ความสาเรจ็ ในการจัดทาผลการปฏบิ ัติงานทีด่ ี (Best Practice)
ชอื่ ผลงาน : กจิ กรรมส่งเสรมิ การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
ชอ่ื ผู้เสนอโครงงาน : นายสุรศกั ด์ิ สอีด
กศน. : สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะมะฮห์ ัดฟจั รลู อสิ ลาม ตาบลมะรอื โบออก
สงั กัด : ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเจาะไอร้อง
โทรศัพท์ : -
โทรศพั ท์มือถอื : ๐๘๙-5964936
E-mail : [email protected]
รายละเอยี ดการนาเสนอผลงาน
ข้อมลู ทัว่ ไป
ข้อมลู พืน้ ฐานสถาบันศึกษาปอเนาะมะฮ์หัดฟจั รูลอิสลาม
ประวตั ิความเปน็ มาของสถาบันศึกษาปอเนาะมะฮห์ ัดฟัจรูลอสิ ลาม
สถาบนั ศึกษาปอเนาะมะฮ์หัดฟัจรุลอิสลาม เร่ิมก่อตั้งเมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๔๕๐ เดิมชื่อปอเนาะจูโว๊ะ
เป็นปอเนาะท่ีเก่าแก่ปอเนาะหนึ่งในจังหวัดนราธิวาส ผู้ก่อตั้งคนแรกคืออัลมัรฮูมฮัจยีมูฮัมมัดยูโซ๊ะ บินอับดุล
เลา๊ ะ หรอื ทรี่ ้จู ักกันในนามโต๊ะจูโว๊ะ จนถึงปี พ.ศ. ๒๔๙๐ ท่านโต๊ะครูไดเ้ สียชวี ติ ดว้ ยโรคชรา รวมอายุได้ ๗๕ ปี
โต๊ะครูคนทีส่ อง คอื อัลมรั ฮมู ฮัจยีมูฮัมมัดอัดฮัม บินอับดุลเล๊าะหรือที่รู้จักกันในนามอาเยาะห์ซู ซึ่งเป็น
น้องคนสุดท้องของอัลมัรฮูมฮัจยีมูฮัมมัด ยูโซ๊ะ ได้ทาหน้าที่สืบทอดเจตนารมณ์ของท่านครู ด่ังเดิมนั้นปอเนาะ
ตงั้ อยู่บ้านจูโว๊ะ หมู่ที่ ๕ ตาบลมะรือโบออก อาเภอเจาะไอรอ้ ง จงั หวัดนราธวิ าสเน่ืองจากพื้นท่ีของปอเนาะคับ
แคบเกินไป จาเป็นต้องย้ายไปอยู่ ณ บ้านกาปงดาลัม หมู่ที่ ๑ ตาบลมะรือโบออกอาเภอเจาะไอร้อง จังหวัด
นราธิวาส โดยท่ีอาเยาะห์ซูได้ต้ังช่ือปอเนาะว่า มัดราซะห์ตัรบียตุลซาฆอฟะห์ อาเยาะห์ซูได้เสียชีวิตไปด้วยโรค
ชรา เม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๓๓ รวมอายุได้ ๘๖ ปี
โต๊ะครูคนปัจจุบัน นายอับดุลฟัตตะห์ ยีอาแว (อาเยาะห์ลง) เป็นบุตรชายคนโตของโต๊ะครูคนที่สอง
(อัลมัรฮูมฮัจยีมูฮัมมัดอัดฮัม บินอับดุลเล๊าะ) โดยเร่ิมเรียนศาสนากับท่านบิดาต้ังแต่เล็ก เริ่มทาหน้าที่แทนบิดา
ในปี พ.ศ. ๒๕๐๓
ต่อมาปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ในวันอาทิตย์ท่ี ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ได้มีการจดทะเบียนสถาบันปอเนาะใน
พืน้ ท่จี ังหวดั ชายแดนภาคใต้ มัดราซะห์ตัรบียตลุ ซาฆอฟะห์ ได้เปลี่ยนช่ือเป็นสถาบันศึกษาปอเนาะมะฮ์หัดฟัจรุล
อิสลาม ตงั้ อยู่บนพ้นื ที่ราบเชงิ แมน่ า้ มีพนื้ ที่ทั้งหมด ๒๐ ไร่
Best Practice หนา้ 1
รายชื่อเจา้ ของสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะมะฮ์หดั ฟจั รลุ อสิ ลาม
- นายอับดุลฟัตตะห์ ยอี าแว เป็นเจา้ ของสถาบันศึกษาปอเนาะมะฮ์หัดฟจั รุลอิสลาม
- นายอับดุลฟตั ตะห์ ยีอาแว เปน็ ผไู้ ดร้ บั ใบอนุญาต
สถานที่ตง้ั
ต้ังอยเู่ ลขท่ี ๑๐๕ หมู่ที่ ๑ ตาบลมะรอื โบออก อาเภอเจาะไอร้อง จังหวดั นราธวิ าส
รหัสไปรษณีย์ ๙๖๑๓๐
พิกัดตาแหนง่ สถาบันศกึ ษาปอเนาะ (GPS)
X = 6.26540 Y = 101.86000
Website หรือ Fanpage สถาบนั ศึกษาปอเนาะมะฮ์หดั ฟัจรลู อสิ ลาม
Fanpage : ปอเนาะมะฮห์ ดั ฟัจรลู อิสลาม
Facebook : ปอเนาะมะฮ์หัดฟจั รลู อิสลาม
Mail : [email protected]
ลกั ษณะพื้นท่ี
ลักษณะพ้ืนท่ีจะเป็นพ้ืนที่ราบ เชิงแม่น้า มีเนื้อที่ ๒๐ ไร่ และเน้ือที่สาหรับการเกษตร จานวน ๓๐ ไร่
(เป็นของเอกชนแต่ยินดีให้สถาบันศึกษาปอเนาะใช้ในการพัฒนาผู้เรียน) มีอาคารบาลัย (อาคารละหมาดและ
เรยี นกตี าบ) อาคารประกอบ คอื ทีพ่ กั นกั เรยี น (ปอเนาะ)
การคมนาคม
การคมนาคมของสถาบันศึกษาปอเนาะปอเนาะมะฮ์หัดฟัจรุลอิสลามมีความสะดวก คือจะเป็นการ
คมนาคมทางบกโดยรถ
การจดั การเรียนการสอน
การเรยี นการสอนท่ีสถาบันศึกษาปอเนาะมะฮ์หัดฟัจรุลอิสลาม ยึดหลักการศึกษาตามวิธีทางอิสลาม คือ
เป็นการศึกษาตลอดชีวิต ดังนั้น จะไม่มีลักษณะการจัดระบบการเรียนการสอนที่เป็นช้ันเรียน แต่จะใช้ตาราที่
เรียกว่า “กีตาบ” เป็นแบบเรียนที่ เป็นมรดกทางวรรณกรรมของศาสนาอิสลาม ดังนั้นจึงไม่สามารถระบุ
ระยะเวลาเรียนของนักเรียนได้ ข้ึนอยู่กับความสามารถในการเรียนรู้แต่ละบุคคลและเรียนรู้ตลอดชีวิต ตาม
หลักการศกึ ษาเจตนารมณแ์ ห่งอสิ ลาม – มุสลิม คือ ผูเ้ รียนรู้ตลอดเวลา
Best Practice หนา้ 2
รายวิชาอสิ ลามศึกษาท่ีจดั การเรยี นการสอนในสถาบนั ศึกษาปอเนาะ
๑.รายวิชาอัล – กุรอาน และกีรออาตี ๒.รายวชิ าอัล – หะดีษ (วัจนะ)
๓.รายวิชาหลัการศรทั ธา (เตาฮดี ) ๔.รายวิชาศาสนบญั ญตั ิ (ฟกิ ฮ)์
๕.รายวชิ าจรยิ ธรรม (อลั อัคลาก หรอื ตะเซาวุฟ) ๖.รายวชิ าอกั ษรวธิ ี (นะฮ)ู
๗.รายวชิ าวากะสัมพันธ์ (ซอรฟ)์ ๘.รายวิชาอรรถาธบิ ายอัล – กุรอาน (ตัฟซีร)
๙.รายวชิ าหลกั การอ่านอัล – กุรอาน (ตจั วีด) ๑๐.รายวชิ าหลกั การอรรถาธบิ ายอลั – กุรอาน (อศู ลู ตัฟซีร)
๑๑. รายวชิ าหลกั การวจั นะ (อูศลู หะดีษ) ๑๒. รายวชิ าหลกั ศาสนบัญญัติ (อูศลู ฟิกฮ์)
๑๓.รายวิชาแบง่ มรดก (ฟารออิฎ) ๑๔.รายวชิ าศาสนาประวัติ (ตารีต)
๑๕.รายวิชาสานวนโวหาร (อับ – บาลาเฆาะฮ)์ ๑๖.รายวชิ าตรรกวทิ ยา (มนั ฎิก)
ข้อมลู ผูเ้ รยี น
สถาบันศึกษาปอเนาะดารุลกุรอาน มีนักเรียนทั้งสิ้น 365 คน โดยผู้เรียนท้ังหมดจะพักอาศัยใน
บรเิ วณสถาบันศึกษาปอเนาะท้ังหมดโดยแยกเป็นชายจานวน 210 คน และผู้หญิงจานวน 155 คน สาหรับ
นกั ศกึ ษาทเ่ี รยี นกับ กศน. อาเภอเจาะไอร้องในภาคเรยี น 2/2562 น้ี จานวน 42 คน แบ่งเปน็ 3 ระดับดังน้ี
1. ระดับประถมศกึ ษา จานวน - คน
2. ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จานวน 24 คน
3. ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 18 คน
สถานทตี่ ง้ั
สถานที่ตั้งเลขที่ ๑๐๕ หมู่ที่ 1 บ้านกาปงดาลัม ตาบลมะรือโบออก อาเภอเจาะไอร้อง
จงั หวัดนราธิวาส ๙๖๑๓๐
ปรัชญาสถาบนั
ใฝ่เรยี นรู้ คูค่ ุณธรรม นาศรัทธาชน สงั คมพฒั นา
วิสัยทัศน์
เป็นสถาบันการเรยี นการสอนศาสนาตามระบบชวี ติ อิสลาม เพ่อื ผลติ นักศกึ ษาที่มีคุณภาพทางด้านศาสนา
เพ่อื ท่ีจะมาถา่ ยถอดวชิ าศาสนาในท้องถ่ินทตี่ นอาศัยอยู่ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
เปา้ หมายของสถาบนั
1. เดก็ และเยาชนตลอดจนประชาชนได้นาหลกั การศาสนาอสิ ลามไปปฏิบัติได้อยา่ งถูกต้อง
2. สถาบนั ศกึ ษาปอนาะมโี ครงสร้างพน้ื ฐานทางดา้ นกายภาพท่มี ีระบบสามารถอานวยความสะดวก ใหแ้ ก่
ผ้เู รยี น และชมุ ชน
Best Practice หนา้ 3
3. บุคลากรในสถาบันศึกษาปอเนาะ มีความร้คู วามสารถในการบริหารจัดกร และจดั การการเรยี น การสอน
อย่างมปี ระสิทธิภาพ
4. สถาบนั ศึกษาปอเนาะเป็นแหล่งเรยี นรูแ้ ละมีสว่ นรวมในการพฒั นาสังคม
สภาพของชมุ ชน
"มะรอื โบออก" เปน็ ภาษายาวี แปลว่า ตน้ ไม้ชนดิ หน่งึ ประเภทไมเ้ นือ้ แข็ง เป็นตน้ ไม้ทีส่ งู ใหญ่ ตัง้ อยู่จุด
กง่ึ กลางหมบู่ ้าน ชาวบา้ นเรียกวา่ บา้ นมะรือโบ ชุมชนเดิมอพยพมาจากบ้านจูโวะ๊ หมู่ที่ 5 ต.มะรอื โบตก
เนอ่ื งจากวา่ "มะรอื โบออก" มีแม่น้าสายใหญผ่ ่าน และสน้ ทางคมนาคมสะดวก
พ้นื ที่
ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอาเภอเจาะไอร้อง เป็นพ้นื ทีร่ าบลุ่ม พ้นื ที่ทัง้ หมด 52,586 ตารางกโิ ลเมตร
(32,866.52 ไร)่
เขตพนื้ ที่
ทศิ เหนอื ตดิ กบั ต.กะลวุ อเหนอื อ.เมือง จ.นราธวิ าส
ทศิ ใต้ ติดกบั ต.จวบ , ต.บกู ติ อ.เจาะไอรอ้ ง จ.นราธวิ าส
ทศิ ตะวนั ออก ติดกับ ต.ไพรวัน อ.ตากใบ และ อ.สุไหงปาดี จ.นราธิวาส
ทศิ ตะวนั ตก ติดกบั ต.จวบ อ.เจาะไอร้อง และ ต.บางปอ อ.เมือง จ.นราธิวาส
อาชีพ
อาชีพหลกั ทานา, ทาสวน/ทาไร่
อาชพี เสริม ทาจากมุงหลงั คา
สาธารณปู โภค
จานวนครวั เรอื นท่มี ีไฟฟา้ ใชใ้ นเขต อบต. 1,559 ครวั เรือน คดิ เปน็ ร้อยละ 99.00 ของพ้นื ที่
การเดินทาง
จากจังหวดั นราธวิ าส เดินทางโดยรถยนต์ระยะทาง 45 กม. ถึงตาบลมะรือโบออก จากตาบลมะรือโบ ถึง
ท่ีว่าการอาเภอเจาะไอร้อง ประมาณ 6 กม. ระยะทางระหว่างหมูท่ ่ี 1 - หม่ทู ่ี 11 ตาบลมะรือโบออก ประมาณ
15 กม. เสน้ ทางถนนลาดยาง ถนนหินคลกุ บางสว่ น
นโยบายของสถาบนั ศึกษาปอเนาะมะฮห์ ดั ฟัจรลู อิสลาม
1. เพื่อเผยแพรค่ วามรดู้ า้ นศาสนา
2. เพื่ออบรมส่งั สอนเยาวชนมุสลมิ ใหเ้ ป็นคนดีและมีคุณธรรม
3. เพ่อื สรา้ งความขยนั ขันแขง็ ในการปฏิบัติศาสนกจิ
4. เพื่อเปน็ การเน้นการทางานสว่ นรวม
5. เพอื่ ให้เกิดความคิดสรา้ งสรรค์ ในการดารงชีวติ ทีด่ ี
6. เพื่อเป็นการฝกึ การใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพยี ง
Best Practice หนา้ 4
การศกึ ษา
การจัดการเรยี นการสอนสายศาสนา
การเรยี นการสอนที่สถาบันศึกษาปอเนาะมะฮ์หัดฟัจรุลอิสลาม ยึดหลักการศึกษาตามวิธีทางอิสลาม คือ
เป็นการศึกษาตลอดชีวิต ดังน้ัน จะไม่มีลักษณะการจัดระบบการเรียนการสอนท่ีเป็นชั้นเรียน แต่จะใช้ตาราท่ี
เรียกว่า “กีตาบ” เป็นแบบเรียนที่ เป็นมรดกทางวรรณกรรมของศาสนาอิสลาม ดังนั้นจึงไม่สามารถระบุ
ระยะเวลาเรียนของนักเรียนได้ ขึ้นอยู่กับความสามารถในการเรียนรู้แต่ละบุคคลและเรียนรู้ตลอดชีวิต ตาม
หลกั การศึกษาเจตนารมณ์แห่งอิสลาม–มุสลิมคือผ้เู รยี นร้ตู ลอดเวลา
การจดั การเรียนการสอนสายสามญั
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเจาะไอร้อง (กศน.อาเภอเจาะไอร้อง) ได้เข้า
มาจดั การเรยี นการสอนสายสามญั ให้กบั นกั ศึกษาท่ีอยู่ในสถาบันศึกษาปอเนาะ โดยมีครูอาสาสมัครประจาสถาบัน
ศึกษาปอเนาะ ซึ่งจะแบ่งระดับการศึกษาเป็น 3 ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และ
ระดบั มธั ยมศึกษาปลาย
ในปกี ารศกึ ษา 1/๒๕๖2 มีนกั ศึกษาท่เี รยี นสายสามัญดงั นี้
- ระดับประถมศกึ ษา จานวน - คน
31 คน
- ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น จานวน 22 คน
- ระดบั มธั ยมศกึ ษาปลาย จานวน - คน
24 คน
ในปีการศึกษา ๒/๒๕๖2 มนี กั ศึกษาที่เรยี นสายสามัญดังนี้ 18 คน
- ระดับประถมศกึ ษา จานวน - คน
18 คน
- ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ จานวน 25 คน
- ระดบั มัธยมศกึ ษาปลาย จานวน - คน
16 คน
ในปีการศกึ ษา 1/๒๕๖3 มนี ักศกึ ษาทเ่ี รียนสายสามญั ดังนี้ 28 คน
- ระดับประถมศกึ ษา จานวน - คน
17 คน
- ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ จานวน 33 คน
- ระดับมธั ยมศึกษาปลาย จานวน
ในปกี ารศกึ ษา 2/๒๕๖3 มนี กั ศกึ ษาท่เี รียนสายสามัญดังน้ี
- ระดับประถมศึกษา จานวน
- ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น จานวน
- ระดับมัธยมศกึ ษาปลาย จานวน
ในปีการศกึ ษา 1/๒๕๖4 มีนกั ศึกษาท่ีเรยี นสายสามญั ดังน้ี
- ระดับประถมศกึ ษา จานวน
- ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน
- ระดับมัธยมศึกษาปลาย จานวน
Best Practice หนา้ 5
วิชาชพี ระยะส้ัน
ในสถาบันศึกษาปอเนาะมะฮ์หดั ฟจั รลุ อสิ ลาม ได้มีการจัดการเรยี นการสอนวชิ าชพี ระยะส้ันโดย
มีวิทยากรเชย่ี วชาญโดยตรง ท่ีศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเจาะไอร้องเปน็ ผูจ้ ดั
อบรมอาชพี และได้แต่งต้ังวทิ ยากรซึ่งเป็นภูมปิ ัญญาท้องถิน่ จัดการเรยี นการสอนในสถาบนั ศึกษาปอเนาะแหง่ นี้
ด้านการอ่าน
ไดม้ ีการจดั มมุ สง่ เสรมิ การเรียนรสู้ ู่สถาบันศกึ ษาปอเนาะ เพื่อสง่ เสริมด้านการอา่ นและค้นควา้ ข้อมูล
เพิ่มเติม
เครือขา่ ยท่เี กีย่ วข้องกบั สถาบนั ศึกษาปอเนาะ
เครือข่ายในสถาบันศึกษาปอเนาะมะฮ์หัดฟัจรุลอิสลาม ได้มีองค์กรต่างๆให้ความร่วมมือในการพัฒนา
สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะดังนี้
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเจาะไอร้อง ได้จัดการเรียนการสอนสาย
สามัญและอาชีพ และจัดส่งครูอาสาสมัครประจาสถาบันศึกษาปอเนาะ เพ่ือประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ
ในพืน้ ที่และบริเวณใกลเ้ คยี งและจดั ทาโครงการต่างๆ ในปอเนาะเพอ่ื พัฒนาศักยภาพของนักศึกษาในสถาบันศึกษา
ปอเนาะ
องค์การบริหารส่วนตาบลมะรือโบออก ซ่ึงเป็นหน่วยงานปกครองส่วนท้องถ่ิน ท่ีอยู่บริเวณสถาบัน
ปอเนาะแห่งน้ี เพ่ือความอนเุ คราะหเ์ ร่อื งตา่ งๆ
สาธารณสุขอาเภอเจาะไอร้อง จัดการประสานงานเพื่อจัดตั้งตู้ยาประจาสถาบันศึกษาปอเนาะมะฮ์
หดั ฟัจรุลอิสลาม เพ่ือเป็นการปฐมพยาบาลขน้ั พน้ื ฐานให้กบั นักศกึ ษาปอเนาะ
สานักงานเกษตรอาเภอเจาะไอร้อง ได้จัดส่งอาสาสมัครเกษตรประจาปอเนาะ และได้เป็นวิทยากรใน
การฝึกอบรมอาชีพเกษตร
หอ้ งสมุด กศน. อาเภอเจาะไอร้อง ได้ประสานงานจัดตั้งสื่อ กศน. และมุมเรียนรู้ ประจาปอเนาะใน
สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะมะฮ์หดั ฟจั รลู อิสลาม เพอ่ื ใชใ้ นการศึกษาค้นควา้
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้มีภูมิปัญญาท้องถ่ินเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมต่างๆ ในสถาบันศึกษา
ปอเนาะ เช่น เปน็ วทิ ยากรสอนศาสนาอิสลามใหก้ บั นกั ศกึ ษาปอเนาะและเปน็ วิทยากรสอนภมู ิปัญญาท้องถิน่
Best Practice หนา้ 6
หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551
1.หลักการ
หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 กาหนดหลักการไว้ดงั น้ี
1. เปน็ หลกั สูตรทม่ี ีโครงสร้างยืดหยุ่นดา้ นสาระการเรยี นรู้ เวลาเรียน และการจัดการเรยี นรโู้ ดยเนน้
การบรู ณาการเนอ้ื หาใหส้ อดคล้องกับวถิ ีชีวติ ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล และชมุ ชน สังคม
2. ส่งเสรมิ ใหม้ ีการเทียบโอนผลการเรยี นจากการศกึ ษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศัย
3. สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี น ได้พฒั นาและเรียนรู้อย่างตอ่ เน่อื งตลอดชีวติ โดยตระหนกั วา่ ผเู้ รียนมีความสาคญั
สามารถพฒั นาตนเองได้ตามธรรมชาติและเตม็ ศักยภาพ
4. ส่งเสริมใหภ้ าคีเครอื ข่ายมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษา
2.จุดหมาย
หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มงุ่ พัฒนาใหผ้ เู้ รียนมี
คุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา มคี ุณภาพชีวติ ทดี่ ี มีศักยภาพในการประกอบอาชพี และการเรยี นรู้อยา่ งต่อเนื่อง
ซ่งึ เปน็ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ทีต่ ้องการ จงึ กาหนดจดุ หมายดังต่อไปนี้
1. มคี ุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงามและสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสนั ติสุข
2.มีความรู้พื้นฐานสาหรบั การดารงชวี ติ และการเรียนรตู้ ่อเนือ่ ง
3.มคี วามสามารถในการประกอบสัมมาอาชีพใหส้ อดคลอ้ งกับความสนใจ ความถนดั และตามทันความ
เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกจิ สงั คมและการเมือง
4. มีทักษะการดาเนินชีวติ ท่ดี ี และสามารถจัดการกบั ชวี ติ ชมุ ชน สงั คมไดอ้ ย่างมีความสุขตามปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง
5. มีความเข้าใจประวตั ิศาสตร์ชาติไทย ภมู ใิ จในความเป็นไทย โดยเฉพาะภาษา ศิลปะ วฒั นธรรม
ประเพณี กฬี า ภมู ปิ ญั ญาไทย ความเปน็ พลเมืองดี ปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ธรรมของศาสนา ยดึ ม่ันในวิถชี วี ติ และการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ
6. มีจิตสานกึ ในการอนุรกั ษ์ และพฒั นาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม
7. เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ สามารถเขา้ ถึงแหลง่ เรยี นรู้และบูรณาการ
ความรู้มาใช้ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคมและประเทศชาติ
3.กลุ่มเปา้ หมาย
ประชาชนทัว่ ไปที่ไม่อยใู่ นระบบโรงเรียน
4.โครงสร้าง
เพ่อื ให้การจัดการศึกษาเป็นไปตามหลักการ จุดหมาย และมาตรฐานการเรยี นรู้ ที่กาหนดไว้ใหส้ ถานศึกษา
และภาคเี ครือขา่ ยมแี นวปฏิบัตใิ นการจัดทาหลักสตู รสถานศกึ ษา จงึ ไดก้ าหนดโครงสรา้ งของหลกั สูตรการศึกษา
นอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ดงั นี้
4.1 ระดับการศึกษา แบง่ ออกเปน็ ออกเปน็ 3 ระดับ คือ
4.1.1 ระดับประถมศึกษา 4.1.2 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
4.1.3 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
Best Practice หนา้ 7
4.2 สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ประกอบดว้ ย 5 สาระ ดงั นี้
1. สาระทกั ษะการเรียนรู้ เปน็ สาระเก่ียวกบั การเรียนร้ดู ้วยตนเอง การใชแ้ หล่งเรยี นรู้ การจัดการ
ความรู้ การคดิ เป็นและการวจิ ยั อยา่ งงา่ ย
2. สาระความรู้พ้นื ฐาน เปน็ สาระเกยี่ วกบั ภาษาและการส่ือสาร คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
3. สาระการประกอบอาชีพ เป็นสาระเกี่ยวกบั การมองเห็นชอ่ งทางและการตดั สนิ ใจประกอบ
อาชพี ทกั ษะในอาชีพ การจดั การอาชีพอยา่ งมีคุณธรรมและการพฒั นาอาชีพใหม้ นั่ คง
4. สาระทกั ษะการดาเนินชีวิต เปน็ สาระเก่ยี วกบั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง สขุ ภาพอนามยั และ
ความปลอดภยั ในการดาเนนิ ชีวติ ศิลปะและสนุ ทรยี ภาพ
5. สาระการพฒั นาสังคม เป็นสาระเก่ียวกับภูมิศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื ง การ
ปกครอง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี หนา้ ที่พลเมือง และการพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คม
4.3 กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชีวิต กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตเปน็ กจิ กรรมทจี่ ัดขึน้ เพื่อให้ผู้เรยี นพัฒนา
ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคม
4.4 โครงสรา้ งหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551
ประกอบดว้ ย
4.4.1 วิชาบงั คบั มีสาระการเรยี นรู้ 5 สาระ ทักษะการเรยี นรู้ ความรู้พืน้ ฐาน การประกอบอาชีพ
ทกั ษะการดาเนนิ ชีวติ การพัฒนาสงั คม
4.4.2 วิชาเลอื ก เป็นวิชาทสี่ ถานศึกษาพัฒนาขน้ึ เองโดยให้ยดึ หลกั การในการพฒั นา คือ พฒั นา
โปรแกรมการเรยี น เพ่ือเปน็ การกาหนดทิศทางและเปา้ หมายการเรียนของผ้เู รยี น สถานศึกษาจงึ ต้องวิเคราะห์
ความต้องการความจาเป็นและความสนใจของผู้เรียน เพือ่ ออกแบบโปแกรมการเรยี น ภายในโปรแกรมการเรียนจะ
ประกอบไปดว้ ยรายวชิ าต่างๆที่ผูเ้ รยี นจะตอ้ งเรยี นรู้
ทง้ั น้ี วิชาเลือกในแต่ละระดบั สถานศกึ ษาตอ้ งจัดให้ผเู้ รียน เรียนร้จู ากการทาโครงงาน จานวน
อย่างน้อย 3 หน่วยกติ
โครงสรา้ งหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551
จานวนหนว่ ยกติ
สาระการเรยี นรู้ ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนตน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
วิชาบงั คับ วิชาเลือก วิชาบังคับ วิชาเลือก วิชาบังคบั วิชาเลือก
1.ทกั ษะการเรยี นรู้ 5 5 5
2.ความรู้พื้นฐาน 12 16 20
3. การประกอบอาชีพ 8 8 8
4. ทกั ษะการดาเนินชีวิต 5 5 5
5.การพัฒนาสงั คม 6 6 6
36 12 40 16 44 32
รวม
กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวติ 48 หน่วยกติ 56 หนว่ ยกติ 76หนว่ ยกติ
200 ช่วั โมง 200 ชั่วโมง 200 ชั่วโมง
Best Practice
หนา้ 8
ผลการดาเนินงาน
1. จานวนผู้เรยี นในสถาบนั ศึกษาปอเนาะ ทล่ี งทะเบยี นเรียนหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 เพิม่ ขึ้นอยา่ งต่อเนอื่ ง
ด้วยนายสุรศักด์ิ สอีด ครูอาสาประจาสถาบันศึกษาปอเนาะ รับผิดชอบนักศึกษาในสถาบันศึกษา
ปอเนาะมะฮ์หัดฟัจรุลอิสลาม ตั้งแต่ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 จนถึงปัจจุบัน ซึ่งจานวนนักศึกษาใน
สถาบันศึกษาปอเนาะได้ลงทะเบียนและเข้าสอบอย่างต่อเน่ืองและเพิ่มจานวนข้ึนทุกๆภาคเรียน ถือเป็นความ
ภาคภูมิใจของครูอาสาปอเนาะเป็นอย่างมาก เนื่องจากสถาบันศึกษาปอเนาะมะฮ์หัดฟัจรุลอิสลาม ไม่เปิดโอกาส
ให้นักเรียนในสถาบันศึกษาปอเนาะเรียนสายสามัญ และไม่สนับสนุนให้ กศน. เข้าไปจัดกิจกรรมในสถาบันศึกษา
ปอเนาะ จากการท่ีครูอาสาปอเนาะเข้าไปดาเนินการรับสมัครนักศึกษาใหม่และจัดกิจกรรมในสถาบันศึกษา
ปอเนาะอย่างต่อเนื่อง และได้เข้าพบปะปรึกษาหารือกับผู้รับผิดชอบสถาบันศึกษาปอเนาะ และเข้าร่วมงาน
กิจกรรมต่างๆในสถาบันศกึ ษาปอเนาะ ทาให้ผู้รับผิดชอบสถาบันศึกษาปอเนาะเห็นความสาคัญของการศึกษาสาย
สามัญและเปดิ โอกาสให้ผเู้ รียนในสถาบันศึกษาปอเนาะสมัครเรียนสายสามัญ กับทาง กศน.อาเภอเจาะไอร้องมาก
ขน้ึ
การลงทะเบียนในแต่ละภาคเรยี น
ในปกี ารศึกษา 1/๒๕๖3 มีนกั ศกึ ษาท่ีเรยี นสายสามัญดงั นี้
- ระดับประถมศึกษา จานวน - คน
18 คน
- ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ จานวน 25 คน
- ระดับมธั ยมศกึ ษาปลาย จานวน - คน
16 คน
ในปกี ารศกึ ษา 2/๒๕๖3 มนี กั ศกึ ษาทีเ่ รียนสายสามญั ดังนี้ 28 คน
- ระดับประถมศึกษา จานวน - คน
17 คน
- ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 33 คน
- ระดบั มัธยมศึกษาปลาย จานวน
ในปกี ารศกึ ษา 1/๒๕๖4 มีนกั ศึกษาทเ่ี รยี นสายสามัญดังนี้
- ระดบั ประถมศกึ ษา จานวน
- ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ จานวน
- ระดบั มัธยมศึกษาปลาย จานวน
Best Practice หนา้ 9
2. การเขา้ รบั การทดสอบระดบั ชาติ (N-net)
ภาคเรยี นท่ี จานวน นศ.ที่สอบ นักศึกษาเขา้ สอบ นักศึกษาขาดสอบ ร้อยละ
1 / 2563 8 7 1 87.50%
2 / 2563 12 10 2 83.33%
20 17 3 85.00%
รวม
แผนภูมิการเข้าสอบ N-net ปี การศกึ ษา 2563
รวม 85.00
ครง้ั ท่ี 2 87.50
ครั้งท่ี 1
87.50
Best Practice หนา้ 10
3. การเขา้ สอบปลายภาค
ภาคเรียนท่ี จานวน นศ.ทง้ั หมด นักศึกษาเขา้ สอบ นักศึกษาขาดสอบ ร้อยละ
1 / 2563 43 41 2 95.34%
2 / 2563 44 42 2 95.45%
87 83 4 95.40%
รวม
แผนภมู แิ สดงการเข้าสอบปลายภาค
1/63 2/63 รวม
95.45%
95.40
95.34
1/62 2/62 รอ้ ยละ
รวม
Best Practice หนา้ 11
ภาพกจิ กรรม
Best Practice หนา้ 12
ภาพกจิ กรรม
Best Practice หนา้ 13
ภาพกิจกรรม
กิจกรรม
Best Practice หนา้ 14