The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ฉบับล่าสุด คู่มือแผนปฏิบัติการป้องกัน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ฉบับล่าสุด คู่มือแผนปฏิบัติการป้องกัน

ฉบับล่าสุด คู่มือแผนปฏิบัติการป้องกัน

แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 2 คำนำ แผนปฏิบัติการปองกันและรองรับเหตุฉุกเฉิน มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา เปนหนึ่งในแผน มาตรการการปองกันความปลอดภัยในอาคารและสถานที่ปฏิบัติงานเปนสิ่งที่มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขต สงขลา ใหความสำคัญเปนอันดับตน จึงสนับสนุนใหมีการดำเนินการเพื่อปองกันภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้นตอ ชีวิต และทรัพยสินของบุคลากร นิสิต หรือบุคคลภายนอกอยางจริงจังเปนระบบ คูมือการปองกันและรองรับ เหตุฉุกเฉินฉบับนี้เปนการจัดทำขึ้นโดยมีเนื้อหาครอบคลุมระบบความปลอดภัยของอาคาร โดยเฉพาะการ ปองกันและรองรับเหตุฉุกเฉิน การปฏิบัติงานของผูมีหนาที่เกี่ยวของมีสวนสำคัญในการรวมดูแลความปลอดภัย และมีหนาที่ในการปองกันสิ่งที่อาจกอใหเกิดอันตรายทั้งแกตนเองและผูอื่นเมื่อมีเหตุฉุกเฉินเกิดขึ้น คณะผูจัดทำ ฝายบริหารวิทยาเขตสงขลา


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 3 สารบัญ หนา 1 วัตถุประสงค 4 2 หลักการจัดทำแผน 4 3 ขอบเขต 5 4 คำจำกัดความ 6 5 ขอมูลทั่วไป 8 6 เอกสารอางอิง 9 7 ขั้นตอนการดำเนินงานปองกันและระงับอัคคีภัย 10 7.1 แผนปองกันกอนเกิดเหตุเพลิงไหม 10 7.1.1 แผนการตรวจตรา 10 7.1.2 แผนการอบรม 18 7.1.3 แผนการรณรงคปองกันและระงับอัคคีภัย 20 7.2 แผนขณะเกิดเหตุเพลิงไหม 21 7.2.1 แผนการดับเพลิง 21 7.2.2 แผนอพยพหนีไฟ 32 7.3 แผนหลังเกิดเหตุเพลิงไหม 37 7.3.1 แผนบรรเทาทุกข 37 7.3.2 แผนปฏิรูปฟนฟู 41 8 ภาคผนวก 46 8.1 คณะผูจัดทำคูมือ 47 8.2 แผนผังพื้นที่อาคาร /จุดติดตั้งไฟฉุกเฉิน /อุปกรณดับเพลิง 48 8.3 โครงการฝกซอมแผนปองกันและบรรเทาสาธารณภัยประจำปการศึกษา 2566 ครั้งที่ 1 53 8.4 โครงการฝกซอมแผนปองกันและบรรเทาสาธารณภัยประจำปการศึกษา 2566 ครั้งที่ 2 56


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 4 แผนปฏิบัติการปองกันและรองรับเหตุฉุกเฉิน กรณีอัคคีภัย มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา จัดทำขึ้นเพื่อความปลอดภัยของนิสิต บุคลากรและบุคคลภายนอกที่มาปฏิบัติงานภายในมหาวิทยาลัย หรือมารับบริการ และเพื่อใหเปนไปตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการ ดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน เกี่ยวกับการปองกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. 2555 ซึ่งกำหนดใหสถานประกอบที่มีลูกจางตั้งแต 10 คนขึ้นไป ตองจัดใหมีแผนปองกันและระงับ อัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ และจัดใหลูกจางในสถานประกอบกิจการเขารับการฝกอบรมตามแผนจำนวน ไมนอยกวารอยละ 40 ของแตละพื้นที่ โดยการอบรมประกอบดวย การดับเพลิงขั้นตน การปฐมพยาบาล การ ชวยเหลือในกรณีฉุกเฉิน และตองมีการฝกซอมดับเพลิงและอพยพหนีไฟอยางนอยปละ 1 ครั้ง 1. วัตถุประสงค เพื่อเปนแนวทางปฏิบัติในการเตรียมพรอมรองรับสถานการณฉุกเฉินโดยเฉพาะการเกิดอัคคีภัย เพื่อใหสามารถปองกันเหตุและควบคุมเหตุฉุกเฉินที่จะเกิดในมหาวิทยาลัยไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมี วัตถุประสงคดังนี้ 1. เพื่อเปนการปองกันการสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพยสินจากอัคคีภัย 2. เพื่อสรางความมั่นใจในเรื่องความปลอดภัย (กรณีเกิดอัคคีภัย) ตอนิสิต บุคลากรและ บุคคลภายนอกที่มาปฏิบัติงานภายในมหาวิทยาลัย หรือมารับบริการ 3. เพื่อลดอัตราการเสี่ยงตอการเกิดเหตุอัคคีภัย 4. เพื่อสรางทัศนคติที่ดีตอนิสิต บุคลากรและบุคคลภายนอกที่มาปฏิบัติงานภายในมหาวิทยาลัยหรือ มารับบริการในมหาวิทยาลัย 5. เพื่อใหเปนไปตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการดานความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงานเกี่ยวกับการปองกันและระงับอัคคีภัย 2. หลักการจัดทำแผน ประกอบดวยหลักสำคัญ ดังนี้ 1. แตงตั้งคณะทำงานขึ้นมาจัดทำแผนปฏิบัติการปองกันและรองรับเหตุฉุกเฉินประกอบดวย ผูบริหารและผูปฏิบัติที่เกี่ยวของ 2. แผนกำหนดบุคคลรับผิดชอบและพื้นที่ตองรับผิดชอบอยางชัดเจน 3. ภารกิจที่ตองปฏิบัติในระยะเวลาเดียวกันจะตองแยกผูปฏิบัติ ไมควรเปนเปนบุคคลเดียวกัน 4. แผนที่ตองปฏิบัติขณะเกิดเหตุเพลิงไหมตองชัดเจน ไมคลุมเครือเพราะจะเปนชวงเวลาที่ตองการ ความรวดเร็วในการปฏิบัติและถูกตองแมนยำ ควรฝกซอมอยางนอยปละ 1 ครั้ง จะทำใหผูปฏิบัติมีความมั่นใจ และปฏิบัติไดถูกตองเมื่อเกิดเหตุการณขึ้น


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 5 3. ขอบเขต กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการและดำเนินการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงานเกี่ยวกับการปองกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. 2555 ขอ 4 กำหนดใหสถาน ประกอบกิจการที่มีลูกจางตั้งแต 10 คนขึ้นไป ตองจัดใหมีแผนปองกันและระงับอัคคีภัย ประกอบดวย แผน ตรวจตรา แผนการอบรม แผนการรณรงคปองกันอัคคีภัย แผนการดับเพลิง แผนอพยพหนีไฟและแผนบรรเทา ทุกขโดยใหจัดเก็บแผนปองกันและระงับอัคคีภัย ณ อาคารสำนักงานอาคารสถานที่และสถานีวิทยุเพื่อ การศึกษา พรอมใหพนักงานตรวจความปลอดภัยตรวจสอบได แผนปฏิบัติการปองกันและรองรับเหตุฉุกเฉิน กรณีอัคคีภัย ฉบับนี้ ใชสำหรับ “พื้นที่มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา” เทานั้น โดยครอบคลุมถึงบุคลากรและบุคคลภายนอก ซึ่งมี องคประกอบของแผนที่ตองดำเนินการในภาวการณตางกัน คือ กอนเกิดเหตุอัคคีภัยขณะเกิดเหตุอัคคีภัย และ หลังเกิดอัคคีภัย มีรายละเอียดดังนี้ กอนเกิดเหตุเพลิงไหมจะประกอบดวย แผนปองกันอัคคีภัยตาง ๆ 3 แผน คือ แผนการตรวจตรา แผนการอบรมและแผนการรณรงคปองกันอัคคีภัย ขณะเกิดเหตุเพลิงไหมจะประกอบดวย แผนเกี่ยวกับการดับเพลิงและลดความสูญเสีย โดย ประกอบดวยแผนตาง ๆ 2 แผน คือ แผนการดับเพลิงและแผนอพยพหนีไฟ หลังเกิดเหตุเพลิงไหมจะประกอบดวยแผนที่จะตองดำเนินการเมื่อเหตุเพลิงไหมสงบลงแลว 2 แผน คือ แผนบรรเทาทุกขซึ่งดำเนินการตอเนื่องจากภาวะเกิดเหตุเพลิงไหมและแผนปฏิรูปฟนฟู


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 6 4. คำจำกัดความ บุคลากร หมายถึง ขาราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานวิทยาลัย ลูกจางของ สวนราชการซึ่งปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย ลูกจางของ มหาวิทยาลัย และลูกจางของวิทยาลัย บุคคลภายนอก หมายถึง ผูที่มาปฏิบัติงานภายในมหาวิทยาลัยหรือมารับบริการ อัคคีภัย หมายถึง ภัยที่เกิดจากไฟ เหตุฉุกเฉิน หมายถึง เหตุการณที่ไมพึงประสงคอันเปนเหตุใหเกิดความไมปลอดภัย สามารถแผกระจายและสรางความเสียหายอยางรุนแรงตอชีวิต และทรัพยสินตอ ผูปฏิบัติการในมหาวิทยาลัย และบุคคลที่ 3 รวมถึงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม สภาพแวดลอมในการทำงาน และอาจจำเปนตองอพยพผูปฏิบัติงานออกจากบริเวณที่เกิดเหตุ นั้น ๆ ซึ่งเหตุฉุกเฉินอาจจะเกิดขึ้นไดแก เพลิงไหม กาซรั่วไหล ภัยจากธรรมชาติ สิ่งกอสรางพังทลาย อุบัติเหตุ เปนตน การควบคุม เหตุฉุกเฉิน หมายถึง แนวทางการปฏิบัติงานของทีมฉุกเฉินและผูที่เกี่ยวของเพื่อ ควบคุมเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้นใหอยูในภาวะที่กอใหเกิดอันตรายหรือ สรางความเสียหายตอบุคคลและทรัพยสินของมหาวิทยาลัย สวน งาน ภาควิชา หรือบุคคลที่ 3 และสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมให นอยที่สุด รวมไปถึงแผนการปฏิบัติตนสำหรับคณาจารย นิสิต และบุคลากรเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน โดยแผนการปฏิบัติงานดังกลาว รวมเรียกวา “แผนฉุกเฉิน (Emergency Plan)” ศูนยบัญชาการเหตุ ฉุกเฉิน หมายถึง สถานที่ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อใชเปนศูนยกลางในการบัญชาการ และ ประสานงานงานกับทีมงานตาง ๆ ทั้งทีมสนับสนุนภายในและ ภายนอก เสียงสัญญาณ หมายถึง เสียงสัญญาณแจงเหตุที่กำหนดไว เพื่อแจงใหทราบทั่วกันวา เหตุ อันตรายที่เกิดขึ้นเปนเหตุเขาสูสภาวะฉุกเฉินใหรีบอพยพไปยังจุด รวมพล จุดรวมพล หมายถึง พื้นที่ที่ปลอดภัยซึ่งกำหนดไวสำหรับการรวมพลกรณีเหตุฉุกเฉิน ซึ่งจะมีปายขอความ “จุดรวมพล (Assembly point)” ติดตั้ง ไว อพยพ หมายถึง การยายจากพื้นที่เกิดเหตุฉุกเฉินไปยังพื้นที่ปลอดภัย (จุดรวมพล) อยางเปนระบบทั้งผูปฏิบัติงานและอุปกรณหรือ ยานพาหนะ ภายใตการควบคุมของหัวหนาทีมอพยพ ทีมปฏิบัติการฉุกเฉิน หมายถึง ทีมที่จัดตั้งขึ้นเพื่อเขาระงับหรือบรรเทาเหตุการณไมใหลุกลามถึง ขึ้นรุนแรง ระดับความรุนแรง ของเหตุฉุกเฉิน หมายถึง ระดับเหตุการณของเหตุฉุกเฉินที่กำหนดขึ้นตามความรุนแรงของ สถานการณซึ่งแบงออกเปน 3 ระดับ ดังนี้ 1. เหตุฉุกเฉินระดับ 1 คือ การเกิดสภาพการณที่มีผลตอความ สูญเสียของคน ทรัพยสิน กระบวนการทำงานหรือมีผลกระทบตอ


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 7 สภาพแวดลอมเล็กนอย สามารถควบคุมเหตุฉุกเฉินนั้นไดโดย ผูปฏิบัติงานหรือผูพบเห็นเหตุการณ 2. เหตุฉุกเฉินระดับ 2 คือ การเกิดสภาพการณที่มีผลตอความ สูญเสียของคน ทรัพยสิน กระบวนการทำงาน หรือมีผลกระทบ ตอสภาพแวดลอม และไมสามารถควบคุมเหตุฉุกเฉินนั้นไดโดย ผูปฏิบัติงานหรือผูพบเห็นเหตุการณ จำเปนตองมีการอพยพ แต สามารถควบคุมเหตุการณนั้นไดโดยทีมปฏิบัติการฉุกเฉินของ มหาวิทยาลัยทักษิณ 3. เหตุฉุกเฉินระดับ 3 คือ การเกิดสภาพการณที่มีผลตอความ สูญเสียของคนขั้นทุพพลภาพหรือเสียชีวิต ทรัพยสิน กระบวนการ ทำงาน หรือมีผลกระทบตอสภาพแวดลอมเสียหายขั้นรายแรง และไมสามารถควบคุมเหตุฉุกเฉินนั้นไดโดยทีมปฏิบัติการฉุกเฉิน จำเปนตองมีการอพยพและขอความชวยเหลือจากหนวยงาน ภายนอกมหาวิทยาลัยเขามาควบคุมเหตุการณ ระดับสถานะความ ปลอดภัย หมายถึง 1. ระดับสีเหลือง เพลิงไหมขยายตัวในเวลา 5-10 นาที (ไมสามารถดับไฟไดเองในเวลานอยกวา 5 นาที) 2. ระดับสีแดง เพลิงไหมขยายตัวมากกวา 10 นาที (ไมสามารถดับไฟไดตองประสานกับหนวยงานภายนอก) 3. ระดับสีเขียว เพลิงไหมสงบลง


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 8 5. ขอมูลทั่วไป มหาวิทยาลัยทักษิณ มีพื้นที่ในวิทยาเขตสงขลา 142 ไรซึ่งจำแนกตามสวนงานจำนวน ดังนี้ หนวยงาน อาคาร หมายเหตุ สำนักงานมหาวิทยาลัย 50 ปมหาวิทยาลัยทักษิณ บัณฑิตวิทยาลัย 50 ปมหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาลัยการจัดการเพื่อการพัฒนา 50 ป มหาวิทยาลัยทักษิณ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร อาคาร 13 คณะศิลปกรรมศาสตร อาคาร 17 คณะวิทยาศาสตร อาคาร SC คณะนิติศาสตร อาคารริมบึง ยายไปอาคาร 7 ในป 2567 คณะเศรษฐศาสตรและบริหารธุรกิจ อาคาร 2 สำนักงานจะยายมาชั้น 5-6 อาคาร 50 ปมหาวิทยาลัย ทักษิณ วิทยาลัยนานาชาติ อาคาร 4 คณะศึกษาศาสตร อาคารศึกษาศาสตร สำนักหอสมุด อาคารหอสมุดกลาง สำนักคอมพิวเตอร ศูนยคอมพิวเตอร ฝายกิจการนิสิตและหอพักนิสิต อาคารกิจการนิสิต หอพักปาริชาต1-3 สถาบันทักษิณคดีศึกษา เกาะยอ


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 9 จำนวนอาคารของวิทยาเขตสงขลา มีทั้งสิ้น 22 อาคาร ดังนี้ 1. อาคารที่มีอายุการใชงานมากกวา 40 ปคือ ตั้งแต พ.ศ. 2510-2562 จำนวน 5 อาคาร ปจจุบัน ยังคงใชงาน ไดแก อาคารคณะเศรษฐศาสตรและบริหารธุรกิจ อาคารกิจกรรมนิสิตและที่ทำการสมาคมศิษย เกา (รอปรับปรุง) อาคารคณะนิติศาสตร อาคารสาขาคณิตศาสตร (อ.4) อาคารสาขาเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษา 2. อาคารที่มีอายุการใชงานต่ำกวา 40 ป คือ ตั้งแต พ.ศ. 2520-2562 จำนวน 1 อาคาร คือ อาคาร สำนักงานอธิการบดี (เกา) อาคาร 7 3. อาคารที่มีอายุการใชงานต่ำกวา 30 ป คือ ตั้งแต พ.ศ. 2530-2562 จำนวน 5 อาคาร ไดแก อาคารที่พักแฟลต 18 หนวย อาคารสำนักหอสมุด อาคารที่พักแฟลต 24 หนวย อาคารหอพักปาริชาติ 1-3 อาคารที่พักบุคลากร @TSU Place 4. อาคารที่มีอายุการใชงานมากกวา 25 ป คือ บานพักทาวเฮาส (บานเลขที่ 58-96) และบานพัก เดี่ยว 1 ชั้นและ 2 ชั้น 6. เอกสารอางอิง แนวการจัดทำแผนปองกันและระงับอัคคีภัย ตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน เกี่ยวกับการปองกันและ ระงับอัคคีภัย พ.ศ. 2555 ขอ 4 สำนักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 10 7. ขั้นตอนการดำเนินงานปองกันและระงับอัคคีภัย 7.1 แผนปองกันกอนเกิดเหตุเพลิงไหม 7.1.1 แผนการตรวจตรา เปนแผนการสำรวจความเสี่ยงและตรวจตรา เพื่อเฝาระวัง ปองกัน และขจัดตนเหตุของการเกิด เพลิงไหม โดยกำหนดบุคคลและพื้นที่ที่รับผิดชอบ ตรวจตราจุดเสี่ยงตาง ๆ เชน จุดที่เสี่ยงตอการเกิดเหตุเพลิง ไหม จุดที่มีการใชและเก็บวัตถุไวไฟ จุดที่เก็บของเสียติดไฟงาย จุดที่อาจกอกำเนิดเชื้อเพลิง จุดที่เปนแหลงความ รอนตาง ๆ จุดติดตั้งอุปกรณดับเพลิงและสภาพของอุปกรณ และทางหนีไฟ ในการจัดทำแผนควรมีขอมูลตาง ๆ ดังตอไปนี้ เชื้อเพลิง สารเคมี สารไวไฟ ระบบไฟฟา จุดที่มี โอกาสเสี่ยงตอการเกิดเพลิงไหม งานที่มีประกายไฟ และตองมีการบันทึกขอมูลเกี่ยวกับ คุณสมบัติลักษณะการ ลุกไหมปริมาณของสารอันตรายที่มีอยูสูงสุด ชนิดของสารดับเพลิงและปริมาณที่ตองใช เพื่อใชประกอบการ วางแผนตรวจตรา มาตรการปองกันและระงับอัคคีภัย เพื่อใหชีวิตและทรัพยสินทั้งหมดในมหาวิทยาลัยทักษิณ มี ความปลอดภัยจากอัคคีภัย มีการกำหนดมาตรการปองกันและระงับอัคคีภัย ดังนี้ 1. จัดใหมีระบบปองกันและระงับอัคคีภัย ทั้งดานการจัดใหมีอุปกรณดับเพลิง การจัดเก็บวัตถุไวไฟและวัตถุระเบิด การกำจัดของเสียจากหองปฏิบัติการ การปองกันฟาผา การติดตั้งระบบ สัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม การจัดเสนทางหนีไฟ รวมทั้งการกอสรางอาคารที่มีระบบปองกันอัคคีภัย 2. จัดใหมีแผนปองกันและระงับอัคคีภัย ทั้งดานการตรวจตรา การอบรม การรณรงคปองกัน อัคคีภัย การดับเพลิง การอพยพหนีไฟ การบรรเทาทุกขและการปฏิรูปฟนฟูเมื่อเกิดอัคคีภัยขึ้นแลว 3. จัดใหมีชองทาง/เสนทางหนีไฟสูทางออกภายนอกตามมาตรฐานที่กฎหมายกำหนด 4. สำหรับบริเวณที่มีเครื่องจักรติดตั้งอยู หรือมีกองวัตถุสิ่งของ หรือผนัง หรือสิ่งอื่นนั้น ตองจัดใหมีชองทาง/เสนทางหนีไฟสูภายนอก ใหมีความกวางตามมาตรฐานกฎหมายกำหนด 5. จัดใหมีทางออกทุกอาคาร อยางนอย 2 ทาง ที่สามารถอพยพบุคลากรทั้งหมดออกจากบริเวณ ที่ทำงาน โดยออกสูทางออกสุดทายไดภายในเวลาไมเกิน 5 นาที อยางปลอดภัย 6. ทางออกสุดทาย ควรเปนเสนทางที่ไปสูบริเวณที่ปลอดภัย เชน ถนน สนาม ฯลฯ 7. ประตูที่ใชในเสนทางหนีไฟ ตองติดตั้งในจุดที่เห็นชัดเจน ไมมีสิ่งกีดขวาง และเปนประตูที่เปด ออกภายนอกอาคารไมมีการผูกปดหรือลามโซ โดยประตูหองที่ใชเปนเสนทางหนีไฟ ตองเปนประตูชนิดที่เปด เขา - ออกไดงาย 8. จัดใหมีเสนทางหนีไฟไปสูสถานที่ที่ปลอดภัย โดยไมเปนจุดที่บุคลากรทำงานในแตละฝาย 9. จัดใหมีอุปกรณดับเพลิงแบบมือถือที่สามารถดับเพลิงชนิด เอ บี ซี และดีและระบบดับเพลิง พรอมอุปกรณประกอบ โดยติดตั้งในที่ที่เห็นไดชัดเจน และสามารถหยิบใชงานไดสะดวกโดยไมมีสิ่งกีดขวาง 10. จัดใหมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณดับเพลิงแบบมือถือ มีการซอมบำรุง และตรวจตรา ใหมีสารเคมีที่ใชในการดับเพลิงตามปริมาตรที่กำหนดตามชนิดของอุปกรณดับเพลิงแบบมือถือ อยางนอยปละ 2 ครั้ง (ทุก 6 เดือน) 11. จัดเตรียมน้ำสำรองไวใชในการดับเพลิง 12. ขอตอสายสงดับเพลิงเขาอาคาร และภายในอาคารเปนแบบเดียวกัน หรือขนาดเทากันกับที่ ใชในหนวยดับเพลิงของราชการ และหนวยงานที่เกี่ยวของ 13. สายสงน้ำดับเพลิงมีความยาว หรือตอกันไดความยาวที่เพียงพอจะควบคุมบริเวณที่เกิดเพลิง ได


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 11 14. ระบบการสงน้ำ ที่เก็บกักน้ำ ปมน้ำ และการติดตั้ง ไดรับการตรวจสอบและรับรองจาก วิศวกรโยธา และมีการปองกันไมใหเกิดความเสียหายเมื่อเกิดเพลิงไหม 15. จัดใหมีการตรวจสอบการติดตั้ง การดูแลรักษาอุปกรณดับเพลิงใหอยูในสภาพที่ดีอยูเสมอ อยางนอยเดือนละหนึ่งครั้ง หรือตามระยะเวลาที่ผูผลิตอุปกรณนั้นกำหนด 16. จัดใหมีบุคลากรเขารับการฝกอบรมการดับเพลิงขั้นตน จากหนวยงานที่ไดรับการรับรองจาก กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน 17. จัดใหมีทีมระงับเหตุเพลิงไหมและผจญเพลิง ที่ทำหนาที่ดับเพลิงโดยเฉพาะอยูตลอดเวลาที่มี การทำงาน 18. จัดใหมีอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลที่ใชในการดับเพลิง และการฝกซอมดับเพลิง โดยเฉพาะ เชน เสื้อผา รองเทา ถุงมือ หมวก หนากากปองกันความรอนหรือควันพิษ เปนตน ไวเพื่อให บุคลากร/ทีมระงับเหตุเพลิงไหมและผจญเพลิง ใชในการดับเพลิง 19. ปองกันอัคคีภัยจากการทำงานที่เกิดจากการเสียดสีเสียดทานของเครื่องมือที่กอใหเกิด ประกายไฟหรือความรอนสูงที่อาจทำใหเกิดการลุกไหม เชน การซอมบำรุงหรือหยุดพักการใชงาน 20. วัตถุที่ไวตอการเกิดปฏิกิริยาแลวเกิดลุกไหมไดนั้น ตองแยกเก็บไวตางหาก โดยอยูหางจาก อาคารและวัตถุติดไฟในระยะที่ปลอดภัย 21. ควบคุมมิใหเกิดการรั่วไหลหรือการระเหยของวัตถุไวไฟ หรือวัตถุระเบิดที่จะเปนสาเหตุให เกิดการติดไฟ 22. จัดทำปาย “หามสูบบุหรี่” บริเวณพื้นที่เก็บวัตถุไวไฟ 23. จัดใหมีการกำจัดของเสียโดยการเผาในเตาที่ออกแบบสำหรับเผาโดยเฉพาะ หากเปนที่โลง แจงใหหางจากที่บุคลากรทำงานในระยะที่ปลอดภัย 24. จัดใหมีสายลอฟา เพื่อปองกันอันตรายจากฟาผา 25. จัดใหมีระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมชนิดเปลงเสียง ใหบุคลากรที่ทำงานอยูภายในอาคาร ไดยินทั่วถึง 26. มีการทดสอบประสิทธิภาพในการทำงานของระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมอยางนอยปละ 1 ครั้ง 27. จัดใหมีบุคลากรที่ทำหนาที่เกี่ยวกับการปองกันและระงับอัคคีภัย และมีผูอำนวยการปองกัน และระงับอัคคีภัย เปนผูอำนวยการในการดำเนินงานทั้งระบบเปนประจำอยูตลอดเวลา 28. จัดใหบุคลากรที่มีหนาที่เกี่ยวกับการปองกันและระงับอัคคีภัย ไดรับการฝกอบรมเกี่ยวกับ การปองกันและระงับอัคคีภัย การใชอุปกรณตาง ๆ ในการดับเพลิง การปฐมพยาบาลและการชวยเหลือกรณี ฉุกเฉิน 29. จัดใหมีการฝกซอมดับเพลิงและฝกซอมอพยพหนีไฟใหบุคลากรออกจากอาคารไปตาม เสนทางหนีไฟอยางนอยปละ 1 ครั้ง ทั้งนี้เพื่อใหเปนไปตามมาตรการปองกันและระงับอัคคีภัย ควรกำหนดหนาที่ความรับผิดชอบ ดังนี้ 1. ผูบริหาร (หมายถึง อธิการบดี/รองอธิการบดี/คณบดี/ผูอำนวยการ) มีหนาที่ความรับผิดชอบ ดังนี้ 1. จัดสรรงบประมาณเพื่อการสนับสนุนการวางผังหนวยงาน ระบบและเทคโนโลยีใหม ๆ โดยคำนึงถึงอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น และมาตรการปองกันอัคคีภัย


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 12 2. ติดตามตรวจสอบการดำเนินงานตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการควบคุมปองกันอัคคีภัยและใหมีการ ฝกซอมดับเพลิงและอพยพประจำปตามแผนปฏิบัติการปองกันและรองรับเหตุฉุกเฉิน กรณีเกิดอัคคีภัยของ หนวยงาน 2. หัวหนางาน/ผูควบคุมงาน (หมายถึง ผูชวยอธิการบดี/รองคณบดี/รองผูอำนวยการ/หัวหนา กลุมภารกิจ/หัวหนาฝายอาคารและสถานที่/หัวหนาหองปฏิบัติการ) มีหนาที่ความรับผิดชอบ ดังนี้ 1. กำหนดพื้นที่ ควบคุมกระบวนการทำงาน เครื่องมือ เครื่องจักรที่อาจกอใหเกิดอัคคีภัย 2. กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานใหปลอดภัยจากอัคคีภัย 3. ควบคุมสาเหตุการเกิดประกายไฟ เปลวไฟจากการใชงาน หรือวิธีการทำงานอื่น ๆ ที่อาจ กอใหเกิดอัคคีภัย เชน การเชื่อม การตัด การขัด ทอรอนตาง ๆ ตลอดจนการเคลื่อนยาย และขนสงสารไวไฟ 4. กำกับควบคุมผูปฏิบัติงานหรือบุคคลภายนอกที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการกอใหเกิดประกายไฟ เปลวไฟตางๆภายในพื้นที่ปฏิบัติงาน ใหปฏิบัติตามขอบังคับของมหาวิทยาลัย/สวนงาน เพื่อปองกันการเกิด อัคคีภัยในสถานที่ทำงาน และวิธีทำงานที่มีสภาพความเสี่ยงตอการเกิดอัคคีภัยที่กำหนดไว 3. เจาหนาที่ความปลอดภัยในทำงาน/ผูชวยเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงาน มีหนาที่ ความรับผิดชอบ ดังนี้ 1. กำหนดรายละเอียดของแผนปฏิบัติการปองกันและรองรับเหตุฉุกเฉิน กรณีเกิดอัคคีภัย (Fire Emergency Response Plan) 2. จัดใหมีการอบรมและปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการปองกันและรองรับเหตุฉุกเฉิน 3. จัดทำบัญชีรายชื่อ หมายเลขโทรศัพท ที่อยูของหนวยบริการฉุกเฉิน เชน โรงพยาบาล สถานี ดับเพลิง (Emergency Contact Name Lists) รวมถึงโครงสรางองคกรการตอบโตเหตุฉุกเฉิน กรณีอัคคีภัย (Fire Emergency Response Organization Chart) 4. รวมตรวจสอบสถานที่เสี่ยงตอการเกิดอัคคีภัยในมหาวิทยาลัย/สวนงาน 5. ดูแลรับผิดชอบใหมีการตรวจสอบบำรุงเครื่องดับเพลิง อุปกรณดับเพลิง และระบบดับเพลิง ใหอยูในสภาพที่พรอมใชงานไดตลอดเวลา 6. ประชุมคณะทำงานจัดทำแผนฯ ฉุกเฉินและพัฒนาปรับปรุงแผนปฏิบัติการปองกันและ รองรับเหตุฉุกเฉิน กรณีอัคคีภัย 4. เจาหนาที่ศูนยรักษาความปลอดภัยและจัดการจราจรมหาวิทยาลัย/เจาหนาที่รักษาความ ปลอดภัยประจำสวนงาน มีหนาที่ความรับผิดชอบในการปองกันบุคคลภายนอกเขามาในพื้นที่กอนไดรับ อนุญาต ควบคุมการจราจรในพื้นที่และชวยเหลือเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงาน/ผูชวยเจาหนาที่ความ ปลอดภัยในการทำงานตามแผนที่ไดกำหนดขึ้น 5. ผูปฏิบัติงาน/ผูมาติดตองาน/ผูเกี่ยวของ (หมายถึง ผูบริหาร คณาจารย บุคลากรและนิสิต รวมถึงบุคคลภายนอกเขารับบริการ) มีหนาที่ความรับผิดชอบ ดังนี้ 1. หามกระทำการใด ๆ ที่กอใหเกิดประกายไฟ เปลวไฟ อันที่ไมไดเกิดจากการทำงานในบริเวณ ที่หวงหามโดยเด็ดขาด 2. หามสูบบุหรี่ในบริเวณที่มีปายที่แสดงถึง “สารไวไฟหามสูบบุหรี่” หรือ “วัตถุระเบิด” หรือ “หามสูบบุหรี่” หรือ ในพื้นที่กอสราง ยกเวนบริเวณพื้นที่จัดใหเทานั้น 3. หามซอมแซมเครื่องจักร เครื่องมือ ในบริเวณที่มีวัตถุไวไฟหรือวัสดุติดไฟไดงายกอนไดรับ อนุญาต เมื่อไดรับอนุญาตตองปฏิบัติตามขั้นตอน และวิธีการที่ปลอดภัย ดังนี้ 4. ปดกั้น/แยกอุปกรณบริเวณที่ปฏิบัติงานออกจากบริเวณอื่น ไวในที่ปลอดภัย


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 13 5. ทำความสะอาดอุปกรณ/บริเวณที่ปฏิบัติงานและบริเวณใกลเคียงที่ไมมีสารเคมี วัตถุไวไฟ หรือวัตถุที่ติดไฟ 6. ตัดกระแสไฟฟาของอุปกรณ/เครื่องจักรที่ใชไฟฟา และมีปายเตือนใหเรียบรอย กอน ซอมแซม 7. นำอุปกรณดับเพลิงเตรียมพรอมเพื่อใชงานในกรณีฉุกเฉิน 8. สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลใหเหมาะสมและปลอดภัย 9. ตรวจสอบการรั่วไหลของสารเคมีและกาซ กรณีที่ตองทำงานในพื้นที่ที่มีวัตถุไวไฟและวัตถุที่ สามารถระเบิดได 6. ปฏิบัติตามขอปฏิบัติเพื่อปองกันการเกิดอัคคีภัยในสถานที่ทำงานและวิธีการทำงานที่มี สภาพเสี่ยงตอการเกิดอัคคีภัยที่กำหนดไว ทีมระงับเหตุเพลิงไหมและผจญเพลิง (Fireman) หนาที่ที่ตองดำเนินการของทีมระงับเหตุเพลิงไหมและผจญเพลิง (Fireman) มีดังนี้ 1. จัดทำแผนการวางแผนตรวจตราเกี่ยวกับวัตถุไวไฟ แผนผังทางหนีไฟและเหตุฉุกเฉินตาง ๆ รวมกับเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงานและผูที่มีเกี่ยวของ 2. จัดทำแผนอพยพและแผนเผชิญเหตุในแตละชั้น 3. อบรมใหความรูในการตอบโตเหตุฉุกเฉินเบื้องตน 4. ตรวจสอบเสนทางและบันไดหนีไฟ ในพื้นที่ทำงานทุกชั้น ใหอยูในสภาพพรอมใชงาน 5. ตรวจสอบเครื่องดับเพลิง อุปกรณดับเพลิงและระบบดับเพลิงในพื้นที่ทำงานทุกชั้น ใหอยูใน สภาพพรอมใชงาน 6. ตรวจสอบพื้นที่ที่มีการทำงานเกี่ยวกับประกายไฟและงานกอใหเกิดความเสี่ยงที่จะเกิดอัคคีภัย รวมกับเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงานและผูที่เกี่ยวของ 7. รายงานผลการตรวจตราใหหัวหนาหนวยงานทราบ


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 14 ขั้นตอนการดำเนินงานการตรวจตราของวิทยาเขตสงขลา ผูรับผิดชอบ ขั้นตอนการดำเนินงาน กำหนดเวลา สวนงาน อยางนอยเดือน ละ 1 ครั้ง หัวหนาผูดูแล อาคาร ทีม Fireman มหาวิทยาลัย อยางนอยทุกๆ 6 เดือน สถานที่ปฏิบัติงาน ส่วนงาน .......................... สถานที่ ............................ อาคาร ............................. ผู้รับผิดชอบ 1. ..................................... 2. ................................... ระยะเวลา ......................... ตรวจสถานที่ตามที่กำหนด ส่งแบบรายงานที่หัวหน้าหน่วยงานที่รับผิดชอบอาคารนั้น ๆ หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบแบบรายงาน (หากมีข้อบกพร่องให้ทำการแก้ไขข้อบกพร่องให้เรียบร้อย) เก็บรวบรวมเอกสาร ผู้อำนวยการแผนฯ รับทราบ/สั่งการ ตรวจสอบเอกสาร ตรวจสอบสถานที่


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 15 หนวยงาน ...................................................... สถานที่ ...................................................................................... ประจำไตรมาสที่ 1/2/3/4 ลำดับที่ รายการ วัน เดือน ป ปญหาที่พบ ปญหาที่พบ บริเวณที่ตรวจ พบ หมายเหตุ มี ไมมี 1 อุปกรณไฟฟา หลอดไฟ ปลั๊กไฟ ปลั๊กพวงไฟ สายไฟ พัดลม เครื่องปรับอากาศ (มีการ ชำรุด/ผิดปกติ) อุปกรณเครื่องใชไฟฟา ตูเย็น กระติก น้ำรอน ไมโครเวฟ อื่น ๆ (โปรดระบุ .......................) 2 อุปกรณสำนักงาน คอมพิวเตอร สายไฟ และ สายสัญญาณตาง ๆ เครื่องสำรองไฟ เครื่องปริ้นเตอร เครื่องถายเอกสาร เครื่องโทรศัพท โทรสาร อื่น ๆ (โปรดระบุ .......................) 4 ระบบอุปกรณดับเพลิง ถังดับเพลิง สภาพพรอมใชงาน ถังดับเพลิงมีปริมาณเพียงพอ ตูสายฉีดน้ำดับเพลิง หัวรับ-จายน้ำดับเพลิง ลิฟตดับเพลิง ระบบอัดอากาศในชองหนีไฟ ระบบน้ำสำรอง อื่น ๆ (โปรดระบุ .......................) ผูรับผิดชอบ ................................................................. (................................................................) วันเดือนป .................................................................... ผูรับรอง ............................................................ (..........................................................) วันเดือนป ...........................................................


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 16 ตัวอยาง แผนการตรวจตรา อาคาร 50 ป มหาวิทยาลัยทักษิณ พื้นที่ เชื้อเพลิงและ แหลงกำเนิดความ รอน/ประกายไฟ จุดเสี่ยง การตรวจตรา อุปกรณดับเพลิง ทางหนีไฟ หมาย เหตุ ชั้นที่ B1 - เศษกองวัสดุ - จุดเชื่อมตอไฟฟา - งานที่เกี่ยวกับ ประกายไฟ - รปภ. ทุก 2 ชม. - Fireman งานที่ ไดรับแจงเกี่ยวกับ ประกายไฟ - ถังดับเพลิง 4 ถัง - ตู Fire Host บันไดและ ทางออก 1 2 และ 3 ชั้นที่ 1 - เศษกองวัสดุ - จุดเชื่อมตอไฟฟา - งานที่เกี่ยวกับ ประกายไฟ - รปภ. ทุก 2 ชม. - Fireman งานที่ ไดรับแจงเกี่ยวกับ ประกายไฟ - ถังดับเพลิง 4 ถัง - ตู Fire Host บันไดและ ทางออก 1 2 และ 3 ชั้นที่ 2 - ของเหลวไวไฟ - จุดเชื่อมตอไฟฟา - งานถายเอกสาร - งานที่เกี่ยวกับ ประกายไฟ - รปภ. ทุก 2 ชม. - Fireman งานที่ ไดรับแจงเกี่ยวกับ ประกายไฟ - ถังดับเพลิง 8 ถัง - ตู Fire Host บันไดและ ทางออก 1 และ 2 ชั้นที่ 3 - ของเหลวไวไฟ - จุดเชื่อมตอไฟฟา - งานถายเอกสาร - งานที่เกี่ยวกับ ประกายไฟ - รปภ. ทุก 2 ชม. - Fireman งานที่ ไดรับแจงเกี่ยวกับ ประกายไฟ - ถังดับเพลิง 8 ถัง - ตู Fire Host บันไดและ ทางออก 1 และ 2 ชั้นที่ 4 - ของเหลวไวไฟ - จุดเชื่อมตอไฟฟา - งานถายเอกสาร - งานที่เกี่ยวกับ ประกายไฟ - รปภ. ทุก 2 ชม. - Fireman งานที่ ไดรับแจงเกี่ยวกับ ประกายไฟ - ถังดับเพลิง 8 ถัง - ตู Fire Host บันไดและ ทางออก 1 และ 2 ชั้นที่ 6 - สูบบุหรี่ - จุดเชื่อมตอไฟฟา - งาน Hot work - งานที่เกี่ยวกับ ประกายไฟ - รปภ. ทุก 2 ชม. - Fireman งานที่ ไดรับแจงเกี่ยวกับ ประกายไฟ - ถังดับเพลิง 2 ถัง - ตู Fire Host บันไดและ ทางออก 1 และ 2 ชั้นที่ 7 - สูบบุหรี่ - จุดเชื่อมตอไฟฟา - งาน Hot work - งานที่เกี่ยวกับ ประกายไฟ - รปภ. ทุก 2 ชม. - Fireman งานที่ ไดรับแจงเกี่ยวกับ ประกายไฟ - ถังดับเพลิง 2 ถัง - ตู Fire Host บันไดและ ทางออก 1 และ 2


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 17 พื้นที่ เชื้อเพลิงและ แหลงกำเนิดความ รอน/ประกายไฟ จุดเสี่ยง การตรวจตรา อุปกรณดับเพลิง ทางหนีไฟ หมาย เหตุ ชั้นที่ 8 - สูบบุหรี่ - จุดเชื่อมตอไฟฟา - งาน Hot work - งานที่เกี่ยวกับ ประกายไฟ - รปภ. ทุก 2 ชม. - Fireman งานที่ ไดรับแจงเกี่ยวกับ ประกายไฟ - ถังดับเพลิง 2 ถัง - ตู Fire Host บันไดและ ทางออก 1 และ 2 ชั้นที่ 9 - สูบบุหรี่ - จุดเชื่อมตอไฟฟา - งาน Hot work - งานที่เกี่ยวกับ ประกายไฟ - รปภ. ทุก 2 ชม. - Fireman งานที่ ไดรับแจงเกี่ยวกับ ประกายไฟ - ถังดับเพลิง 2 ถัง - ตู Fire Host บันไดและ ทางออก 1 และ 2


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 18 7.1.2 แผนการอบรม เปนการปองกันและลดความเสี่ยงดานการเกิดอัคคีภัย โดยการใหความรูกับบุคลากรดานการ ปองกันและการปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุ ในการจัดทำแผนการอบรม ตองกำหนดผูรับผิดชอบ ระยะเวลาดำเนินการ และงบประมาณใหชัดเจน แผนการอบรม ควรประกอบดวยการฝกอบรมการดับเพลิงขั้นตน การฝกซอม ดับเพลิงและฝกซอมอพยพหนีไฟ การปฐมพยาบาลและการชวยชีวิต ดังแสดงในตาราง 7.1 ตาราง 7.1 หลักสูตรการอบรมที่จำเปนสำหรับบุคลากรและทีมงานที่เกี่ยวของ หลักสูตรอบรม บุคลากรและทีมงานที่เกี่ยวของ* ผูอำนวย การ ดับเพลิง ฝายสื่อสาร ประสานงาน ฝาย เคลื่อนยาย ภายใน ภายนอก ฝาย สงเสริม ปฏิบัติการ หนวยจัดหา และ สนับสนุน การดับเพลิง ฝาย ปฏิบัติการ หนวย ดับเพลิง ฝาย เทคนิค ผูปฏิบัติงาน การดับเพลิง ขั้นตน** x x x x x x x x x เทคนิคการผจญ เพลิง x x x x การบัญชาการ x x x x การฝกซอมดับเพลิง และฝกซอมอพยพ หนีไฟ x x x x x x x x การปฐมพยาบาล x x x x x x การกูชีพชวยชีวิต x หมายเหตุ * ตารางนี้ใหตรวจสอบตำแหนงและหนาที่ในโครงสรางการระงับอัคคีภัยเมื่อเกิดเหตุขั้นรุนแรง ** หลักสูตร “การดับเพลิงขั้นตน” ตามกฎหมายบุคลากรตองไดรับการอบรมอยางนอย 40%


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 19 ตัวอยางมหาวิทยาลัย / สวนงานแผนการอบรม หลักสูตรอบรม กลุม จำนวน งบประมาณ เดือน ผูรับผิดชอบ ผูเขารับการ อบรมม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย .พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. การดับเพลิงขั้นตน เทคนิคการผจญเพลิง การบัญชาการ การฝกซอมดับเพลิงและ ฝกซอมอพยพหนีไฟ การปฐมพยาบาล การกูชีพชวยชีวิต


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 20 7.1.3 แผนการรณรงคปองกันและระงับอัคคีภัย เปนการสรางความสนใจ และสรางความตระหนักในอันตรายและผลกระทบจากการเกิดเพลิงไหม ในการรณรงคปองกันอัคคีภัย ควรกำหนดผูรับผิดชอบ ระยะเวลาดำเนินการ และงบประมาณใหชัดเจน การรณรงคปองกันอัคคีภัยอาจดำเนินการไดหลายรูปแบบ เชน - การประชาสัมพันธ ผานทางกิจกรรม Morning talk กลุมใหญ และกลุมยอย - การจัดกิจกรรม 5 ส. - ก า ร ข อ อ น ุ ญ า ต ท ำ ง า น ท ี ่ ก  อ ใ ห  เ ก ิ ด ค ว า ม ร  อ น แ ล ะ ป ร ะ ก า ย ไ ฟ (Hot Work Permit) - การกำหนดมาตรการ และบทลงโทษ เชน การหามสูบบุหรี่ หามจัดเก็บ สารไวไฟในอาคาร การทำงานกอประกายไฟ และไมมีการเตรียมการเพื่อความ ปลอดภัย - การจัดนิทรรศการรณรงค - การจัดทำโปสเตอร หรือการใชสื่อตาง ๆ หลักการจัดทำแผนการรณรงคปองกันอัคคีภัย มีดังนี้ - กำหนดบุคคลรับผิดชอบในการจัดการรณรงค - กำหนดเรื่องหรือหัวขอที่จะทำการรณรงค ไดแกองคประกอบการเกิดเพลิงไหม การจัดเก็บวัตถุไวไฟ การลดการสูบบุหรี่ผลที่เกิดขึ้นจากอัคคีภัยและการทำ ความสะอาด - เลือกวิธีการหรือรูปแบบการรณรงคที่เหมาะสม เชน การประกวด การจัดทำ โปสเตอร และปายตาง ๆ การจัดทำนิทรรศการ และการใชสื่อตาง ๆ - กำหนดระยะเวลาที่ใชในการรณรงค - กำหนดบุคคลหรือกลุมเปาหมายที่ใชในการรณรงค - ประเมินผลจากการรณรงคทุกครั้ง


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 21 ตัวอยางแผนกิจกรรมการรณรงคปองกันอัคคีภัย 7.2 แผนขณะเกิดเหตุเพลิงไหม 7.2.1 แผนการดับเพลิง เพื่อกำหนดบุคคลที่ตองปฏิบัติภารกิจในกรณีที่เกิดเหตุเพลิงไหมอยางชัดเจน และกำหนด ขั้นตอนการดับเพลิง ใหมีการปฏิบัติตามแผนเพื่อใหเกิดความเสียหายจากเพลิงไหมนอยที่สุด แผนการดับเพลิง แบงเปน 2 แผนยอย ไดแก แผนดับเพลิงขั้นตน และแผนดับเพลิงขั้นรุนแรง หลักสูตรอบรม กลุม จำนวน งบประมาณ เดือน ผูรับผิดชอบ ผูเขารับการ อบรมม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย .พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. กิจกรรม 5 ส. รณรงคการสูบบุหรี่ ในพื้นที่อนุญาต โปสเตอรรณรงคการ ใชอุปกรณไฟฟาใน สำนักงานอยาง ถูกตองและปลอดภัย


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 22 แผนการดับเพลิง ลำดับขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อพบเหตุเพลิงไหม ผูรับผิดชอบ เจาหนาที่ที่พบเหตุเพลิงไหม เจาหนาที่ในหนวยงาน/ทีม ชางฉุกเฉิน ทีมติดตอสื่อสาร เจาหนาที่ในหนวยงาน/ทีม ดับเพลิง เจาหนาที่ในหนวยงาน/ทีม ดับเพลิง ทีมติดตอสื่อสาร ผูอำนวยการดับเพลิง/ทีม ดับเพลิง ผูอำนวยการดับเพลิง ทีมติดตอสื่อสาร ผูอำนวยการดับเพลิง ประเมินสถานการณ์ เพลิงไหม้ ดำเนินการดับเพลิง เมื่อเพลิงไหม้ เริ่มไม่เกิน 5 นาที แจงเพื่อนรวมงาน/หัวหนางาน แจงสถานะความปลอดภัยระดับสีเหลือง ดำเนินการ ดับเพลิงขั้นต้น ตามแผนฯ ประเมินสถานการณ์ แจ้งเพื่อนร่วมงาน/หัวหน้างาน แจ้งสถานะความปลอดภัยระดับสีแดง ดำเนินการ ดับเพลิงขั้นรุนแรง ตามแผนฯ ประเมินสถานการณ์ เพลิงสงบ แจ้งประกาศสถานะความปลอดภัยระดับสีเขียว สรุปรายงานเหตุเพลิงไหม้ ดับได้ ดับได้ ดับไม่ได้ เมื่อเพลิงไหม้ขยายตัว 5-10 ดับไม่ได้ เมื่อเพลิงไหม้มากกว่า 10


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 23 หนาที่รับผิดชอบของผูปฏิบัติงาน เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหมขั้นตน ผูรับผิดชอบ หนาที่รับผิดชอบ หัวหนาชุดดับเพลิงขั้นตน 1. นายสมบูรณ จุลสุรางค โทรศัพท 081-5432424 2. นางกนกวรรณ เอกเจริญกุล โทรศัพท 086-4600244 1. สั่งการควบคุมระงับเหตุ 2. แจงหัวหนางาน/แจงศูนยรักษาความปลอดภัยฯ 3. กดสัญญาณแจงเหตุฉุกเฉิน (กรณีควบคุมไมได) ทีมชางไฟฟา/ชางเทคนิค 1. นายสมศักดิ์ จันทสงค โทรศัพท 086-6892087 2. นายธนกฤต เอกเจริญกุล โทรศัพท 086-2983704 3. นายเจริญ ฉุนตุง โทรศัพท 087-2895232 4. นายธนากร เกิดสมจิตร โทรศัพท 062-0935147 5. นายพลศิษฐ นวลยอย โทรศัพท 081-5436109 1. ตัดกระแสไฟฟาในที่เกิดเหตุ 2. ขนยายวัสดุติดไฟออกหางจากเพลิงไหม 3. กันผูที่ไมเกี่ยวของเขาใกลบริเวณที่เกิดเหตุ ทีมระงับเหตุเพลิงไหม(Fireman) 1. นายสมบูรณ จุลสุรางค โทรศัพท 081-5432424 2. นางกนกวรรณ เอกเจริญกุล หัวหนากลุมภารกิจพัฒนาอาคารสถานที่ โทรศัพท 086-4600244 3. นายสมศักดิ์ จันทสงค โทรศัพท 086-6892087 4. นายธนกฤต เอกเจริญกุล โทรศัพท 086-2983704 5. นายเจริญ ฉุนตุง โทรศัพท 087-2895232 6. นายธนากร เกิดสมจิตร โทรศัพท 062-0935147 7. นายพลศิษฐ นวลยอย โทรศัพท 081-5436109 1. ใชถังดับเพลิงในบริเวณนั้นดับไฟทันที 2. นำถังดับเพลิงมาเตรียมสนับสนุน 3. ตรวจสอบพื้นที่หลังเกิดเหตุ


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 24 โครงสรางหนวยปองกันและระงับอัคคีภัย เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหมขั้นรุนแรง (ระดับอาคาร)หมายเหตุ 1. การปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการเต็มรูปแบบนี้จะใชเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหมขั้นรุนแรง 2.การเกิดเพลิงไหมภายในพื้นที่ตาง ๆ เพียงเล็กนอย ใหหัวหนาฝายดำเนินการสั่งการดับเพลิงตามแผนปฏิบัติการเมื่อเกิดเพลิงไหมขั้นตน และโทรศัพทแจงศูนย รวมขาวและสื่อสาร หรือผูอำนวยการดับเพลิง หรือเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงาน 3.ตองปรับปรุงแผนปฏิบัติการ ฯ ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงของผูรับผิดชอบ ผู้อำนวยการดับเพลิง ชื่อ .......................................................... ฝ่ายสาธารณูปโภค ชื่อ .................................. ฝ่ายปฏิบัติการ ชื่อ ฝ่ายสื่อสารและ ประสานงาน ชื่อ ฝ่ายเคลื่อนย้ายภายในภายนอก ภารกิจรักษาความปลอดภัยและ ฝ่ายส่งเสริมปฏิบัติการ ชื่อ .................................. หน่วยดับเพลิง ชื่อ หน่วยจัดหาและ สนับสนุนการดับเพลิง ชื่อ ศูนย์รวมข่าว/สื่อสาร ชื่อ หน่วยยามรักษาการณ์ ชื่อ หน่วยเดินเครื่องสูบน้ำ ฉุกเฉิน ชื่อ .............................. พยาบาล/ช่วยชีวิต ชื่อ หน่วยดับเพลิงมหาวิทยาลัย ชื่อ ................................................... ทีมดับเพลิงประจำ ผู้ช่วยอธิการบดีวิทยาเขตสงขลา ภารกิจรักษาความปลอดภัย และยานพาหนะ ผู้รับผิดชอบประจำอาคาร งานอาคารและ ่ฝ่ายตอบโต้เหตุฉุกเฉิน ฝ่ายสื่อสารองค์กร ทีมผจญเพลิง ภารกิจรักษาความปลอดภัย และยานพาหนะ ศูนย์บริการอนามัยมหาวิทยาลัย ผู้รับผิดชอบประจำฝ่ายบริหารวิทยาเขต


โครงสรางหนวยปองกันและระงับอัคคีภัย เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหมขั้นรุนแรง (ระดับสวนงาน)ฝายสาธารณูปโภค หัวหนาสำนักงานคณะ การจัดการพลังงานและสิ่งแวดลอมฝายสนับสนุนงบประมาณฉุกเฉิน หัวหนางานบริหารการเงิน การบัญชี และการพัสดุ ผูอำนวยการดับเพลิง คณบดี/รองคณบดีที่ไดรับมอบหมาย/ ผูอำนวยการ ฝายปฏิบัติการ หัวหนางานอาคารและ สถานที่ หนวยดับเพลิง - ทีมดับเพลิงประจำสวนงาน -ทีมผจญเพลิงมหาวิทยลัย หนวยยามรักษาการณ ภารกิจรักษาความปลอดภัย และยานพาหนะ ฝายสื่อสารและประสานงาน ประธานประจำสวนงาน หนวยจัดหาและสนับสนุนการดับเพลิง หนวยสนับสนุนการตอบโตเหตุฉุกเฉิน ประจำสวนงาน ศูนยรวมขาว/สื่อสาร หัวหนางานสื่อสารองคกรประจำสวนงาน หนวยดับเพลิงจากพื้นที่อื่น -ทีมดับเพลิงเขารูปชาง -ทีมดับเพลิงเทศบาลสงขลา พยาบาล/ชวยชีวิต -ศูนยบริการอนามัยมหาวิทยาลัย -โรงพยาบาลสงขลา -ศูนยนเรนทร -ศูนยกูภัยสงขลา ฝายสงเสริมปฏิบัติการ เจาหนาที่คณะ หนวยดูแลเครื่องสูบน้ำดับเพลิง/ เครื่องกำเนิดไฟฟา ภารกิจอาคารและสถานที่ หนวยเคลื่อนยาย ภารกิจรักษาความปลอดภัยและ ยานพาหนะ หนวยสารสนเทศอาคาร ผูจัดการอาคาร หมายเหตุ 1. การปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการเต็มรูปแบบนี้จะใชเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหมขั้นรุนแรง 2.การเกิดเพลิงไหมภายในพื้นที่ตาง ๆ เพียงเล็กนอย ใหหัวหนาฝายดำเนินการสั่งการดับเพลิงตามแผนปฏิบัติการเมื่อเกิดเพลิงไหมขั้นตน และโทรศัพทแจงศูนยรวม ขาวและสื่อสาร หรือผูอำนวยการดับเพลิง หรือเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงาน 3.ตองปรับปรุงแผนปฏิบัติการ ฯ ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงของผูรับผิดชอบ


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 26 หนาที่รับผิดชอบของผูปฏิบัติงานตามโครงสรางหนวยปองกันและระงับอัคคีภัย เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหมขั้นรุนแรง ระดับสวนงาน ผูปฏิบัติงาน หนาที่รับผิดชอบ ผูอำนวยการดับเพลิง 1. คณบดี โทรศัพท ………………………….. 2. รองคณบดีที่ไดรับมอบหมาย/ ผูอำนวยการ โทรศัพท ………………………….. ผูอำนวยการดับเพลิง มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1.รับฟงรายงานตาง ๆ เพื่อสั่งการการใชแผนตาง ๆ 2.ขอความชวยเหลือจากหนวยงานที่เกี่ยวของ 3.รายงานผลการเกิดเพลิงไหมตอผูบังคับบัญชาระดับสูง ฝายปฏิบัติการ 1. หัวหนางานอาคารและสถานที่ โทรศัพท………………………… -หนวยดับเพลิง 1. ทีมดับเพลิงประจำสวนงาน โทรศัพท............................. 2. ทีมผจญเพลิงมหาวิทยาลัย โทรศัพท - หนวยยามรักษาการณ 1.รปภ. ประจำสวนงาน โทรศัพท ................................... หัวหนาฝายปฏิบัติการ มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1.กำกับดูแลการทำงานของหนวยดับเพลิงและหนวยยามรักษาการ หนวยดับเพลิง มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1.ทันทีที่ทราบเหตุเพลิงไหม ใหแจงขาว/โทรศัพท ถึงผูอำนวยการศูนยรักษาความปลอดภัย และการจัดการจราจรทันที 2. เมื่อเกิดเพลิงไหมในพื้นที่ปฏิบัติงานของตนเองไมวามากหรือนอย ชุดปฏิบัติการชุดนี้ จะตองเขาดับเพลิงโดยทันทีที่เกิดเพลิงไหม และ ใหปฏิบัติการภายใตคำสั่งของหัวหนาฝาย ปฏิบัติการในพื้นที่ ในการปฏิบัติงานหากจำเปนตองขอความชวยเหลือจากหนวยงานอื่น ใหหัวหนาฝายปฏิบัติการเปนผูดำเนินการ หนวยยามรักษาการณ มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1.ใหรีบไปยังจุดเกิดเหตุ คอยรับคำสั่งจากผูอำนวยการดับเพลิงและหัวหนาฝายปฏิบัติการ 2.ปองกันมิใหบุคคลภายนอกที่ไมมีหนาที่ที่เกี่ยวของเขากอนไดรับอนุญาต 3.ดูแลและปองกันทรัพยสินที่ฝายเคลื่อนยายนำมาเก็บไว ฝายสงเสริมปฏิบัติการ 1. หัวหนางานซอมบำรุง โทรศัพท ................................... -หนวยดูแลเครื่องสูบน้ำ ดับเพลิง/เครื่องกำเนิดไฟฟา 1. ชางประจำอาคาร โทรศัพท ................................... -หนวยเคลื่อนยาย 1. งานจัดการยานพาหนะ โทรศัพท ................................... -หนวยสารสนเทศอาคาร 1. ผูจัดการอาคาร โทรศัพท ................................... หัวหนาฝายสงเสริมปฏิบัติการ มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1.กำกับดูแลการทำงานของหนวยดูแลเครื่องสูบน้ำ/เครื่องกำเนิดไฟฟา หนวยเคลื่อนยาย และหนวยสารสนเทศอาคาร 2.สั่งการแทนผูอำนวยการดับเพลิง (ถาไดรับมอบหมาย) หนวยดูแลเครื่องสูบน้ำดับเพลิง/เครื่องกำเนิดไฟฟา มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1. ออกคำสั่งใหเปดการทำงาน/ดูแลเครื่องสูบน้ำดับเพลิงทันทีที่ไดรับแจงเหตุเพลิงไหม 3. ควบคุมเครื่องสูบน้ำดับเพลิงขณะที่เกิดเพลิงไหม 4. จัดใหมีไฟสำรองฉุกเฉินสำหรับใชขณะที่เกิดเพลิงไหม 5. สั่งใหดำเนินการหยุดการทำงานของเครื่องสูบน้ำดับเพลิง หลังจากเพลิงสงบแลว หรือเมื่อ น้ำสำรองที่ใชในการดับเพลิงหมด หนวยเคลื่อนยาย มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1. กำหนดจุดปลอดภัยอัคคีภัยในการเก็บวัสดุครุภัณฑ 2. อำนวยความสะดวกในการเคลื่อนยายขนสงวัสดุครุภัณฑ 3. จัดยานพาหนะและอุปกรณขนยายตางๆ ตามความเหมาะสม หนวยสารสนเทศอาคาร มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1.สนับสนุนขอมูลอาคารดานงานสถาปตยกรรม งานระบบไฟฟา ระบบดังเพลิงและระบบ สุขาภิบาล 2.อำนวยความสะดวกในการเขาถึงอาคารอยางปลอดภัย


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 27 ผูปฏิบัติงาน หนาที่รับผิดชอบ ฝายสาธารณูปโภค 1.ผูอำนวยการฝายโครงสราง พื้นฐานการจัดการพลังงานและ สิ่งแวดลอม โทรศัพท ................................... หัวหนาฝายสาธารณูปโภค มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1. เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหมใหรีบเขาไปที่เกิดเหตุ เพื่อรับคำขอตัดน้ำ ตัดไฟจากฝายปฏิบัติการ 2.รับคำสั่งจากผูอำนวยการดับเพลิง ฝายสื่อสารและประสานงาน 1.ประธานประจำสวนงาน โทรศัพท ................................... - หนวยจัดหาและสนับสนุนการ ดับเพลิง 1.หนวยสนับสนุนการตอบโตเหตุ ฉุกเฉินประจำสวนงาน โทรศัพท …………………………. - ศูนยรวมขาว/สื่อสาร 1. หัวหนางานสื่อสารองคกร ประจำสวนงาน โทรศัพท ................................... หัวหนาฝายสื่อสารและประสานงาน มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1.คอยชวยเหลือประสานงานระหวางบุคคลที่เกี่ยวของ 2.รับคำสั่งจากผูอำนวยการดับเพลิงและติดตอผานศูนยรวมขาว 3.แจงสัญญาณ Safety Order System (SOS) ไปยังหนวยดับเพลิงจากที่อื่น (หากไดรับการ รองขอจากฝายปฏิบัติการ) 4.สั่งการแทนผูอำนวยการดับเพลิง (ถาไดรับมอบหมาย) หนวยจัดหาและสนับสนุนการดับเพลิง มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1. คอยชวยเหลือประสานงานระหวางฝายปฏิบัติการ หนวยดับเพลิงจากพื้นที่อื่น หนวย พยาบาล/ชวยชีวิต และผูที่เกี่ยวของ ศูนยรวมขาว/สื่อสาร มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1. เมื่อทราบขาวเกิดเพลิงไหมจะตองตรวจสอบขาววาจริงหรือเท็จ 2. แจงเหตุเพลิงไหม 3. ติดตามขาว แจงขาวเปนระยะ 4. ติดตอขอความชวยเหลือ (ถามีการสื่อสาร) 5. แจงขาวอีกครั้งเมื่อเพลิงสงบ -หนวยดับเพลิงจากพื้นที่อื่น 1. ทีมดับเพลิงเขารูปชาง โทรศัพท....... 2. ทีมดับเพลิงเทศบาลสงขลา โทรศัพท หนวยดับเพลิงจากพื้นที่อื่น มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1. รายงานตัวตอผูอำนวยการดับเพลิง เพื่อแบงเปนชุดชวยเหลือสงเสริมการปฏิบัติงาน 2. คอยรับคำสั่งจากผูอำนวยการดับเพลิง (ใหคอยอยูบริเวณที่เกิดเพลิงไหม) - หนวยพยาบาล/ชวยชีวิต 1. ศูนยบริการอนามัย มหาวิทยาลัย โทรศัพท...... 2. โรงพยาบาลสงขลา โทรศัพท.... 3. ศูนยนเรนทร โทรศัพท 1669 4. ศูนยกูภัยสงขลา โทรศัพท หนวยพยาบาล/ชวยชีวิต มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1. คนหาและชวยชีวิตบุคลากรที่ติดคางอยูในอาคารหรือในพื้นที่ที่เกิดอัคคีภัย 2. ปฐมพยาบาลเบื้องตนใหบุคลากรที่ออกมา ณ จุดรวมพล 3. ประสานงานการสงบุคลากรที่ไดรับบาดเจ็บสงโรงพยาบาล


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 28 ผูปฏิบัติงาน หนาที่รับผิดชอบ ฝายสนับสนุนงบประมาณฉุกเฉิน 1. หัวหนางานบริหารการเงิน การ บัญชี และการพัสดุ โทรศัพท................................... หัวหนาฝายสนับสนุนงบประมาณฉุกเฉิน มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1. เตรียมเงินสดสำรองไวใชในกรณีเรงดวน 2. ติดตอกับบริษัท หางราน หรือตัวแทนจำหนายสินคาตางๆที่มีความจำเปนตองใชในการ ตอบโตเหตุฉุกเฉิน ณ ขณะนั้นๆ


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 29 โครงสรางหนวยปองกันและระงับอัคคีภัย เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหมขั้นรุนแรง (ระดับมหาวิทยาลัย)หมายเหตุ1. การปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการเต็มรูปแบบนี้จะใชเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหมขั้นรุนแรง 2. การเกิดเพลิงไหมภายในพื้นที่ตาง ๆ เพียงเล็กนอย ใหหัวหนาฝายดำเนินการสั่งการดับเพลิงตามแผนปฏิบัติการเมื่อเกิดเพลิงไหมขั้นตน และโทรศัพทแจงศูนยรวม ขาวและสื่อสาร หรือผูอำนวยการดับเพลิง หรือเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงาน 3. ตองปรับปรุงแผนปฏิบัติการ ฯ ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงของผูรับผิดชอบ ผูอำนวยการดับเพลิง อธิการบดี/รองอธิการบดีที่ไดรับมอบหมาย ฝายสาธารณูปโภค รองอธิการบดีวิทยาเขตสงขลา ฝายสนับสนุนงบประมาณฉุกเฉิน รองอธิการบดีฝาย ยุทธศาสตรc]txitdyo86I4kr ฝายปฏิบัติการ ผูชวยอธิการบดีวิทยาเขต สงขลา หนวยดับเพลิง ทีมผจญเพลิงมหาวิทยาลัย หนวยยามรักษาการณ ภารกิจรักษาความปลอดภัย และยานพาหนะ ฝายสื่อสารและประสานงาน รองอธิการบดีฝายวิชาการและการ เรียนรู หนวยจัดหาและสนับสนุนการ ดับเพลิง หัวหนาฝายบริหารวิทยาเขต ศูนยรวมขาว/สื่อสาร ผูชวยอธิการบดีฝายสื่อสาร องคกร หนวยดับเพลิงจากพื้นที่อื่น -ทีมดับเพลิงเขารูปชาง -ทีมดับเพลิงเทศบาลสงขลา พยาบาล/ชวยชีวิต -ศูนยบริการอนามัยมหาวิทยาลัย -โรงพยาบาลสงขลา -ศูนยนเรนทร - ศูนยกูภัยสงขลา ฝายสงเสริมปฏิบัติการ ผูชวยอธิการบดีวิทยาเขต สงขลา หนวยดูแลเครื่องสูบน้ำดับเพลิง/ เครื่องกำเนิดไฟฟา หัวหนาภารกิจงานอาคารและ สถานที่ หนวยเคลื่อนยาย หัวหนาภารกิจรักษาความ ปลอดภัยและยานพาหนะ หนวยสารสนเทศอาคาร หัวหนาภารกิจงานอาคารและ สถานที่


หนาที่รับผิดชอบของผูปฏิบัติงานตามโครงสรางหนวยปองกันและระงับอัคคีภัย เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหมขั้นรุนแรง ระดับมหาวิทยาลัย ผูปฏิบัติงาน หนาที่รับผิดชอบ ผูอำนวยการดับเพลิง 1.รองอธิการบดีวิทยาเขตสงขลา โทรศัพท 093-754-6060 2. ผูชวยอธิการบดีวิทยาเขตสงขลา โทรศัพท 085-792-6594 ผูอำนวยการดับเพลิง มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1.รับฟงรายงานตาง ๆ เพื่อสั่งการการใชแผนตาง ๆ 2.ขอความชวยเหลือจากหนวยงานที่เกี่ยวของ 3.ใหขาวแกสื่อมวลชน ฝายปฏิบัติการ หัวหนาภารกิจรักษาความ ปลอดภัยและยานพาหนะ นางกนกวรรณ เอกเจริญกุล โทรศัพท 086-4600244 นายสมศักดิ์ จันทสงค โทรศัพท 086-6892087 -หนวยดับเพลิง ทีมผจญเพลิงมหาวิทยาลัย นายสมบูรณ จุลสุรางค โทรศัพท 081-5432424 - หนวยยามรักษาการณ ทีมภารกิจรักษาความปลอดภัย และยานพาหนะ นางกนกวรรณ เอกเจริญกุล โทรศัพท 086-4600244 นายสมศักดิ์ จันทสงค โทรศัพท 086-6892087 หัวหนาฝายปฏิบัติการ มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1.กำกับดูแลการทำงานของหนวยดับเพลิงและหนวยยามรักษาการ หนวยดับเพลิง มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1.ทันทีที่ทราบเหตุเพลิงไหม ใหแจงขาว/โทรศัพท ถึงผูอำนวยการศูนยรักษาความปลอดภัย และการจัดการจราจรทันที 2. เมื่อเกิดเพลิงไหมในพื้นที่ปฏิบัติงานของตนเองไมวามากหรือนอย ชุดปฏิบัติการชุดนี้ จะตองเขาดับเพลิงโดยทันทีที่เกิดเพลิงไหม และ ใหปฏิบัติการภายใตคำสั่งของหัวหนาฝาย ปฏิบัติการในพื้นที่ ในการปฏิบัติงานหากจำเปนตองขอความชวยเหลือจากหนวยงานอื่น ใหหัวหนาฝายปฏิบัติการเปนผูดำเนินการ หนวยยามรักษาการณ มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1.ใหรีบไปยังจุดเกิดเหตุ คอยรับคำสั่งจากผูอำนวยการดับเพลิงและหัวหนาฝายปฏิบัติการ 2.ปองกันมิใหบุคคลภายนอกที่ไมมีหนาที่ที่เกี่ยวของเขากอนไดรับอนุญาต 3.ดูแลและปองกันทรัพยสินที่ฝายเคลื่อนยายนำมาเก็บไว ฝายสงเสริมปฏิบัติการ หัวหนาภารกิจอาคารและสถานที่ นางกนกวรรณ เอกเจริญกุล โทรศัพท 086-4600244 -หนวยดูแลเครื่องสูบน้ำ ดับเพลิง/เครื่องกำเนิดไฟฟา 1. หัวหนาภารกิจอาคารและ สถานที่ นางกนกวรรณ เอกเจริญกุล โทรศัพท 086-4600244 หัวหนาฝายสงเสริมปฏิบัติการ มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1.กำกับดูแลการทำงานของหนวยดูแลเครื่องสูบน้ำ/เครื่องกำเนิดไฟฟา หนวยเคลื่อนยาย และหนวยสารสนเทศอาคาร 2.สั่งการแทนผูอำนวยการดับเพลิง (ถาไดรับมอบหมาย) หนวยดูแลเครื่องสูบน้ำดับเพลิง/เครื่องกำเนิดไฟฟา มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1. ออกคำสั่งใหเปดการทำงาน/ดูแลเครื่องสูบน้ำดับเพลิงทันทีที่ไดรับแจงเหตุเพลิงไหม 2. ควบคุมเครื่องสูบน้ำดับเพลิงขณะที่เกิดเพลิงไหม 3. จัดใหมีไฟสำรองฉุกเฉินสำหรับใชขณะที่เกิดเพลิงไหม 4. สั่งใหดำเนินการหยุดการทำงานของเครื่องสูบน้ำดับเพลิง หลังจากเพลิงสงบแลว หรือเมื่อ น้ำสำรองที่ใชในการดับเพลิงหมด


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 31 ผูปฏิบัติงาน หนาที่รับผิดชอบ -หนวยเคลื่อนยาย 1. หัวหนาภารกิจรักษาความ ปลอดภัยและยานพาหนะ นายสมศักดิ์ จันทสงค โทรศัพท 086-6892087 -หนวยสารสนเทศอาคาร 1. หัวหนาภารกิจอาคารและ สถานที่ นางกนกวรรณ เอกเจริญกุล โทรศัพท 086-4600244 หนวยเคลื่อนยาย มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1. กำหนดจุดปลอดภัยอัคคีภัยในการเก็บวัสดุครุภัณฑ 2. อำนวยความสะดวกในการเคลื่อนยายขนสงวัสดุครุภัณฑ 3. จัดยานพาหนะและอุปกรณขนยายตางๆ ตามความเหมาะสม หนวยสารสนเทศอาคาร มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1.สนับสนุนขอมูลอาคารดานงานสถาปตยกรรม งานระบบไฟฟา ระบบดังเพลิงและระบบ สุขาภิบาล 2.อำนวยความสะดวกในการเขาถึงอาคารอยางปลอดภัย ฝายสาธารณูปโภค 1.หัวหนาภารกิจอาคารและ สถานที่ นางกนกวรรณ เอกเจริญกุล โทรศัพท 086-4600244 หัวหนาฝายสาธารณูปโภค มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1.เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหมใหรีบเขาไปที่เกิดเหตุ เพื่อรับคำขอตัดน้ำ ตัดไฟจากฝายปฏิบัติการ 2.รับคำสั่งจากผูอำนวยการดับเพลิง ฝายสื่อสารและประสานงาน 1.หัวหนาภารกิจรักษาความ ปลอดภัยและยานพาหนะ นายสมศักดิ์ จันทสงค โทรศัพท 086-6892087 - หนวยจัดหาและสนับสนุนการ ดับเพลิง 1.หัวหนาฝายบริหารวิทยาเขต สงขลา โทรศัพท 081-0990991 - ศูนยรวมขาว/สื่อสาร 1. ผูชวยอธิการบดีฝายสื่อสาร องคกร โทรศัพท093-1546456 หัวหนาฝายสื่อสารและประสานงาน มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1.คอยชวยเหลือประสานงานระหวางบุคคลที่เกี่ยวของ 2.รับคำสั่งจากผูอำนวยการดับเพลิงและติดตอผานศูนยรวมขาว 3.แจงสัญญาณ Safety Order System (SOS) ไปยังหนวยดับเพลิงจากที่อื่น (หากไดรับการ รองขอจากฝายปฏิบัติการ) 4.สั่งการแทนผูอำนวยการดับเพลิง (ถาไดรับมอบหมาย) หนวยจัดหาและสนับสนุนการดับเพลิง มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1.คอยชวยเหลือประสานงานระหวางฝายปฏิบัติการ หนวยดับเพลิงจากพื้นที่อื่น หนวย พยาบาล/ชวยชีวิต และผูที่เกี่ยวของ ศูนยรวมขาว/สื่อสาร มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1. เมื่อทราบขาวเกิดเพลิงไหมจะตองตรวจสอบขาววาจริงหรือเท็จ 2. แจงเหตุเพลิงไหม 3. ติดตามขาว แจงขาวเปนระยะ 4. ติดตอขอความชวยเหลือ (ถามีการสื่อสาร) 5. แจงขาวอีกครั้งเมื่อเพลิงสงบ -หนวยดับเพลิงจากพื้นที่อื่น 1. ทีมดับเพลิงเขารูปชาง โทรศัพทโทรศัพท 074-302555 2. ทีมดับเพลิงเทศบาลนครสงขลา โทรศัพท 8191 หรือ 074- 288191 หนวยดับเพลิงจากพื้นที่อื่น มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1. รายงานตัวตอผูอำนวยการดับเพลิง เพื่อแบงเปนชุดชวยเหลือสงเสริมการปฏิบัติงาน 2. คอยรับคำสั่งจากผูอำนวยการดับเพลิง (ใหคอยอยูบริเวณที่เกิดเพลิงไหม)


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 32 ผูปฏิบัติงาน หนาที่รับผิดชอบ - หนวยพยาบาล/ชวยชีวิต 1. ศูนยบริการอนามัย มหาวิทยาลัย โทรศัพท 074-317600 2. โรงพยาบาลสงขลา โทรศัพท 074-338100 3. ศูนยนเรนทร โทรศัพท 1669 4.ศูนยกูภัยสงขลา โทรศัพท 074-312800 หนวยพยาบาล/ชวยชีวิต มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1. คนหาและชวยชีวิตบุคลากรที่ติดคางอยูในอาคารหรือในพื้นที่ที่เกิดอัคคีภัย 2. ปฐมพยาบาลเบื้องตนใหบุคลากรที่ออกมา ณ จุดรวมพล 3. ประสานงานการสงบุคลากรที่ไดรับบาดเจ็บสงโรงพยาบาล ฝายสนับสนุนงบประมาณฉุกเฉิน รองอธิการบดีฝายยุทธศาสตร และประกันคุณภาพ หัวหนาฝายสนับสนุนงบประมาณฉุกเฉิน มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้ 1. เตรียมเงินสดสำรองไวใชในกรณีเรงดวน 2. ติดตอกับบริษัท หางราน หรือตัวแทนจำหนายสินคาตางๆที่มีความจำเปนตองใชในการ ตอบโตเหตุฉุกเฉิน ณ ขณะนั้นๆ 7.2.2 แผนอพยพหนีไฟ กำหนดขึ้นเพื่อความปลอดภัยของชีวิตและทรัพยสินของคณาจารย บุคลากร และนิสิตมหาวิทยาลัย ในขณะ เกิดเหตุเพลิงไหมแผนอพยพหนีไฟ แผนอพยพหนีไฟที่กำหนดขึ้นนั้น มีองคประกอบตาง ๆ เชน หนวยตรวจสอบ จำนวนคน ผูนำอพยพ จุดรวมพล หนวยชวยชีวิตและหนวยยานพาหนะ เปนตน ควรกำหนดผูรับผิดชอบในแตละ หนวยงานโดยขึ้นตรงตอผูอำนวยการอพยพหนีไฟ หรือ ผูอำนวยการดับเพลิง แผนอพยพหนีไฟ ควรกำหนดใหมีการปฏิบัติ ดังนี้ 1. หนวยตรวจสอบจำนวนคน มีหนาที่ตรวจนับจำนวนบุคลากรวา มีการอพยพหนีไฟออกมา ภายนอกบริเวณที่ปลอดภัยครบทุกคนหรือไม 2. ผูนำอพยพ จะเปนผูนำทางบุคลากรอพยพหนีไฟไปตามทางออกที่จัดไวโดยนำพาไปยัง จุดรวมพล ซึ่งเปนพื้นที่หรือสถานที่ที่ปลอดภัย บุคลากรสามารถมารายงานตัวและทำการ ตรวจสอบนับจำนวนได หากพบวาพนักงานอพยพหนีไฟออกมาไมครบตามจำนวนจริง แสดงวา ยังมีบุคลากรติดอยูในพื้นที่ที่เกิดอัคคีภัย 3. หนวยชวยชีวิตและยานพาหนะ จะเขาคนหาและทำการชวยชีวิตบุคลากรที่ยังติดคางอยูใน อาคาร หรือ ในพื้นที่ที่เกิดอัคคีภัย รวมถึงกรณีของบุคลากรที่ออกมาอยูที่จุดรวมพลแลวมีอาการ เปนลม ช็อคหมดสติหรือบาดเจ็บ เปนตน หนวยชวยชีวิตและยานพาหนะจะทำหนาที่ปฐม พยาบาลเบื้องตน และติดตอหนวยยานพาหนะใหในกรณีที่แพทย หรือ พยาบาลพิจารณาแลว ตองนำสงโรงพยาบาล


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 33 แผนอพยพหนีไฟ ผู้อำนวยการ หรือ ผู้ช่วยผู้อำนวยการอพยพหนีไฟ สั่งใช้แผนอพยพหนีไฟไปยังจุดรวมพล ประชาสัมพันธ์ ประกาศ พร้อมกดสัญญาณเตือน ผู้นำอพยพถือ “สัญญาณธง” นำบุคลากร ออกจากพื้นที่ปฏิบัติงานตามช่องทางที่กำหนด ผู้นำอพยพ นำบุคลากรไปยัง “จุดรวมพล” ผู้นำอพยพ และ ผู้ตรวจสอบยอด ทำการตรวจสอบยอด ผู้ตรวจสอบยอด แจ้งยอดต่อ ผู้อำนวยการ หรือผู้ช่วยผู้อำนวยการอพยพหนีไฟ ณ จุดรวม ผู้อำนวยการ หรือ ผู้ช่วยผู้อำนวยการอพยพหนีไฟ แจ้งให้บุคลากรอยู่ในจุดรวมพล จนกว่าเหตุการณ์สงบ ผู้อำนวยการ หรือ ผู้ช่วยผู้อำนวยการอพยพหนีไฟ สั่งหน่วยช่วยชีวิต หรือเจ้าหน้าที่ดับเพลิงจาก ภายนอกค้นหาผู้ติดค้าง หน่วยช่วยชีวิต หรือเจ้าหน้าที่ดับเพลิง จากภายนอกค้นหาผู้ติดค้าง และรายงานผลให้ผู้อำนวยการ หรือ ผู้ช่วยผู้อำนวยการอพยพหนีไฟทราบ รีบนำผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บ ส่งหน่วยพยาบาลหรือ สถานพยาบาลใกล้เคียง ยอดครบ ยอดไม่ครบ


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 34 หนาที่รับผิดชอบของผูปฏิบัติงานตามโครงสรางแผนอพยพหนีไฟ ผูปฏิบัติงาน หนาที่รับผิดชอบ ผูอำนวยการอพยพหนีไฟ รองอธิการบดีวิทยาเขตสงขลา โทรศัพท 093-7546060 ผูชวยผูอำนวยการอพยพหนีไฟ 1. ผูชวยอธิการบดีวิทยาเขตสงขลา โทรศัพท 085-7926594 2. นายสมบูรณ จุลสุรางค โทรศัพท 081-5432424 3. นางกนกวรรณ เอกเจริญกุล โทรศัพท 086-4600244 1. สั่งใชแผนอพยพหนีไฟ 2. ขอความชวยเหลือจากหนวยงานที่เกี่ยวของ 3. สั่งหนวยชวยชีวิต หรือเจาหนาที่ดับเพลิงจาก ภายนอกคนหาผูติดคาง 4. ควบคุมใหบุคลากรอยูในจุดรวมพลจนกวา เหตุการณจะสงบ ผูนำอพยพ 1. นายสมบูรณ จุลสุรางค โทรศัพท 081-5432424 2. นางกนกวรรณ เอกเจริญกุล หัวหนากลุมภารกิจพัฒนาอาคารสถานที่ โทรศัพท 086-4600244 3. นายสมศักดิ์ จันทสงค โทรศัพท 086-6892087 1. มีหนาที่นำทางบุคลากรอพยพไปทางออกที่จัดไว หนวยตรวจสอบยอด 1. นางอำมร สงเคราะห โทรศัพท 089-7377348 2. นางรัตติกาล ชนะสิทธิ์ โทรศัพท 089-1738895 3. นางรัตนา รัตนพงศ โทรศัพท 0824356160 1. มีหนาที่ตรวจนับจำนวนบุคลากรที่อพยพหนี ออกไปยังภายนอก ณ จุดรวมพล 2. รายงานจำนวนบุคลากรตอผูอำนวยการหรือ ผูชวยอำนวยการอพยพหนีไฟ หนวยชวยชีวิต 1. นายสมบูรณ จุลสุรางค โทรศัพท 081-5432424 2. นางกนกวรรณ เอกเจริญกุล หัวหนากลุมภารกิจพัฒนาอาคารสถานที่ โทรศัพท 086-4600244 3. นายสมศักดิ์ จันทสงค โทรศัพท 086-6892087 4. นายธนกฤต เอกเจริญกุล โทรศัพท 086-2983704 5. นายเจริญ ฉุนตุง 4. มีหนาที่คนหาและชวยชีวิตบุคลากรที่ติดคางอยู ในอาคารหรือในพื้นที่ที่เกิดอัคคีภัย 5. มีหนาที่ปฐมพยาบาลเบื้องตนใหบุคลากรที่ ออกมา ณ จุดรวมพล 6. ประสานการสงบุคลากรที่ไดรับบาดเจ็บสง โรงพยาบาล


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 35 ผูปฏิบัติงาน หนาที่รับผิดชอบ โทรศัพท 087-2895232 6. นายธนากร เกิดสมจิตร โทรศัพท 062-0935147 5. นายพลศิษฐ นวลยอย โทรศัพท 081-5436109 หนวยยานพาหนะ 1. นางกนกวรรณ เอกเจริญกุล หัวหนากลุมภารกิจพัฒนาอาคารสถานที่ โทรศัพท 086-4600244 2. นายสมศักดิ์ จันทสงค โทรศัพท 086-6892087 3. นายสุรียาพันธ กฤษณะโยธิน โทรศัพท 098-7162314 4. นายปกรณ พรหมมา โทรศัพท 090-0139166 5. นายเสงี่ยม เอกกระจาย โทรศัพท 081-0925629 6. นายวรพจน ฮั่นศิริ โทรศัพท 089-7353339 1. รอรับคำสั่งจากหนวยชวยชีวิต ในการนำสง บุคลากรที่แพทยหรือพยาบาลพิจารณาแลวตอง นำสงโรงพยาบาล 2. อำนวยความสะดวกดานยานพาหนะให หนวยงานอื่นตามความจำเปน


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 36 ตัวอยางขั้นตอนการซอมอพยพหนีไฟในสวนงาน ขั้นตอนที่ รายละเอียด ผูรับผิดชอบ 1 ชี้แจงใหบุคลากรและเจาหนาที่ในอาคารสำนักงานที่อยูใน สวนงาน ทราบถึง แผนการซอม หัวหนาสวน งาน (คณบดี) 2 ออกบันทึกประกาศใหทุกคนทราบถึงกำหนดวันและเวลาซอมรวมทั้งแผนการ ซอม คปอ.ประจำ สวนงาน 3 สมมติการเกิดควันไฟจากหองเก็บพัสดุของฝายวิจัยและบริการวิชาการ ฝายชาง 4 คนรอง “ไฟไหม” พรอมกับวิ่งออกจากหองทำงานฝายวิจัยและบริการ พนักงานทำ ความสะอาด 5 ประกาศ เสียงตามสาย แจงเหตุไฟไหมและใหทุกคนอพยพออกจากอาคาร พรอมโทรแจงให ศูนยรวมขาวสาร ทราบทันที ประชาสัมพันธ 6 ทุกคนในอาคารสำนักงานอพยพออกจากอาคาร ไปรวมตัวกันที่ “จุดรวมพล” บริเวณ................................................. บุคลากรทุก คนในอาคาร 7 บุคลากรในอาคารสำนักงานอยูประจำที่ รอคำสั่งจากหัวหนางาน คณบดี 8 การหนีไฟของบุคลากรทั้งหมด ทุกฝาย 9 ตรวจรายชื่อบุคลากร ประธานสาขา 10 แจงใหทุกคนทราบวาเหตุการณไดสงบแลวสามารถกลับเขาอาคารสำนักงานได คปอ. สวนงาน 11 ประกาศเสียงตามสายขอบคุณทุกคน ประชาสัมพันธ 12 ออกบันทึกขอความขอบคุณบุคลากรที่ใหความรวมมือในการซอม คปอ.สวนงาน 13 จัดประชุมคปอ.สวนงาน และสรุปผลการซอม คปอ.สวนงาน


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 37 7.3 แผนหลังเกิดเหตุเพลิงไหม 7.3.1 แผนบรรเทาทุกขเพื่อใหเกิดความรวดเร็วในการชวยชีวิต การเคลื่อนยายผูประสบเหตุ การดูแล ทรัพยสินของผูเสียชีวิต ประเมินความเสียหาย รายงานสถานการณเพลิงไหม และการชวยเหลือสงเคราะหผูประสบภัย แผนบรรเทาทุกข จะประกอบดวย หัวขอตาง ๆ ดังนี้ - ประสานกับหนวยงานของรัฐ - การสำรวจความเสียหาย - การรายงานตัวของเจาหนาที่ทุกฝาย และกำหนดจุดนัดพบเพื่อรอรับคำสั่ง - การชวยชีวิตและการขุดคนหาผูเสียชีวิต - การเคลื่อนยายผูประสบภัย ทรัพยสินของผูเสียชีวิต - การประเมินความเสียหาย ผลการปฏิบัติงานและรายงานสถานการณเพลิงไหม - การชวยเหลือสงเคราะหผูประสบภัย - การปรับปรุงแกไขปญหาเฉพาะหนาเพื่อใหมหาวิทยาลัยเปดทำการไดโดยเร็วที่สุด


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 38 หนาที่รับผิดชอบของผูปฏิบัติการในแผนบรรเทาทุกข หนาที่รับผิดชอบ ผูปฏิบัติ 1. ประสานกับหนวยงานของรัฐ หัวหนาทีม นางกนกวรรณ เอกเจริญกุล หัวหนากลุมภารกิจพัฒนาอาคารสถานที่ โทรศัพท 086-4600244 บุคลากรรวมทีม นายสมบูรณ จุลสุรางค โทรศัพท 081-5432424 นายสมศักดิ์ จันทสงค โทรศัพท 086-6892087 2. การสำรวจความเสียหาย หัวหนาทีม นายสมบูรณ จุลสุรางค โทรศัพท 081-5432424 บุคลากรรวมทีม นายสมศักดิ์ จันทสงค โทรศัพท 086-6892087 3. การรายงานตัวของเจาหนาที่ทุกฝาย และกำหนด จุดนัดพบเพื่อรอรับคำสั่ง หัวหนาทีม นางอำมร สงเคราะห โทรศัพท 089-7377348 บุคลากรรวมทีม นางรัตติกาล ชนะสิทธิ์ โทรศัพท 089-1738895 การชวยชีวิตและการคนหาผูเสียชีวิต หัวหนาทีม นายสมบูรณ จุลสุรางค โทรศัพท 081-5432424 บุคลากรรวมทีม นายสมศักดิ์ จันทสงค โทรศัพท 086-6892087 นายธนกฤต เอกเจริญกุล โทรศัพท 086-2983704 นายเจริญ ฉุนตุง โทรศัพท 087-2895232 นายธนากร เกิดสมจิตร โทรศัพท 062-0935147 นายพลศิษฐ นวลยอย โทรศัพท 081-5436109


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 39 5. การเคลื่อนยายผูประสบภัย ทรัพยสินของ ผูเสียชีวิต หัวหนาทีม นายสมบูรณ จุลสุรางค โทรศัพท 081-5432424 บุคลากรรวมทีม นายสมศักดิ์ จันทสงค โทรศัพท 086-6892087 นายธนกฤต เอกเจริญกุล โทรศัพท 086-2983704 นายเจริญ ฉุนตุง โทรศัพท 087-2895232 นายธนากร เกิดสมจิตร โทรศัพท 062-0935147 นายพลศิษฐ นวลยอย โทรศัพท 081-5436109 6. การประเมินความเสียหาย ผลการปฏิบัติงานและ รายงานสถานการณเพลิงไหม หัวหนาทีม นายสมบูรณ จุลสุรางค โทรศัพท 081-5432424 บุคลากรรวมทีม นายสมศักดิ์ จันทสงค โทรศัพท 086-6892087 นายธนกฤต เอกเจริญกุล โทรศัพท 086-2983704 นายเจริญ ฉุนตุง โทรศัพท 087-2895232 นายธนากร เกิดสมจิตร โทรศัพท 062-0935147 นายพลศิษฐ นวลยอย โทรศัพท 081-5436109 7. การชวยเหลือสงเคราะหผูประสบภัย หนวยชวยชีวิต 1. นายสมบูรณ จุลสุรางค โทรศัพท 081-5432424 2. นายธนกฤต เอกเจริญกุล โทรศัพท 086-2983704 3. นายเจริญ ฉุนตุง โทรศัพท 087-2895232 4. นายธนากร เกิดสมจิตร โทรศัพท 062-0935147 5. นายพลศิษฐ นวลยอย โทรศัพท 081-5436109


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 40 8. การปรับปรุงแกไขปญหาเฉพาะหนาเพื่อให มหาวิทยาลัยเปดทำการไดโดยเร็วที่สุด หัวหนาทีม นายสมบูรณ จุลสุรางค โทรศัพท 081-5432424 บุคลากรรวมทีม นายสมศักดิ์ จันทสงค โทรศัพท 086-6892087 นายธนกฤต เอกเจริญกุล โทรศัพท 086-2983704 นายเจริญ ฉุนตุง โทรศัพท 087-2895232 นายธนากร เกิดสมจิตร โทรศัพท 062-0935147 นายพลศิษฐ นวลยอย โทรศัพท 081-5436109


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 41 7.3.2 แผนปฏิรูปฟนฟูไดแก การนำรายงานผลการประเมินจากทุกดานจากสถานการณจริงมา ปรับปรุงแกไข โดยเฉพาะแผนการปองกันอัคคีภัย (กอนเกิดเหตุ) แผนปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหมแผนบรรเทาทุกข (ทันทีที่เพลิงสงบ) นอกจากนี้ ควรมีโครงการที่ดำเนินการรวมกับแผนปฏิรูปฟนฟูไดแก โครงการประชาสัมพันธสาเหตุการ เกิดอัคคีภัยและแนวทางการปองกันในรูปแบบตาง ๆ โครงการสงเคราะหผูปวย โครงการปรับปรุงซอมแซมและสรรหา สิ่งที่สูญเสียใหกลับคืนสภาพปกติและโครงการประกันภัยอาคาร


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 42


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 43 ขอแนะนำในกรณีที่เกิดเหตุภัยพิบัติ 1. อุทกภัย


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 44 2. วาตภัย


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 45 3. แผนดินไหว


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 46 ภาคผนวก


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 47 คณะผูจัดทำคูมือ 1. อาจารยวีณา ลีลาประเสริฐศิลป รองอธิการบดีวิทยาเขตสงขลา 2. ผูชวยศาสตราจารย ดร.วิวัฒน ฤทธิมา ผูชวยอธิการบดีวิทยาเขตสงขลา 3. นายสมบูรณ จุลสุรางค ที่ปรึกษา 4. นางสายใจ จุลสุรางค ที่ปรึกษา 5. นางรัตติกาล ชนะสิทธิ์ เจาหนาที่บริหารงาน 6. นายธีรวิทย ขำราย นักวิชาการ 7. นายศาสตราวุฒิ บุญรัตน นักวิชาการ 8. นายพงษสิทธิ์ ศรีทอง นักวิชาการ 9. นายวนัย พรเจริญวิโรจน นักวิชาการ 10. นางสาวอารีรัตน เนาวสุวรรณ เจาหนาที่บริหารงาน 11. นายชนะวิทย เกาะแกว เจาหนาที่บริหารงาน


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 48 แผนผังพื้นที่อาคาร /จุดติดตั้งไฟฉุกเฉิน /อุปกรณดับเพลิง


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 49


แผนปฏิบัติการและรองรับเหตุฉุกเฉิน วิทยาเขตสงขลา 50


Click to View FlipBook Version