันเป็น
สาคัญ เพ่ือให้ชุมชนเกิดความตระหนักและมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาก่อให้เกิดการพัฒนาจนสามารถพ่ึงพา
ตนเอง แบบยั่งยืนได้

ปัจจุบันปัญหาด้านสุขภาพของประชาชนในชุมชนเจาะไอร้อง ประสบปัญหาด้านสุขอนามัยในเร่ือง
ต่างๆ ได้แก่ สุขภาวะอนามัยในสตรีต้ังครรภ์ และสุขภาวะอนามัยในเด็ก เพ่ือการแก้ไขปัญหาสุขภาพท่ีเกิดขึ้น
ในปัจจบุ ัน จาเป็นต้องสง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนในพนื้ ทมี่ ีความรูค้ วามเข้าใจในการดแู ลสุขภาพ

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเจาะไอร้องได้เห็นความสาคัญในการ
ส่งเสริมสขุ ภาพอนามัยของคนในชุมชน และให้ความรู้ความเข้าใจในการเสริมสร้างกระบวนการบูรณาการและ
การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ในการดาเนินงานด้านสุขภาพอนามัยให้แก่บุคคลในชุมชนมีความรู้ความ
เข้าใจและการแก้ไขปัญหาเก่ียวกับสุขอนามัยให้ประสบผลสาเร็จเพิ่มข้ึน จึงได้จัดทาโครงการเสริมสร้างสุข
ภาวะอนามัยในชุมชนเจาะไอร้องขึ้นมา โดยส่งเสริมการจัดการเรียนรู้และเตรียมความพร้อม/การปฏิบัติตัว
สาหรับสตรีต้ังครรภ์ และจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับแม่และเด็ก เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ ความ
เข้าใจ มีทักษะการดูแลสุขภาวะอนามัยในสตรีต้ังครรภ์ และสุขภาวะอนามัยในเด็ก และนาความรู้มาใช้ในการ
ดาเนนิ ชีวิตประจาวนั ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ เพอ่ื การมีสุขภาวะทด่ี ีของประชาชนในอาเภอเจาะไอร้องต่อไป

วัตถุประสงค์
๑. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดแู ลสุขภาวะอนามยั ในสตรตี ง้ั ครรภ์ และสุขภาวะ

อนามยั ในเด็ก
๒. เพ่ือใหก้ ล่มุ เป้าหมายมีทกั ษะในการดแู ลสุขภาวะอนามัยในสตรตี ัง้ ครรภ์ และสุขภาวะอนามยั ในเด็ก
๓. เพือ่ ใหก้ ลมุ่ เป้าหมายสามารถนาความรมู้ าใช้ในการดาเนินชีวติ ประจาวันไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

สรปุ ผลการดาเนินงาน 1
โครงการเสรมิ สร้างสขุ ภาวะอนามยั ในชมุ ชนเจาะไอรอ้ ง

ขอบเขตของการประเมิน

การประเมนิ ครัง้ น้ีได้กาหนดขอบเขตไว้ดงั นี้
๑. ประชากรที่ใช้ในการประเมิน

ประชาชนทว่ั ไปในพ้ืนทีอ่ าเภอเจาะไอรอ้ ง จานวน ๓๗ คน ไดแ้ ก่
ตาบลจวบ จานวน ๙ คน
ตาบลบกู ิต จานวน ๑๔ คน
ตาบลมะรอื โบออก จานวน ๑๔ คน

๒. ระยะเวลาท่ใี ช้ในการประเมนิ

๓. เคร่อื งมอื ที่ใชใ้ นการประเมิน

แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการเรียนรู้โโครงการเสริมสร้างสุขภาวะอนามัยในชุมชน

เจาะไอร้องโดยแบง่ เป็น ๓ ตอน คอื

ตอนท่ี ๑ เปน็ แบบประเมินเก่ยี วกบั ข้อมูลสถานภาพทว่ั ไปของผเู้ ขา้ รว่ มโครงการต่อการเรยี นรู้

ตอนท่ี ๒ เปน็ แบบประเมนิ เกีย่ วกับระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้ ของ

ผู้เข้าร่วมโครงการต่อการเรียนรู้ มี ๓ ด้าน ดังนี้

๑. ด้านวิทยากร จานวน ๔ ข้อ

๒. ดา้ นสถานท่ี/สอ่ื อปุ กรณ์/ระยะเวลา จานวน ๓ ข้อ

๓. ดา้ นความรทู้ ไี่ ด้รับ/การนาความรไู้ ปใช้ จานวน ๕ ขอ้

ตอนท่ี ๓ เปน็ แบบประเมินเก่ียวกับขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆของผู้เขา้ รว่ มโครงการต่อการเรียนรู้

๔. ตัวแปรทปี่ ระเมิน

๔.๑ ตัวแปรต้น ได้แก่ แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการเรียนรู้โครงการเสริมสร้างสุข

ภาวะอนามยั ในชมุ ชนเจาะไอรอ้ ง

๔.๒ ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่

๔.๒.๑ ผลการประเมินผลความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการเรียนรู้โครงการเสริมสร้างสุขภาวะ

อนามยั ในชุมชนเจาะไอร้อง

๔.๒.๒ ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการเรียนรู้โครงการเสริมสร้างสุขภาวะอนามัยในชุมชน

เจาะไอร้อง

นิยามศัพทเ์ ฉพาะ

ประชาชน คอื ประชาชนทัว่ ไปในพื้นท่อี าเภอเจาะไอร้อง จานวน ๓๗ คน ไดแ้ ก่
ตาบลจวบ จานวน ๙ คน
ตาบลบูกิต จานวน ๑๔ คน
ตาบลมะรือโบออก จานวน ๑๔ คน

การฝึกอบรม คือ กระบวนการในอันท่ีจะทาให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ
และความชานาญ ในเรือ่ งหนง่ึ เรอ่ื งใด และเปลย่ี นพฤติกรรมไปตามวตั ถุประสงค์ที่กาหนดไว้

สรุปผลการดาเนนิ งาน 2
โครงการเสรมิ สรา้ งสุขภาวะอนามยั ในชมุ ชนเจาะไอรอ้ ง

ความพึงพอใจ หมายถึงความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการเสริมสร้างสุขภาวะอนามัยในชุมชนเจาะ
ไอร้อง

ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับจากการประเมนิ
๑. ผลการประเมินโครงการเป็นข้อมูลสาคัญในการวางแผนการบริหารจัดการในการให้รู้เข้าใจ และ

สามารถนาความรู้จากการอบรมมาประยุกต์ใช้ได้ถูกต้อง นาไปสู่การสามารถนาความรู้มาใช้ในการดาเนิน
ชวี ติ ประจาวนั ได้ตอ่ ไปได้

๒. ผลทไ่ี ด้จากการประเมนิ โครงการเป็นความรู้ใหม่ที่สามารถนาไปใช้อ้างอิงหรือคิดค้นพัฒนางานใหม่
เกี่ยวกับการจัดการในการในการให้รู้ เข้าใจ และสามารถนาความรู้จากการอบรมมาประยุกต์ใช้ได้ถูกต้อง
นาไปสกู่ ารสามารถนาความรูม้ าใชใ้ นการดาเนินชวี ติ ประจาวนั ได้ตอ่ ไปได้

๓. ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการและผู้เก่ียวขอ้ งนาผลการประเมินโครงการไปใช้พฒั นาการดาเนนิ งานต่อไป

สรปุ ผลการดาเนินงาน 3
โครงการเสริมสร้างสขุ ภาวะอนามยั ในชมุ ชนเจาะไอรอ้ ง

บทที่ ๒
เอกสารและงานวิจัยทเี่ กยี่ วขอ้ ง

เอกสารแนวคิด ทฤษฎที ี่เก่ยี วกบั การประเมนิ โครงการ

ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. ๒๕๕๑ ให้ไว้ ณ
วันท่ี ๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๑ เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่กฎหมายว่าด้วย
การศึกษาแห่งชาติมีหลักการจัดการศึกษาให้เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสาหรับ ประชาชน และให้ทุกภาคส่วน
ของสงั คม ได้มีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษา รวมทัง้ สถานศกึ ษาอาจจดั การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ
หรือการศึกษาตามอัธยาศัย รูปแบบใดรูปแบบหนึ่งหรือทั้งสามรูปแบบก็ได้ โดยเป็นการผสมผสานระหว่าง
การศกึ ษาท้งั สามรูปแบบ เพื่อให้สามารถพัฒนา การศึกษาและคุณภาพชีวิตของประชาชนได้อย่างต่อเน่ือง แต่
เนื่องจากกลไกและการดาเนินการ เกี่ยวกับการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยยังไม่มี
กฎหมายเฉพาะรองรับ ดังน้ันเพ่ือให้เป็นไปตามแนวทางและเป้าหมายดังกล่าว จึงสมควรให้มีกฎหมายเพ่ือ
ส่งเสริมและสนับสนุน การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามอัธยาศัยให้เป็นไปอย่างมี
ระบบ และต่อเนื่องมีการบริหารและจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพเพื่อทาให้ประชาชนได้มีโอกาสเรียนรู้ และ
สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนได้ ตามศักยภาพเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้และภูมิปัญญา อันจะมีผลในการ
พัฒนากาลังคนและประเทศชาติใหเ้ จริญกา้ วหน้าต่อไป

กระทรวงศึกษาธิการได้ปรับปรุงระเบียบว่าด้วยการจัดการศึกษาต่อเน่ือง พ.ศ. ๒๕๕๔ ประกาศ ณ
วันที่ ๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เพือ่ ประโยชน์ในการส่งเสริมและ สนับสนุนการศึกษาให้บุคคลได้รับการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างท่ัวถึงและ มีคุณภาพตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ และ
ทันต่อการเปล่ียนแปลงของสังคมและเป็นการ ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคคลได้รับการศึกษาต่อเนื่องตลอด
ชวี ติ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการศึกษา แห่งชาติและภาคีเครอื ขา่ ยทุกภาคสว่ นสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. ๒๕๕๑ อาศัยอานาจตาม
ความใน มาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖
กระทรวงศึกษาธิการจึงวางระเบียบไว้ดังน้ี ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัด
การศกึ ษาต่อเนอื่ ง พ.ศ.๒๕๕๔” โดยไดก้ าหนดจุดม่งุ หมายสาคัญในการพัฒนาคนไทย ให้ได้รับการเรียนรู้อย่าง
ต่อเนื่อง ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ปัจจุบันและอนาคต ทั้งด้านประชากร การเมืองการ
ปกครอง สงั คม เศรษฐกจิ วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี และส่ิงแวดล้อม รวมท้ังการเชื่อมโยงสังคมเศรษฐกิจภูมิภาค
เอเชยี ระดับภมู ิภาคและระดบั โลก จึงจาเป็นที่จะต้องจัดการ เรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายประชาชน
ได้รับการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของ โลก ท้ังด้านการพัฒนาอาชีพ การพัฒนาทักษะชีวิต และ
การพฒั นาสงั คมและชมุ ชน ซง่ึ จาเป็นต้องใช้วธิ กี ารและรูปแบบทีห่ ลากหลาย ตามความต้องการและความสนใจ
ของประชาชนทุกกลุ่มช่วงวัย โดยเน้นกระบวนการคิดเพ่ือแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ตามหลักปรัชญาคิดเป็น
และหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง สานักงาน กศน. จึงได้กาหนดเป็นนโยบายด้านจัดการศึกษาต่อเนื่อง
โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือมุ่งจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาการงานและอาชีพให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาเพื่อ
พัฒนางานระดับพื้นฐาน ระดับกึ่งฝีมือ และระดับฝีมือที่สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของ
กล่มุ เปา้ หมาย มงุ่ เนน้ ใหผ้ ู้เรียนสามารถนาความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพ หรือเพ่ิมพูนรายได้ ท้ังน้ี ให้มีการ
พัฒนาหลักสูตรและวิธีการท่ีหลากหลายและทันสมัย สามารถให้บริการได้อย่างทั่วถึง และ จัดการศึกษาเพ่ือ
พัฒนาทักษะชีวิตให้แก่ทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยจัดกิจกรรมการศึกษามุ่งเน้นให้ทุก กลุ่มเป้าหมายมีความรู้
ความสามารถในการจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข รวมท้ังการใช้เวลาว่างให้เป็น

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน 4
โครงการเสรมิ สรา้ งสุขภาวะอนามยั ในชมุ ชนเจาะไอร้อง

ประโยชนต์ ่อตนเอง ครอบครัว และชุมชน มงุ่ จดั การศึกษาเพือ่ สงั คมและชมุ ชน ด้วยรูปแบบการประชุมสัมมนา
การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และรูปแบบอื่นๆ ท่ีเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย โดยเน้นการสร้างจิตสานึกความ
เป็นประชาธิปไตย ความเป็นพลเมืองดี เศรษฐกิจ ชุมชน และการอนุรักษ์ พัฒนาธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
ตลอดจนการจัดการศึกษาต่อเนื่องหลักสูตร เชิงบูรณาการ เพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืนตามแนวทางเศรษฐกิจ
พอเพียง และพัฒนาระบบคลังหลักสูตร การศึกษาต่อเนื่องให้ได้มาตรฐาน และสะดวกต่อการใช้งาน เพ่ือ
สนับสนนุ การจัดการศึกษาของ สถานศกึ ษาและภาคเี ครือขา่ ย

หลักการดาเนินงานและบทบาทหน้าที่สานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. กศน.อาเภอ/เขต/กศน.ตาบล/
แขวง และ สถานศกึ ษาขึ้นตรง การจัดการศกึ ษาต่อเน่อื งมีหลักดาเนนิ งาน ดังนี้

๑. จดั กระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยยึดหลักความสอดคล้องกับ ศักยภาพ และความ
พรอ้ มของผเู้ รียน ความหลากหลายตามความแตกต่างของกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งบูรณาการหลักปรัชญาคิดเป็น
และ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไดต้ ามความเหมาะสม

๒. พัฒนาหลักสูตรที่ยึดหลักความสอดคล้องกับความต้องการและความจาเป็นของ กลุ่มเป้าหมาย
เปน็ ไปตามสภาพบริบทชุมชนและสังคม รวมถงึ นโยบายของทางราชการ

๓. ม่งุ เนน้ ให้ผเู้ รยี นมีความร้พู ื้นฐาน ทักษะ ในการพฒั นาคุณภาพชีวิต
๔. ยึดหลักการมีสว่ นร่วมของภาคีเครือขา่ ยและภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่นในการดาเนินงาน
วตั ถปุ ระสงค์
๑. ส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้เก่ียวกับการศึกษาเพ่ือการพัฒนาอาชีพพัฒนา ทักษะชีวิต และ
พฒั นาสงั คมและชมุ ชน
๒. ให้กลุ่มเป้าหมายได้เห็นช่องทางการประกอบอาชีพ หรือการต่อยอดอาชีพเดิมให้พัฒนาสามารถ
พึ่งพาตนเองได้
๓. ให้กลุ่มเป้าหมายดารงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข สอดคล้องตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
หลักเกณฑ์และวิธีการจดั การศึกษาตอ่ เนอื่ งของสานกั งาน กศน. มี ๓ ลักษณะ
๑. จัดโดยสถานศึกษา กศน. สามารถจัดการเรียนรู้ได้ทั้ง ๕ วิธี คือ การเรียนรู้ เป็นกลุ่ม การเรียนรู้
จากแหลง่ เรยี นรู้ การเรียนรู้ในสถานประกอบการ การเรยี นรจู้ ากฐานการเรียนรู้ และการเรยี นรูร้ ายบุคคล
๒. จดั โดยสถานศกึ ษารว่ มกับภาคีเครือข่าย สามารถจัดการเรียนรู้ได้ทั้ง ๕ วิธี คือ การเรียนรู้เป็นกลุ่ม
การเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ การเรียนรู้ในสถานประกอบการ การเรียนรู้จากฐาน การเรียนรู้ และการเรียนรู้
รายบุคคล
๓. จัดโดยภาคเี ครือข่าย ภาคีเครือข่ายสามารถจัดการเรียนรู้ได้ทั้ง ๒ วิธี คือ การเรียนรู้เป็นกลุ่ม และ
การเรียนรรู้ ายบคุ คล

คู่มือการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน ตามหลักเกณฑ์การเบิกค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมฝึกอบรม
ประชาชนของสถานศึกษา ในสงั กดั สานักงาน กศน.

นยิ ามศพั ท์
การศึกษาตอ่ เนื่อง หมายถึง การจดั การศกึ ษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบที่เป็น หลักสูตร

ระยะสั้น ท่ีจัดตามความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมายที่มีเน้ือหาเก่ียวกับอาชีพ ทักษะชีวิต การพัฒนาสังคมและ
ชุมชน ซง่ึ รวมถงึ การจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการใช้เทคโนโลยี ซ่ึงนาไปสู่การ
พฒั นาคุณภาพชวี ติ

สรปุ ผลการดาเนินงาน 5
โครงการเสริมสร้างสขุ ภาวะอนามยั ในชมุ ชนเจาะไอร้อง

สถานศึกษา หมายถึง สถานศึกษาในสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอธั ยาศยั และสถานศกึ ษาในกากบั

สถานศึกษาในกากับ หมายถึง สถานศึกษาภาคีเครือข่ายของสานักงานส่งเสริมการศึกษา
นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั

วิทยากร หมายถึง บุคคลที่ได้รับการคัดเลือกและแต่งตั้งจากสถานศึกษาหรือภาคี เครือข่าย
ใหท้ าหนา้ ท่ีจดั การเรยี นรตู้ ามกิจกรรมของการจัดการศึกษาต่อเน่ือง

ผเู้ รยี น หมายถึง ผูท้ ไ่ี ดส้ มคั รเข้ารบั การศกึ ษาตอ่ เน่ืองในสถานศกึ ษาหรือภาคเี ครือขา่ ย
การเรียนรู้เป็นกลุ่ม หมายถึง การเรียนรู้ตั้งแต่ 6 คนข้ึนไป ที่ต้องการเรียนรู้ใน หลักสูตร
การศึกษาต่อเนื่องในสถานศึกษา หรือภาคเี ครือขา่ ย
การเรียนรู้จาก/แหล่งเรียนรู้ หมายถึง การจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนในแหล่งเรียนรู้ เช่น ศูนย์
สาธติ การทาไรน่ าสวนผสม ศูนย์การเรียนรเู้ ศรษฐกิจพอเพยี ง
การเรียนรู้ในสถานประกอบการ หมายถึง การจัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในสถาน ประกอบการ
หรือแหล่งประกอบการ หรือแหลง่ เรียนรู้ เช่น โรงเรียนเสริมสวย ฯลฯ
การเรยี นรู้จากฐานการเรียนรู้ หมายถงึ การจดั การเรียนรทู้ ี่ผู้เรียนสามารถเลือกเรียน ได้ตาม
ความต้องการ ความสนใจ ตามฐานการเรยี นรู้ที่จัดใหโ้ ดยมวี ิทยากรให้ความรใู้ นแต่ละฐานการเรียนรู้
การเรียนรู้รายบุคคล หมายถึง การเรียนรู้ของผู้เรียนบุคคลใดบุคคลหน่ึงท่ีต้องการจะเรียนรู้
ในเน้ือหาใดเนื้อหาหนึ่ง ซึ่งเป็นความสนใจเฉพาะตัว ตามหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องใน สถานศึกษาหรือภาคี
เครือข่าย โดยผู้เรียนและวิทยากรร่วมกันวางแผน และออกแบบการเรียนรู้ที่ ตอบสนองความต้องการของ
ผเู้ รียนแตล่ ะบคุ คล
การพัฒนาอาชีพ หมายถึง การศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถ และทักษะในการ
ประกอบอาชีพของบุคคล เพื่อให้บุคคลสามารถเข้าสู่อาชีพ สามารถประกอบอาชีพ หรือพัฒนาอาชีพ ของ
ตนเองได้ โดยพจิ ารณาถงึ ความต้องการในการเรียนของแต่ละบคุ คล
การพัฒนาทักษะชีวิต หมายถึง การศึกษาที่ให้ความสาคัญกับการพัฒนาคน เพ่ือให้มีความรู้
เจตคติและทักษะท่ีจาเป็นสาหรับการดารงชีวิตในสังคมปัจจุบัน เพื่อให้บุคคลสามารถเผชิญสถานการณ์ต่างๆ
ในชวี ิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมความพร้อมกับการปรับตัวในอนาคต เช่น สุขภาพกายและ
ใจ ความปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ยส์ นิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมทด่ี ี เป็นตน้
การพัฒนาสังคมและชุมชน หมายถึง เป็นการศึกษาที่บูรณาการความรู้และทักษะ จาก
การศึกษาทีผ่ ู้เรียนมอี ยูห่ รอื ได้รบั จากการเขา้ รว่ มกจิ กรรมการศึกษานอกระบบ แล้วนาไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อ
การพัฒนาสังคมและชุมชนอย่างย่ังยืนโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีรูปแบบ การเรียนรู้ที่
หลากหลาย และใช้ชุมชนเป็นฐานในการพัฒนาการเรียนรู้ของคนในชุมชน เช่น ประชาธิปไตย ส่ิงแวดล้อม
วสิ าหกจิ ชมุ ชน การใชเ้ ทคโนโลยีทีเ่ หมาะสม เปน็ ต้น
การจัดการศึกษาต่อเนอื่ ง
รปู แบบและวธิ ีการจัดการศกึ ษาต่อเน่ือง การจัดการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง เปน็ การจัดการเรียนรู้เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย
ประชาชนทั่วไป ทุกกลุ่มวัยได้รับการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับความต้องการ ด้านการพัฒนาอาชีพ พัฒนาทักษะ
ชีวิต พัฒนาสังคมและชุมชน ตามหลักปรัชญาคิดเป็นและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีกรอบ การ
จัดการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง ดังนี้

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน 6
โครงการเสริมสร้างสขุ ภาวะอนามยั ในชมุ ชนเจาะไอร้อง

วธิ ีและการจดั การศึกษาตอ่ เน่ือง ๔ รปู แบบ
๑. รูปแบบกลุ่มสนใจ เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนท่ีมีการรวมกลุ่ม หรือไม่
รวมกลมุ่ ดงั นี้

๑.๑ จัดกิจกรรมตามความต้องการและความสนใจที่มีการรวมกลุ่มกัน ของผู้เรียน
ตั้งแต่ ๖ คนข้นึ ไป หลักสตู รไม่เกนิ ๓๐ ชั่วโมง

๑.๒ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามภารกิจ เช่น อาเภอเคล่ือนท่ี จังหวัดเคล่ือนท่ี ฯลฯ
ผู้เรียนไมม่ กี ารรวมกลุม่ สนใจสมคั รเรยี น ณ สถานทจ่ี ดั กจิ กรรม หลักสูตรไม่เกนิ ๕ ชัว่ โมง

๒. รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้หลักสูตรตั้งแต่ ๓๑ ชั่วโมง ขึ้นไป
ผู้เรยี นตัง้ แต่ ๑๑ คนข้ึนไป

๓. รปู แบบกจิ กรรมฝึกอบรมประชาชน เป็นการอบรม การศึกษาดูงานการจัดเวที ประชาคม
หรือกิจกรรมอ่ืน ๆ ที่มีลักษณะเป็นการฝึกอบรม มีเน้ือหาเก่ียวกับกิจกรรมเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต กิจกรรมเพื่อ
พัฒนาสังคมและชุมชน การส่งเสริมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการเรียนรู้การใช้
เทคโนโลยีท่เี หมาะสม เพื่อให้ประชาชนไดร้ บั ความรู้ มเี จตคติ และทกั ษะที่จาเป็นสาหรับการดารงชีวิตในสังคม
ปจั จบุ ัน โดยมีโครงการและหลกั สตู รทม่ี ชี ่วงระยะเวลาจัด ที่แน่นอน ผู้เรียนกลุ่มละ ๑๕ คนขึ้นไป หลักสูตร ๑-
๓ วัน

๔. รูปแบบการเรียนรู้รายบุคคล เป็นการเรียนรู้ของผู้เรียนบุคคลใดบุคคลหน่ึงที่ ต้องการจะ
เรียนรู้ในหลกั สตู รการศกึ ษาตอ่ เนื่องในสถานศึกษาหรือภาคเี ครอื ข่าย

การจดั การศกึ ษาต่อเนอื่ งของสานักงาน กศน. มี ๓ ลักษณะ
๑. สถานศึกษาเป็นผู้จดั
๒. สถานศึกษารว่ มจดั กับเครอื ข่าย
๓. ภาคีเครือข่าย เป็นผู้จัด โดยสถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุนให้เครือข่ายเป็นผู้จัด ท้ังนี้
เครอื ข่ายและผู้เรียนต้องมีการท าขอ้ ตกลงรว่ มกันในการจัดการเรียนรูใ้ หผ้ ูเ้ รยี นจบหลักสตู ร

การจัดการศึกษาตอ่ เนอื่ ง รปู แบบกลมุ่ สนใจ
การจัดการศึกษาต่อเนื่อง ประกอบไปด้วยกิจกรรมเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านพัฒนา
อาชพี พัฒนาทกั ษะชวี ิต พัฒนาสังคมและชุมชน และด้านอนื่ ๆ ซึง่ มวี ธิ กี ารจัด ๔ รปู แบบ คือ รูปแบบกลุ่มสนใจ
รูปแบบช้ันเรยี นวิชาชพี รปู แบบการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน และ รูปแบบเรียนรรู้ ายบุคคล
การเบิกคา่ ใช้จา่ ย
สถานศึกษารวบรวมและจัดทาหลักฐานเบิกค่าใชจ้ ่ายโดยเบิกจ่ายให้เป็นไปตาม หน่วยงานต้น
สงั กัดตามทีห่ นว่ ยงานต้นสงั กดั กาหนด ดงั นี้
๑. คา่ ตอบแทนวิทยากร ช่วั โมงละไม่เกิน ๒๐๐ บาท
๒. ค่าวัสดุ กรณีที่มีค่าวัสดุฝึกปฏิบัติ ให้เบิกจ่ายเท่าที่จ่ายจริงตามความจาเป็น เหมาะสม
ประหยัดเพ่ือประโยชน์ของทางราชการ ผู้เรียนตั้งแต่ ๖ คนข้ึนไป หลักสูตรไม่เกิน ๕ ช่ัวโมง กลุ่มละไม่เกิน
๑,๐๐๐ บาท
รายงานผลการดาเนินงาน จดั ทารายงานผลการดาเนินงานจดั การศกึ ษาต่อเนื่องรูปแบบกลุ่ม
สนใจท้งั ปริมาณ และคุณภาพเปน็ เอกสารและในระบบ DMIS และตามท่ีสานกั งาน กศน.แจง้

สรปุ ผลการดาเนินงาน 7
โครงการเสริมสร้างสุขภาวะอนามยั ในชุมชนเจาะไอร้อง

การนเิ ทศ ติดตามผล
๑. นิเทศ ติดตามผลระหว่างการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยคณะกรรมการนิเทศ ภายใน
สถานศึกษา และหรือคณะกรรมการสถานศึกษา ดาเนินการนิเทศ ติดตามกระบวนการจัดการ เรียนรู้ของ
วิทยากรให้เป็นไปตามแผนการจัดการเรียนรู้ ตามประเด็นการนิเทศ ติดตามและสรุป รายงานผลการนิเทศต่อ
ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
๒. นิเทศ ตดิ ตามผลหลังเสร็จส้ินการจดั กระบวนการเรียนรู้ โดยสถานศึกษา ดาเนินการนิเทศ
ติดตามการนาความรู้ท่ีได้จากการเรียนไปใช้ประโยชน์ของผู้จบหลักสูตร หลังเสร็จส้ิน การเรียนภายใน
ระยะเวลา ๑ เดือน และสรุปรายงานผลการนเิ ทศ ติดตามตอ่ ผู้บริหารสถานศึกษา

๑. การสารวจสภาพปัญหาและความต้องการของประชาชนและกลุ่มเปา้ หมาย
สถานศึกษาสามารถดาเนินการได้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การจัดเวทีประชาคม การใช้ข้อมูล

สารสนเทศในแผนจุลภาค (Micro Planning) แผนชุมชน ข้อมูล จปฐ. นโยบายและข้อมูลท่ีเก่ียวข้อง และนา
ข้อมูลมาวเิ คราะห์พร้อมจดั ลาดบั ความตอ้ งการ และความจาเป็น
๒. การจัดทาหลักสูตร

ในการฝึกอบรมประชาชน สถานศึกษาจะต้องมีการจัดทาหลักสูตร เพื่อกาหนดทิศทาง มีขั้นตอนและ
กระบวนการ ดงั นี้

๒.๑ ความเป็นมา เป็นส่วนสาคัญท่ีแสดงถึงความต้องการ ความจาเป็น หรือปัญหา ท่ีต้องมีการจัดทา
หลักสูตรนี้ข้ึน เพื่อส่งเสริมความรู้ ทักษะ และเจตคติ ของประชาชน ดังน้ัน ในการเขียนความเป็นมาของ
หลักสูตรต้องเขยี นใหเ้ หน็ ถงึ เหตุผลและแสดงขอ้ มูลที่เก่ียวข้อง เพอ่ื สนับสนุนการจัดทาหลักสตู รนนั้ อย่างชดั เจน

๒.๒ หลักการ เป็นหลักสูตรที่ต้องนาข้อมูลสารสนเทศจากการศึกษาวิเคราะห์สภาพชุมชน สังคม
นามาบูรณาการให้สอดคล้องกับศักยภาพในด้านต่างๆ ของพื้นที่ เพื่อเป็นการพัฒนาความรู้ ทักษะและ
เสริมสร้างประสบการณ์ให้กับประชาชน ดังน้ัน การเขียนหลักการของหลักสูตรจะต้องเขียนให้ครอบคลุม
สาระสาคญั ของเรอ่ื งตอ่ ไปนี้

๒.๒.๑ บูรณาการให้สอดคลอ้ งกับบริบทชมุ ชน ทนุ ทางสงั คม ศักยภาพ และวถิ ขี องชุมชนในแต่ละ
พนื้ ท่ี

๒.๒.๒ สง่ เสรมิ ให้ภาคเี ครือขา่ ยทั้งภาครัฐและเอกชนมีสว่ นร่วมในการดาเนินงาน
๒.๒.๓ ส่งเสรมิ ให้ประชาชนไดร้ ับความรู้ และนาประสบการณม์ าแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกิดสังคมแห่งการ
เรยี นรู้
๒.๓ วัตถุประสงค์ เป็นเคร่ืองชี้แนวทางในการดาเนินงานถึงผลสาเร็จท่ีต้องการ โดยวัตถุประสงค์จะ
เปน็ การบอกว่าตอ้ งการใหเ้ กดิ อะไรข้นึ บ้าง การเขยี นวัตถปุ ระสงค์ต้องชัดเจนปฏิบัติได้ วัดได้ และประเมินได้ใน
ระยะเวลาที่กาหนด วัตถุประสงค์ต้องเป็นรูปธรรมมากกว่านามธรรม วัตถุประสงค์ไม่ควรมีหลายข้อ และควร
เรียงลาดบั ความสาคญั จากมากไปหานอ้ ย
๒.๔ กลุ่มเป้าหมาย เป็นการกาหนด หรือระบุคุณสมบัติของผู้ท่ีเข้ารับการฝึกอบรม (ประชาชนทั่วไป
ไมต่ า่ กวา่ กลมุ่ ละ ๑๕ คน)
๒.๕ ระยะเวลา เป็นการกาหนดระยะเวลา ข้ึนอยู่กับวัตถุประสงค์และเนื้อหา (ไม่เกิน ๑ – ๓ วัน
ยกเวน้ เวทีประชาคม สามารถดาเนนิ การตามความเหมาะสม)
๒.๖ โครงสรา้ งเน้ือหา เปน็ การระบรุ ายละเอียดเกีย่ วกับ หวั เร่อื ง จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เนอ้ื หา วิธีการ
ฝึกอบรม จานวนช่วั โมง (ภาคทฤษฎี/ปฏบิ ตั )ิ

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน 8
โครงการเสริมสรา้ งสุขภาวะอนามยั ในชมุ ชนเจาะไอรอ้ ง

๒.๗ ส่ือ/วัสดุอุปกรณ์ เป็นการระบุสื่อที่ใช้ในการฝึกอบรม เช่น สื่อเอกสาร ส่ืออิเล็กทรอนิคส์ แหล่ง
เรยี นร้/ู ภมู ิปญั ญา ตลอดจนวัสดุ และอปุ กรณท์ ี่เกย่ี วขอ้ ง

๒.๘ การวดั และประเมินผล ใช้รูปแบบการประเมินตามวัตถุประสงค์ และความพึงพอใจของหลักสูตร
หลังการฝกึ อบรม

๒.๙ เง่ือนไขการผ่านการฝึกอบรม เป็นการระบุระยะเวลาของผู้เข้ารับการฝึกอบรม ต้องไม่น้อยกว่า
ร้อยละ ๘๐ ของหลักสูตร/โครงการ สาหรับกิจกรรมการจัดเวทีประชาคมให้สถานศึกษาพิจารณาตามความ
เหมาะสม

๒.๑๐ หลักฐานการผ่านการฝึกอบรม สถานศึกษาจัดทาวุฒิบัตรให้กับผู้ผ่านการฝึกอบรมตามเง่ือนไข
การผ่านการฝึกอบรม
๓. จดั ทาโครงการฝกึ อบรม

เมื่อสถานศึกษาจัดทาหลักสูตรฝึกอบรมประชาชนเรียบร้อยแล้ว ให้สถานศึกษาจัดทาโครงการ เพื่อ
ดาเนินการจดั ฝกึ อบรมใหก้ ับประชาชน โดยมีองค์ประกอบของโครงการ ดังนี้

๓.๑ ช่ือโครงการ จะต้องมีความชัดเจนเหมาะสมเฉพาะเจาะจง กะทัดรัด และส่ือความหมายได้อย่าง
ชัดเจน

๓.๒ ความสอดคล้องกับนโยบาย
๓.๓ หลักการและเหตุผล เป็นการระบุถึง สาเหตุ ความจาเป็น ที่ต้องมีการจัดทาโครงการ เป็นการ
พรรณนาความ โดยอ้างนโยบายของรัฐบาล นโยบายกระทรวง/กรม/จังหวัด หลักการ ทฤษฎี และงานวิจัย ที่
เกย่ี วข้อง ตลอดจนความต้องการในการพัฒนาหรอื แก้ปัญหาของประชาชน
๓.๔ วัตถุประสงค์ เป็นการระบุถึงเจตจานงในการดาเนินงานของโครงการ โดยแสดงให้เห็นถึงผลที่
ต้องการจะบรรลุความสาเร็จไว้อย่างกว้าง ๆ ชัดเจนและไม่คลุมเครือ โดยโครงการหน่ึง ๆ อาจมีวัต ถุประสงค์
มากกว่า ๑ ข้อก็ได้ ท่ีเรียกว่า KPA ทั้งน้ีการเขียนโครงการอบรมของสถานศึกษา มักระบุวัตถุประสงค์ ๓ ข้อ
เปน็ พ้ืนฐานคอื เพื่อวดั ความรู้ความเข้าใจของผู้เข้ารับการอบรม (K=Knowledge) และวัดทักษะความสามารถ
ในการปฏิบตั ิ (P=Practice) รวมท้ังวัดทัศนคตขิ องผ้เู ข้าอบรมตอ่ เรื่องท่ีอบรม (A=Attitude)
๓.๕ เป้าหมาย เป็นการระบุถงึ ผลลพั ธส์ ดุ ทา้ ยทีค่ าดวา่ จะไดจ้ ากการดาเนินโครงการ โดยจะระบุ ท้ังผล
ที่เป็นเชิงปรมิ าณและผลเชิงคุณภาพ
๓.๖ วิธีการดาเนินงาน เป็นการระบุถงึ รายละเอยี ดในการปฏิบตั ิ
๓.๗ วงเงินงบประมาณ เป็นการระบุถึงค่าใช้จ่ายท่ีต้องใช้ในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ โดยระบุ
แหลง่ ทีม่ าจากแผนงานใด งบรายจ่ายใด ตลอดจนระบุรายละเอยี ดของค่าใชจ้ ่าย
๓.๘ แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ เปน็ การระบุวงเงนิ งบประมาณเป็นรายไตรมาส
๓.๙ ผู้รับผิดชอบโครงการ เปน็ การระบวุ ่าใครหรือหนว่ ยงานใดเปน็ ผู้รบั ผดิ ชอบ
๓.๑๐ เครือข่าย เปน็ การระบุบุคคล องคก์ ร หรอื หน่วยงานทร่ี ว่ มจดั
๓.๑๑ โครงการทเ่ี กี่ยวขอ้ ง เป็นการระบโุ ครงการอื่น ๆ ท่เี กีย่ วข้องกับโครงการนี้ (ถา้ ม)ี
๓.๑๒ ผลลัพธ์ (Outcome) เป็นการระบุผลที่คาดว่าจะได้รับต่อเน่ืองจากโครงการ หรือผลประโยชน์
จากผลผลิต (Output) ท่ีมีต่อบุคคล ชุมชน ส่ิงแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคมโดยรวม ทั้งในเชิงปริมาณและเชิง
คณุ ภาพ

สรปุ ผลการดาเนินงาน 9
โครงการเสริมสร้างสขุ ภาวะอนามยั ในชมุ ชนเจาะไอร้อง

๓.๑๓ ดชั นชี ีว้ ัดผลสาเร็จของโครงการ
๓.๑๓.๑ ตัวช้ีวัดผลผลติ (Output) หมายถงึ ขอ้ มูลท่ีแสดงหรือบอกให้รู้ว่า ผลการดาเนินงาน

สาเร็จตามเป้าหมายท่ีกาหนด เป็นรูปธรรมในเชิงปริมาณหรือคุณภาพ อันเกิดจากงานตามวัตถุประสงค์ของ
โครงการ

๓.๑๓.๒ ตัวช้ีวัดผลลัพธ์ (Outcome) หมายถึง ข้อมูลท่ีแสดงหรือบอกให้รู้ว่า ผลการ
ดาเนินงานสาเร็จตามเป้าหมายที่กาหนด เป็นผลประโยชน์จากผลผลิตที่มีต่อบุคคล ชุมชน สิ่งแวดล้อม
เศรษฐกิจและสงั คมโดยรวม

๓.๑๔ การตดิ ตามและประเมินผลโครงการ เป็นการระบุถึงวิธีการและเคร่ืองมือที่ใช้ในการติดตามและ
ประเมนิ ผลโครงการ รวมถงึ การบรหิ ารความเสย่ี งของโครงการ
๔. การดาเนินงานโครงการฝึกอบรม

เม่ือเขียนโครงการฝึกอบรม และเสนอขออนุมัติไปตามข้ันตอนเรียบร้อยแล้ว เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบ
โครงการฝึกอบรม ควรจะต้องร่วมกันวางแผนดาเนินการฝึกอบรม ซ่ึงมีลักษณะเป็นแผนปฏิบัติการ หรือท่ี
เรียกว่า Action Plan ซ่ึงระบุถึงกิจกรรมต่าง ๆ ขั้นตอน และแนวทางท่ีจะดาเนินการอย่างละเอียด พร้อมท้ัง
ระบุลาดับการกระทากิจกรรมต่าง ๆ ด้วยว่าสิ่งใดจะต้องดาเนินการก่อน-หลัง ตลอดจนกาหนดตัวบุคคล
ผู้รับผิดชอบดาเนินการสาหรับแต่ละกิจกรรมอันเป็นการแบ่งงานกันทาไว้ด้วยแล้ว ท้ังน้ีเพื่อช่วยให้การ
ดาเนินงานเป็นไปอย่างมีระบบ เจ้าหน้าที่สามารถปฏิบัติงานตามหน้าที่อย่างมีขั้นตอน รู้ข้อมูล เหตุผลความ
จาเป็น และแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง ทาให้เกิดความร่วมมือ ประสานงานกันระหว่างผู้มีหน้าที่รับผิดชอบร่วมกัน
สะดวกในการติดตามผลการปฏิบัติงาน ตลอดจนอาจช่วยลดปัญหา อุปสรรค และช่วยทาให้การดาเนินงาน
บรรลเุ ปา้ หมายที่ได้กาหนดไว้
๕. การนิเทศ ติดตามและรายงานผล

การนิเทศ ติดตามและรายงานผล เป็นกิจกรรมท่ีสาคัญในการส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือ แนะนา
พฒั นา ปรบั ปรงุ ประสิทธภิ าพการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน ตลอดจนการแก้ไขปัญหาการดาเนินกิจกรรม
การศกึ ษาของสถานศึกษาใหด้ ีขน้ึ เป็นการเพมิ่ พลังการปฏิบัติงานให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้งานต่าง ๆ สามารถ
ดาเนนิ การได้สาเร็จลุล่วงตามเป้าหมายอย่างมีคุณภาพ และส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน ดังน้ัน ผู้บริหารจึงควรจัด
ให้มกี ารนิเทศ ตดิ ตาม และรายงานผลอยา่ งเปน็ ระบบ และตอ่ เนอ่ื ง

การนิเทศ ติดตามผล การจดั กจิ กรรมฝึกอบรมประชาชน เป็นกระบวนการทางานร่วมกันของบุคลากร
ที่เกี่ยวข้องทุกระดับ ตั้งแต่ ผู้กาหนดนโยบาย ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน ผู้สอน ภาคีเครือข่าย และชุมชน นับเป็น
เครื่องมือาของผู้บริหารท่ีจะสร้างความม่ันใจได้ว่า การปฏิบัติขององค์กรไปในทิศทางที่ถูกต้อง สามารถสร้าง
ผลงานท่ีสอดคล้องตามจุดมุ่งหมายท่ีวางไว้หรือไม่ ซึ่งจะสามารถปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ให้สอดรับกับสถานการณ์
ที่เปล่ียนแปลงไป

ผทู้ าหนา้ ทีน่ ิเทศติดตามผล ประกอบดว้ ย
๑. ผบู้ ริหาร
๒. ศกึ ษานิเทศก์
๓. ผทู้ าหน้าท่นี เิ ทศท่ไี ดร้ ับมอบหมาย

กระบวนการนเิ ทศตดิ ตามผลการจัดการศึกษาต่อเน่ือง
กระบวนการนเิ ทศ ตดิ ตามผลการจัดการศึกษาตอ่ เน่ือง ดาเนินการเป็นระบบการบริหารงานตามวงจร

PDCA หรอื วงจรเดมมงิ่ ของ Edward Deming ประกอบด้วย ขนั้ ตอนการวางแผน (Plan) การปฏิบัติตามแผน
(Do) การตรวจสอบหรือการประเมนิ (Check) และนาผลการประเมินย้อนกลับไปปรบั ปรุงแกไ้ ข (Act)

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน 10
โครงการเสรมิ สร้างสุขภาวะอนามยั ในชุมชนเจาะไอรอ้ ง

แผนภูมิแสดงกระบวนการนิเทศติดตามการจดั การศึกษาต่อเน่อื ง

การรายงานผลการนิเทศติดตามการจัดการศึกษาต่อเนือ่ ง
การรายงานผลการนิเทศติดตามหลังจากประเมินผลการนิเทศติดตามหรือเม่ือจบหลักสูตร ผู้นิเทศ

ติดตามควรจัดทารายงานผลการนิเทศติดตาม เพื่อให้ผู้เก่ียวข้องได้เห็นความก้าวหน้า ปัญหา อุปสรรค พร้อม
ทั้งความรว่ มมือสนบั สนนุ ในเรอื่ งตา่ งๆ ดงั น้ี

๑. กศน.อาเภอ/เขต รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม ต่อสานกั งาน กศน.จังหวัด/กทม.
๒. สานกั งาน กศน.จงั หวดั /กทม. รายงานผลการนิเทศ ตดิ ตาม ตอ่ สานกั งาน กศน.

การบริหารงบประมาณในการจัดกจิ กรรมฝึกอบรมประชาชน
สานักงาน กศน. ได้กาหนดขอบข่ายของกิจกรรมท่ีสามารถเบิกค่าใช้จ่ายในลักษณะการฝึกอบรม

ประชาชนประกอบด้วย กิจกรรมการพัฒนาทักษะชีวิต กิจกรรมเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน กิจกรรมส่งเสริม
การดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมให้แก่
ประชาชน ซึ่งการเบิกค่าใช้จ่ายสาหรับกิจกรรมดังกล่าว สถานศึกษาจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การเบิก
ค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน ของสถานศึกษาสังกัดสานักงาน กศน. ตามหนังสือ
กรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ท่ี กค ๐๔๐๖.๔/๐๖๖๐๖ ลงวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ หลักเกณฑ์ดังกล่าว
สานักงาน กศน. แจ้งให้สถานศึกษาทราบ ตามหนังสือสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ด่วนท่ีสุด ที่ ศธ
๐๒๑๐.๑๑๗/๓๑๙๓ ลงวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๙

๓. แนวคดิ เกยี่ วกับการนเิ ทศการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย กศน.
๑. การนิเทศจะต้องอยู่บนพื้นฐาน ปรัชญา และหลักการของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศัย สอดคลอ้ งกบั นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานของของสานกั งาน กศน. และสถานศึกษา
๒. การนิเทศ กศน. ควรเป็นกระบวนการทางานที่เป็นระบบ เช่น แผนงานโครงการกิจกรรมและ

เทคนิคต่างๆ ในการนิเทศ ควรตั้งอยู่บนเจตคติและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ผลของการนิเทศจะต้องถูกต้อง
สมบูรณ์เช่อื ถือได้ สามารถสะทอ้ นคณุ ภาพการจัด กศน. ของสถานศกึ ษาได้ตรงตามสภาพจรงิ

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน 11
โครงการเสรมิ สร้างสุขภาวะอนามยั ในชมุ ชนเจาะไอร้อง

๓. การนเิ ทศ กศน. เป็นกระบวนการทางานร่วมกบั ผูบ้ รหิ าร ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปฏิบัติงานที่
เก่ียวข้องและเครือข่าย ท่ีมุ่งส่งเสริมคุณภาพชีวิต เพ่ือให้เขาได้พัฒนาศักยภาพของตนได้อย่างเต็มท่ีเคารพ
ศกั ด์สิ ิทธิ์ของความเป็นมนุษย์ อดทนตอ่ ความแตกตาง คามหลากหลายให้ความเท่าเทียมกันเสมอภาคกัน ความ
เปน็ อิสระ สร้างบรรยากาศทเ่ี ป็นประชาธปิ ไตย การมีส่วนรว่ มและการทางานเปน็ ทมี

๔. การนิเทศ กศน. จะต้องมีการประเมินผลการนิเทศอย่างเป็นระบบ ท้ังด้านปัจจัยการนิเทศ
กระบวนการนิเทศ และผลที่เกิดจากการนิเทศ และนาผลการประเมินมาใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงการ
ดาเนนิ งานนิเทศ เพ่ือพฒั นาการนิเทศการศกึ ษาใหม้ คี ุณภาพ

ความสาคัญของการนิเทศการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
การนิเทศเปน็ งานสาคญั และจาเปน็ อยา่ งยิง่ ทจ่ี ะตอ้ งดาเนินควบค่ไู ปกับการบริหารเพราะการนิเทศเป็น

ส่วนหน่ึงของการบริหาร องค์ประกอบของการบริหารย่อมขึ้นอยู่กับคน เงิน วัสดุ และการจัดการ การท่ีจะ
บรหิ ารคนให้มปี ระสิทธภิ าพในการทางาน ผู้บริหารจะต้องมีเทคนิคที่เหมาะสม เทคนิคในการบริหารอย่างหน่ึง
คือ การนิเทศเพ่ือส่งเสริมให้บุคลากรปฏิบัติงานอย่างมีคุณภาพ สามารถใช้เงิน วัสดุได้อย่างคุ้มค่า มีหลักการ
จดั การที่ดี ดังน้ัน การที่จะควบคุมการปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงานที่กาหนดไว้ ผู้บริหารต้อง
ใชเ้ ทคนิคการบริหารงานและการนิเทศควบคู่กัน การนิเทศการศึกษาเป็นความพยายามในการแนะนา กระตุ้น
ให้กาลงั ใจชว่ ยเหลือของผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษา เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาสามารถจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนให้มีคุณภาพ หรือปรับปรุงกระบวนการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีการสูญเปล่าทาง
การศึกษาน้อยที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีการจัด
กจิ กรรมการศกึ ษาที่หลากหลายให้บริการแก่กลุ่มเป้าหมายประเภทต่างๆ และไม่ได้สังกัด สานักงาน กศน. ทา
ให้เห็นความจาเป็นของการนิเทศการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้บุคลากรทางการ
ศึกษา สถานศึกษาทุกประเภทเข้าใจนโยบายปรัชญาการจัด กศน. ท่ีสามารถสนองความต้องการของ
กลุ่มเปา้ หมายผู้เรียนในทศิ ทางทีถ่ กู ต้องและเหมาะสมกบั สภาพพ้นื ที่การจดั กิจกรรม กศน.
จดุ มุ่งหมายของการนเิ ทศการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

๑. เพือ่ สง่ เสริมใหส้ ถานศึกษาบริหารหลักสูตรจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการศึกษา
พฒั นาสอ่ื นวัตกรรมและเทคโนโลยแี ละการนิเทศภายในอย่างมีคณุ ภาพ

๒. ส่งเสริมให้สถานศกึ ษามีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาตามมาตรฐาน กศน.
๓. เพื่อให้คาปรึกษา เสนอแนะ เป็นท่ีพ่ึงในการพัฒนาวิชาการของสถานศึกษา และสานักงาน กศน.
จงั หวัด
๔. เพ่ือประสาน สนับสนุนและเผยแพร่งานทางด้านวิชาการแก่สถานศึกษาและสานักงาน กศน.

จังหวัด

(อ้างถึง อญั ชลี ธรรมะวิธีกุล : ๒๕๕๓)

๔. งานวจิ ัยท่ีเกี่ยวขอ้ ง
กิจจา เวสประชมุ ไดก้ ล่าวถึงขอบข่ายของการจัดการเรียนการสอน ประกอบไปดว้ ยงาน ดงั น้ี
๑. หลักสตู ร ไดแ้ ก่ การจดั การศึกษาใหป้ ระสบผลสาเร็จและเกิดผลประโยชนส์ ูงสุดได้น้นั หลักสูตรควร

มคี วามเหมาะสมหลายๆ ด้าน
๒. กิจกรรมการเรียนการสอน คือพฤติกรรมท่ีเกิดร่วมกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียนจึงจะก่อให้เกิดการ

เรียนรู้และทกั ษะเพือ่ ใหบ้ รรลุวัตถุประสงคท์ ตี่ ัง้ ไว้

สรุปผลการดาเนนิ งาน 12
โครงการเสรมิ สร้างสุขภาวะอนามยั ในชมุ ชนเจาะไอร้อง

๓. วิทยากร เป็นบุคคลสาคัญที่จะถ่ายทอดวิชาความรู้ มีความชัดเจนในเน้ือหาวิชามีประสบการณ์
ทางการสอนมีความสามารถในการปรับเนอ้ื หาวิชาตามสภาพของผู้เรยี น

๔. สื่อการเรียนการสอน ในการเรียนการสอนน้ัน ส่ือการสอนมีความสาคัญเป็นอย่างมากเพราะ
นอกจากจะเป็นการสร้างความสนใจให้กับผู้เรียนเกิดความอยากเรียนรู้แล้วยังช่วยให้ผู้เรียนเรียนได้ดีและ
รวดเรว็ ขึ้น

๕. การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผลมีข้ึนก็เพ่ือจะได้ทราบข้อบกพร่องในการเรียนการ
สอนว่าบรรลุเป้าหมายหรือไม่สิ่งใดสมควรแก้ไขและสิ่งใดควรแก้ไขและปรับปรุงเพื่อให้การเรียนการสอน
วชิ าชีพได้ผลจรงิ

สอดคล้องกับอัญชลี ธรรมะวิธีกุล ท่ีกล่าวถึงการนิเทศการจัดการเรียนการสอน จะต้องอยู่บนพ้ืนฐาน
ปรัชญา และหลักการของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้น
การดาเนินงานของสานักงาน กศน. และสถานศึกษาโดยมีกระบวนการทางานท่ีเป็นระบบ มีกระบวนการ
ทางานร่วมกับผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องและเครือข่าย ซ่ึงจะต้องมีการ
ประเมินผลการนิเทศอย่างเป็นระบบ ท้ังด้านปัจจัยการนิเทศ กระบวนการนิเทศ และผลท่ีเกิดจากการนิเทศ
และนาผลการประเมินมาใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงการดาเนินงานนิเทศ เพ่ือพัฒนาการนิเทศการศึกษาให้มี
คณุ ภาพ

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน 13
โครงการเสริมสรา้ งสขุ ภาวะอนามยั ในชมุ ชนเจาะไอรอ้ ง

บทท่ี ๓
วธิ ดี าเนินการ

การประเมินโครงการเสริมสร้างสุขภาวะอนามัยในชุมชนเจาะไอร้องมีวัตถุประสงค์ เพ่ือให้
กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการดูแลสุขภาวะอนามัยในสตรีตั้งครรภ์ และสุขภาวะอนามัย
ในเด็ก และนำควำมรู้มำใช้ในกำรดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ โดยประเมินจากความพึงพอใจ
ของผู้เขา้ รว่ มโครงการตอ่ การเรียนรู้ ผปู้ ระเมนิ ได้ดาเนินการประเมนิ ดังน้ี

๑. ประชากรที่ใช้ในการประเมนิ
๒. เครอ่ื งมือท่ใี ช้ในการประเมนิ
๓. การสร้างเคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการประเมิน
๔. การเก็บรวบรวมข้อมลู
๕. การวิเคราะห์ขอ้ มลู
๖. สถติ ิทใี่ ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู

ประชากรท่ีใช้ในการประเมนิ
กล่มุ เปา้ หมายทเ่ี ข้ารว่ มโครงการเสรมิ สรา้ งสขุ ภาวะอนามัยในชุมชนเจาะไอร้อง ได้แก่ ประชาชนทั่วไป

ในพนื้ ที่ ตาบลมะรอื โบออก อาเภอเจาะไอร้อง จานวนท้งั สน้ิ 13 คน

เครอ่ื งมือท่ใี ชใ้ นการประเมิน

เคร่ืองมือท่ีใช้ในการประเมินโครงการ เป็นแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการเรียนรู้

โครงการเสรมิ สร้างสุขภาวะอนามัยในชุมชนเจาะไอรอ้ งโดยแบง่ เป็น ๓ ตอน มีรายละเอียดดงั น้ี

ตอนที่ ๑ เป็นแบบประเมินเก่ียวกับข้อมูลสถานภาพท่ัวไปของผู้เข้าร่วมโครงการต่อการเรียนรู้ มี

ลักษณะเป็นแบบตวั เลอื กท่กี าหนดคาตอบไว้ให้ ประกอบด้วย เพศ อายุ การศกึ ษา และอาชพี

ตอนท่ี ๒ เป็นแบบประเมินเกยี่ วกับระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้ ของผู้เข้าร่วม

โครงการตอ่ การเรยี นรู้ มี ๓ ดา้ น ดงั นี้

๑. ดา้ นวิทยากร จานวน ๔ ข้อ

๒. ด้านสถานท/ี่ ส่อื อุปกรณ์/ระยะเวลา จานวน ๓ ข้อ

๓. ด้านความรทู้ ไ่ี ด้รับ/การนาความรู้ไปใช้ จานวน ๕ ขอ้

มีข้อคาถามจานวน ๑๒ ข้อ ลักษณะแบบประเมินเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มี

๕ ระดับ โดยกาหนดคา่ ของคะแนน ๕ , ๔ , ๓ , ๒ และ ๑ โดยให้ผู้เข้าร่วมโครงการพิจารณาข้อความในแต่ละ

ข้อที่เกี่ยวข้องกับระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้ ของผู้เรียนต่อการเรียนรู้ว่าอยู่ในระดับ

ใด ซ่ึงใช้เกณฑ์สัมบูรณ์ (Absolute Criteria) ในการแปลความหมาย โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้ (รศ.ดร.

บุญชม ศรีสะอาด)

๕ หมายถึง มีความพึงพอใจ อยู่ในระดบั มากที่สุด

๔ หมายถงึ มีความพงึ พอใจ อยูใ่ นระดบั มาก

๓ หมายถงึ มคี วามพึงพอใจ อยูใ่ นระดับปานกลาง

๒ หมายถึง มีความพงึ พอใจ อยใู่ นระดบั อยใู่ นระดบั น้อย

๑ หมายถงึ มีความพงึ พอใจ อย่ใู นระดับน้อยทสี่ ดุ

ตอนท่ี ๓ เป็นแบบประเมินเก่ียวกับข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ของผู้เข้าร่วมโครงการเสริมสร้างสุขภาวะ

อนามัยในชุมชนเจาะไอร้อง

สรุปผลการดาเนินงาน 14
โครงการเสรมิ สร้างสขุ ภาวะอนามยั ในชุมชนเจาะไอรอ้ ง

การสร้างเครอื่ งมอื ทีใ่ ชใ้ นการประเมนิ
แบบประเมินฉบับนี้ ผู้ประเมินได้ดาเนินการสร้างแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการเรียนรู้

โครงการเสรมิ สรา้ งสุขภาวะอนามยั ในชมุ ชนเจาะไอร้องขึน้ เอง มีข้นั ตอนการดาเนนิ การ ดงั นี้
๑. ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง เก่ียวกับคู่มือการจัดการศึกษาต่อเนื่อง (ฉบับ

ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๙) คู่มือการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน ตามหลักเกณฑ์การเบิกค่าใช้จ่ายในการจัด
กจิ กรรมฝึกอบรมประชาชนของสถานศึกษา ในสังกัดสานักงาน กศน. แนวคิดเก่ียวกับการนิเทศการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กศน. และงานวิจัยที่เก่ียวข้องกับการดาเนินโครงการเสริมสร้างสุขภาวะ
อนามัยในชุมชนเจาะไอรอ้ ง

๒. กาหนดกรอบแนวคิดท่ีใช้ในการประเมิน กาหนดนิยาม และเพ่ือใช้เป็นแนวทางในการสร้าง
แบบสอบถาม

๓. สรา้ งแบบประเมินเก่ียวกับการเรียนรตู้ อ่ การจัดโครงการเสริมสร้างสุขภาวะอนามัยในชุมชนเจาะไอ
ร้อง และตรวจสอบเน้ือหาของแบบสอบถามว่าครอบคลุมวัตถุประสงค์หรือไม่ จากนั้นนาไปให้ผู้บริหาร
สถานศึกษาตรวจสอบแบบประเมิน แลว้ นามาปรับปรงุ ตามคาแนะนาของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา

การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
ผู้ประเมนิ ได้ดาเนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล โดยมขี ้นั ตอนดงั น้ี
๑. ให้วทิ ยากรดาเนนิ การบรรยาย สาธิต และฝึกปฏิบัติ ตามหลักสูตรของโครงการเสริมสร้างสุขภาวะ

อนามยั ในชมุ ชนเจาะไอร้อง
๒. เมื่อดาเนนิ โครงการครบตามหลักสูตรแล้ว ผู้ประเมินให้ผู้เข้าร่วมโครงการทาแบบประเมินความพึง

พอใจของผู้เรยี นตอ่ การเรียนรู้โครงการเสริมสรา้ งสุขภาวะอนามยั ในชุมชนเจาะไอรอ้ ง
๓. เม่ือผู้ประเมินได้รับแบบประเมินคืน ผู้ประเมินดาเนินการมาตรวจสอบความสมบูรณ์ ถูกต้อง ของ

แบบประเมิน แล้วดาเนินการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ตามข้นั ตอนการประเมินโครงการตอ่ ไป

การวเิ คราะหข์ อ้ มลู
การประเมินในครั้งนี้ ผู้ประเมินได้ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูป

(SPSS) เพ่อื ประมวลผลและหาค่าทางสถิติ โดยดาเนินการตามขั้นตอนดงั น้ี
๑. ตรวจสอบความสมบรู ณ์ของแบบประเมนิ
๒. วิเคราะห์ขอ้ มูลเกี่ยวกบั ขอ้ มลู สถานภาพท่วั ไปของผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการ โดยการหาคา่ รอ้ ยละ
๓. วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้ ของผู้เข้าร่วม

โครงการ โดยการหาค่าเฉล่ียเลขคณิต (Arithmetic Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard

Deviation) เพอ่ื ทราบระดบั ความพงึ พอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้ของผู้เข้าร่วมโครงการ เม่ือหาค่าได้

แล้วนาค่าไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์การวิเคราะห์ผลการประเมิน โดยวิธีการแปลผลตามเกณฑ์สัมบูรณ์

(Absolute Criteria) โดยใชเ้ กณฑก์ ารประเมินของตามแบบของ รศ.ดร.บุญชม ศรีสะอาด แปลผลคะแนนเป็น

ช่วงๆ ซงึ่ มีความหมาย ดงั น้ี

คา่ เฉลย่ี ๔.๕๑ - ๕.๐๐ แปลความวา่ ผ้เู ข้าร่วมโครงการมคี วามพงึ พอใจมากทสี่ ดุ
คา่ เฉลี่ย ๓.๕๑ - ๔.๕๐ แปลความวา่ ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการมคี วามพงึ พอใจมาก
ค่าเฉลี่ย ๒.๕๑ - ๓.๕๐ แปลความวา่ ผู้เขา้ รว่ มโครงการมคี วามพึงพอใจปานกลาง
ค่าเฉลีย่ ๑.๕๑ - ๒.๕๐ แปลความว่า ผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการมีความพึงพอใจน้อย
ค่าเฉลี่ย ๑.๐๐ - ๑.๕๐ แปลความว่า ผเู้ ข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจน้อยท่สี ดุ

สรุปผลการดาเนนิ งาน 15
โครงการเสรมิ สรา้ งสขุ ภาวะอนามยั ในชมุ ชนเจาะไอร้อง

สถติ ทิ ี่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผู้ประเมินเลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์เพ่ือให้สอดคล้องกับลักษณะของข้อมูลและตอบวัตถุประสงค์

ดังน้ี
๑. ข้อมลู สถานภาพทวั่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถามไดแ้ ก่ เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ ซ่ึงวิเคราะห์ข้อมูล

โดยใช้คา่ ความถีร่ อ้ ยละ
๒. ข้อมูลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ซ่ึงวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าเฉล่ีย (Mean) ค่า

เบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
๓. ขอ้ มูลทเ่ี ปน็ คาถามปลายเปดิ ไดท้ าการวเิ คราะหเ์ น้อื หา (Content Analysis)

สรปุ ผลการดาเนินงาน 16
โครงการเสริมสรา้ งสขุ ภาวะอนามยั ในชุมชนเจาะไอรอ้ ง

บทท่ี ๔
ผลการประเมิน

ผลการประเมนิ ผลโครงการเสริมสรา้ งสุขภาวะอนามัยในชมุ ชนเจาะไอร้อง ผปู้ ระเมินได้นาเสนอผลการ
วิเคราะหข์ ้อมูลตามลาดับ ดังน้ี

การเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู
การประเมินผลการดาเนินโครงการคร้ังน้ี ผู้ประเมินนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล แบ่งเป็น ๓ ตอน

ดังน้ี
ตอนท่ี ๑ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับสถานภาพทั่วไปของผู้เข้าร่วมโครงการต่อการเรียนรู้

ประกอบดว้ ย เพศ อายุ การศึกษา และอาชพี
ตอนที่ ๒ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้ ของ

ผู้เข้าร่วมโครงการต่อการเรียนรู้ ประกอบด้วย ด้านวิทยากร ด้านสถานที่/สื่ออุปกรณ์/ระยะเวลา และด้าน
ความรู้ทไ่ี ด้รบั /การนาความรู้ไปใช้

ตอนที่ ๓ ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลเกยี่ วกบั ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ ของผู้เขา้ ร่วมโครงการต่อการเรียนรู้

ผลการวิเคราะห์ข้อมลู

การนาเสนอผลการประเมิน ผู้ประเมินได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้ประเมินได้แจก

แบบ ปร ะเมินความพึงพอใจต่ อการเ รีย น รู้โ คร งการเ สริ มสร้ างสุขภ าว ะอน ามัยในชุมชน เจาะไอร้อง ให้กับ

ผ้เู ขา้ รว่ มโครงการ จานวน 13 ชดุ ทั้งน้ีในการนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู แบง่ เป็น ๓ ตอน ดังนี้

ตอนท่ี ๑. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของผู้เข้าร่วมโครงการ ประกอบด้วย

เพศ อายุ การศกึ ษา และอาชีพ ปรากฏดงั ตาราง ที่ ๑ – ๔

ตารางท่ี ๑ จานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบประเมิน จาแนกตามเพศ

เพศ จานวน (คน) ร้อยละ

ชาย 4 30.77

หญงิ 9 69.23

รวม 13 ๑๐๐.๐๐

จากตารางที่ ๑ พบว่าผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ เมื่อจาแนกตามเพศ
พบว่าส่วนใหญ่เปน็ เพศหญิง คดิ เป็นรอ้ ยละ 69.23 รองลงมาเป็นเพศชาย คิดเป็นรอ้ ยละ 30.73

ตารางที่ ๒ จานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบประเมนิ จาแนกตามอายุ

อายุ จานวน (คน) ร้อยละ
-
ตา่ กวา่ ๑๕ ปี -
100.00
๑๕ - ๓๙ ปี ๑๓ -
-
๔๐ - ๕๙ ปี -
๑๐๐.๐๐
๖๐ ปีข้ึนไป -

รวม 13

จากตารางที่ ๒ พบว่าผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วม เม่ือจาแนกตามอายุ พบว่าส่วน
ใหญม่ ีชว่ งอายุ 15-39 ปี คดิ เป็นร้อยละ 100.00

สรุปผลการดาเนินงาน 17
โครงการเสรมิ สรา้ งสขุ ภาวะอนามยั ในชุมชนเจาะไอรอ้ ง

ตารางท่ี ๓ จานวนและรอ้ ยละของผู้ตอบแบบประเมนิ จาแนกตามการศกึ ษา

การศึกษา จานวน (คน) รอ้ ยละ
ตา่ กวา่ ประถมศึกษา - -
ประถมศกึ ษา - -
มธั ยมศึกษาตอนตน้ 8
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 5 61.54
อืน่ ๆ (ระบุ).......- 38.46
................................................ -
13 -
รวม ๑๐๐.๐๐

จากตารางที่ ๓ พบว่าผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ เม่ือจาแนกตาม
การศึกษา พบว่าส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น คิดเป็นร้อยละ 61.54 การศึกษาระดับ
มธั ยมศึกษาตอนปลาย 38.46 และสว่ นน้อยมรี ะดับประถมศกึ ษา คดิ เป็นร้อยละ

ตารางท่ี ๔ จานวนและรอ้ ยละของผู้ตอบแบบประเมนิ จาแนกตามอาชีพ

อาชีพ จานวน (คน) รอ้ ยละ
เกษตรกร 5 38.46
รบั จา้ ง 8 61.54
ธรุ กิจสว่ นตัว -
อื่นๆ (ระบุ)......- -
................................................. -
13 -
รวม ๑๐๐.๐๐

จากตารางที่ ๔ พบว่าผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ เมื่อจาแนกตามอาชีพ
พบว่าสว่ นใหญ่มี อาชีพรบั จ้าง คิดเปน็ รอ้ ยละ 61.54 อาชีพเกษตรกร คิดเป็นรอ้ ยละ 38.46

ตอนท่ี ๒. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้ ของ
ผเู้ ข้ารว่ มโครงการ ประกอบดว้ ยดา้ นวิทยากร ด้านสถานท่ี/ส่ืออุปกรณ์/ระยะเวลา และด้านความรู้ท่ีได้รับ/
การนาความรไู้ ปใช้ ปรากฏดงั ตาราง ที่ ๕ – ๘

๒.๑ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้ ของผู้เข้าร่วม
โครงการ จานวน ๓ ดา้ น ประกอบด้วย ๑.ด้านวิทยากร ๒.ด้านสถานที่/สื่ออุปกรณ์/ระยะเวลา และ ๓.ด้าน
ความรทู้ ่ไี ดร้ บั /การนาความรไู้ ปใช้ โดยภาพรวมและรายดา้ นปรากฏดงั ตาราง ท่ี ๕

สรปุ ผลการดาเนินงาน 18
โครงการเสรมิ สร้างสุขภาวะอนามยั ในชุมชนเจาะไอร้อง

ตารางที่ ๕ ค่าเฉล่ีย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้
ของผเู้ ข้าร่วมโครงการ โดยภาพรวมและรายด้าน

รายการ ˉx S.D. ระดับความสาคัญ
ด้านวิทยากร
ดา้ นสถานท/่ี ส่ืออุปกรณ/์ ระยะเวลา ๔.๕๒ .๒๘๘ มากทส่ี ดุ
ดา้ นความรูท้ ี่ไดร้ บั /การนาความรู้ไปใช้
๔.๕๔ .๒๘๗ มากทส่ี ดุ
คา่ เฉลี่ย
๔.๔๖ .๒๔๑ มาก

๔.๕๑ .๑๔๕ มากทีส่ ุด

จากตารางท่ี ๕ พบว่าระดับความพึงพอใจ/ความร้คู วามเขา้ ใจ/การนาไปใช้ ของผ้เู ขา้ รว่ มโครงการ โดย
ภาพรวมอยู่ในระดับความสาคัญ “มากที่สุด” เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านสถานที่/สื่ออุปกรณ์/
ระยะเวลา และด้านวิทยากรอยู่ในระดับความสาคัญ “มากที่สุด” โดยด้านความรู้ท่ีได้รับ/การนาความรู้ไปใช้
อยใู่ นระดบั ความสาคญั “มาก” ตามลาดับ

๒.๒ ผลการวิเคราะหร์ ะดบั ความพงึ พอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้ ของผู้เข้ารว่ มโครงการ ด้าน
วทิ ยากรโดยภาพรวมและรายข้อปรากฏดังตาราง ท่ี ๖

ตารางที่ ๖ ค่าเฉล่ีย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้
ของผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ ด้านวทิ ยากร จาแนกโดยภาพรวมและรายขอ้

ด้านวทิ ยากร xˉ S.D. ระดบั ความสาคญั
๑.วิทยากรมาให้ความรู้ตรงตามเวลา
๒.วทิ ยากรมาใหค้ วามรู้ครบตามหลกั สูตรกาหนด ๔.๖๗ .๔๗๖ มากทสี่ ดุ
๓.ความสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ของวิทยากร
๔.เนอื้ หาวชิ าที่จัดการเรยี นร้ตู รงตามความต้องการของท่านเพยี งใด ๔.๓๕ .๔๘๓ มาก

ค่าเฉล่ีย ๔.๔๘ .๕๐๕ มาก

๔.๖๐ .๔๙๔ มากทส่ี ดุ

๔.๕๒ .๒๘๘ มากท่ีสดุ

จากตารางท่ี ๖ พบว่าระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้ ของผู้เข้าร่วมโครงการ
ด้านวิทยากร โดยภาพรวมอยู่ในระดับความสาคัญ “มากท่ีสุด” และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่าข้อ ๑.
วทิ ยากรมาให้ความรตู้ รงตามเวลา และขอ้ ๔.เน้ือหาวิชาท่ีจัดการเรียนรู้ตรงตามความต้องการของท่านเพียงใด
อยู่ในระดับความสาคัญ “มากท่ีสุด” โดยข้อ ๓.ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร และข้อ๒.
วิทยากรมาใหค้ วามรคู้ รบตามหลกั สูตรกาหนดอย่ใู นระดับความสาคญั “มาก” ตามลาดับ

๒.๓ ผลการวเิ คราะหร์ ะดบั ความพงึ พอใจ/ความรคู้ วามเขา้ ใจ/การนาไปใช้ ของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ ด้าน
สถานท่ี/สื่ออุปกรณ/์ ระยะเวลาโดยภาพรวมและรายขอ้ ปรากฏดังตาราง ที่ ๗

ตารางท่ี ๗ ค่าเฉลี่ย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้
ของผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ ด้านสถานท่ี/ส่อื อปุ กรณ์/ระยะเวลา จาแนกโดยภาพรวมและรายขอ้

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน 19
โครงการเสรมิ สร้างสุขภาวะอนามยั ในชมุ ชนเจาะไอร้อง

ด้านสถานท/่ี สือ่ อุปกรณ์/ระยะเวลา xˉ S.D. ระดบั ความสาคัญ
๑.สถานท่ีเรียนเหมาะสมเพียงใด
๒.จานวนสื่อ/อุปกรณ์การฝกึ ประกอบการเรียนเพียงพอเพียงใด ๔.๔๖ .๕๔๔ มาก
๓.ระยะเวลาในการเรียน/กจิ กรรมเหมาะสมเพียงใด
๔.๖๐ .๕๗๔ มากที่สดุ
ค่าเฉลย่ี
๔.๕๘ .๔๙๘ มากทสี่ ดุ

๔.๕๔ .๒๘๗ มากที่สุด

จากตารางท่ี ๗ พบว่าระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้ ของผู้เข้าร่วมโครงการ
ด้านสถานที่/ส่ืออุปกรณ์/ระยะเวลา โดยภาพรวมอยู่ในระดับความสาคัญ “มากที่สุด” และเม่ือพิจารณาเป็น
รายข้อ พบว่าข้อ ๒.จานวนส่ือ/อุปกรณ์การฝึกประกอบการเรียนเพียงพอเพียงใด และข้อ ๓.ระยะเวลาในการ
เรยี น/กิจกรรมเหมาะสมเพียงใด อย่ใู นระดับความสาคญั “มากที่สุด” โดยข้อ ๑.สถานท่ีเรียนเหมาะสมเพียงใด
อยใู่ นระดับความสาคญั “มาก” ตามลาดับ

๒.๔ ผลการวเิ คราะหร์ ะดบั ความพึงพอใจ/ความรคู้ วามเขา้ ใจ/การนาไปใช้ ของผู้เข้าร่วมโครงการ ด้าน
ความรทู้ ่ไี ด้รบั /การนาความรู้ไปใช้โดยภาพรวมและรายข้อปรากฏดงั ตาราง ท่ี ๘

ตารางท่ี ๘ ค่าเฉลี่ย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้
ของผูเ้ ข้าร่วมโครงการ ดา้ นความรทู้ ่ีไดร้ ับ/การนาความร้ไู ปใช้ จาแนกโดยภาพรวมและรายข้อ

ดา้ นความรู้ท่ีได้รบั /การนาความร้ไู ปใช้ xˉ S.D. ระดับความสาคญั

๑.ท่านไดร้ บั ความรู้/ทักษะจากการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมมากเพยี งใด ๔.๕๔ .๕๔๔ มากทีส่ ดุ

๒.ท่านสามารถนาความร้/ู ทักษะที่ได้ ไปใชไ้ ด้มากเพยี งใด ๔.๔๙ .๕๐๔ มาก

๓.ทา่ นไดร้ บั โอกาสในการเรียนรเู้ ท่าเทียมกนั เพียงใด ๔.๔๐ .๕๗๔ มาก

๔.ความร้ทู ่ีไดร้ บั คุ้มค่ากบั เวลา และความตง้ั ใจเพียงใด ๔.๔๐ .๖๔๔ มาก

๕.ท่านพึงพอใจต่อหลักสูตรน้ีเพยี งใด ๔.๕๔ .๕๐๔ มากทีส่ ุด

คา่ เฉลย่ี ๔.๔๖ .๒๔๑ มาก

จากตารางท่ี ๘ พบว่าระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้ ของผู้เข้าร่วมโครงการ
ด้านความรทู้ ีไ่ ดร้ บั /การนาความรู้ไปใช้ โดยภาพรวมอยู่ในระดับความสาคัญ “มาก” และเมื่อพิจารณาเป็นราย
ข้อ พบว่าข้อ ๑.ท่านได้รับความรู้/ทักษะจากการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมมากเพียงใด และข้อ ๕.ท่านพึง
พอใจต่อหลักสูตรน้ีเพียงใด อยู่ในระดับความสาคัญ “มากที่สุด”โดยข้อ ๒.ท่านสามารถนาความรู้/ทักษะท่ีได้
ไปใชไ้ ด้มากเพยี งใดขอ้ ๓.ทา่ นได้รบั โอกาสในการเรียนรู้เท่าเทียมกันเพียงใด และข้อ ๔.ความรู้ที่ได้รับคุ้มค่ากับ
เวลา อยใู่ นระดบั ความสาคัญ “มาก”ตามลาดบั

ตอนท่ี ๓ ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลเก่ยี วกับข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ของผู้เขา้ ร่วมโครงการ
- อยากให้มีการจัดโครงการส่งเสริมด้านสุขภาพแบบนี้อีก เพราะเป็นเรื่องท่ีมีประโยชน์

สามารถนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวันได้ และดูแลคนในครอบครวั ได้

สรุปผลการดาเนนิ งาน 20

โครงการเสริมสรา้ งสุขภาวะอนามยั ในชุมชนเจาะไอรอ้ ง

บทท่ี ๕
สรปุ ผลการประเมิน อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

การประเมินโครงการน้ีเป็นการประเมินโครงการเสริมสร้างสุขภาวะอนามัยในชุมชนเจาะไอร้องข้ึน
ของ กศน.ตาบลมะรือโบออก ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเจาะไอร้อง ในบทนี้
จะสรปุ ถึงวตั ถปุ ระสงค์ ขอบเขตการประเมนิ ประชากร เครอ่ื งมือในการประเมิน วธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล การ
วิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลการประเมนิ การอภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะตามลาดับตอ่ ไปนี้

วัตถุประสงค์ของการประเมิน
๑. เพื่อให้กลมุ่ เปา้ หมายมีความรู้ ความเขา้ ใจ ในการดแู ลสุขภาวะอนามยั ในสตรีตั้งครรภ์ และสุขภาวะ

อนามัยในเด็ก
๒. เพ่ือใหก้ ลมุ่ เป้าหมายมที ักษะในการดูแลสขุ ภาวะอนามยั ในสตรตี ้ังครรภ์ และสุขภาวะอนามยั ในเดก็
๓. เพอื่ ให้กล่มุ เป้ำหมำยสำมำรถนำควำมรมู้ ำใชใ้ นกำรดำเนินชวี ติ ประจำวันได้อยำ่ งมปี ระสิทธิภำพ

สมมติฐานของการประเมนิ
ความพึงพอใจของผู้เขา้ ร่วมโครงการเสรมิ สร้างสุขภาวะอนามัยในชุมชนเจาะไอร้อง

ขอบเขตการประเมนิ
การประเมินโครงการคร้ังนี้เป็นการประเมินมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการโครงการเสริมสร้างสุข

ภาวะอนามยั ในชุมชนเจาะไอร้องได้ โดยดาเนนิ การประเมนิ ระหว่างเดอื นมกราคม ๒๕๖๕

ประชากรที่ใช้ในการประเมิน
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเสริมสร้างสุขภาวะอนามัยในชุมชนเจาะไอร้อง ตาบลมะรือโบออก

รวมจานวนทง้ั สน้ิ 13 คน

เครื่องมอื ท่ใี ช้ในการประเมนิ

เคร่ืองมือท่ีใช้ในการประเมินโครงการ เป็นแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการเรียนรู้

โครงการเสริมสร้างสขุ ภาวะอนามยั ในชมุ ชนเจาะไอรอ้ งโดยแบ่งเป็น ๓ ตอน มรี ายละเอยี ดดงั น้ี

ตอนที่ ๑ เป็นแบบประเมินเกี่ยวกับข้อมูลสถานภาพทั่วไปของผู้เข้าร่วมโครงการต่อการเรียนรู้ มี

ลกั ษณะเปน็ แบบตวั เลือกท่ีกาหนดคาตอบไวใ้ ห้ ประกอบดว้ ย เพศ อายุ การศกึ ษา และอาชพี

ตอนท่ี ๒ เป็นแบบประเมินเก่ียวกบั ระดับความพึงพอใจ/ความร้คู วามเขา้ ใจ/การนาไปใช้ ของผู้เข้าร่วม

โครงการต่อการเรียนรู้ มี ๓ ด้าน ดังน้ี

๑. ด้านวิทยากร จานวน ๔ ขอ้

๒. ดา้ นสถานท/ี่ สื่ออปุ กรณ์/ระยะเวลา จานวน ๓ ขอ้

๓. ด้านความรู้ทีไ่ ด้รับ/การนาความรไู้ ปใช้ จานวน ๕ ขอ้

มีข้อคาถามจานวน ๑๒ ข้อ ลักษณะแบบประเมินเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มี

๕ ระดับ โดยกาหนดค่าของคะแนน ๕ , ๔ , ๓ , ๒ และ ๑ โดยให้ผู้เข้าร่วมโครงการพิจารณาข้อความในแต่ละ

ข้อท่ีเก่ียวข้องกับระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้ ของผู้เรียนต่อการเรียนรู้ว่าอยู่ในระดับ

ใด ซึ่งใช้เกณฑ์สัมบูรณ์ (Absolute Criteria) ในการแปลความหมาย โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนดังน้ี (รศ.ดร.

บญุ ชม ศรีสะอาด)

สรุปผลการดาเนินงาน 21
โครงการเสริมสร้างสุขภาวะอนามยั ในชุมชนเจาะไอร้อง

๕ หมายถงึ มคี วามพึงพอใจ อยู่ในระดับมากทส่ี ดุ
๔ หมายถึง มีความพงึ พอใจ อยู่ในระดบั มาก
๓ หมายถึง มคี วามพึงพอใจ อยใู่ นระดับปานกลาง
๒ หมายถึง มคี วามพงึ พอใจ อยู่ในระดับอยู่ในระดบั น้อย
๑ หมายถึง มีความพึงพอใจ อยู่ในระดับน้อยท่สี ุด
ตอนที่ ๓ เป็นแบบประเมนิ เก่ียวกับข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ของผเู้ ขา้ รว่ มโครงการตอ่ การเรียนร้ใู นโครงการ

การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
ผปู้ ระเมินได้ดาเนนิ การเก็บรวบรวมขอ้ มูล โดยมีขน้ั ตอนดังน้ี
๑. ให้วทิ ยากรดาเนนิ การบรรยาย สาธิต และฝึกปฏบิ ัติ ตามหลกั สตู รของโครงการ
๒. เม่ือดาเนินโครงการครบตามหลักสูตรแล้ว ผู้ประเมินให้ผู้เข้าร่วมโครงการทาแบบประเมินความพึง

พอใจของผเู้ รียนต่อการเรยี นรโู้ ครงการ
๓. เม่ือผู้ประเมินได้รับแบบประเมินคืน ผู้ประเมินดาเนินการมาตรวจสอบความสมบูรณ์ ถูกต้อง ของ

แบบประเมนิ แล้วดาเนินการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ตามข้นั ตอนการประเมนิ โครงการตอ่ ไป

การวเิ คราะหข์ ้อมูล
การประเมินในคร้ังนี้ ผู้ประเมินได้ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูป

(SPSS.) เพือ่ ประมวลผลและหาคา่ ทางสถิติ โดยดาเนินการตามขัน้ ตอนดังนี้
๑. ตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบประเมิน
๒. วิเคราะหข์ ้อมลู เกยี่ วกับขอ้ มูลสถานภาพทั่วไปของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ โดยการหาค่ารอ้ ยละ
๓. วิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้ ของผู้เข้าร่วม

โครงการ โดยการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard
Deviation) เพ่อื ทราบระดบั ความพงึ พอใจ/ความร้คู วามเข้าใจ/การนาไปใช้ของผู้เข้าร่วมโครงการ เมื่อหาค่าได้
แล้วนาค่าไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์การวิเคราะห์ผลการประเมิน โดยวิธีการแปลผลตามเกณฑ์สัมบูรณ์
(Absolute Criteria) โดยใช้เกณฑ์การประเมินของตามแบบของ รศ.ดร.บุญชม ศรีสะอาดแปลผลคะแนนเป็น
ช่วงๆ ซึง่ มีความหมาย ดงั นี้

คา่ เฉล่ยี ๔.๕๑ - ๕.๐๐ แปลความวา่ ผู้เขา้ รว่ มโครงการมคี วามพึงพอใจมากที่สดุ
คา่ เฉลี่ย ๓.๕๑ - ๔.๕๐ แปลความว่า ผเู้ ข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจมาก
ค่าเฉล่ีย ๒.๕๑ - ๓.๕๐ แปลความวา่ ผู้เขา้ รว่ มโครงการมคี วามพึงพอใจปานกลาง
คา่ เฉลยี่ ๑.๕๑ - ๒.๕๐ แปลความวา่ ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการมคี วามพึงพอใจน้อย
คา่ เฉลี่ย ๑.๐๐ - ๑.๕๐ แปลความว่า ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการมคี วามพึงพอใจน้อยทสี่ ดุ

สรุปผลการดาเนินงาน 22
โครงการเสรมิ สร้างสขุ ภาวะอนามยั ในชมุ ชนเจาะไอรอ้ ง

สรปุ ผลการประเมนิ
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลตามวัตถุประสงคเ์ กี่ยวกบั ผู้เขา้ รว่ มโครงการตอ่ การเรยี นรูโ้ ครงการ
๑. ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ระดับความพงึ พอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้ ของผู้เข้าร่วมโครงการ

ประกอบด้วยด้านวิทยากร ด้านสถานท่ี/สื่ออุปกรณ์/ระยะเวลา และด้านความรู้ที่ได้รับ/การนาความรู้ไปใช้
พบวา่

- ระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้ ของผู้เข้าร่วมโครงการ โดยภาพรวม
อยู่ในระดับความสาคัญ “มากที่สุด” เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านสถานท่ี/ส่ืออุปกรณ์/
ระยะเวลา และด้านวิทยากรอยู่ในระดับความสาคัญ “มากที่สุด” โดยด้านความรู้ท่ีได้รับ/การนา
ความรู้ไปใช้ อยู่ในระดับความสาคัญ “มาก” ตามลาดบั
๒. ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลระดบั ความพงึ พอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้ ของผู้เข้าร่วมโครงการ
ด้านวิทยากรโดยภาพรวมและรายข้อ พบว่า

- ระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้ ของผู้เข้าร่วมโครงการ ด้านวิทยากร
โดยภาพรวมอยู่ในระดับความสาคัญ “มากที่สุด” และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่าข้อ ๑.วิทยากร
มาให้ความรตู้ รงตามเวลา และขอ้ ๔.เนือ้ หาวชิ าท่ีจัดการเรียนรู้ตรงตามความต้องการของท่านเพียงใด
อยใู่ นระดับความสาคัญ “มากท่ีสุด” โดยข้อ ๓.ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากรและ
ข้อ๒.วิทยากรมาใหค้ วามรู้ครบตามหลักสตู รกาหนดอยู่ในระดับความสาคญั “มาก” ตามลาดับ
๓. ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูลระดับความพงึ พอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้ ของผู้เข้าร่วมโครงการ
ด้านสถานท่ี/สือ่ อปุ กรณ/์ ระยะเวลา โดยภาพรวมรายข้อ พบว่า

- ระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้ ของผู้เข้าร่วมโครงการ ด้านสถานที่/
สอื่ อปุ กรณ/์ ระยะเวลา โดยภาพรวมอยใู่ นระดับความสาคัญ “มากท่ีสุด” และเม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ
พบวา่ ขอ้ ๒.จานวนสื่อ/อปุ กรณก์ ารฝกึ ประกอบการเรียนเพียงพอเพียงใด และข้อ ๓.ระยะเวลาในการ
เรียน/กิจกรรมเหมาะสมเพียงใด อยู่ในระดับความสาคัญ “มากที่สุด” โดยข้อ ๑.สถานที่เรียน
เหมาะสมเพียงใดอยูใ่ นระดับความสาคัญ “มาก” ตามลาดับ
๔. ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลระดบั ความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้ ของผู้เข้าร่วมโครงการ
ดา้ นความรูท้ ีไ่ ดร้ บั /การนาความรไู้ ปใช้ โดยภาพรวมและรายขอ้ พบวา่

- ระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้ ของผู้เข้าร่วมโครงการ ด้านความรู้ที่
ได้รับ/การนาความรู้ไปใช้ โดยภาพรวมอยู่ในระดับความสาคัญ “มาก” และเม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ
พบว่าข้อ ๑.ท่านได้รับความรู้/ทกั ษะจากการเขา้ ร่วมโครงการ/กิจกรรมมากเพียงใด และข้อ ๕.ท่านพึง
พอใจต่อหลักสูตรนี้เพียงใด อยู่ในระดับความสาคัญ “มากที่สุด”โดยข้อ ๒.ท่านสามารถนาความรู้/
ทักษะท่ีได้ ไปใช้ได้มากเพียงใดข้อ ๓.ท่านได้รับโอกาสในการเรียนรู้เท่าเทียมกันเพียงใด และข้อ ๔.
ความรทู้ ไ่ี ดร้ บั คุ้มค่ากับเวลา อยูใ่ นระดับความสาคญั “มาก”ตามลาดับ

สรุปผลการดาเนนิ งาน 23
โครงการเสริมสร้างสขุ ภาวะอนามยั ในชุมชนเจาะไอรอ้ ง

การอภิปรายผล
การอภิปรายผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้ประเมินอภิปรายผลตาม

วัตถปุ ระสงค์ ดังนี้
ข้อ ๑. เพ่ือให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเสริมสร้างสุขภาวะอนามัยในชุมชนเจาะ

ไอร้องไดถ้ กู ต้อง
พบวา่ กลมุ่ เป้าหมายท่เี ขา้ รว่ มโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการเสริมสร้างสุขภาวะอนามัยใน

ชุมชนเจาะไอร้องได้ถูกต้อง อยู่ในระดับความสาคัญ“มากท่ีสุด” ทั้งนี้อาจเป็นเพราะวิทยากรมีเทคนิคในการ
ถ่ายทอดความรใู้ หก้ บั กลุ่มเปา้ หมาย การใชส้ อ่ื ต่างๆ ตามหลักสูตรที่กาหนด ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของกิจจา
เวสประชุม ที่ได้กล่าวถึงขอบข่ายของการจัดการเรียนการสอน ประกอบไปด้วย “วิทยากร” ซึ่งเป็นบุคคล
สาคัญทจี่ ะถ่ายทอดวิชาความรู้ มีความชัดเจนในเน้ือหาวิชามีประสบการณ์ทางการสอนมีความสามารถในการ
ปรับเน้ือหาวิชาตามสภาพของผู้เรียน และ “ส่ือการเรียนการสอน” น้ัน มีความสาคัญเป็นอย่างมากเพราะ
นอกจากจะเป็นการสร้างความสนใจให้กับผู้เรียนเกิดความอยากเรียนรู้แล้วยังช่วยให้ผู้เรียน เรียนได้ดีและ
รวดเร็วข้นึ (หนา้ ๑๖)

ขอ้ ๒. เพอื่ ให้กลุ่มเป้าหมายสามารถนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน และร่วมกันดูแลคนใน
ชุมชนได้อย่างเหมาะสม

พบวา่ กล่มุ เปา้ หมายทเ่ี ขา้ ร่วมโครงการสามารถนาความรู้ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการดาเนินชีวิตประจาวัน อยู่
ในระดบั ความสาคัญ “มาก” ทง้ั น้ีอาจเป็นเพราะเนื้อหาวิชาที่จัดการเรียนรู้ตรงตามความต้องการของผู้เข้าร่วม
โครงการ อันเกิดจากการวางแผนการการดาเนินของสถานศึกษาท่ีเริ่มจากสารวจ/จัดเวทีประชาคม เพ่ือทราบ
จานวนและความต้องการของกลุ่มเป้าหมายสอดคล้องกับคู่มือการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน ท่ีได้ระบุใน
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน๑.การสารวจสภาพปัญหาและความต้องการของประชาชนและ
กลุ่มเป้าหมาย สถานศึกษาสามารถดาเนินการได้ด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย เช่น การจัดเวทีประชาคม การใช้
ข้อมูลสารสนเทศในแผนจุลภาค (Micro Planning) แผนชุมชน ข้อมูล จปฐ. นโยบาย และข้อมูลที่เก่ียวข้อง
และนาข้อมลู มาวเิ คราะหพ์ รอ้ มจัดลาดับความตอ้ งการและความจาเป็น (หน้าท่ี ๑๒) อีกทั้งกลุ่มเป้าหมายที่เข้า
ร่วมโครงการเปน็ ประชาชนทว่ั ไปในพื้นท่ีอาเภอเจาะไอร้อง ทาให้มีแรงจูงใจต่อการเรียนรู้โครงการดังกล่าว ซ่ึง
สามารถนาความรู้และประสบการณ์ไปประยุกต์ในการดาเนินชีวิตประจาวันได้ สอดคล้องกับคู่มือการจัด
กจิ กรรมฝกึ อบรมประชาชน ที่ได้ระบุในตอนท่ี ๒ การจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน เป็นกระบวนการท่ีจะทา
ให้ผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรม มีความรู้ มีทกั ษะ และเจตคติ ในเร่ืองใดเรือ่ งหนงึ่ (หนา้ ที่ ๑๒)

ข้อเสนอแนะ
๑. อยากให้มีการจัดโครงการส่งเสริมด้านสุขภาพแบบนี้อีก เพราะเป็นเรื่องที่มีประโยชน์ สามารถ

นาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้ และดแู ลคนในครอบครวั ได้

สรุปผลการดาเนนิ งาน 24

โครงการเสรมิ สร้างสุขภาวะอนามยั ในชุมชนเจาะไอรอ้ ง

ภาคผนวก

สรุปผลการดาเนนิ งาน
โครงการเสริมสรา้ งสขุ ภาวะอนามยั ในชุมชนเจาะไอร้อง

ภาคผนวก ก

โครงการเสริมสรา้ งสุขภาวะอนามยั ในชุมชนเจาะไอรอ้ ง

สรุปผลการดาเนนิ งาน
โครงการเสรมิ สรา้ งสขุ ภาวะอนามยั ในชมุ ชนเจาะไอร้อง

ภาคผนวก ข

ใบลงทะเบียนผูเ้ ข้ารว่ ม
โครงการเสริมสร้างสุขภาวะอนามยั ในชุมชนเจาะไอรอ้ ง

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน
โครงการเสรมิ สร้างสขุ ภาวะอนามยั ในชุมชนเจาะไอร้อง

ภาคผนวก ค

แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ
โครงการเสรมิ สร้างสุขภาวะอนามัยในชุมชนเจาะไอรอ้ ง

สรุปผลการดาเนนิ งาน
โครงการเสริมสรา้ งสุขภาวะอนามยั ในชุมชนเจาะไอร้อง

ตำบลมะรอื โบออก

แบบประเมินความพึงพอใจของผ้เู รียนตอ่ การเรยี นรู้
โครงการเสริมสรา้ งสขุ ภาวะอนามยั ในชุมชนเจาะไอร้อง

วนั ท่ี 1๐ เดือน มกราคม พ.ศ.256๕
สถานทีจ่ ดั ณ อาคารอเนกประสงค์ กศน.อาเภอเจาะไอร้อง จงั หวัดนราธวิ าส

*********************************************
คาอธิบาย แบบประเมินฉบบั น้ีมีท้ังหมด 3 ตอน ขอให้ผู้ตอบแบบประเมินตอบให้ครบทั้ง 3 ตอน เพอื่ ให้การดาเนินโครงการ/กิจกรรม

เป็นไปตามวัตถุประสงค์และเพื่อเปน็ ประโยชน์ในการนาไปใช้ต่อไป

ตอนท่ี 1 สถานภาพทวั่ ไป

คาชี้แจงโปรดทาเครือ่ งหมาย ลงในชอ่ ง  หน้าข้อความ

1. เพศ

 หญงิ  ชาย

2. อายุ ต่ากวา่ 15 ปี  15-39 ปี  40-59 ปี 60 ปขี น้ึ ไป

3. การศกึ ษา
 ต่ากว่าประถมศึกษา  ประถมศกึ ษา  มัธยมศึกษาตอนต้น  มธั ยมศึกษาตอนปลาย  อื่นๆ.........................

4. อาชพี  เกษตรกร  รบั จา้ ง  ธรุ กจิ สว่ นตวั อืน่ ๆ (ระบุ).........................................................

ตอนท่ี 2 ระดบั ความพึงพอใจ / ความรู้ความเข้าใจ / การนาไปใช้ ต่อการเข้ารว่ มโครงการ
คาชี้แจงโปรดทาเครื่องหมาย  ลงในชอ่ งทต่ี รงกบั ความพึงพอใจของทา่ นเพยี งระดบั เดียว

ระดบั ความพึงพอใจ

ที่ ประเดน็ การถาม 5 43 2 1
ดมี าก
ด้านวิทยากร ดี พอใช้ ตอ้ ง ตอ้ งปรับปรงุ
1 วิทยากรมาให้ความรูต้ รงตามเวลา ปรบั ปรงุ เรง่ ด่วน
2 วทิ ยากรมาใหค้ วามรู้ครบตามหลกั สตู รกาหนด
3 ความสามารถในการถ่ายทอดความรขู้ องวทิ ยากร
4 เนื้อหาวชิ าทจ่ี ัดการเรยี นร้ตู รงตามความตอ้ งการของทา่ นเพยี งใด
ด้านสถานท/ี่ สอื่ อุปกรณ/์ ระยะเวลา
5 สถานท่ีเรยี นเหมาะสมเพยี งใด
6 จานวนส่อื /อปุ กรณก์ ารฝกึ ประกอบการเรียนเพียงพอเพียงใด
7 ระยะเวลาในการเรียน/ กิจกรรมเหมาะสมเพียงใด
ด้านความรู้ทีไ่ ดร้ ับ/การนาความรูไ้ ปใช้
8 ทา่ นได้รบั ความรู้/ทักษะจากการเขา้ รว่ มโครงการ/กจิ กรรมมากเพยี งใด
9 ท่านสามารถนาความร/ู้ ทกั ษะท่ไี ด้ ไปใชไ้ ดม้ ากเพียงใด
10 ทา่ นไดร้ ับโอกาสในการเรยี นรูเ้ ท่าเทียมกันเพยี งใด
11 ความรทู้ ่ไี ดร้ บั คุ้มคา่ กบั เวลา และความตัง้ ใจเพียงใด
12 ทา่ นพึงพอใจตอ่ หลกั สูตรนีเ้ พยี งใด

ตอนที่ 3ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………....................………………………………………………………………

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน
โครงการเสรมิ สร้างสุขภาวะอนามยั ในชุมชนเจาะไอร้อง

ภาคผนวก ง

ภาพกจิ กรรม
โครงการเสรมิ สร้างสขุ ภาวะอนามยั ในชุมชนเจาะไอรอ้ ง

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน
โครงการเสรมิ สร้างสุขภาวะอนามยั ในชุมชนเจาะไอรอ้ ง

สรุปผลการดาเนนิ งาน
โครงการเสริมสร้างสขุ ภาวะอนามยั ในชมุ ชนเจาะไอรอ้ ง

คณะผู้จดั ทา

ท่ีปรกึ ษา หะยมี ะปีเยาะ ประธานกรรมการกศน.ตาบลมะรือโบออก
สาหลงั ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอเจาะไอร้อง
นายวนั ซูลกัรนยั
นายคมกฤช ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอเจาะไอร้อง
ครอู าสาสมัครประจาสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ
สนบั สนุนข้อมูล สาหลัง ครูอาสาสมัครประจาสถาบันศกึ ษาปอเนาะ
สอดี ครู กศน.ตาบล
นายคมกฤช เอ่ียมสะอาด บรรณารกั ษ์
นายสุรศกั ด์ิ เจ๊ะเมาะ
นางสาวนิรดา ซายอ ครผู ูช้ ว่ ย
นางสาวมาดฮี ๊ะ
นางสาวรัตนาวาตี

เรียบเรียง/ทาน/ต้นฉบบั /จดั พิมพ์

นางสาวซาณียา ยะโก๊ะ

สรุปผลการดาเนนิ งาน
โครงการเสริมสรา้ งสุขภาวะอนามยั ในชุมชนเจาะไอรอ้ ง

บรรณานุกรม

อัญชลี ธรรมะวธิ ีกุล.(ออนไลน)์ . การนิเทศการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
เข้าถงึ ไดจ้ าก : https : //panchalee.wordpress.com/2009/07/29/nfe-supervision
(วนั ท่สี บื ค้นข้อมูล:๒๓ มกราคม ๒๕๖๐)

รศ.ดร.บุญชม ศรีสะอาด การแปลผลเมอ่ื ใชเ้ ครื่องมือรวบรวมข้อมูลแบบมาตราส่วนประมาณค่า
เข้าถึงไดจ้ ากhttps : //www.watpon.com/boonchom/05.doc
(วนั ทส่ี ืบค้นข้อมลู :๒๓ มกราคม ๒๕๖๐)

ค่มู อื การจดั การศึกษาต่อเนื่อง(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๕๙)
เขา้ ถึงได้จาก:http://203.146.15.79/ROS/index.php/2015-03-31-08-45-49/2015-

04-02-02-54-10/2015-04-02-16-46-42 (วันท่สี ืบค้นขอ้ มลู : ๒๓ มกราคม ๒๕๖๐)

คมู่ ือการจดั กจิ กรรมฝึกอบรมประชาชน ตามหลกั เกณฑ์การเบิกค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน
ของสถานศึกษา ในสงั กดั สานกั งาน กศน.

เข้าถึงได้จาก:http://203.146.15.79/ROS/index.php/2015-03-31-08-45-49/2015-
04-02-02-54-10/2015-04-02-16-46-42 (วันทีส่ บื ค้นขอ้ มูล : ๒๓ มกราคม ๒๕๖๐)

11. นายสรุ ศักดิ์ สอีด ครอู าสาสมัครประจาสถาบันศกึ ษาปอเนาะ
บรรณารกั ษ์
12. นางสาวรตั นาวาตี ซายอ เจ้าหน้าทบ่ี ันทึกข้อมูล

13. นางสาวนารีซะห์ อาแวกาจิ

สรุปผลการดาเนนิ งาน
โครงการเสริมสร้างสุขภาวะอนามยั ในชุมชนเจาะไอรอ้ ง

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอเจาะไอร้อง
ถนน เจาะไอร้อง-ไอสะเตียร์ ตาบลจวบ อาเภอเจาะไอรอ้ ง
จงั หวดั นราธิวาส 96130
โทรศัพท์ 073-544177 โทรสาร 073-544177
E-mail : [email protected]


Click to View FlipBook Version