MATA
MUANGLUNG
คา นา
การจัดการโลจิสติกส์ท่องเที่ยวให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความ
ยั่งยืน จะต้องมีการวางแผนและจัดการอย่างเป็นระบบทั้ง 3 องค์ประกอบ ได้แก่
การเคลื่อนที่ด้านกายภาพ (Physical Flow) ด้านสารสนเทศ (Information Flow)
และด้านการเงิน (Financial Flow) ซึ่งคณะผู้เขียนได้มีการดาเนินการวิจัยร่วมกับ
ผ้นู าชุมชน สถานประกอบการ และหนว่ ยงานต่าง ๆ ของภาครัฐในจงั หวดั พัทลุง โดย
มีการพัฒนาแพลตฟอร์มโลจิสติกส์ท่องเที่ยว “มาตะ เมืองลุง” เพื่อเป็นเครื่องมือ
ในการขับเคลื่อนการจัดการโลจิสติกส์ท่องเที่ยวของพัทลุงตั้งแต่ต้นน้า กลางน้า และ
ปลายน้า โดยใหช้ ุมชนและผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสีย (Stakeholder) ได้มีส่วนร่วม โดยได้มี
การถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีไปยังผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการท่องเที่ยวของ
จังหวัดพัทลุงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 เกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์
ท่องเที่ยวและการใช้ประโยชน์จากแพลตฟอร์มโลจิสติกส์ท่องเที่ยว “มาตะ เมืองลุง”
โดยนาเสนอแนวคิด ปัญหา วิธีการแก้ปัญหา และประเด็นอื่นๆ ที่มีประโยชน์ในการ
ถ่ายทอดและจดั การความรูแ้ ละเทคโนโลยี
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์อย่างมากแก่หน่วยงาน
ภาครัฐและสถานประกอบการ รวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการท่องเที่ยว ในการ
ประยุกต์ใช้งานเพื่อวางแผนการจัดการโลจิสติกส์ท่องเที่ยวของจังหวัดต่างๆ โดยใช้
แนวทางในการปฏบิ ตั งิ านและและกระบวนการถ่ายทอดความรู้ของจังหวัดพัทลุงจาก
แนวทางการปฏิบัติสู่ความเป็นเลิศเล่มนี้ เพื่อลดเวลาและต้นทุนในการศึกษา
การวางแผน และเป็นแนวทางในการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีสู่ชุมชนที่มี
ประสทิ ธผิ ลเพอ่ื ใหเ้ กิดความยัง่ ยืนแกช่ ุมชนในอนาคต
คณะผู้จดั ทา
สารบัญ
03 07 17
ทาไมต้องแพลตฟอรม์ กว่าจะเปน็ เว็บไซต์และ ขนั้ ตอนการจดั การความรู้
โลจิสตกิ สท์ อ่ งเที่ยว แอปพลิเคชัน “มาตะ เมืองลุง” แกช่ มุ ชนทีม่ สี ว่ นร่วม....อย่างไร
“มาตะ เมืองลุง” เพอ่ื การบรกิ ารนักทอ่ งเทย่ี ว
สืบคน้ ขอ้ มลู ทอ่ งเท่ียว 35
05 การสรา้ งเครอื ข่าย
แพลตฟอรม์ โลจสิ ตกิ ส์ 15 แพลตฟอร์มโลจิสตกิ สท์ อ่ งเท่ยี ว
ทอ่ งเท่ยี ว “มาตะ เมอื งลุง” แพลตฟอรม์ โลจิสตกิ ส์ “มาตะ เมืองลงุ ”
แกไ้ ขปัญหาดา้ นการท่องเท่ียว ทอ่ งเที่ยว “มาตะ เมืองลุง” คือพลังส่คู วามยั่งยนื
จังหวดั พทั ลุงอย่างไร ช่วยลดปัญหาการจัดการ
ท่องเทีย่ วพทั ลงุ อย่างไร 38
06 ต้นแบบการจัดการการทอ่ งเท่ยี ว
จากองคค์ วามรู้ สู่แพลตฟอรม์ 16 อยา่ งยงั่ ยืนผ่านแพลตฟอร์ม
โลจิสตกิ สท์ ่องเท่ยี ว ถา่ ยทอดเทคโนโลยี โลจสิ ตกิ สท์ ่องเทยี่ ว
“มาตะ เมอื งลุง” แพลตฟอร์มโลจิสติกสท์ อ่ งเที่ยว “มาตะ เมอื งลุง”
“มาตะ เมืองลุง” อยา่ งไร
เพอื่ การมีส่วนรว่ มของชมุ ชน
3 การจดั การความรโู้ ลจสิ ตกิ ส์ทอ่ งเท่ยี ว
ทาไมตอ้ งแพลตฟอร์มโลจิสตกิ ส์ทอ่ งเท่ยี ว M A T A
“ มาตะ เมืองลุง ” MUANGLUNG
จังหวัดพัทลุง เป็นจังหวัดเมืองรองการท่องเที่ยวที่มีนักท่องเที่ยวและผู้มา
เยอื นใหค้ วามสนใจและเขา้ มาท่องเทยี่ วเปน็ จานวนมาก
อย่างไรก็ตามที่ผ่านมาจังหวัดยังประสบปัญหาที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการ
ท่องเทีย่ ว เชน่
ขาดการเชื่อมโยงเครือข่ายด้านการท่องเที่ยวที่
1 ประกอบด้วย ประชาชน ผู้ประกอบการ ชุมชน และ
บุคลากรทางการทอ่ งเท่ียว
ชุมชนในพื้นที่ท่องเที่ยวยังขาดความรู้ความเข้าใจการ
2 บริหารจัดการการท่องเที่ยวที่มีคุณภาพและทักษะการ
ท่องเทยี่ วเชิงสากล
ระบบข้อมูลสารสนเทศ การประชาสัมพันธ์ด้านการ
3 ท่องเที่ยวของจังหวัดยังไม่เป็นระบบและไม่ถึง
กล่มุ เปา้ หมายอยา่ งท่ัวถงึ
ดังนั้น จังหวัดพัทลุงจึงมีความจาเป็นที่จะต้องปรับปรุงการบริหารจัดการท่องเที่ยวที่ทาให้
นักท่องเที่ยวลดต้นทุนเวลาและค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยวทาให้นักท่องเที่ยวมี ความสะดวก
ตลอดการเดินทางท่องเที่ยวและมีความรู้สึกคุ้มค่ากับการท่องเที่ยวจังหวัดพัทลุ งและกลับมา
เที่ยวซ้าส่งผลใหช้ ุมชนและผู้ประกอบการท่ีเก่ียวข้องมีรายได้เพม่ิ ขึน้
การจัดการความรูโ้ ลจสิ ตกิ สท์ อ่ งเท่ียว 4
โลจิสติกส์ท่องเที่ยว คือ ปัจจัยสาคัญใน กอ่ น ระหวา่ ง
การเดนิ ทาง การเดินทาง
การพัฒนาการบริหารจัดการ การท่องเที่ยวเพื่อการ
เคลื่อนย้ายนักท่องเที่ยวอย่างครบวงจร ด้วยการ หลัง
อานวยความสะดวกนักท่องเที่ยวตั้งแต่ก่อนการ การเดินทาง
เดินทางท่องเที่ยว เช่น การเลือกแหล่งท่องเที่ยว
หรือที่พัก ระหว่างการเดินทางท่องเที่ยว เช่น การ
เลือกรูปแบบการเดินทางหรือเส้นทางไปยังแหล่ง
ทอ่ งเท่ยี ว และหลงั จากเดนิ ทางท่องเที่ยวเสร็จสิ้น สู่
การวางแผนการท่องเที่ยวในครั้งต่อไป จึงเป็นที่มา
ของแพลตฟอร์มโลจิสติกส์ท่องเที่ยว “มาตะ เมือง
ลุง” ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการการท่องเที่ยว
จงั หวดั พทั ลุงให้มกี ารพัฒนา อย่างยั่งยืน
ที่มาของคาว่า “มาตะ เมืองลุง ”
“มาตะ” เป็นภาษาถิ่นที่สื่อความหมายถึงการเชิญชวนให้มา
เทย่ี วหรอื มาเยอื น
“เมืองลุง” เชื่อว่าเป็นเมืองต้นกาเนิดของหนังตะลุงจึงเป็นที่มา
ของคาว่า “เมืองหนังตะลุง” แต่ด้วยความเป็นอัตลักษณ์ด้าน
ภาษาของภาคใต้จึงเรียกสั้น ๆ ว่า “เมืองลุง” ซึ่งหมายถึง
จงั หวดั พทั ลุง
มาตะ เมืองลุง
5 การจัดการความรู้โลจสิ ตกิ ส์ทอ่ งเที่ยว
แพลตฟอรม์ โลจิสตกิ ส์ทอ่ งเท่ียว “ มาตะ เมืองลุง ”
แกไ้ ขปัญหาดา้ นการทอ่ งเทย่ี วจังหวัดพทั ลุงอย่างไร
เนื่องจากโลจิสตกิ ส์ทอ่ งเที่ยวจะเป็นการเช่ือมโยงระหวา่ งองคป์ ระกอบ 3 ด้าน ไดแ้ ก่
1 23
การเคลอื่ นท่ี การเคล่ือนท่ี การเคลือ่ นท่ี
ทางกายภาพ ดา้ นขอ้ มลู ข่าวสาร ด้านการเงนิ
(Physical Flow) (Information Flow) (Financial Flow)
กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับสิ่ง
การเดินทางท่องเที่ยวของ ขอ้ มลู ข่าวสารท่ีเชื่อมโยงกับการ อานวยความสะดวกด้านการเงนิ
นักท่องเที่ยว เช่น การจัดการ ท่องเที่ยว เช่น ป้ายแนะนา หรือค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยว
สัมภาระ ที่พัก สิ่งอานวยความ สถานที่ ป้ายบอกเส้นทาง ต่างๆ เช่น ค่าบริการ ค่าสินค้า
สะดวกการขนส่ง สินค้า ศูนย์ข้อมูลการท่องเที่ยวท้องถิ่น อัตราแลกเปลี่ยน และการเบิก
อาหาร ที่จะต้องให้ความ แนะนาการท่องเที่ยวสัญลักษณ์ ถอนเงนิ ฝ่ายตูเ้ อทีเอ็ม
สะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย ป้ายบอกทาง แผนที่
กับนกั ทอ่ งเท่ียว
การจัดการความรู้โลจสิ ตกิ สท์ อ่ งเทีย่ ว 6
จากองค์ความรู้
สู่ แพลตฟอรม์ โลจิสตกิ สท์ อ่ งเที่ยว
“ มาตะ เมอื งลงุ ”
เริ่มจากงานวิจัยด้านโลจิสติกส์ท่องเที่ยวที่เป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนการจัดการ
ท่องเที่ยวจังหวัดพัทลุง ซึ่งจากผลการวิจัยพบว่าการจัดการข้อมูลการท่องเที่ยวตาม
องค์ประกอบโลจิสติกส์ สามารถดาเนินการผ่านระบบสารสนเทศได้ ดังนั้น
แพลตฟอร์มโลจิสติกส์ท่องเที่ยว “มาตะ เมืองลุง” จึงได้ถูกพัฒนาขึ้นให้ทางานผ่าน
เวบ็ ไซตแ์ ละแอปพลเิ คชัน เพ่อื ตอบโจทยก์ ารท่องเทยี่ วจงั หวัดพัทลุง
7 การจัดการความร้โู ลจสิ ตกิ ส์ท่องเท่ียว
กว่าจะเปน็ เวบ็ ไซต์ การเก็บรวบรวมข้อมลู จากนักทอ่ งเทย่ี วและผูท้ ่ี
และแอปพลิเคชนั เก่ยี วขอ้ ง
“มาตะ เมืองลงุ ”
เพือ่ การบริการนกั ท่องเที่ยว เพอ่ื การพฒั นาแอปพลเิ คชนั ให้มีความพรอ้ มตอ่
สบื ค้นขอ้ มลู ท่องเท่ยี ว การใชง้ านของนักทอ่ งเทีย่ วทง้ั ในเรอ่ื งขอ้ มูลแหล่ง
ท่องเท่ียว ที่พัก ร้านค้า และรา้ นอาหาร ให้มีความ
สะดวกในทกุ ช่วงเวลา ทั้งช่วงกอ่ นท่องเทย่ี ว ระหวา่ ง
ทอ่ งเท่ยี ว และหลังการทอ่ งเทย่ี ว
ขอ้ มลู การนาเสนอขอ้ มลู บนเวบ็ ไซต์และแอปพลิเคชัน
ก่อน
- การเลอื กภาษาสาหรบั การใชง้ าน
การทอ่ งเทยี่ ว - ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวและบริการอื่นๆ แยกตาม
หมวดหมู่
ระหวา่ ง - เส้นทางและโปรแกรมท่องเทย่ี วแนะนา
การท่องเท่ียว - ติดตอ่ สอบถามและจองล่วงหนา้
- รปู แบบการเดนิ ทาง
หลัง - ประมาณการค่าใชจ้ ่าย
การท่องเท่ยี ว
- ค้นหาแหล่งท่องเที่ยวหรือสถานที่บริการอื่น ๆ ในพื้นที่
ใกลเ้ คยี ง
- มีแผนทน่ี าทาง และนาทางโดยระบบ GPS
- คานวณระยะเวลาเดนิ ทางและจัดลาดบั การเดนิ ทางใหม่
- ติดต่อขอข้อมูลหรือจองก่อนการเดินทาง
ไปถงึ
- การให้ข้อเสนอแนะ เพื่อการพัฒนาและเกิดความ
สะดวกในการทอ่ งเทีย่ วครง้ั ถัดไป
- แนะนาบคุ คลอืน่ ที่สนใจเดนิ ทางท่องเท่ียว
การจัดการความรโู้ ลจสิ ตกิ สท์ ่องเทยี่ ว 8
ก า ร ศึ ก ษ า พ ฤ ติ ก ร ร ม นั ก ท่ อ ง เ ท่ี ย ว
สู่การออกแบบและพัฒนาฟังค์ชันการใช้งาน
บนเว็ปไซต์และแอปพลิเคชัน ในการประชาสัมพันธ์
ข่าวสารต่างๆ เช่น การให้ส่วนลด โปรโมชัน แหล่ง
ท่องเที่ยว การบริการต่างๆ ของชุมชนท่องเที่ยวใน
แต่ละอาเภอภายบนแนวคิดการเล่าเรื่องราว
(Storytelling) เพื่อให้เกิดความสะดวกในการ
ใชง้ านของนักทอ่ งเทยี่ วและผู้มาเยอื น
การปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ ขอผู้ ทดลอ ง รปู แบบการใชง้ านในชว่ งแรกของ
ใ ช้ แ ล ะ นั ก ท่ อ ง เ ท่ี ย ว แอปพลิเคชนั “มาตะ เมอื งลุง”
เพื่อประโยชน์สูงสุดของทุกฝ่าย ด้วยการนา
องคก์ รความรู้ดา้ นการทอ่ งเท่ียวการจดั การโลจิสติกส์
เทคโนโลยี และการตลาด มาบูรณาการร่วมกันผ่าน
การจดั การความรู้
“ จากข้อเสนอแนะสู่การปรับปรุง ”
จากข้อเสนอแนะจากนักท่องเที่ยวหรือผู้ใช้ ได้มีการนามาสู่การพัฒนารูปแบบการใช้งานบน
เวบ็ ไซต์และแอปพลิเคชนั ใหม้ ีการใชง้ านทงี่ ่ายและสะดวกต่อนกั ท่องเท่ยี วทง้ั ชาวไทยและชาวต่างชาติท่ี
สนใจท่องเที่ยวจังหวัดพัทลุงให้มากขึ้นทั้งก่อนการเดิน ระหว่างการเดินทาง และหลังการเดินทาง
เพ่ือสรา้ งความประทับใจและวางแผนกลบั มาทอ่ งเที่ยวในอนาคต ดงั ตวั อย่างการพัฒนาระบบต่อไปน้ี
1 รองรบั 10 ภาษา จากเดิม 2 ภาษา
2 ภาษา เปน็ plug in เทคโนโลยี Google Translate เข้ามา
10 ภาษา ในแพลตฟอร์มที่พัฒนาให้รองรับภาษาต่างๆ
ได้แก่ ภาษาไทย องั กฤษ จีน เกาหลี ญี่ปุ่น สเปน
ฝรั่งเศส อนิ โดนีเซีย รัสเซีย และอินเดีย
9 การจดั การความรโู้ ลจสิ ติกส์ทอ่ งเที่ยว
2 นักท่องเท่ยี วสะดวกในการคน้ หาขอ้ มลู ทอ่ งเท่ยี ว
จากเดิมหมวดหมู่สถานที่ท่องเที่ยว ในหน้าแรกของ หนา้ จอค้นหา
แอปพลิเคชันเป็นแบบเต็มจอ เลื่อนหน้าจอจากขวา งา่ ยขึ้น
ไปซ้าย ปรับเป็นให้เห็นหมวดหมู่มากขึ้น และเลื่อน
หน้าจอจากบนลงลา่ ง คน้ หางา่ ยขึ้น
3 นกั ท่องเท่ียวสะดวกในการคน้ หาแหล่งท่องเท่ียวและสถานที่อนื่ ๆ แยกตามอาเภอและคาสาคญั
จากเดิมที่แยกข้อมูลตามประเภทท่องเที่ยวโดยมีข้อมูลของทุกอาเภอรวมกันทาให้ย ากต่อการ
ค้นหาและวางแผนการท่องเที่ยว ปรับเป็น เมื่อกดเลือกประเภทแหล่งท่องเที่ยวแล้วสามารถ
กดปุม่ คน้ หาเพื่อค้นหาตามอาเภอ หรอื ประเภทแหลง่ ทอ่ งเท่ียวที่สนใจ
การจัดการความรโู้ ลจสิ ติกสท์ ่องเทย่ี ว 10
4 นักทอ่ งเท่ยี วสามารถกดบันทึกภาพและแชรภ์ าพแหล่งทอ่ งเท่ยี วท่ีสนใจได้
จากเดิมที่มีเพียงข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวและภาพ 10 ภาพเท่านั้น ปรับเป็น เมื่อกดเข้าไปสามารถอ่าน
เร่ืองราวทน่ี ่าสนใจพรอ้ มกดเลอื กชมภาพได้ 10 ภาพ โดยมีลูกศรเป็นสัญลักษณ์ในการเลือกภาพ หาก
ชอบภาพไหนสามารถกดแชร์ผ่าน Facebook, Line และ Twitter นอกจากนี้สามารถเลือกกด
บันทึกภาพทสี่ นใจได้ตามลักษณะการบนั ทกึ ของสมารท์ โฟนแต่ละรนุ่ แต่ละย่หี ้อ
5 เพมิ่ ข้อมลู การบรกิ ารดา้ นอื่นๆ ที่ช่วยสนบั สนุนการท่องเท่ยี วอยา่ งครบวงจรมากข้นึ
มีการเพ่ิมข้อมูล เช่น การบริการด้านการขนส่ง การจัดการข้อมูลที่เกี่ยวกับ ATM และสถานที่รับแลก
เงิน ข้อมูลสถานีตารวจ สถานพยาบาล สถานีน้ามัน และมัสยิด เพื่อความสะดวกของนักท่องเที่ยว
โดยนกั ท่องเทยี่ วสามารถทราบพกิ ดั จดุ หมายปลายทางท่ีใกล้ท่ีสุดกบั จดุ ทนี่ ักทอ่ งเท่ียวอยใู่ นขณะนั้น
11 การจดั การความรู้โลจิสติกส์ท่องเทีย่ ว
6 เพิ่มการนาเสนอเสน้ ทางทอ่ งเทีย่ วพัทลงุ
นักท่องเที่ยวที่เดินทางผ่านจังหวัด สงขลา ตรัง และนครศรีธรรมราช ให้สามารถเลือกโปรแกรม
ท่องเทย่ี วทีผ่ ่านการทดลองท่องเท่ยี วและทช่ี ุมชนไดน้ าเสนอไว้ สามารถตดิ ต่อขอขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ
การจดั การความร้โู ลจสิ ติกสท์ อ่ งเท่ยี ว 12
พ ร้ อ ม รั บ เขา้ สู่ระบบ
ทุกข้อเสนอแนะ ใส่ ช่ือ รหัสผา่ น
เ พ่ื อ ก า ร พั ฒ น า
เมอื่ ต้องการเสนอแนะ
กดรูปคนมุมขวาลา่ ง
ลงทะเบียนไม่ยาก ให้คะแนน
ใส่ ช่ือ อีเมล์ รหสั ผ่าน พิมพ์ข้อความ
ข้อคิดเห็น
13 การจดั การความรูโ้ ลจิสติกส์ทอ่ งเทยี่ ว
ศู น ย์ ร ว ม ข้ อ มู ล ท่ อ ง เ ที่ ย ว สา ห รั บ
นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว แ ล ะ ผู้ ม า เ ยื อ น
“ใชไ้ ดท้ ุกท่ี ทุกเวลา ทุกเพศ ทกุ วยั ”
รองรบั 10 ภาษา ข่าวประชาสมั พันธ์ หมวดหมู่ รายละเอยี ด
งา่ ยตอ่ การใช้ ท่องเที่ยว
ระบบนาทาง เส้นทางทอ่ งเทยี่ ว แพ็คเกจทวั ร์ แชรข์ อ้ มลู ไปยัง
GPS แนะนา โซเชยี ลมีเดยี
การจดั การความรู้โลจสิ ตกิ สท์ อ่ งเที่ยว 14
Facebook “มาตะ เมืองลุง”
ทัพเสริมเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “มาตะ เมืองลุง”
เพือ่ เพม่ิ ประสิทธิภาพในการประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุมและเข้ากับพฤติกรรมนักท่องเที่ยว
ในยุคปัจจุบัน คณะทางานได้มีการเปิดเพจ Facebook “มาตะ เมืองลุง” สนับสนุนการ
ท่องเที่ยวจังหวัดพัทลุง อีกหนึ่งช่องทาง เพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสารและกิจกรรมต่างๆ
ด้านการทอ่ งเที่ยวทเี่ ชอ่ื มโยงกับเว็บไซต์และแอปพลเิ คชนั “มาตะ เมืองลุง”
มาตะ เมืองลงุ
15 การจดั การความรู้โลจิสติกส์ท่องเทยี่ ว
แพลตฟอรม์ โลจสิ ติกสท์ ่องเท่ียว “มาตะ เมืองลงุ ”
ชว่ ยลดปญั หาการจดั การทอ่ งเท่ียวพทั ลงุ อย่างไร
เว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “มาตะ เมืองลุง”
ช่วยลดปัญหาด้านระบบข้อมูลสารสนเทศและการ
ประชาสมั พันธ์ด้านการท่องเที่ยวของทางจังหวัดที่ยังไม่เป็น
ระบบให้เป็นระบบมากยิ่งขึ้น และสามารถครอบคลุม
กลุ่มเปา้ หมายเพิ่มข้ึน
เนื่องจากแพลตฟอร์มโลจิสติกส์ท่องเที่ยว
“มาตะ เมืองลุง” เปรียบเสมือนศูนย์รวมข้อมูลการ
ท่องเที่ยวพัทลุงที่นักท่องเที่ยวสามารถใช้งานได้ทุกที่ทุก
เวลา เป็นการรวบรวมข้อมูลของแหล่งท่องเที่ยว ร้านค้า ท่ี
พัก ร้านอาหาร ร้านขายของที่ระลึก ทาให้นักท่องเที่ยว
ทราบข้อมูลด้านกายภาพ (Physical) สารสนเทศ
( Information) แ ล ะ ก า ร เ ง ิ น ( Financial) เ พ ื ่ อ ใ ช้
ประกอบการวางแผนเดนิ ทางท่องเท่ียวจงั หวัดพัทลงุ
ช่องทางการสอ่ื สารการทอ่ งเที่ยวผา่ นคาวา่ “มาตะ เมอื งลุง
เว็บไซต์ (Website)
แอปพลิเคชัน (Application) ผ่าน
ระบบปฏิบัตกิ าร Android
เฟซบุก๊ (Facebook)
แอปพลเิ คชนั (Application) ผ่าน
ระบบปฏิบตั กิ าร iOS
การจดั การความร้โู ลจสิ ติกสท์ อ่ งเท่ยี ว 16
ถ่ายทอดเทคโนโลยแี พลตฟอร์มโลจิสติกสท์ ่องเทย่ี ว
“มาตะ เมอื งลุง” อย่างไรเพอื่ การมีส่วนรว่ มของชมุ ชน
การถ่ายทอดเทคโนโลยีแพลตฟอร์มโลจิสติกสท์ อ่ งเทยี่ ว “มาตะ เมอื งลุง”
ชว่ ยลดปัญหาชมุ ชนในพ้นื ท่ที ่องเท่ียวท่ียงั ขาดความรู้ความเข้าใจการบริหารจัดการ
การทอ่ งเท่ยี วทีม่ ีคุณภาพและทักษะการทอ่ งเทย่ี ว
หลังจากงานวิจัยแล้วเสร็จ ได้มีการส่ง จงึ ออกแบบการใช้งานอยา่ งครบวงจรทั้ง
มอบการดูแลเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “มาตะ ระบบหลังบ้าน (backend system) และระบบ
เมืองลุง” ให้กับหน่วยงานต่างๆ ของจังหวัด หน้าบ้าน (frontend system) โดยกาหนดให้มี
พัทลุงเป็นผู้ดูแลต่อ แต่ด้วยปัญหาและข้อจากัด ระบบจัดการกลุ่มผู้ใช้และให้สิทธิ์การใช้งานตาม
ตา่ งๆ ทง้ั ในเร่ืองของผู้ดูแลหลัก เวลาการจัดการ บทบาทของผู้ใช้ทั้ง 4 กลุ่ม ไดแ้ ก่
ข้อมูลและภาพ รวมถึงข้อมูลกิจกรรมต่างๆ จึง
ทาให้เว็บไซต์และแอปพลิเคชันมีข้อมูลไม่เป็น กลุม่ สมาชกิ (Member)
ปัจจุบันและไม่ครอบคลุมแหล่งท่องเที่ยวที่ตั้ง กลุ่มผู้ดแู ลกลุ่ม (Group Admin)
เปา้ หมายไว้ กลุ่มผูด้ ูแลระบบ (System Admin)
กลุม่ นักทอ่ งเทยี่ ว (Tourist)
ระบบหลังบา้ น ระบบหน้าบา้ น
(Backend System) (Frontend System)
17 การจัดการความรู้โลจิสตกิ ส์ท่องเท่ียว
ขั้นตอน
การจัดการความรู้
แกช่ มุ ชนท่ีมสี ่วนรว่ มอยา่ งไร
จากวัตถุประสงค์ในการถ่ายทอดองค์ 1. การวางแผนการถ่ายทอด
ความรู้ด้านเทคโนโลยีแก่ตัวแทนหน่วยงานภาครัฐ องคค์ วามรแู้ ก่กลุ่มเป้าหมาย
และผู้ประกอบการในการช่วยดูแลอุตสาหกรรม
ท่องเที่ยวให้มีส่วนร่วมตามบทบาทที่กาหนด การวางแผนการถา่ ยทอดองคค์ วามรทู้ เี่ ก่ยี วขอ้ ง
ส่งเสริมชุมชนท่องเที่ยวให้สามารถสื่อสารข้อมูล กับข้อมูลการถ่ายทอดความรู้ระบบหน้าบ้าน
การท่องเที่ยวและประชาสัมพันธ์ รวมถึงกิจกรรม และหลังบ้านของเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน
ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องผ่านเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “มาตะ เมืองลุง” ให้แกก่ ลุ่มจัดการข้อมูลระบบหลัง
ได้ด้วยชุมชนเอง ซึ่งจะทาให้ข้อมูลมีเรื่องราว บ้าน มีความรู้และความเข้าใจเหมือนกัน
ความเป็นมาที่เกิดจากชุมชน มีความเป็นปัจจุบัน
และมีความเป็นอัตลักษณ์ของแต่ละชุมชน ระบบหน้าบา้ นทผ่ี ้ใู ช้งานหลงั บา้ นควรรู้
ท่องเที่ยว โดยได้เปิดโอกาสให้ตัวแทนชุมชนและ (Frontend System – Demand Side)
ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมเข้ามามีส่วนร่วมใน
การจัดการข้อมูลในระบบและร่วมคิดในการ ระบบหน้าบ้าน ที่มีการพัฒนารูปแบบการใช้
นาเสนอข้อมูลกิจกรรมการท่องเที่ยว จึง งานเพื่อตอบโจทย์การใช้งานของนักท่องเที่ยว และ
จาเป็นตอ้ งมีกระบวนการเพื่อการจัดการความรู้ให้ เป็นระบบที่เชื่อมโยงกับระบบหลังบ้านที่ได้มีการ
เกิดความยั่งยืนขององค์ความรู้ และสร้างแนว อัปเดตข้อมูลจากผู้ประกอบการในอุตสาหกรรม
ปฏบิ ตั ิถา่ ยทอดที่ดี ดังน้ี ท่องเที่ยว และตัวแทนชุมชนท่องเที่ยวเป็นผู้จัดการ
ข้อมูลตามบทบาทและสิทธิ์ที่ได้รับ ได้แก่กลุ่ม
1. การวางแผน 2. การถา่ ยทอด สมาชิก กลุ่มผู้ดูแลกลุ่ม และกลุ่มผู้ดูแลระบบ โดย
การการถา่ ยทอด ความรู้ ทั้ง 3 กลุ่มจะต้องมีความเข้าใจระบบหน้าบ้านก่อน
การเรียนรู้ระบบหลังบ้านที่ตนเองรับผิดชอบ ซึ่งมี
องค์ความรู้ ผา่ นกิจกรรม รปู แบบการถ่ายทอดความรู้ดังตอ่ ไปน้ี
การอบรม
3. การใช้ 4. การไดร้ ับ
ประโยชน์ ประโยชน์
จากกิจกรรม จากการถ่ายทอด
การอบรม องค์ความรู้
การจดั การความร้โู ลจสิ ติกสท์ อ่ งเทย่ี ว 18
1.การใช้งานของ 2.คณุ สมบัติ 3.คณุ สมบตั ขิ องระบบที่
นักทอ่ งเทยี่ ว ของระบบที่แสดงผล สามารถให้ข้อมูล
บนเวป็ ไซตแ์ ละ ให้นกั ท่องเทีย่ วมี
แอปพลเิ คชัน ประกอบการตดั สนิ ใจ
ความสะดวก ของนกั ท่องเท่ียว
ในการใชง้ าน
MEMBER 4.คุณสมบัติของระบบหน้าบ้านที่
สามารถเสนอข้อมูลบริการอื่นๆ ที่
จาเป็นแก่นักท่องเที่ยวในสถานการณ์
ต่างๆ ระหว่างการท่องเทีย่ ว
บทบาทของชมุ ชนทอ่ งเทยี่ วในระบบหลงั บ้าน (Backend System – Supply Side)
สมาชิก คือ ใคร?
ทาอะไร? ที่ไหน? อย่างไร?
สมาชิก (Member) คือ กลุ่มผู้สนับสนุนข้อมูล
ดา้ นท่องเทีย่ ว แบ่งเปน็ 2 กลุ่ม (1) กลุ่มสมาชิกแหล่ง
ท่องเที่ยว เช่น ผู้รับผิดชอบหรือเจ้าของแหล่ง
ทอ่ งเที่ยว ผูป้ ระกอบการรา้ นค้า ที่พัก และร้านอาหาร
(2) กลุ่มสมาชิกสถานที่อื่นๆ เช่น สถานพยาบาล
สถานีตารวจ สถานนี า้ มัน และผบู้ ริการรถเช่า สมาชิก
จะทาหน้าที่ในการจัดการข้อมูลท่องเที่ยวของตนเอง
ซึ่งข้อมลู ทน่ี าสง่ สาหรับเพมิ่ ในเวบ็ ไซตแ์ ละแอปพลิเค
ชัน
GROUP ADMIN 19 การจัดการความรู้โลจิสติกส์ท่องเทย่ี ว
SYSTEM ADMIN กล่มุ ผูด้ ูแลกลุ่ม
รับขอ้ มูลจากสมาชิก
เพื่อตรวจสอบ
กลุ่มผู้ดูแลกลุ่ม หรือตัวแทนสมาชิก
คือ ตัวแทนจากสมาชิกทั้งที่เป็น
ตัวแทนจากภาครัฐและเอกชนหรือ
ชุมชน อาเภอละ 3-5 คน ที่ได้รับเลือก
จากทางอาเภอหรือตกลงร่วมกัน
ระหว่างกลุ่มผู้ประกอบการใน
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว ให้เป็นผู้ที่ทา
หน้าดูแลกลุ่ม และช่วยประสานงานใน
กลมุ่ ทอ่ งเทยี่ วย่อยของแต่ละกลุ่ม
ผู้ดแู ลระบบหลกั
ดาเนนิ การอนมุ ตั ิข้อมลู ทั้งหมด
ก่อนการเผยแพร่ให้นักท่องเท่ยี ว
ผู้ดูแลระบบหลัก คือ คณะทางาน ตัวแทน
จากจังหวัด และตัวแทนจากท่องเที่ยวและ
กีฬาจังหวัด จะเป็นผู้อนุมัติข้อมูลท่ี
นอกเหนือจากสิทธข์ิ องกลุ่มผู้ดูแลระบบ และ
จะเป็นผู้กาหนดสิทธิ์และปรับเปลี่ยนข้อมูล
ในแต่ละหมวด เพื่อให้เกิดความสอดคล้อง
กับความต้องการของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
และช่วยให้ข้อมูลทันต่อสถานการณ์ที่
เกดิ ขน้ึ ในแตล่ ะชว่ งเวลา
การจดั การความรูโ้ ลจสิ ตกิ สท์ อ่ งเท่ยี ว 20
2.การถา่ ยทอดความรู้ กจิ กรรมการอบรมถ่ายทอดองค์ความรู้
ผา่ นกจิ กรรมการอบรม แกต่ ัวแทนชมุ ชนทอ่ งเที่ยว
จงั หวัดพทั ลงุ (11 อาเภอ)
การกาหนดกิจกรรมการอบรมตาม
บทบาทของแต่ละกลุ่มที่ได้กาหนดไว้ใน แผนทกี่ าหนด
ระบบหลัง ซึ่งในการปฏิบัติจริงไม่ได้
เป็นไปตามเป้าหมายที่กาหนด ดังนั้นจึง ครั้งที่ 1 คณะทางานจังหวัดพัทลุงและกลุ่ม
จาเป็นที่จะต้องมีแผนการบริหารความ 1 ตัวแทน 11 ชุมชน 120 คน ในสถานะ
เส่ยี งในการแกไ้ ขสถานการณท์ ีเ่ กิดขึ้นให้
เป็นไปตามวัตถุประสงค์การถ่ายทอด สมาชิก (Member)
องคค์ วามรู้ท่ีกาหนดไว้
ครั้งที่ 2 กลุ่มอาสาสมัครผู้สนับสนุนข้อมูล
2 แอปพลิเคชันและเว็บไซต์ “มาตะ เมืองลุง"
60 คน ในสถานะกลุ่มผู้ดูแลระบบ (Group
Admin)
ครั้งที่ 3 ผู้ดูแลข้อมูลแอปพลิเคชันและ
3 เว็บไซต์ 30 คน ในสถานะผู้ควบคุมระบบ
หลกั (Admin)
ครั้งที่ 4 จัดกิจกรรมถ่ายทอดความรู้และ
เทคโนโลยีการเข้าถึงแอปพลิเคชัน “มาตะ
4 เมืองลุง” ให้กับนักท่องเที่ยวทั่วไปจานวน
70 คน และผู้สูงอายุจานวน 30 คน รวม
100 คน
21 การจัดการความรโู้ ลจิสตกิ ส์ทอ่ งเทย่ี ว
แผนท่ปี รับปรุง เข้าพบนายอาเภอของอาเภอที่มีความพร้อมในการรวมตัวของชุมชน
ทอ่ งเท่ียว 2 อาเภอ เพ่ือทาความเข้าใจเป้าหมายของการอบรม
1
กาหนดผู้อบรมเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มสมาชิก (Member) และกลุ่มผู้ดูแล
2 ระบบ (Group Admin) โดยแบ่งเวลาอบรมทั้ง 2 กลุ่มภายใน 1 วัน และ
คัดเลือกบุคคลจากทั้ง 2 กลุ่มเป็นผู้ควบคุมระบบหลัก (Admin) เพื่อการ
ถ่ายทอดความรู้ในการร่วมควบรุมระบบการทางานกลาง
3 จัดอบรมแก่ 2 อาเภอต้นแบบวันละ 1 อาเภอ แก่กลุ่มที่กาหนดตาม
แผนที่ 2
ทาหนังสือขอความร่วมมือจาก 9 อาเภอที่เหลือในการส่งตัวแทนชุมชนและ
4 ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว เพื่อเข้ารับการอบรมตามแผนที่ 2
โดยแบ่งการอบรมเปน็ 2 วัน วนั แรก 4 อาเภอ และวนั ทส่ี อง 5 อาเภอ
จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการเล่าเรื่องราว (Storytelling) การท่องเที่ยว
5 ชุมชน และการกาหนดเส้นทางท่องเที่ยวโดยชุมชนท่องเที่ยวร่วมกัน
ระหวา่ งตวั แทนทัง้ 11 อาเภอ
ดว้ ยสถานการณ์โรคโควดิ 19 จงึ ไมส่ ามารถจัดกิจกรรมถ่ายทอดความรู้และ
6 เทคโนโลยี "มาตะ เมืองลุง" แบบเผชิญหน้าได้ จึงมีการปรับเปลี่ยนใช้
เทคโนโลยีแบบผสมผสาน ผ่าน YouTube, E-book, Facebook และ
ประเมินผลการถา่ ยทอดผา่ น Google Form
การจดั การความรโู้ ลจสิ ติกสท์ ่องเท่ียว 22
ครอบคลุมทุกสื่อเพ่ือความเขา้ ใจของทกุ กลุ่ม
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรับรู้ คณะทางานได้จัดทาคู่มือการใช้เทคโนโลยี
“มาตะ เมืองลุง” เพื่อใช้เป็นสื่อการสร้างความรู้ความเข้าใจเทคโนโลยีให้กับผู้ใช้ทั้ง 4
กลุ่ม โดยจัดทาเป็น เป็น E-Bookซึ่งสามารถใช้งานผ่านคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์เคลื่อนที่
หรือแท็บเล็ต ผ่าน LINK URL:https://anyflip.com/bookcase/qdfjoqdfjoชั้นวาง
หนังสือ โดยเนื้อหาข้อมูลอ่านง่ายและมีการสื่อสารที่ไม่ซับซ้อนสามารถนาไป
ประกอบการเตรียมความพร้อมก่อนการอบรมและทบทวนหลังการอบรมเพื่อการจัดการ
ขอ้ มูลท่ีถกู ต้อง
Information Graphic
SCAN QR CODE
เพ่ือดู e-Book
23 การจดั การความรู้โลจิสติกส์ท่องเทย่ี ว
คมู่ อื สนบั สนุนกิจกรรมการถ่ายทอดองค์ความรู้
1 E-Book แนวปฏบิ ัติสู่ความเป็นเลิศ (best practice)
https://online.anyflip.com/tuqve/vcze/mobile/index.html
2 E-Book คูม่ อื การใชง้ านแอปพลเิ คชนั “มาตะ เมืองลุง” สาหรบั 12
นกั ท่องเทยี่ ว https://anyflip.com/tuqve/wpfs/mobile/index.html
3 E-Book คมู่ ือการใช้เวบ็ ไซต์ “มาตะ เมืองลุง” สาหรับนกั ท่องเที่ยว 34
https://anyflip.com/tuqve/oser/mobile/index.html
4 E-Book ค่มู อื การใช้เว็บไซต์ “มาตะ เมอื งลุง” (backend website)
สาหรับกลุม่ สมาชิก (Menber)
https://anyflip.com/tuqve/mqpw/mobile/index.html
E-Book คมู่ ือการใช้เวบ็ ไซต์ “มาตะ เมืองลุง” (backend website)สาหรับ 5 6
กลมุ่ ผูด้ ูแลระบบ (Group Admin)
5
https://anyflip.com/tuqve/shud/mobile/index.html
6 E-Book คู่มือการใช้เวบ็ ไซต์ “มาตะ เมอื งลงุ ” (backend website)
สาหรับผคู้ วบคมุ ระบบหลัก (Admin)
https://anyflip.com/tuqve/fyzn/mobile/index.html
การจัดการความรูโ้ ลจสิ ตกิ สท์ อ่ งเท่ยี ว 24
การนาเสนอขอ้ มลู
ผ่านสือ่ อนิ โฟกราฟฟคิ
(Information Graphic)
เป็นสื่อเสริมกิจกรรมถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับ การท่องเที่ยว
จงั หวัดพทั ลุง โดยได้จดั ทาสอ่ื อนิ โฟกราฟิค จานวน 5 สือ่ เพ่ือการเผยแพร่ ได้แก่
1. ภาพรวมของระบบ
“มาตะ เมืองลงุ ” เพ่อื สร้างความเข้าใจให้
ทุกส่วนงานที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว
จงั หวัดพทั ลุง
2. สาหรบั นกั ทอ่ งเทีย่ วชาวไทย
เพื่อสร้างความเขา้ ใจในการใชแ้ อปพลเิ คชนั
“มาตะ เมอื งลุง”
25 การจดั การความรู้โลจิสตกิ ส์ท่องเที่ยว
3. สาหรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ
อินโฟกราฟิกสร้างความเข้าใจในการใช้
แอปพลิเคชนั “มาตะ เมืองลุง”
4. สาหรบั สมาชิก (Member)
อินโฟกราฟิกสร้างความเข้าใจกระบวน
การจัดการข้อมูลของสถานประกอบการและ
แหล่งท่องเที่ยวด้วยตนเองผ่านเว็บไซต์หลังบ้าน
“มาตะ เมอื งลุง”
5. สาหรบั กล่มุ ผดู้ แู ลระบบ (Admin Group)
อินโฟกราฟิกสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการ
จดั การข้อมูลต่างๆ ผา่ นเวบ็ ไซตห์ ลังบ้าน
การจดั การความร้โู ลจสิ ตกิ สท์ อ่ งเท่ยี ว 26
เรียนรู้งา่ ยๆ ผ่านคลปิ วดิ ีโอ นักทอ่ งเทย่ี ว 1 คลปิ
บน YouTube สมาชิก 7 คลิป
ผดู้ แู ลกลุ่ม 10 คลิป
ทางคณะทางานได้ทาคลิปวิดีโอการใช้เทคโนโลยี
“มาตะ เมืองลุง” เพื่อใช้เป็นสื่อส่งเสริมกิจกรรม
ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีให้กับผู้ใช้ 3 กลุ่ม
ท้ังสนิ้ 18 คลปิ
27 การจดั การความรู้โลจิสตกิ ส์ทอ่ งเทย่ี ว
3. การใช้ประโยชนจ์ ากกิจกรรม
การอบรม
การใช้ประโยชน์จากผลการดาเนิน
กิจกรรมตามแผนที่สามารถปรับเปลี่ยนได้
ตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนไปเมื่อเกิดปัญหา
ระหว่างการสร้างการรับรู้ในระหว่างการ
อบรม ซึ่งผู้ถ่ายทอดความรู้จะต้องมีการ
สร้างกระบวนการรับรู้ใหม่ โดยทุกฝ่ายที่
เกี่ยวข้องได้เรียนรู้ในการแก้ปัญหาและ
สามารถนาเสนอข้อมูลต่อกลุ่มเป้าหมายที่
เกิดจากการจัดการข้อมูลตามบทบาทท่ี
กาหนด เพื่อการพัฒนาระบบอย่างสมบูรณ์
ตอบโจทย์นักท่องเทย่ี วและผูร้ ว่ มดูแลระบบ
ทุกกลมุ่
การจัดการความรโู้ ลจสิ ติกสท์ ่องเทย่ี ว 28
จากการถ่ายทอดความรทู้ าใหท้ ราบว่าจะต้องมีการปรับระบบหลังบา้ นกับระบบหน้าบ้านอย่างไรให้
สามารถตอบโจทยน์ กั ทอ่ งเที่ยวมากท่ีสุด ดงั ตวั อย่างตอ่ ไปน้ี
กลมุ่ ไลน์คือคาตอบเบอ้ื งตน้ เม่ือผูเ้ ขา้ อบรมมที กั ษะดา้ นเทคโนโลยีไมเ่ ทา่ กนั
ในการจัดการความรดู้ ้านเทคโนโลยี
สร้างกล่มุ ไลน์ชมุ ชน
ท่องเที่ยว ทกุ อาเภอ
ทุกเรื่องราวบอกผ่านชอ่ งทางไลนก์ ลุ่ม
ท่องเที่ยวอาเภอ
เมอื่ ขนาดภาพทเ่ี ลอื กเปน็ สอื่ ประชาสัมพนั ธ์
มขี นาดไม่เท่ากนั
ไฟล์ใหญ่เกินไปก็เป็นอุปสรรคใน
การบันทึกในระบบ (Upload)และผลการ
นาเสนอช้า
เล็กเกินไปก็ภาพไม่คมชัดมองไม่เห็น
ความสวยงาม
แอปพลิเคชันขนาดรูปภาพ Photo
Resizer คือค าตอบ พร้อมไปต่อการ
นาเสนอ 10 ภาพเด่นตามระบบ
29 การจดั การความรู้โลจิสติกส์ทอ่ งเที่ยว
จากปัญหาการปกั หมุดของสมาชิก ที่ผ่านมาไม่ตรง
กับที่ตั้งจริง ทาให้เกิดการนาทางนักท่องเที่ยวไม่
ถกู ตอ้ ง
ด้ังนน้ั แอปพลเิ คชัน My GPS Coordinated
คือคาตอบท่ถี ูกตอ้ งตรงพกิ ดั แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว
เพื่อการนาทางไปยงั จดุ หมายปลายทาง
บอกตาแหน่งละตจิ ดู
บอกตาแหน่งลองจิจูด
เม่อื บันทกึ ขอ้ มูลและแสดงผลหนา้ บา้ นพบว่า เพื่อเชื่อมโยงการนาเสนอเรื่องราวท่องเที่ยว
นกั ท่องเทีย่ ว (Tourist) เหน็ ขอ้ มลู ไมเ่ หมอื นกบั ผู้ดูแลหลักแจ้งเรื่องกับโปรแกรมเมอร์ด่วน เพื่อ
ขอ้ มลู หลังบ้านทส่ี มาชิก (Member) บนั ทึกลงไป ปรับระบบหนา้ บา้ นให้สอดคล้องกบั หลงั บ้าน
ข้อมลู ครบถว้ น
ตามท่ีบนั ทึกไว้
การจดั การความรูโ้ ลจสิ ตกิ สท์ ่องเทย่ี ว 30
ทุกกลุ่มที่เกี่ยวข้องได้รับประโยชน์จากผลการ 4. การได้รับประโยชน์
ดาเนินกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ และพร้อม จากการถา่ ยทอดองคค์ วามรู้
ต่อการพัฒนาเพื่อการกระจายรายได้แก่ ชุมชนอย่าง
ย่ังยืน รวมถึงสถานที่บริการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ
นักท่องเทีย่ ว ท่องเที่ยว เช่น สถานพยาบาลสถานีน้ามัน และ
มัสยิด ท่ีชว่ ยอานวยความสะดวกแก่นกั ทอ่ งเทีย่ ว
จ า ก ผ ล กา ร ร ่ วมกิ จ กร ร มท ด ล อง ใ ช้
แอปพลิเคชันของนักท่องเที่ยวหลังจากการ นอกจากนี้ นักท่องเที่ยวที่ใช้แอปพลิเคชัน
ถ่ายทอดความรู้ให้ตัวแทนชุมชนท่องเที่ยวเป็นผู้ “มาตะ เมืองลุง” ยังจะสามารถวางแผนเดินทาง
บันทึกข้อมูลด้วยตนเองพบว่าแอปพลิเคชัน ท่องเที่ยวตามความสนใจของตนเองได้ รวมถึงใช้
“มาตะ เมืองลุง” ช่วยนักท่องเที่ยวได้รับความ เป็นช่องทางในการติดต่อประสานงานกับ
สะดวกในการท่องเที่ยวมากขึ้นอยู่ในระดับมาก ผู้ประกอบการได้ง่ายและสะดวกขึ้นโดยเฉพาะ
ภาพและข้อมูลที่ปรากฎบนแอปพลิเคชันมีความ นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติสามารถใช้วางแผนการ
สวยงาม น่าสนใจ และจูงใจในการตัดสินใจ ท่องเที่ยวได้ด้วยตนเองตลอดการท่องเที่ยวจังหวัด
ทอ่ งเทย่ี วจังหวัดพัทลุง พทั ลุง เช่นกัน
ผลการประเมนิ แนวทางการขยายผลแอปพลิเคชัน
“มาตะ เมืองลุง” จากนักทอ่ งเทย่ี ว
หลงั จากชุมชนทอ่ งเทยี่ วไดบ้ นั ทึกขอ้ มูลเอง
31 การจดั การความรูโ้ ลจิสติกส์ท่องเท่ียว
ผู้ประกอบการและหน่วยงานในอุตสาหกรรม ทั้งในด้านการเสริมสร้างความก้าวหน้าของธุรกิจ
ท่องเทีย่ ว การทอ่ งเที่ยว ที่สาคัญไดส้ รา้ งความภาคภมู ิใจใหก้ ับ
ผู้ประกอบการที่จะได้มีโอกาสนาเสนอสิ่งที่ดีๆ แก่
จากผลการดาเนินกิจกรรมการจัดการความรู้ นักท่องเที่ยวไปทั่วโลกให้สามารถเห็นคุณค่าและ
ผ่านแพลตฟอร์มโลจิสติกส์ท่องเที่ยว “มาตะ เมือง ผลงานในผลิตภัณฑ์ อาหารที่เลิศรส และแหล่ง
ลุง” ด้วยการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพของ ทอ่ งเทีย่ วทีส่ วยงามด้วยตนเอง จงึ เป็นผลงานที่ช่วย
เว็บไซต์และแอปพลิเคชัน รวมถึงเฟซบุ๊ก และสติก กระตุ้นให้ผู้ประกอบการได้มีแรงบันดาลใจในการที่
เกอรไ์ ลน์ ภายใต้ชื่อ “มาตะ เมืองลุง” เข้ามาเป็นสื่อ จะพฒั นากิจการของตนอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยัง
เสริมในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลการท่องเที่ยวของ ช่วยให้ได้มีโอกาสได้แลกเปลี่ยนแนวคิดและการให้
จังหวัดพัทลุง มาถ่ายทอดให้แก่ชุมชนและ การช่วยเหลือซึ่งกันในลักษณะเครือข่ายความ
ผปู้ ระกอบการในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวได้มีส่วนร่วม ร่วมมือในการส่งต่อสิ่งดี ๆ ร่วมกัน เป็นการสร้าง
ในการบันทึกข้อมูลได้ด้วยตนเองในทุกที่ทุกเวลา ทา มติ รภาพทางธรุ กิจ
ให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ประกอบการเปน็ อย่างมาก
ผลการประเมินแนวทางการขยายผลแอปพลเิ คชัน
“มาตะ เมอื งลุง” จากนกั ท่องเที่ยว
หลงั จากชุมชนทอ่ งเท่ียวได้บนั ทึกข้อมลู เอง
การจดั การความรโู้ ลจสิ ติกสท์ อ่ งเทีย่ ว 32
จงั หวัดพทั ลุง
จากการวิจัยเรื่อง “การศึกษาระบบโลจิ
สติกส์และการจัดการห่วงโซ่อุปทานการท่องเที่ยว
จังหวัดพัทลุงเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวกลุ่ม
ผู้สูงอายุ” และต่อยอดดว้ ยการพัฒนาแพลตฟอร์ม
โลจิสติกส์ท่องเที่ยว “มาตะ เมืองลุง” และการ
จัดการความรู้โดยการถ่ายทอดความรู้ด้าน
เทคโนโลยีและการตลาดแก่ชมุ ชนท่องเที่ยวทั้ง 11
อาเภอของจังหวดั พัทลงุ
เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาเครือข่ายการ
ท่องเที่ยวภายในจังหวัด รวมถึงเป็นการ
เชื่อมต่อความสัมพันธ์ระหว่างชุมชน
ผูป้ ระกอบการ ข้าราชการและนักการเมืองที่ทา
ให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนาการท่องเที่ยว ส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจระยะยาวของจังหวัด
จังหวัดพัทลุงในการทาให้นักท่องเที่ยวมาเที่ยว พัทลุง และเป็นส่วนหนึ่งในการแก้ปัญหาการ
ซ้าและบอกต่อช่วยให้เกิดความมั่นคงในการ ท่องเที่ยวของจังหวัดพัทลุง 3 ด้านที่เคยระบุไว้ใน
สร้างรายไดข้ องชุมชน แผนพฒั นาจังหวัดได้แก่
33 การจดั การความรูโ้ ลจิสติกส์ท่องเที่ยว
(1) ช่วยลดปัญหาด้านระบบ
ข้อมูลสารสนเทศและการ
ประชาสัมพันธ์ด้านการท่องเที่ยวให้
เป็นระบบ และสามารถครอบคลุม
กลุม่ เป้าหมายมากยิ่งขึ้น
(2) ช่วยลดปัญหาชุมชนในพื้นที่
ท่องเที่ยวที่ยังขาดความรู้ความเข้าใจ
การบริหารจัดการ การท่องเที่ยวที่มี
คุณภาพและทักษะการท่องเที่ยวเชิง
สากล
(3) ช่วยลดปัญหาการขาดการ
เชื่อมโยงเครือข่ายด้านการ
ท่องเทยี่ วของจงั หวัดพัทลงุ
การจัดการความรู้โลจสิ ติกสท์ ่องเทยี่ ว 34
นอกจากนี้จังหวัดสามารถใช้แพลตฟอร์มโลจิสติกส์ท่องเที่ยว “มาตะ เมืองลุง” เป็นช่องทางการ
ขายผลิตภัณฑ์ชุมชนของจังหวัด เพื่อเป็นการสร้างรายได้ให้แก่ชุมชนในสถานการณ์วิกฤตโควิดหรือ
วิกฤตในลักษณะเดียวกันในอนาคต และสามารถใช้เป็นช่องทางในการแนะนาแหล่งท่องเที่ยวและ
ผลิตภัณฑ์แก่นักท่องเที่ยว เพื่อเตรียมพร้อมในการรองรับนักท่องเที่ยวหลังสถานการณ์โควิดให้สามารถ
ทอ่ งเท่ียวจงั หวัดพทั ลุงไดอ้ ยา่ งสะดวกตลอดเส้นทางการท่องเทย่ี ว
จากข้อมูลดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่าจังหวัดสามารถใช้แพลตฟอร์มโลจิสติกส์ท่องเที่ยว
“มาตะ เมืองลุง” ในการบริหารจัดการท่องเที่ยวของจังหวัดและสามารถเป็นต้นแบบให้แก่จังหวัดอื่น
ต่อไปในอนาคต
ประเทศ
จากผลการด าเนินการถ่ายทอดความรู้
เกี่ยวกับแพลตฟอร์มโลจิสติกส์ท่องเที่ยว “มาตะ
เมืองลุง”และเป็นส่วนหนึ่งในการดึงเยาวชนหรือคน
รุ่นใหม่ให้กลับมาทางานในภูมิลาเนาด้วยการสร้าง
ความรักและภาคภูมิใจในจังหวัดบ้านเกิด ด้วยการ
วางแผนการบริหารจัดการการท่องเที่ยว
ระดบั ประเทศแบบย่งั ยนื ดังรูปแบบต่อไปน้ี
การมตี น้ แบบให้กบั การสร้างรายไดก้ าร การชว่ ยประเทศใน การสร้างแนวคิดและ
จงั หวดั อ่ืนในการ ท่องเทย่ี วในเมอื งรอง การพฒั นา วิธีคดิ ใหมใ่ นการทา
จดั การขอ้ มลู การ ธรุ กจิ รูปแบบเครือขา่ ย
ท่องเท่ยี วระดับจังหวดั ผู้ประกอบให้มที กั ษะ มติ รภาพในกล่มุ
การใช้เทคโนโลยี
ผปู้ ระกอบการ
35 การจดั การความร้โู ลจิสตกิ ส์ท่องเท่ยี ว
การสร้างเครือข่ายแพลตฟอรม์ โลจสิ ติกสท์ อ่ งเทีย่ ว
“มาตะ เมืองลุง” คือพลังสคู่ วามยง่ั ยนื
การสรา้ งเครอื ขา่ ยแพลตฟอร์มโลจิสติกส์การท่องเทยี่ ว “มาตะ เมอื งลุง”
ชว่ ยลดปัญหาการขาดการเชอื่ มโยงเครือข่ายด้านการท่องเทีย่ วของจงั หวัดพทั ลงุ
จากกิจกรรมโครงการจัดการความรู้ในการ มาเป็นทีมงานสาคัญในการจัดการข้อมูล
ถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อการท่องเที่ยวทาให้เกิดความ ท่องเที่ยวภายใต้ “แพลตฟอร์มโลจิสติกส์
ร่วมมือในเครือข่ายอุตสาหกรรมท่องเที่ยวจังหวัดพัทลุง ท่องเที่ยว “มาตะ เมืองลุง” โดยประกอบด้วย
ที่ประกอบด้วย ตัวแทนหน่วยงานภาครัฐที่รับผิดชอบ สื่อเทคโนโลยีภายใต้ชื่อ “มาตะ เมืองลุง”
แหล่งท่องเที่ยว ตัวแทนชุมชนท่องเที่ยว กลุ่มวิสาหกิจ ได้แก่ เว็บไซต์ แอปพลิเคชัน ซึ่งเปรียบ
ชุมชน ผู้ประกอบการร้านค้า ที่พัก และร้านอาหาร เสมือนศูนย์รวมข้อมูลท่องเที่ยวจังหวัดพัทลุง
รวมถึงผู้ประกอบการด้านการบริการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ที่นักท่องเที่ยวสามารถใช้ได้ทุกที่ทุกเวลาบน
เช่น บริการรถเช่า/เรือเช่า จากทุกอาเภอของจังหวัด สมารท์ โฟนหรือแทบ็ เลต็
พทั ลงุ
ชุมชนท่องเที่ยว 11 อาเภอ สมาชิก แพลตฟอร์มโลจสิ ตกิ สท์ ่องเทย่ี ว นกั ทอ่ งเทย่ี ว
(Member) “มาตะ เมืองลุง” ผูม้ าเยือน
จงั หวัดพทั ลงุ
หนว่ ยงานภาครฐั กลมุ่ ผู้ดแู ลระบบ เวบ็ ไซตส์ าหรับนักทอ่ งเทยี่ ว
ชุมชนท่องเทยี่ ว (Group Admin) รองรับทกุ อปุ กรณ์
กลมุ่ วิสาหกจิ ชุมชน (Resposive Website)
ผู้ประกอบการท่พี กั ผู้ดแู ลระบบหลัก
ผปู้ ระกอบการรา้ นค้า (Admin) แอปพลเิ คชัน
ผู้ประกอบการรา้ นอาหาร "มาตะ เมืองลุง" สาหรับ
ผ้ปู ระกอบการบริการอนื่ ๆ นักท่องเท่ยี ว
(Mobile Application)
เว็บจดั การฐานขอ้ มลู หลงั บ้าน
(Backend Website)
ตัวแทนหน่วยงานจังหวัด
ท่รี ่วมดแู ลแพลต็ ฟอร์ม
ภาพเครอื ข่ายแพลตฟอรม์ โลจสิ ตกิ ส์การทอ่ งเทยี่ ว “มาตะ เมอื งลุง”
การจัดการความร้โู ลจสิ ติกสท์ อ่ งเท่ียว 36
เครือข่ายแพลตฟอรม์ โลจิสตกิ ส์การท่องเท่ียว “มาตะ เมอื งลงุ ”
จัดเป็นแพล็ตฟอร์มการท่องเที่ยวของจังหวัดพัทลุงที่จะเป็นส่วนผลักดันให้เกิดค วามร่วมมือ
การจัดการข้อมูลการท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืนและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อเครือข่ายการท่ องเที่ยวและ
นักท่องเที่ยวทุกกลุ่ม โดยกลุ่มชุมชนท่องเที่ยวจังหวัดพัทลุงทั้ง 11 อาเภอ ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐ
ชุมชน และผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ซึ่งตัวแทนจากกลุ่มนี้จะมีบทบาทหน้าที่ในการ
ทางานภายใต้แพลตฟอรม์ โลจิสติกส์ การทอ่ งเท่ยี ว “มาตะ เมืองลุง” ประกอบด้วย
สมาชิก (Member) กลมุ่ ผดู้ แู ลระบบ (Group Admin)
ทาหน้าที่ ในการเพิ่มข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว เป็นตัวแทนจากกลุ่มสมาชิกทาหน้าที่เป็นผู้
และสถานที่บริการด้านการท่องเที่ยวของ ตรวจสอบข้อมูลก่อนนาเสนอบนเว็บไซต์และ
ตนเองตามรูปแบบที่กาหนดของเว็บไซต์ แอปพลิเคชัน และเป็นผู้ประสานงานในกลุ่ม
และแอปพลิเคชัน ทอ่ งเทย่ี วยอ่ ยแต่ละกลุ่ม
ผูค้ วบคุมระบบหลกั (Admin)
คือตัวแทนที่มีความพร้อมในการทาหน้าที่เป็น
ผู้อนุมัติข้อมูลที่นอกเหนือ จากสิทธิ์ของกลุ่ม
ผู้ดูแลระบบ และจะเป็นผู้กาหนดสิทธิ์และ
ปรับเปลี่ยนข้อมูลในแต่ละหมวด เพื่อทันต่อ
สถานการณ์ที่เกิดขึ้นและสอดคล้องกับความ
ตอ้ งการของทุกฝา่ ยท่เี ก่ยี วขอ้ ง
37 การจดั การความรู้โลจิสตกิ ส์ท่องเทยี่ ว
จากการดาเนินการจัดการความรู้ จะทาให้ทุกคนรู้สึกมีส่วนร่วมเมื่อให้มีการ
พบว่าการที่ได้ตั้งกลุ่มไลน์ท่องเที่ยวแยกตาม รวมกลุ่มคละอาเภอกันทาให้เป็นที่มาของการ
อาเภอทาให้ชุมชนเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สร้างความร่วมมือและเชื่อมโยงความสัมพันธ์
กันในระดับอาเภอ และเมื่อมีการอบรมร่วมกัน ไปถึงการส่งต่อข้อมูลให้แก่กัน เพื่อการบริการ
ในภาพของจังหวดั นักท่องเทีย่ วและกระจายรายได้ซ่งึ กนั และกนั
ภายใต้การทางานดังกล่าวข้างต้นจะต้องได้รับการ
สนับสนุนเป็นอย่างดีจากหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายจาก
จังหวัดในการร่วมดูแลระบบและแพลตฟอร์ม เพื่อร่วมพัฒนา
ฐานข้อมลู การทอ่ งเทยี่ วทัง้ 3 องค์ประกอบโลจิสติกส์ท่องเที่ยว
คือ ด้านกายภาพ ด้านข้อมูลข่าวสาร และด้านการเงิน
เพื่อช่วยลดปัญหาการขาดการเชื่อมโยงเครือข่ายด้านการ
ท่องเที่ยวของจังหวัดสู่การพัฒนาศูนย์รวมข้อมูลท่องเที่ยว
จงั หวดั พัทลงุ ท่สี ามารถตอบโจทย์นักท่องเท่ียวทุกกลุ่มตอ่ ไป
การจดั การความรูโ้ ลจสิ ติกสท์ ่องเทย่ี ว 38
ต้นแบบการจดั การ
การทอ่ งเที่ยวอย่างย่งั ยืน
ผ่านแพลตฟอรม์ โลจสิ ตกิ สท์ อ่ งเทีย่ ว
“มาตะ เมอื งลงุ ”
ซึ่งมีบางส่วนขอซื้อเพิ่มเติม และการ
ประชาสัมพันธ์การดาวน์โหลด “สติกเกอร์ไลน์
มาตะ เมืองลุง” ซึ่งเป็นช่องทางในการเริ่มต้นหา
รายได้เสริมเพื่อตั้งต้นในการจัดตั้งกองทุน “มาตะ
เมืองลุง” เพื่อเป็นทุนค่าใช้จ่ายในการ
ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวและช่วยเหลือ
ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวกรณีเกิด
วกิ ฤตการทอ่ งเทยี่ วท่อี าจจะเกิดขน้ึ ในอนาคต
นอกจากการพัฒนา แพลตฟอร์มเพื่อการ
สนับสนุนการท่องเที่ยวจังหวัดพัทลุงแล้ว คณะทางาน
ได้มีการจัดทาหน้ากากผ้า และสติกเกอร์ไลน์ “มาตะ
เมืองลุง” ขึ้นมาเพื่อเป็นสื่อสนับสนุนการสร้างการรับรู้
การท่องเที่ยวจังหวัดพัทลุง เพื่อรองรับการท่องเที่ยว
หลังสถานการณ์โควิด-19 โดยการมอบ “หน้ากากผ้า
มาตะ เมืองลุง” แก่ผู้ประกอบการที่ร่วมอบรม และ
นกั ทอ่ งเทยี่ วท่ตี อบแบบสอบถาม
39 การจดั การความรโู้ ลจิสติกส์ท่องเที่ยว
ดังนั้นจึงได้มีการพัฒนาแบบจาลอง
การจัดการธุรกิจท่องเที่ยวโดยชุมชนขึ้นเพื่อ
เป็นต้นแบบในการพัฒนาเครือข่ายความ
ร่วมมือด้านการท่องเที่ยวชุมชน และเป็น
ส่วนหนึ่งในการกระจายรายได้สู่ชุมชน
ท่องเท่ียวอย่างยั่งยนื
การมีส่วนร่วมของทกุ ฝา่ ยท่ีเกีย่ วข้อง ผลลพั ธ์ที่ได้
ผู้บรหิ าร บคุ ลากร แพลตฟอรม์ ผลงาน ตัวชี้วดั ความสาเร็จ
ทส่ี นบั สนุน หน่วยงาน โลจสิ ติกส์ทอ่ งเที่ยว หนว่ ยงาน การทอ่ งเท่ียว
การท่องเทย่ี วระดับ รับผิดชอบหลัก “มาตะ เมืองลงุ ” รบั ผดิ ชอบ
เว็บไซตส์ าหรบั นักทอ่ งเทยี่ ว การจัดการข้อมูล
จงั หวัด นโยบายและ รองรับ ผลการ การท่องเที่ยวแบบมี
กลยุทธ์ ทกุ อุปกรณ์ ขับเคลื่อน ส่วนรว่ มและยัง่ ยนื
ผู้วา่ ราชการจงั หวัด (Resposive Website) นโยบายและ
สานักงานจงั หวดั ชุมชนทอ่ งเที่ยว แอปพลเิ คชัน กลยุทธ์ การท่องเที่ยวภายใน
สานักงานสถิติจังหวดั และ "มาตะ เมอื งลงุ " จังหวัดได้รับการ
สานกั งานพฒั นา สาหรบั นักท่องเที่ยว ผล พัฒนาอย่างครบ
ผูป้ ระกอบการ (Mobile Application) ประกอบการ วงจร
ชมุ ชนจังหวดั เวบ็ จดั การฐานข้อมูล ของชมุ ชน
การทอ่ งเทย่ี วและกฬี า หลังบ้าน ท่องเท่ยี ว เศรษฐกิจ สังคม และ
(Backend Website) คุณภาพชีวิตของ
จงั หวัด ประชาชนในจังหวัด
ดีข้นึ
การสรา้ งนวัตกรรมความรว่ มมือ และการเรียนร้รู ่วมกนั
การจดั การความรู้โลจสิ ติกสท์ อ่ งเท่ยี ว 40
คณะทางาน
ดร.คนงึ นิจต์ หนูเชก็ อ.พรทิพย์ เส้ยี มหาญ รศ.ทัศนยี ์ ประธาน ดร.นา้ ทพิ ย์ ตระกลู เมฆี
ผ้สู นบั สนนุ ชุมชนท่องเท่ยี ว 11 อาเภอ
จงั หวดั พทั ลุง
ผวู้ ่าราชการจงั หวดั
สานกั งานจังหวัด อาเภอเมอื งพทั ลงุ
สานักงานสถติ ิจงั หวดั อาเภอกงหรา
สานักงานพฒั นาชุมชนจังหวดั อาเภอเขาชยั สน
การทอ่ งเทีย่ วและกีฬาจงั หวัด อาเภอตะโหมด
อาเภอควนขนนุ
อาเภอปากพะยนู
อาเภอศรีบรรพต
อาเภอป่าบอน
อาเภอบางแกว้
อาเภอปา่ พะยอม