Clausewitz
สงครามและกฎการสงคราม
War and Principles of War
พลเรือเอก ไพศาล นภสนิ ธวุ งศ
์
กลา่ วนำ
ตลอดเวลาของประวตั ิศาสตรม์ นษุ ยชาติ ภาพจากการสงั เกตของเราเหน็ สงครามมกี าร
เปล่ียนแปลงรูปแบบหลายต่อหลายคร้ัง อารยธรรมที่แตกตา่ งกนั ในช่วงเวลาตา่ งกันไดป้ ระเมินสงคราม
ในทิศทางที่ต่างกันและได้ใช้วิธีการทำสงครามด้วยกฎเกณฑ์ท่ีต่างกันด้วย สงครามหาใช่เป็นเพียง
วตั ถปุ ระสงค์ของมนุษย์เท่านัน้ แตย่ ังมีผลค่อนข้างมากตอ่ ปจั จัยพ้ืนฐานทางศาสนา ปรชั ญา และวตั ถุ
สำหรับชวี ติ มนุษย์ อาจกล่าวไดว้ า่ ประวตั ิศาสตร์แสดงออกมาให้เหน็ เปน็ ภาพของสงคราม คือ
ส่วนสำคญั ของประวัติศาสตร์ของอารยธรรมของมนุษย์
ในประวตั ศิ าสตรน์ บั ตงั้ แตม่ กี ารบนั ทกึ กนั ไว้ ไมเ่ คยมชี ว่ งเวลาใดทมี่ นษุ ยว์ า่ งเวน้ จากสงคราม
นกั รฐั ศาสตรก์ ลา่ วกันว่า สงครามกับมนุษยเ์ ปน็ ของคู่กัน แบ่งแยกกันไม่ได้ เมื่อเป็นเชน่ น้ี เรา
76 นาวกิ าธปิ ตั ยส์ าร
คลังปัญญาพัฒนาผู้นำ
(โดยเฉพาะผมู้ ีอาชีพทหาร) จึงควรศกึ ษาเร่ืองของสงครามไวบ้ า้ ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งสงครามในบริบท
ของการเมอื ง ซึง่ ในบทความน้ีจะกล่าวถงึ ความสมั พนั ธอ์ ยา่ งสำคัญยง่ิ ของสงครามกบั การเมอื ง
ในตอนท้ายของบทความจะวเิ คราะหเ์ ก่ยี วกับหลกั การสงคราม (Principles of War)
ท่ีเราใช้และเรียกกันในปัจจุบันนี้ว่ามีความหมายเหมาะสมกับเน้ือหาสาระของมันหรือไม่ประการใด
ควรจะเรยี กว่าหลกั การสงคราม หรือหลกั การสูร้ บ (Principles of Warfare) กันแน
่
ความหมายของสงคราม
War มาจากภาษา Anglo - Saxon วา่ Warre เทยี บเคยี งกบั ภาษาฝรง่ั เศสว่า Guerre
ภาษาเยอรมนั ว่า Wirr ซง่ึ แปลว่า สบั สน (เปน็ ความสบั สนจากสภาพปกตแิ ละระเบียบของสนั ติภาพ)
ความหมายทวั่ ๆ ไป คอื ความขัดแย้ง หรือการตอ่ สู้ สงครามแสดงถงึ ความขดั แยง้ ระหวา่ งกลุ่ม เช่น
ชนเผ่า กลุ่มศาสนา รัฐ และพันธมิตร โดยปกติแล้วส่ือความหมายถึงการขัดกันด้วยอาวุธ ใน
Oxford Advanced Learner’s Dictionary ใหค้ วามหมายของ “สงคราม” ว่า “สถานการณซ์ ง่ึ
ประเทศ ๒ ประเทศ หรอื มากกว่า หรอื กล่มุ คนหลายกลุ่ม ตอ่ สกู้ ันในระยะเวลาหน่ึง เช่น
สงครามโลกคร้งั ท่ีสอง สงครามระหวา่ งองั กฤษกบั สกอตแลนด์”
ในเอกสาร The Fundamentals of British Maritime Doctrine ใหค้ ำนยิ ามของ
สงครามวา่ “เปน็ สงิ่ ทย่ี ากในการใหค้ ำนยิ ามอยา่ งกระจา่ งชดั การใหค้ ำนยิ ามในแงท่ างกฎหมาย ถอื เอา
การประกาศสงครามเปน็ สงิ่ ทถ่ี กู ตอ้ งและรวมถงึ ระยะเวลาตง้ั แตก่ ารประกาศสงคราม ซง่ึ เกดิ ขน้ึ กอ่ น
การเร่ิมต้นสรู้ บกัน อย่างไรกต็ ามนบั ตงั้ แต่ ค.ศ.๑๙๖๔ เปน็ ตน้ มา ดเู หมือนจะไม่ค่อยมีประเทศใด
ประกาศสงครามอย่างเปน็ ทางการ เนือ่ งจากถูกต้ังเปน็ ขอ้ ห้ามของสหประชาชาติ ตวั อย่างเชน่ ไม่มี
การประกาศสงครามกอ่ นท่ีจะเกดิ สงครามเวียดนาม สงครามอริ ัก – อหิ รา่ น สงครามฟอลก์ แลนด์
และสงครามอา่ ว สงครามยงั แสดงถงึ การรบั รเู้ ปน็ อยา่ งสงู ของคสู่ งคราม ผกู้ อ่ ความไมส่ งบคงตระหนกั
ว่าพวกเขาตกอยู่ในภาวะสงครามในขณะท่ีฝ่ายรัฐบาลพิจารณาเห็นว่าสถานการณ์นั้นเป็นเพียงความ
ไมส่ งบเรยี บรอ้ ยในยามปกตเิ ทา่ นน้ั ในเดอื นเมษายน ค.ศ.๑๙๘๒ สาธารณชนขององั กฤษเชอ่ื วา่ พวกเขา
กำลงั อยู่ในภาวะสงครามกบั อารเ์ จนตนิ า ในขณะทฝ่ี า่ ยอารเ์ จนตนิ าเหน็ วา่ พวกเขาไดบ้ รรลคุ วามสำเรจ็
ในการยดึ คืนหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ที่ไดถ้ กู องั กฤษยดึ ไปโดยวิธกี ารทตู แบบเรอื ปนื เม่ือราว ๑๐๐ ปีก่อน
หนา้ นนั้ ซง่ึ พวกเขาเห็นว่าอาจแกป้ ญั หากนั ได้โดยวิธกี ารเจรจาและกำลังอยู่ในสถานะที่ได้เปรียบ”
นกั รฐั ศาสตรแ์ ละนกั การทหารทมี่ ชี อ่ื เสียงตา่ งพากันศึกษาเรอื่ งสงครามของ Carl von
Clausewitz นกั การทหารและนกั ปรัชญาชาวปรสั เซยี ซ่งึ แม้แต่ Bernard Brodie ยังชมเชยว่าเขา
เปน็ นักปรชั ญาท่ยี ิง่ ใหญอ่ ยา่ งแทจ้ รงิ หนงั สือของ Clausewitz เร่อื ง am Kriege (ว่าด้วยสงคราม)
ได้ให้นิยามของสงครามไว้หลายแห่ง เช่น “สงครามเป็นการกระทำโดยใชก้ ำลังเพือ่ บบี บงั คับให้ขา้ ศึก
ทำตามความประสงคข์ องเรา” นน่ั คือ “สงครามหาใชอ่ ืน่ ใด มันเปน็ การดวลกนั ของสองฝ่ายท่มี ี
ขอบเขตทก่ี วา้ งใหญ”่ ความหมายขา้ งตน้ นนี้ กั เขยี นชาวอเมรกิ นั ไดอ้ ธบิ ายความหมายจากนยิ ามของ
Clausewitz วา่ “สงครามเป็นความรนุ แรงท่ีไดร้ ับการจัดการโดยฝา่ ยการเมืองตอ่ อกี ฝ่ายหนึ่ง”
นาวกิ าธปิ ตั ยส์ าร
77
คลังปัญญาพัฒนาผู้นำ
สงครามในบรบิ ททางการเมือง
Clausewitz เนน้ ความหมายน้ีมาก และเปน็ ท่ียึดถือกนั แม้แตค่ นรุ่นปจั จบุ ันว่า “สงคราม
คอื การต่อประสานนโยบายของรฐั โดยวธิ อี ่นื ” เขาไดข้ ยายความวา่ “สงครามหาใช่การกระทำแบบ
หน้ามดื ตามัว แตต่ ้องต้ังอยู่บนขอบเขตของวตั ถุประสงคท์ างการเมอื ง ด้วยเหตุน้ีคณุ คา่ ของ
วตั ถุประสงคน์ ั่นเองจะเป็นตัวกำหนดวา่ ควรจะเสย่ี งซ้อื ดว้ ยราคาเทา่ ใด หากราคาทีต่ ้องซอ้ื นนั้ แพง
เกนิ กวา่ คุณคา่ ของวัตถปุ ระสงค์ทางการเมอื งแลว้ ก็จะต้องลม้ เลิกความพยายามทจี่ ะให้ไดม้ าซ่ึง
วัตถปุ ระสงค์นั้น และสงครามกจ็ ะตอ้ งยุตลิ ง”
ทศั นะทางการเมือง มผี ู้ใหค้ ำจำกดั ความทีฟ่ ังดูคลา้ ยคลงึ กนั วา่ “สงครามเปน็ เครอ่ื งมือ
ของนโยบายที่ใชเ้ พอื่ ใหเ้ ปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงคข์ องชาติ หลงั จากที่ใชว้ ธิ อี นื่ แลว้ ไมป่ ระสบผลสำเรจ็ ”
แต่โดยเนื้อแท้แล้ว เรามักจะแปลเจตนารมณบ์ างอย่างของ Clausewitz ไมค่ อ่ ยตรงนกั ตอ้ งทำความ
เข้าใจว่านโยบายของรัฐในการแก้ปัญหาความขัดแย้งนั้นคงดำรงอยู่ต่อไปตลอดเวลาไม่ว่าจะใช้กำลัง
หรอื ไม่ การตอ่ ประสานนโยบายของรฐั โดยวธิ อี น่ื (by other means) by ในทน่ี ห้ี มายถงึ in addition to
นนั่ คอื วธิ ีอ่ืน (สงคราม) แมจ้ ะนำมาใช ้ แตก่ ารดำเนนิ นโยบายแก้ปญั หาของรัฐ (โดยสนั ติวิธี)
หาได้ยตุ ิลงไม่ ดังท่ี Clausewitz อธบิ ายวา่
“… เรายังต้องการใหเ้ ป็นท่ีกระจ่างชัดอีกดว้ ยวา่ การสงครามนน้ั ไมท่ ำใหค้ วามเก่ียวพนั
ทางการเมืองชะงักลงหรือเปล่ียนแปลงเป็นอย่างอื่นทีต่ ่างไปโดยสิน้ เชิง โดยเน้ือแท้แล้วความเกีย่ วพนั
ยังคงมีอยตู่ อ่ ไปไมว่ า่ จะใชว้ ธิ ีอะไร แนวทางสำคญั ที่เหตุการณ์ทางทหารคืบหน้าไปและถูกจำกัดลงนน้ั
เปน็ แนวทางทางการเมอื งที่ยงั คงมอี ย่ตู ลอดเวลาของสงคราม จนกระท่งั ถึงการสงบศกึ ทจ่ี ะมีต่อมา…”
เปา้ หมายสดุ ทา้ ยของสงคราม คอื สนั ตภิ าพ สงครามไม่ไดก้ ระทำโดยเอกเทศ สงคราม
โดยตัวของมนั เอง หาใช่เป้าหมาย (End) มันเป็นเพียงเครือ่ งมือ (Means) ท่ีใช้แก้ปัญหาทางการเมือง
สาเหตขุ องสงคราม
ในยคุ แรก ๆ นักปรชั ญาและนักบวชพยายามแยกแยะ แล้ววิเคราะห์ถงึ สาเหตุของ
สงคราม โดยคาดหวังวา่ เมอ่ื รู้แลว้ อาจสามารถลดจำนวนของสงครามที่เกดิ ข้นึ ให้นอ้ ยลงได้ ธรรมชาติ
ของมนษุ ย ์ ท่ีมาของเศรษฐกิจ ความเสื่อมทรามของมนุษย์ ยังคงปรากฏให้เหน็ อยตู่ ลอดเวลา ผลของ
การวเิ คราะห์จึงไม่เป็นท่ยี อมรบั อย่างเปน็ สากล แตอ่ ย่างไรกด็ ยี งั มีคนพยายามค้นควา้ จนพอจะหา
สาเหตุของสงครามในยุคล่าอาณานิคม ซึง่ มอี ยู่ ๓ ประการดว้ ยกนั คือ
ประการแรก การดิ้นรนเสาะหาความร่ำรวยทรัพยากรเพ่ือการผลิตของประเทศ
รวมทั้งการหาตลาดการค้า เป็นตน้
ประการทส่ี อง มาจากสาเหตุของการขยายธรรมจักรโดยเฉพาะศาสนาคริสต์และ
อิสลาม
78 นาวกิ าธปิ ตั ยส์ าร
คลังปัญญาพัฒนาผู้นำ
ประการสดุ ทา้ ย คอื การรักษาสถานะเดมิ ของตนหรอื ดลุ ยภาพแห่งอำนาจ แต่ในยคุ
ร่วมสมัย สาเหตขุ องสงครามตามท่ี Thucydides กล่าวไว้ในสมัยโบราณวา่ เกดิ จากเหตุสามประการ
เช่นกัน คอื “ความกลัว เกียรตยิ ศ และผลประโยชน”์ กลบั ดูจะมนี ำ้ หนักมากขึน้ อกี โดยเฉพาะเรอื่ ง
ผลประโยชน์ ถึงกับมคี นกระแนะกระแหนวา่ “War is the continuation of business by other
means” ซ่งึ หากสังเกตสงครามในยคุ ปจั จุบันโดยเฉพาะสงครามอา่ ว ย่อมไม่เกนิ ความจริงนัก
ระดบั ของสงคราม (Levels of War)
รูปแบบของสันตภิ าพอาจเร่มิ ตน้ ตง้ั แตม่ ติ รภาพท่จี ริงใจระหว่างรฐั จนเพ่มิ ความเลวร้าย
ถึงขนั้ การเผชิญหนา้ กนั แบบตงึ เครียด สำหรบั สนั ติภาพแลว้ ความตอ้ งการขัน้ ตำ่ สุดคอื การปราศจาก
การใชอ้ าวธุ แต่ในทางตรงกันข้าม สงครามมคี วามจำเป็นต้องใช้อาวุธ กระนนั้ กต็ ามสงครามมหี ลาย
รปู แบบ แตกตา่ งกันอยา่ งกวา้ งขวาง ไมม่ ีศพั ท์สากลใหเ้ ป็นทยี่ อมรบั กัน แต่กพ็ อจะจำแนกไดด้ ังน้ี :
๑. สงครามเบ็ดเสรจ็ (Total War) หมายถงึ คสู่ งครามใช้ทรัพยากรท้ังหมดอยา่ ง
สมบูรณ์ ชาตจิ ะถูกคกุ คามให้ยอมแพ้โดยปราศจากเงอื่ นไข
๒. สงครามทั่วไป (General War) คลา้ ยคลึงกับสงครามเบด็ เสรจ็ ตา่ งกนั ท่สี งคราม
ทัว่ ไปเน้นการใชก้ ำลงั ทหารอยา่ งเบด็ เสรจ็ ส่วนมากจะหมายถงึ สงครามที่ใชอ้ าวุธนวิ เคลียร์ เคมี หรือ
ชวี ะ นอกจากนัน้ ยังหมายถึงการทำสงครามตามแบบอย่างไมจ่ ำกัด (Unrestricted Convention War)
๓. สงครามจำกัด (Limited War) วัตถุประสงค์ของคู่สงครามจะถูกจำกัด คู่สงคราม
จะจำกดั การใช้เครอื่ งมือทางการเมือง เศรษฐกิจ และสงั คม (ตรงขา้ มกบั สงครามเบ็ดเสรจ็ ) และยงั
จำกัดการใชก้ ำลงั ทหารด้วย (ต่างจากสงครามท่วั ไป)
๔. สงครามตามแบบ (Conventional War) เป็นการสรู้ บกันโดยปราศจากการใช้
อาวุธนิวเคลียร์ เคมี และชีวะ แม้ว่าฝ่ายท่ีมีอาวุธดังกล่าวจะมีอิทธิพลต่อเป้าหมายสงคราม
ยุทธศาสตร์ และยทุ ธวิธีของคูต่ ่อสอู้ ยา่ งเห็นได้ชดั
สำหรบั ศัพท์ Low – Intensity Conflict เริม่ มกี ารนำมาใชบ้ า้ งเม่อื ไมน่ านมาน้ี แต่ก็ไม่
แพร่หลายมากนกั ทัง้ นี้เพราะความหมายยังมีลกั ษณะเปน็ สเี ทา กลา่ วคอื อยรู่ ะหว่างสันติภาพและการ
ส้รู บกันอย่างเปิดเผย เช่น การทูตแบบเรือปนื การชว่ ยเหลอื ทางทหารตอ่ การปราบปรามการก่อความ
ไม่สงบ หรอื ช่วยเหลอื แก่ฝา่ ยก่อความไมส่ งบ การแกแ้ คน้ โดยใชก้ ำลังทหาร เป็นตน้ กำลังทหารและวิธี
การใชจ้ ะถูกจำกัดอย่างเข้มงวด ระยะเวลาจะถูกจำกัดเช่นกัน และแนน่ อนทส่ี ดุ คือ ไมม่ กี ารประกาศ
สงคราม ความสมั พนั ธ์ทางการทตู ยงั คงดำรงต่อไป ตามปกติแล้วเปา้ หมายทางการเมอื งจะถูกกำหนด
อย่างชดั เจนและจำกดั เพ่ือให้งา่ ยตอ่ การควบคุมทางการเมือง ความขัดแย้งระดบั ต่ำดังกลา่ วนี้
ตวั อยา่ งทม่ี คี วามเข้มขน้ สงู เชน่ ความขัดแย้งระหว่างจนี กับอนิ เดยี ในปี ๑๙๖๒ จนี กบั เวยี ดนาม
ในปี ๑๙๖๙ ความเข้มข้นระดับปานกลาง เชน่ การจู่โจมโดยใชก้ ำลงั ทหารของสาธารณรัฐแอฟรกิ า
ต่อชาติเพื่อนบ้าน ส่วนความเข้มข้นระดับต่ำสุด เช่น การใช้เรือรบของพันธมิตรเพื่อคุ้มครอง
เส้นทางคมนาคมในอ่าวเปอร์เซยี เมอื่ ปลายทศวรรษท่ี ๑๙๘๐ เปน็ ตน้
นาวกิ าธปิ ตั ยส์ าร
79
คลังปัญญาพัฒนาผู้นำ
สงครามเปลี่ยนแปลงในลกั ษณะใดบ้าง
พระเจา้ อเล็กซานเดอร์มหาราชตรัสไวว้ า่ ทุกสงครามทำกนั ๒ ด้านเสมอ กลา่ วคือ
ดา้ น Physical ซ่งึ เป็นเรือ่ งของกำลังรบที่มีตัวตน ส่วนอีกด้านเปน็ Psychological เปน็ เรื่องของ
จิตวิทยาที่ไมม่ ีตัวตน พระองคต์ รัสไวร้ าว ๓๐๐ ปกี อ่ นครสิ ตกาล ส่วนแนวความคิดของ Clausewitz
เม่ือต้นคริสต์ศตวรรษท่ี ๑๙ ไดแ้ นะนำว่าสงครามมธี รรมชาติของมนั ๒ แบบดว้ ยกนั คือ รปู ธรรมและ
นามธรรม ลกั ษณะของสงครามท่ีเปน็ รูปธรรมจะมีธรรมชาตขิ องมันทีถ่ าวร บรรยากาศของสงคราม
จะไม่โอนถา่ ยกันได้จากคุณสมบตั ิใด ๆ ของสงครามและในชว่ งเวลาใด ๆ บรรยากาศของสงคราม
ประกอบไปดว้ ย “อนั ตราย การใชค้ วามพยายาม ความไมแ่ นน่ อน และความบงั เอญิ ” อกี ลกั ษณะหนงึ่
ที่เป็นนามธรรมมีลักษณะทีง่ ่ายต่อการเปลย่ี นแปลง ซ่ึงบางครง้ั รวดเร็ว แตบ่ างครงั้ อาจชา้ มาก
สงครามมีลักษณะเดน่ ในตวั ของมนั เองไมว่ ่าจะใช้อาวธุ ชนิดใด คู่สงครามจะเป็นใคร หรือ
อะไรคือประเดน็
เรามักจะสับสนตอ่ ธรรมชาติของสงคราม (Nature of War) ว่าเปล่ียนแปลงได้หรือไม่
หลายสำนักมคี วามคดิ แตกตา่ งกนั แต่หากเราดูจากแนวความคิดของ Clausewitz ทีม่ องว่าสงคราม
คอื ความโหดรา้ ย ความไมแ่ น่นอน ความบงั เอิญ หรือเป็นศิลป์มากกว่าศาสตรแ์ ลว้ พอจะกล่าวอยา่ ง
มน่ั ใจว่าธรรมชาติของสงครามไม่เปลีย่ นแปลง ถา้ หากว่าสงครามเปลยี่ นธรรมชาตขิ องมัน ธรรมชาติ
ทก่ี ล่าวน้ันคงเป็นอยา่ งอนื่ ซึง่ แทจ้ ริงแล้ว เป็นการเปลี่ยนคณุ ลกั ษณะ (Character) ของมันตา่ งหาก
ความสมั พันธร์ ะหวา่ งการเมืองและสงคราม (การทหาร)
Clausewitz อา้ งไว้ใน am Kriege วา่ “สงครามหาใช่อ่ืนใดนอกเหนอื ไปจากการดำเนิน
ต่อไปทางการเมือง” วัตถุประสงค์ทางการเมืองเป็นเคร่ืองตัดสินว่าคู่สงครามจะใช้วิธีการใดเพ่ือให้
บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ของพวกเขา ในประวัตศิ าสตร์ของยุคโบราณนับหลายศตวรรษ ได้เกดิ สงครามท ี่
ทง้ั คสู่ งครามกำหนดวตั ถปุ ระสงคแ์ บบไมจ่ ำกดั ซง่ึ ในสงครามดงั กลา่ วคสู่ งครามใชเ้ ครอ่ื งมอื ทกุ อยา่ งทม่ี อี ยู่
จึงกลายเปน็ สง่ิ ท่ี Clausewitz เรียกสงครามที่แท้จริงนั้นว่าเป็น “Perfect War” หรือ “Absolute
War” แต่ตอ่ มาในครสิ ต์ศตวรรษที่ ๑๘ และ ๑๙ สงครามท่ีเกดิ ในยโุ รปแทบทัง้ หมดมวี ตั ถุประสงค์
ที่จำกัดมากขึ้น ดังน้นั ปจั จยั ทางการเมอื งมีอทิ ธพิ ลสูงตอ่ การดำเนนิ สงคราม จะเหน็ ได้วา่ สนธสิ ัญญา
ภายหลังสงครามยุติจงึ ไม่ใช่สง่ิ ทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ ความเกลียดชังของฝ่ายแพส้ งคราม แตเ่ ป็นสงิ่ ท่ีไดร้ บั การ
ยอมรบั ของทั้งสองฝา่ ย เชน่ สงครามระหวา่ งปรสั เซยี กบั ออสเตรยี ในปี ค.ศ.๑๘๖๖ สงครามระหวา่ ง
ปรสั เซียกบั ฝร่ังเศสในปี ค.ศ.๑๘๗๐ – ๑๘๗๑ เปน็ ต้น
อย่างไรกด็ ี Clausewitz เตือนไว้วา่ แมป้ ัจจยั ทางการเมอื งเป็นตัวหลกั ในการกำหนดหรอื
ควบคมุ สงครามก็ตาม แต่ “วัตถปุ ระสงคท์ างการเมืองหาใช่มีอำนาจกำหนดทิศทางอย่างเด็ดขาดไม”่
ความสัมพนั ธ์ระหว่างนักการเมืองและทหารหาใชเ่ ป็นเหมอื นถนนท่ีให้รถเดนิ ทางเดียว (One – way
Street) ท้งั สองส่วนตอ้ งมีปฏสิ มั พันธก์ นั เปา้ หมายทางการเมอื งต้องปรบั แตง่ อย่างม่นั คงต่อเนื่องให้
80 นาวกิ าธปิ ตั ยส์ าร
คลังปัญญาพัฒนาผู้นำ
เหมาะกบั เครอื่ งมอื ทางทหารท่สี ามารถนำมาใช้ได้ ซ่ึงปกตจิ ะเปล่ยี นแปลงบอ่ ยครั้งมาก ส่ิงสำคัญคอื
นักการเมืองต้องรู้และมีความเข้าใจต่อเคร่ืองมือทางทหารอย่างถ่องแท้เพ่ือมิให้พวกเขาส่ังการให้ทหาร
ดำเนนิ การในสง่ิ ที่เปน็ ไปไม่ได้ ดงั น้นั ในสงคราม หากนกั การเมืองและผ้นู ำทัพ (Generalissimos)
ไม่ใชเ่ ปน็ บคุ คลเดยี วกนั Clausewitz เสนอแนะวา่ ผนู้ ำทพั ควรอยู่ในคณะรฐั มนตรดี ว้ ย เพอื่ ใหเ้ กดิ ความ
ม่นั ใจวา่ “สงครามได้ดำเนินการตามทิศทางของนโยบายของรฐั อยา่ งสมบรู ณ์ และทำนองเดียวกัน
นโยบายจะสอดคลอ้ งกับเคร่อื งมอื ทางทหาร” อยา่ งไรกด็ ีน่าเสียดายที่ในหนงั สอื am Kriege ของเขา
ไม่ไดก้ ลา่ วถงึ เรอื่ งราวของนโยบายในรายละเอียดเลย ทง้ั นอ้ี าจเปน็ เพราะตัวเขาเองเปน็ ทหารอาชพี
จึงพยายามหลีกเลีย่ งการเขา้ ไปกา้ วกา่ ยเร่อื งการเมือง เราจึงไม่รูว้ ่าเขามีความคิดอะไรท่ีจำเป็นสำหรบั
การกำหนดนโยบายของรฐั และคดิ อะไรกับนักการเมอื งบา้ ง
Clausewitz กย็ งั เผยให้เราได้เห็นแต่เพียงแวบเดยี วเก่ยี วกับความในใจของเขาเกี่ยวกบั
เรอ่ื งการเมอื ง ในหนงั สือเลม่ แรกของ am Kriege ว่าด้วยเรอ่ื งของ “Strange Trinity of War”
(Trinity มรี ากศพั ท์มาจากทางศาสนาครสิ ต์ หมายถึง พระผเู้ ป็นเจา้ ซงึ่ แบ่งเปน็ ๓ องค์ คือ พระบดิ า
พระบตุ ร และพระวญิ ญาณ) ในความหมายของ Clausewitz คอื กลมุ่ ที่มี ๓ คน หรือของ ๓ สง่ิ
สงคราม ประกอบดว้ ย องค์ประกอบแรก ความเป็นศัตรู (เชน่ ความเกลียดและความรนุ แรง)
ซงึ่ เปรียบเสมือนสัญชาตญาณทข่ี าดการไตรต่ รอง (Blind Instinct) เป็นสว่ นทพี่ ลเมืองมีบทบาทมาก
องคป์ ระกอบท่สี อง เปน็ ปฏสิ มั พนั ธข์ องความน่าจะเปน็ และโอกาส ความกล้าหาญ และความสามารถ
พิเศษส่วนนี้ ทหารและผนู้ ำทางทหาร เป็นผแู้ สดงบทบาทสำคญั องคป์ ระกอบทสี่ าม สงคราม
มีคุณสมบัติเป็นเครื่องมือรองของนโยบาย ด้วยเหตุนี้มันจึงขึ้นอยู่กับเหตุผลล้วน ๆ ซ่ึงรัฐบาลหรือ
ผูก้ ำหนดนโยบายเป็นผู้แสดงบทบาทหลกั Trinity of War (องค์ประกอบทง้ั สามของสงคราม)
มคี วามสมั พนั ธก์ นั อยา่ งทแี่ ยกจากกนั ไม่ได้ รฐั บาลเปน็ ผกู้ ำหนดวตั ถปุ ระสงคท์ างการเมอื ง ทหารดำเนนิ การ
สงครามเพื่อให้บรรลุผลทางการเมอื ง และประชาชนเปน็ ผสู้ นับสนนุ ในสงครามใด ๆ กต็ าม หากองค์
ประกอบใดองคป์ ระกอบหนง่ึ ออ่ นแอ ชยั ชนะในการทำสงครามดจู ะเลอื นราง มตี วั อยา่ งใหศ้ กึ ษามากมาย
ทงั้ ในอดตี จนถึงปัจจบุ นั
บทบาทของผนู้ ำทางการเมือง
๑. ผู้นำทางการเมืองเปน็ ผู้กำหนดนโยบาย Clausewitz ไดก้ ล่าวถงึ การท่ผี นู้ ำ
ทางการเมืองกำหนดนโยบายของชาติ จะมผี ลกระทบตอ่ การดำเนนิ สงครามไวว้ า่ “ไมม่ ีใครเรม่ิ ทำ
สงครามหรือรู้สกึ วา่ ควรจะกระทำเช่นนัน้ โดยไม่ทราบชัดวา่ เขาตงั้ ใจจะทำสงครามเพอื่ ให้ได้อะไรมา
เขาตั้งใจจะทำสงครามอย่างไร ประการแรก เป็นจุดประสงค์ทางการเมือง ประการหลงั เป็น
จดุ มุ่งหมายในการดำเนนิ สงคราม น่เี ป็นหลกั การบังคบั ซึ่งจะกำหนดแนวทางของการทำสงคราม
ขนาดของวิถที าง และความพยายามที่ต้องการ”
๒. ผนู้ ำทางการเมืองควรเข้าใจเร่อื งของทหาร ผู้กำหนดนโยบายตกลงใจทางทหาร
ผดิ พลาดเพราะขาดพน้ื ฐานความร้ตู ัง้ แตแ่ รกเร่ิมในเรอ่ื งวิถที างของทหาร เขาบรรยายว่า “เพยี งแต่
นาวกิ าธปิ ตั ยส์ าร
81
คลังปัญญาพัฒนาผู้นำ
รัฐบุรุษมุ่งหวังจะให้การดำเนินการหรือการปฏิบัติการทางทหารบางอย่างบังเกิดผลที่ผิดปกติวิสัย
ไปเทา่ น้ัน ก็ยอ่ มจะเป็นการตกลงใจทางการเมืองทีม่ ีอิทธิพลทำใหก้ ารยุทธเลวร้ายลงไปได้ ...รัฐบรุ ุษ
มกั จะออกคำสง่ั ลบล้างจดุ ประสงคท์ ี่ตนต้องการอยู่บ่อย ๆ เมือ่ เกดิ กรณีเชน่ นีข้ ้ึนย่อมแสดงใหเ้ หน็ ว่า
ความเข้าใจในกิจการทหารอยู่บ้างเป็นสิ่งสำคัญสำหรับผู้รับผิดชอบนโยบาย” เขาแนะนำต่ออีกว่า
“ผกู้ ำหนดนโยบายของชาตติ อ้ งหมนั่ ปรกึ ษาหารอื กบั ผูน้ ำทางทหาร”
แต่การเข้าใจกิจการของทหาร ย่อมแตกต่างจากการเขา้ ไปแทรกแซงหรอื ครอบงำผนู้ ำ
ทางทหาร เพราะจะทำใหท้ หารขาดเอกภาพในการดำเนินสงคราม ประเดน็ นี้ von Moltke ซงึ่ เปน็
ผู้เช่ยี วชาญทฤษฎีของ Clausewitz คนหน่งึ กล่าวไวอ้ ย่างนา่ สนใจวา่ “กองทพั สมยั ใหมจ่ ะไมส่ ามารถ
ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีไดภ้ ายใต้การควบคุมจากสว่ นกลางอยา่ งเข้มงวด”
บทบาทของผู้นำทหาร
๑. ผู้นำทางการเมอื งมอี ำนาจเหนอื ผูน้ ำทางทหาร กำลังทางทหารเป็นเพยี งเคร่ืองมือ
เพือ่ ให้บรรลวุ ตั ถุประสงคข์ องชาตเิ ทา่ นัน้ Clausewitz กลา่ วว่า “การอา้ งว่าพัฒนาการทางทหารท่ี
สำคัญหรือแผนสำหรบั เรื่องใดเร่ืองหน่งึ ควรเปน็ เร่ืองสำหรับความเห็นทางทหารล้วน ๆ น้ัน ย่อมจะ
ยอมรบั ไม่ไดแ้ ละจะทำใหเ้ สยี หายได”้ และ “ไมม่ ขี อ้ เสนอสำคญั เกย่ี วกบั การสงครามใด ๆ ทจ่ี ะดำเนนิ การ
ไปโดยละเลยปัจจยั ทางการเมือง” ประเดน็ น้ี Hedley Bull เสริมในความหมายเดยี วกนั วา่ “หาก
กำลงั ทหารไม่ไดน้ ำมาประยกุ ตใ์ ชเ้ พอื่ ความมงุ่ หมายทางการเมอื งแลว้ หาเรยี กวา่ สงครามไม่ อาจเปน็
เกมกฬี า อาชญากรรม หรอื โจรผรู้ า้ ย ภยั คกุ คาม และเหตกุ ารณจ์ รงิ ๆ ของสงครามเป็นเครือ่ งมือ
อยา่ งหน่ึงของนโยบายรัฐ”
๒. ผูน้ ำทางทหารควรมีบทบาทในการกำหนดนโยบายด้วย แม้ Clausewitz จะยนื ยัน
วา่ การเมอื งอยเู่ หนอื การทหาร แตเ่ ขากเ็ หน็ ดว้ ยทผ่ี นู้ ำทางทหารไมค่ วรยอมตามนโยบายท่ีโลเลไมแ่ นน่ อน
ของรฐั บาล เขากลา่ วว่า “อยา่ งไรก็ตาม มิไดห้ มายความว่าจดุ หมายทางการเมอื งเป็นสงิ่ บีบบงั คบั ทีจ่ ะ
บดิ เบอื นไม่ได้ จดุ หมายทางการเมอื งจะตอ้ งปรบั ตวั เองใหเ้ ขา้ กบั วถิ ที างทเ่ี ลอื กไว้ เปน็ กรรมวธิ ที สี่ ามารถ
เปลี่ยนแปลงได้อย่างถอนรากถอนโคน แต่จุดหมายทางการเมอื งกย็ งั คงมคี วามสำคัญเป็นอันดบั แรก”
ดว้ ยเหตุนี้ ขณะท่รี ฐั บุรุษจะต้องรักษาอำนาจหนา้ ท่ีเหนือบรรดาผ้นู ำทางทหารทง้ั หลายไว้ เขาคดิ วา่
“พวกนายพลควรมอี ทิ ธิพลตอ่ รฐั บรุ ษุ บ้างเหมอื นกัน”
ทีก่ ล่าวมาโดยสงั เขปขา้ งตน้ น้ีพอจะทำให้มองภาพของสงครามได้บ้าง แม้จะไมช่ ดั เจนนัก
หรอื กลา่ วอกี นัยหนึ่งวา่ เป็นทฤษฎีหรือหลักการสงคราม (Principles of War) กน็ า่ จะพออนุโลมได้บา้ ง
สำหรับทศั นะเก่ยี วกับ “สงคราม” ของผมู้ ีชื่อเสียงบางคนดูได้จากผนวก ก แตอ่ าจมผี ู้โต้แย้งวา่
หลักการสงครามทเ่ี ปน็ สากลนน้ั คนละเรื่องกบั ที่กลา่ วมาข้างตน้ นอี้ ยา่ งส้ินเชิง เปน็ ข้อโต้แย้งท่ีนา่ สนใจ
แต่กข็ อใหช้ ่วยกันมาพจิ ารณาตอนต่อไปของบทความน้ี
82 นาวกิ าธปิ ตั ยส์ าร
คลังปัญญาพัฒนาผู้นำ
การส้รู บ (Warfare)
ศัพท์ Warfare ในพจนานุกรมอังกฤษ – ไทย หรือแมแ้ ตพ่ จนานกุ รมศัพท์ทหาร ฉบับใช้
ร่วมสามเหลา่ ทัพ ไม่ได้ให้นิยามทชี่ ัดเจนนกั ส่วนใหญม่ ักจะแปลวา่ สงคราม การศึก หรือการตอ่ ส้กู ัน
แต่ใน Oxford Advanced Learner’s Dictionary ไดน้ ยิ าม Warfare วา่ “The activity of fighting
a war, especially using particular weapons of method : air/naval/guerrilla etc. warfare,
chemical warfare” ทหารเรือเองบางครง้ั กเ็ รียกว่า สงคราม เชน่ สงครามปราบเรือดำน้ำ (Anti –
Submarine Warfare) สงครามท่นุ ระเบิด (Mine Warfare) เป็นตน้ อยา่ งไรก็ดเี พื่อไม่ให้สบั สนกับ
คำวา่ War จงึ ใครข่ อเรียก Warfare วา่ การสรู้ บเพ่ือพลางไปกอ่ น
นกั ประวัตศิ าสตร์ Peter Browning ใหค้ ำนิยาม Warfare ไว้ในความหมายทีแ่ ตกตา่ ง
จาก War ไว้อยา่ งชัดเจนว่า “การสู้รบเปน็ การกระทำอย่างหน่ึงของการทำสงคราม สงครามเปน็
ความสมั พนั ธร์ ะหว่างรัฐกับรฐั หรือในกรณสี งครามกลางเมืองระหว่างกลุ่มคนสองกลมุ่ แต่การสู้รบ
เป็นส่วนหน่ึงของสงครามและเป็นส่วนทจ่ี ำเปน็ มากดว้ ย”
หลักการสงคราม (Principles of War) ตามความหมายเดมิ ที่ใช้อยู่ในปัจจบุ นั
ในเอกสาร The Fundamentals of British Maritime Doctrine (BR 1806) บรรยาย
เกีย่ วกับหลักการสงครามวา่ “เปน็ การประยกุ ต์ใชก้ ำลงั ทหารในระดบั ยุทธศาสตร์และระดับยุทธการ
ซ่ึงเป็นทง้ั ศาสตรแ์ ละศิลป์ เปน็ ผลท่ีได้จากการวเิ คราะห/์ วจิ ัยทางวทิ ยาศาสตร์ของการสู้รบในสงคราม
เป็นสิง่ จำเป็นสำหรับศิลปะของผู้นำทางทหาร นัน่ คอื ความสามารถท่ีได้จากประสบการณข์ องตวั ผูน้ ำ
ทหารเอง หลกั การสงครามไดร้ บั การกลน่ั กรองมาจากประสบการณ์ ทำสงิ่ ทย่ี งุ่ ยากสลบั ซบั ซอ้ นใหง้ า่ ยขนึ้
หรือในบางครัง้ ทำสิ่งทขี่ ัดแย้งกันใหล้ งรอยกนั ได้ เปน็ ข้อกำหนดอย่างกว้าง ๆ ที่ใชส้ ำหรับดำเนนิ การ
เมอ่ื เกดิ ขัดกันด้วยอาวุธ หลกั การสงครามควรนำมาใช้สำหรับการตดั สินใจทางทหารระดับยทุ ธศาสตร์
และระดบั ยทุ ธการ มากกว่าใชเ้ ปน็ รายการตรวจสอบ (Checklist) ในการวางแผน”
ใน Naval Doctrine Publication 1 – Naval Warfare ของสหรัฐฯ อธิบายไว้สน้ั ๆ ว่า
“ผู้นำทางทหารได้จัดการเป็นอย่างดีที่สุดเก่ียวกับปัญหาท่ียากเย็นของสงครามในลักษณะท่ีเรียกว่าเป็น
ศิลปะทางทหาร และศลิ ปะทางเรือ ในสภาวะแวดล้อมทางทะเล ซงึ่ มีปจั จยั พิเศษต่างจากทอี่ นื่ ๆ
ผูน้ ำเหลา่ นนั้ ไดส้ ้รู บโดยใชห้ ลักการต่าง ๆ ที่นำมาประยุกต์ใช้กับการรบทุก ๆ แห่ง ความฉลาดซง่ึ ไดร้ ับ
จากการศึกษาหลักการพื้นฐานของสงครามได้เน้นให้เห็นว่าสงครามหาใช่เหมือนการทำธุรกิจของ
บรรดาผู้จดั การท้งั หลายด้วยรายการตรวจสอบ แตม่ นั เป็นศิลปะของผนู้ ำทางทหาร”
Gertmann Sude นกั วิชาการดา้ นการทหาร แสดงทศั นะเกยี่ วกบั หลักการดงั ความว่า
“หลักการสงครามเป็นการสะสมประสบการณ์พ้ืนฐานกฎหรือกฎเกณฑ์ของการสู้รบตามแบบ
(Conventional Warfare) เพ่ือความสำเรจ็ ในการปฏบิ ตั กิ ารทางทหาร”
นาวกิ าธปิ ตั ยส์ าร
83
คลังปัญญาพัฒนาผู้นำ
วัตถปุ ระสงคข์ องการใชห้ ลกั การสงคราม
หลกั การสงครามใชส้ ำหรบั การฝึกและให้การศึกษาแก่ผบู้ ังคับบญั ชาทางทหาร และใช้
สำหรับการดำเนนิ การปฏบิ ตั กิ ารทางทหารสำหรบั บรรดานายทหาร ความร้เู ก่ยี วกับหลักการสงคราม
ช่วยใหเ้ กดิ ความเช่ียวชาญทางทหารในสนามรบ หลักการสงครามยังใชเ้ ปน็ มาตรฐานที่เหมาะสำหรับ
เปรยี บเทียบการประเมนิ คา่ ของบรรดาการปฏิบัติการแผนยทุ ธการและแนวความคิดใหม่ ๆ อกี ดว้ ย
สว่ นในยามสงคราม หลกั การสงครามเปน็ สงิ่ ทชี่ ว่ ยเปน็ พน้ื ฐานสำหรบั การตดั สนิ ใจดา้ นการบงั คบั บญั ชา
และการควบคมุ การประยกุ ต์ใช้หลักการสงครามชว่ ยเสริมให้เกิดความสามารถท่ีจะเผชญิ กับเหตกุ ารณ์
ที่ไมค่ าดคดิ และมีความยงุ่ ยากสลับซับซอ้ นในสนามรบอกี ด้วย
Clausewitz ยอมรบั และเห็นพอ้ งกบั ประโยชน์ของหลักการสงครามสำหรับใช้ในการฝึก
และให้การศึกษาแกบ่ รรดานายทหารของปรสั เซยี และเขายังคงให้ขอ้ สรปุ เชิงเตือนว่าผู้นำทางทหารท่มี ี
ความสามารถและผ่านการฝึกมาแล้ว ต้องไม่ยึดม่ันถือมั่นอย่างเหนียวแน่นกับหลักการสงคราม
การประเมนิ คา่ ทางทหารควรตดั สนิ ใจดว้ ยประสบการณ์ โดยสญั ชาตญาณ และเงอ่ื นไขของสถานการณ์
หรืออีกนยั หนึ่งการใชห้ ลกั การสงครามเป็นศลิ ปะมากกว่าศาสตร
์
การประยุกต์ใชห้ ลกั การสงคราม
การประยกุ ต์ใชห้ ลกั การสงครามไม่ไดเ้ ป็นแบบแผนเดยี วกนั และบ่อยครง้ั จะสมั พนั ธ์
โดยตรงกบั คำแนะนำ เราจะเหน็ ไดจ้ ากการนำมาใช้แบบตายตัวสำหรับทุก ๆ สถานการณ์ จนถงึ การใช้
แบบออ่ นตวั ท่ีไดร้ บั อทิ ธพิ ลมาจากเงอื่ นไขเฉพาะแตล่ ะกรณี ยงิ่ รวบรดั การประยกุ ต์ใชย้ งิ่ ขาดความออ่ นตวั
ในสภาพแวดลอ้ มท่ีใช้ Mission – Type Order (มาจาก Auftragstaktik ของเยอรมัน
เปน็ คำสงั่ ทางทหารทีบ่ อกเจตนารมณข์ องผ้บู ังคับบัญชา (Commander’s Intent) แก่ผู้ใต้บังคบั บญั ชา
โดยระบุว่าอะไรคอื ส่งิ ทเ่ี ขาตอ้ งการให้บรรลคุ วามสำเร็จโดยไม่บงั คบั ว่าจะต้องทำอย่างไร นนั่ คือให้
ความอสิ ระในการปฏบิ ัติ (ให้ผู้ใต้บังคบั บัญชารูจ้ ักใช้ความคดิ ริเรมิ่ ) การประยุกต์ใชห้ ลักการสงคราม
ขึ้นอยู่กับการประเมินของผู้บังคับบัญชาทหารว่าสถานการณ์ใดควรเปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชามี
อิสระในการปฏบิ ตั หิ รอื ไม่
ความเปน็ ไปไดแ้ ละข้อจำกดั ในการประยุกต์ใช้หลกั การสงคราม แปรผนั ไปตามระดับของ
การบงั คับบญั ชา (ระดับยทุ ธศาสตรแ์ ละยทุ ธการ โดยหลกั การของ BR 1806) แต่ความสำคญั เร่งด่วน
และการประยกุ ต์ใช้อาจผนั แปรไปตามเปา้ หมายและสถานการณต์ ่าง ๆ ในระดบั ของการบังคับบญั ชาที่
แตกต่างกนั ตัวอย่างเชน่ หลกั การรวมกำลงั ท่ีจุดและเวลาที่แตกหกั ซึง่ ใช้ในระดับยุทธศาสตร์ แต่ใน
ระดบั ยทุ ธการอาจจำเป็นต้องใช้ การออมกำลัง หรอื กระจายกำลัง ก็ได้
นา่ สงั เกตวา่ กองทพั บกเยอรมันไม่ได้ให้ความสำคัญตอ่ หลกั การสงคราม เชน่ กองทพั
ของชาตอิ น่ื ๆ ในเอกสาร Heeresdienstvorschrift 100/100 (คมู่ อื พน้ื ฐานของกองทพั บก) ไมก่ ลา่ วถงึ
กฎการสงคราม เหตผุ ลคงเน่อื งจากธรรมเนียมของหลักนยิ มด้งั เดมิ นบั ตง้ั แตส่ มัยที่ยงั เป็นประเทศ
84 นาวกิ าธปิ ตั ยส์ าร
คลังปัญญาพัฒนาผู้นำ
ปรัสเซยี ยุคของ von Moltke ในศตวรรษที่ ๑๙ ซ่ึงถือว่าเป็นยุคท่กี ิจการทหารของปรัสเซียเจรญิ
รุง่ เรืองมาก เขาก็ไม่ได้ให้ความสำคัญตอ่ กฎสงครามมากนัก การบงั คบั บัญชาและการควบคมุ (C2)
หนว่ ยทหารถอื ว่าเปน็ ศลิ ปะ เปน็ กจิ กรรมเชงิ สร้างสรรค์ทต่ี ง้ั อยู่บนรากฐานของบุคลกิ ทกั ษะ และ
อำนาจทางจิตของผนู้ ำทางทหาร
กองทัพเยอรมันยุคปัจจุบันไม่ได้กำหนดกฎท่ีตายตัวหรือคำแนะนำที่เข้มงวดสำหรับการ
ปฏบิ ัตใิ นทางยทุ ธการ แต่ผนู้ ำทกุ คนได้รับการแนะนำท่ชี ัดเจนจากผบู้ งั คับบญั ชา (Commander’s
Intent) ชยั ชนะหรือความสำเรจ็ จะเกดิ ขึน้ ไดห้ ากปลอ่ ยใหผ้ ู้นำทางทหารมีอสิ ระในการวินจิ ฉัย หาวิธี
การปฏิบัติโดยเสรี ภายในขอบเขตของภารกิจที่ได้รับมอบ (Auftragstaktik) แทนทจี่ ะยดึ ติดอยา่ ง
เหนยี วแน่นกบั หลกั การสงคราม
เราควรเรยี กวา่ หลักการสงคราม (Principles of War) หรอื หลักการส้รู บ
(Principles of Warfare)
หลกั การสูร้ บ ไมว่ ่าเหลา่ ทัพใดหรือชาตใิ ด ๆ มกั จะกำหนดโดยท่ัว ๆ ไปไม่ไดแ้ ตกตา่ งกัน
มากมายนัก จะมีเพียงไม่ก่ีชาติเท่านั้นท่ีแหวกแนวไปบ้าง เช่น ฝร่ังเศสมีเพียง ๓ ข้อ ได้แก่
การรวมกำลงั การจู่โจม และเสรีในการปฏิบัติ ญ่ีปนุ่ มีเพยี ง ๕ ข้อ ไดแ้ ก่ การรุก ความคลอ่ งตวั
การจู่โจม ความงา่ ย และการธรุ การ เยอรมนีไม่ไดก้ ำหนดตายตวั ใหช้ ดั เจน มแี ตเ่ พยี งหลกั การทวั่ ๆ ไป
สว่ นองั กฤษ ออสเตรเลยี สหรฐั ฯ โซเวียต และจนี ไมค่ ่อยแตกตา่ งในหัวข้อสำคัญ ๆ มากนกั
(รายละเอียดตามผนวก ข ท้ายบทความ)
คงไม่มีใครปฏิเสธว่าหลักการสงครามทีเ่ ราเรียกและใชก้ นั อยู่ในปจั จุบันนนั้ มคี วามสำคัญ
ต่อการวางแผน การฝึก ศกึ ษาทางทหาร แต่หากเราพิจารณาให้ลกึ ซึ้งจะเขา้ ใจไดว้ า่ หลักการดังกล่าว
ใหค้ ำแนะนำสำหรับการสรู้ บ (Warfare) หาใช่หลักการสงคราม (Principles of War) ตามนัยของมัน
แตป่ ระการใดไม ่ ส่วนหลักการสงคราม หากจะมกี ารกำหนดเราคงตอ้ งศึกษาผลงานของนกั ปรชั ญา
ที่มีชื่อเสยี งในประวัตศิ าสตร์บางคน เช่น ซุนวู (จาก Art of War) หรือ Clausewitz (จาก
am Kriege) เป็นต้น โดยเฉพาะเกย่ี วกับ Clausewitz นนั้ Bernard Brodie ถึงกบั สรรเสริญเขาว่า
“ผลงานของเขาไม่ใชเ่ พยี งแตย่ งิ่ ใหญเ่ ทา่ นน้ั แตห่ นงั สอื ของเขา (am Kriege) ทเ่ี กย่ี วกบั สงครามนนั้
ยิ่งใหญ่อย่างแท้จรงิ ”
การจะพจิ ารณากำหนดกฎการสงครามใหม่ใหต้ รงกบั ความหมายของมนั หาใชเ่ รอื่ งงา่ ย ๆ ไม่
โดยเฉพาะการพิจารณาใหถ้ ึงแก่นเน้อื หาของ “สงคราม” จรงิ ๆ ผ้เู ขียนเองมบิ งั อาจนำเสนอในท่นี ี้ได้
แต่ก็พอมีประเด็นท่ีใคร่นำเสนอ เผ่ือมีท่านผู้สนใจจะขยายความหรือต่อยอดก็น่าจะเป็นประโยชน์
สำหรบั การศึกษาตอ่ ไป
ประเดน็ แรก เราควรแยกให้ออกอย่างชัดเจนจนถึงความแตกต่างระหวา่ งสงคราม (War)
กบั การสรู้ บ (Warfare) สงครามเปน็ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งคสู่ งคราม สงครามเปน็ บรบิ ทโดยรวมของ
การสรู้ บในสงคราม การสรู้ บ (Warfare) เปน็ กจิ กรรมของการทำสงคราม (The act of making war)
นาวกิ าธปิ ตั ยส์ าร
85
คลังปัญญาพัฒนาผู้นำ
หลักการดั้งเดิมของสงคราม จึงมักจะทำให้เราสับสนและถูกเรียกกันมาอย่างคลาดเคลื่อนจากนัย
ความเป็นจรงิ ของมนั แตเ่ ราไดย้ ินและค้นุ เคยมาจนลืมสงั เกต ทำนองเดยี วกับทีเ่ ราไม่ค่อยฉุกคิดวา่
หอ้ งสมดุ นนั้ ท่แี ทจ้ ริงแล้วเปน็ ห้องหนังสือหรอื เปน็ ท่ีรวบรวมหนังสอื จนแทบจะหาสมดุ สักเลม่ ไม่เจอ
แตท่ กุ คนกเ็ ข้าใจ (อยา่ งผดิ ๆ) มาจนเคยชนิ เสยี แลว้
ประเด็นทีส่ อง ธรรมชาติของสงคราม (Nature of War) กับลักษณะของสงคราม
(Character of War) มีความแตกต่างกนั อยา่ งชัดเจน ธรรมชาตขิ องสงคราม เชน่ สงครามเป็น
เคร่ืองมืออย่างหนึง่ ของการดำเนินนโยบายของรฐั สงครามคือความโหดรา้ ย ไมม่ ชี าติใดเคยไดร้ บั
ประโยชนจ์ ากการทำสงครามนาน ๆ องค์ประกอบท้งั สามของสงคราม (Trinity of War) มีความ
สมั พันธก์ ันอยา่ งแยกไมอ่ อก การเมอื งยอ่ มอยู่เหนอื การทหาร เปน็ ต้น ธรรมชาติของสงครามเปน็ ส่ิงท ่
ี
ยง่ั ยนื ไมเ่ ปลย่ี นแปลง สว่ นลกั ษณะของสงครามจะเปลยี่ นแปลงอยเู่ สมอ ซงึ่ ขน้ึ อยกู่ บั กาลเวลา สถานท่ี
เทคโนโลยี หลักนิยม เป็นตน้ ปกติแลว้ เรามกั เข้าใจว่าธรรมชาตขิ องสงครามยอ่ มเปลยี่ นแปลง
แตต่ ามทีย่ กมาอา้ งข้างตน้ น้ัน สงิ่ ทเี่ ปล่ยี นแปลงหาใชธ่ รรมชาติของสงคราม แตเ่ ปน็ ลักษณะของ
สงครามต่างหาก Clausewitz เองก็ยนื ยันวา่ “ทกุ ๆ สงครามมีหลายสง่ิ ที่มธี รรมชาติเหมือนกัน”
โดยสรปุ แล้วหาก Clausewitz ได้วินิจฉัยถูกตอ้ ง ไม่วา่ ยุคใดทัง้ ในอดตี และปัจจุบนั หลกั การสงคราม
(ไม่ใช่หลกั การสู้รบในสงคราม) ไมม่ ีการเปล่ยี นแปลงเพราะได้กำหนดไว้เหมาะสมแล้ว
ประเดน็ ที่สาม สงครามไม่ใชเ่ รือ่ งลา้ สมยั หรือตามทบี่ างคนคดิ วา่ โลกปัจจุบนั ตอ่ ส้กู นั
ดว้ ยการแขง่ ขนั (การเอาเปรยี บของบางประเทศ) ทางการคา้ หรอื ทางเศรษฐกจิ เราไมค่ วรนำงบประมาณ
มาใช้อย่างฟ่มุ เฟอื ยหรอื ไร้เหตผุ ลกับการซอื้ อาวธุ ยุทโธปกรณ์ หรอื การดำเนนิ การทางทหาร คนที่คดิ
เช่นนั้นลืมสุภาษิตที่กล่าวว่า “ประเทศเป็นบ้านทหารเป็นร้ัว” การลงทุนหรือใช้งบประมาณเพื่อ
การทหารอาจเหน็ ประโยชนเ์ ปน็ รปู ธรรมตา่ งจากการลงทนุ ดา้ นเศรษฐกจิ ซงึ่ มผี ลตอบแทนทช่ี ดั เจน แตผ่ ล
ตอบแทนทางดา้ นการทหารนน้ั เปน็ เรือ่ งของความมน่ั คง หากประเทศมคี วามม่นั คงมาก ยอ่ มมีมูลค่า
เกินกวา่ ทีจ่ ะคิดเป็นตวั เลขได้ ขอ้ สำคัญอกี ประการหน่งึ ก็คือ การจัดหาอาวธุ ยทุ โธปกรณ์โดยเฉพาะ
กำลังรบทางเรือซ่งึ มคี วามละเอยี ดซบั ซ้อนในตัวของมนั เอง ยอ่ มมรี าคาสงู กว่าอาวุธของเหล่าทพั อืน่
และตอ้ งใชเ้ วลาจดั หาคอ่ นขา้ งนาน เราจะรอใหเ้ กดิ สงครามแลว้ จงึ เรมิ่ จดั หาคงไมเ่ หมาะแน ่ โดยสรปุ แลว้
สงครามแยกจากเราไม่ได้เพราะมันเป็นลักษณะพิเศษท่ีถาวร (Permanent Feature) ท่ีจำเป็น
อย่างหนึ่งของสภาวะมนุษยชาต
ิ
ประเด็นทีส่ ี่ เกีย่ วกับสงครามนน้ั บริบททางการเมอื งเป็นสงิ่ ทีอ่ ยสู่ ูงสดุ เป็นตวั ขบั เคลือ่ น
เหตกุ ารณ์และลักษณะของสงคราม การสรู้ บเปน็ พฤติกรรมดา้ นการเมอื งดว้ ยเช่นกัน แม้วา่ การสูร้ บ
ดำเนินการโดยใช้เครอ่ื งมอื ทางทหาร นบั ตง้ั แตม่ ีสหประชาชาต ิ การดำเนนิ การสู้รบ ทงั้ วิธกี าร
และการใช้เครื่องมือทางทหารมีข้อจำกัดมากข้ึน นอกจากน้ันแทบทุกชาติท่ีมีความขัดกันด้วยอาวุธ
ต่างพยายามหลีกเลี่ยงการประกาศสงคราม และมักจะอ้างการใช้กำลังทหารว่าเพื่อป้องกันตนเอง
ซึ่งบางคร้งั ฟังดูแลว้ คอ่ นขา้ งไมส่ มเหตุผล โดยเฉพาะประเทศมหาอำนาจทเี่ รามักจะเหน็ อยู่บอ่ ยครั้ง
86 นาวกิ าธปิ ตั ยส์ าร
คลังปัญญาพัฒนาผู้นำ
สง่ ทา้ ย
แม้คนส่วนใหญจ่ ะเกลยี ดและกลัวสงคราม หรือแม้จะมอี งคก์ รระหวา่ งประเทศพยายาม
หาทางป้องกนั มใิ ห้เกิดสงคราม แต่ก็ประสบผลไม่มากนกั ท้ังนีเ้ พราะสงครามกับมนุษย์เปน็ ของค่กู นั
แบ่งแยกจากกนั ได้ยาก สงครามเกิดข้ึนมาตัง้ แตม่ นษุ ยจ์ ำความได้ ดำรงอยู่ในปัจจุบัน และคงเกิดข้ึน
ต่อไปในอนาคตอย่างไม่อาจระงบั มันได้ เม่ือเราไมส่ ามารถหลกี เล่ียงสงครามได้ สิง่ ทีเ่ ราพอสามารถ
ทำไดค้ อื ต้องศึกษาเขา้ ใจสงครามและหาทางป้องกนั หากมันจะเกิดก็ขอใหเ้ ป็นเหตุสุดวสิ ยั เพราะไมม่ ี
ใครไดป้ ระโยชนอ์ ย่างแทจ้ รงิ จากการทำสงคราม (โดยเฉพาะสงครามทีย่ าวนาน)
จากบทความท่ีได้นำเสนอหวงั วา่ ผอู้ า่ นคงมองเหน็ ภาพธรรมชาติ และวถิ ีทางของสงคราม
ได้บา้ ง อยา่ งนอ้ ยท่ีสดุ พวกเราทเี่ ป็นทหารจะไดเ้ ขา้ ใจว่าบริบททางการเมอื งย่อมอยู่เหนือการทหาร
น่ันหมายถงึ การดำเนนิ สงครามระหวา่ งรัฐ ส่วนประเดน็ การส้รู บที่ไมป่ กติ (Irregular Warfare หรือ
Outlawing Warfare) นั้น จะอยู่ในหลักการและทฤษฎีการทำสงครามหรือการสู้รบหรือไมน่ น้ั กฝ็ ากให้
ผอู้ ่านช่วยนำไปวิเคราะห์ตอ่
ท้ายของบทความได้วเิ คราะห์อย่างรวบรัดว่าหลักการสงคราม (Principles of War) ท่ี
เราเรยี นกนั ในปจั จุบนั ไมว่ า่ ฝร่งั หรอื ชาติใด ๆ นั้น ที่ควรแล้ว น่าจะเปน็ หลกั การสู้รบ (Principles of
Warfare) มากกวา่ ผูอ้ า่ นจะเห็นพอ้ งด้วยหรอื ไมก่ ข็ อให้อยู่ในดลุ ยพนิ ิจของท่าน อยา่ งไรกต็ ามขอเนน้
อกี ครัง้ วา่ หลกั การสงครามที่ใชแ้ ละเรยี กกนั ในปจั จุบนั นั้นมิใช่ไมจ่ ำเป็นและไม่สำคญั โดยเฉพาะสำหรบั
การวางแผน ฝึกและศึกษาของนายทหาร แตก่ ย็ ังมีประเดน็ ทีน่ า่ คิดอยบู่ า้ งเชน่ กัน เช่น องั กฤษใช้
หลักการสงครามในระดับยุทธศาสตร์และยุทธการ ส่วนอีกหลายประเทศคำนึงถึงการใช้ลงไปถึง
ระดับยทุ ธวิธีดว้ ย แตถ่ งึ อย่างไรกต็ าม การดำเนนิ การสงคราม (Conduct of War) และการสูร้ บ
(The Act of Making War) เปน็ ศิลปม์ ากกวา่ ศาสตร์ การสรู้ บในสงครามปจั จุบนั ตอ้ งให้อิสระ
ในความคดิ รเิ รม่ิ แกผ่ ู้ใตบ้ ังคับบญั ชาระดับรองลงไป อย่าใหห้ ลักการส้รู บกลายเป็นเครอ่ื งพนั ธนาการ
หรือจำกัดความคิดของผู้ใต้บังคับบญั ชา นกั รบผู้ยงิ่ ใหญ่ไมว่ ่า Lord Nelson หรือ Arleigh A.Burke
ได้ใชว้ ิธนี ีม้ าแลว้ จนประสบชยั ชนะครัง้ สำคญั ๆ ในประวตั ศิ าสตร์
นาวกิ าธปิ ตั ยส์ าร
87
คลังปัญญาพัฒนาผู้นำ
ผนวก ก
“สงคราม” ในทศั นะของบุคคลสำคัญของโลก
“ไม่มอี ะไรทีแ่ นน่ อนเกย่ี วกบั สงคราม นอกจากว่าเพยี งฝ่ายเดียวจะไมช่ นะสงคราม”
Sir Ian Hamilton, 1920.
“ในสงคราม ความจรงิ เปน็ อุบตั เิ หตุรา้ ยแรงอนั ดับแรก”
Aeschylus, ๕๒๕ - ๕๔๖ ปีกอ่ น ค.ศ.
“ในสงคราม เหตกุ ารณส์ ำคัญ ๆ เป็นผลมาจากเรื่องเล็กน้อยไร้สาระ”
Julius Caesar, ๕๑ ปีกอ่ น ค.ศ.
“มผี ูช้ ายคนไหนบา้ ง หรอื ผูห้ ญงิ คนไหนบา้ ง หรอื แม้แต่เดก็ คนไหนบ้าง ท่ีไม่ร้วู ่าบอ่ เกดิ ของสงคราม
ในโลกสมัยใหม่ คอื การแขง่ ขนั กันด้านอตุ สาหกรรมและดา้ นพาณิชย”์
Woodrow Wilson, S.Sept.1919.
“การสรา้ งสนั ตภิ าพตอ้ งประกอบดว้ ยอยา่ งนอ้ ยทส่ี ดุ ๒ ฝา่ ย แตส่ งครามสามารถสรา้ งเพยี งฝา่ ยเดยี วได”้
Neville Chamberlain, 28 Jan.1939.
“ไม่เคยปรากฏวา่ มสี งครามท่ดี ี หรือสันติภาพทเ่ี ลว”
Benjamin Franklin, 11 Sept.1773.
“สงครามเปน็ ศาสตร์ของการทำลาย”
John S.C.Abbot 1805 – 1872.
“สงครามทำให้ผู้ชนะโง่ และผแู้ พผ้ กู ใจเจบ็ ”
F.W.Nietzche, 1889.
“ความสำเร็จของสงคราม วัดจากจำนวนความเสียหายท่ีได้กระทำไป”
Victor Hugo, 1879.
“สงครามเป็นเร่อื งนา่ กลวั สงครามที่ไม่สมเหตุสมผล เปน็ อาชญากรรมตอ่ มนุษยชาต ิ แตม่ ันเปน็
อาชญากรรม เพราะว่ามนั ไม่สมเหตสุ มผล หาใชเ่ ปน็ เพราะสงครามไม่”
Theodore Roosevelt, 23 Apr.1910.
“ไม่ชา้ กเ็ รว็ ทกุ ๆ สงครามการคา้ จะกลายเปน็ สงครามเลือด”
Eugene V.Debs. 16 June 1918.
“ในสงคราม เฉพาะสิ่งที่ง่ายเท่าน้ันท่ีสำเรจ็ ได้”
Von Hindenburg, 1847 – 1934.
88 นาวกิ าธปิ ตั ยส์ าร
คลังปัญญาพัฒนาผู้นำ
“ความนึกคิดแบบทหารมกั จะจนิ ตนาการอยเู่ สมอว่าสงครามคร้ังต่อไป จะดำเนนิ การอย่างเดยี วกบั
สงครามคร้ังสุดท้ายทผ่ี า่ นมา มันไมเ่ คยเป็นเชน่ น้ันเลย และไม่มีทางเกดิ ขน้ึ ในอนาคต”
Ferdinand Foch, 1851- 1929.
“สงครามเปน็ โรคติดต่อ”
Franklin D.Roosevelt, 5 Oct.1937.
“กอ่ นสงครามเกดิ ศาสตรท์ างทหารเป็นศาสตร์อย่างแทจ้ รงิ เช่นเดียวกบั ดาราศาสตร ์ แต่ภายหลงั
สงครามมันดูเหมือนจะเปน็ โหราศาสตร์มากกวา่ ”
Rebecca West, 1892.
“ในสงครามฝา่ ยไหนกต็ าม มักจะอ้างตัวเองวา่ เป็นผ้พู ิชติ แท้จริงแล้วไม่มีฝ่ายชนะ มแี ต่ฝ่ายแพ”้
Neville Chamberlain, 2 July 1938.
“ไมม่ สี งิ่ ใดง่ายในสงคราม ความผิดพลาดมกั จะถูกตอบแทนด้วยความเสียหาย และกองกำลงั ทหาร
จะสำเหนยี กได้อย่างรวดเร็ว เมื่อผู้บังคบั บญั ชาของพวกเขาไดท้ ำอะไรซมุ่ ซ่ามไป”
Dwight D.Eisenhower.
“สงครามเป็นอำนาจ อำนาจสงู สุด อำนาจทีท่ ำใหข้ า้ ศกึ ยอมจำนนตอ่ เจตนารมณข์ องเรา ยอมเพราะ
เหน็ พวกสหายของเขาถูกฆ่า หรือบาดเจบ็ ยอมเพราะจิตใจที่จะสูร้ บสลายไป สงครามเป็นเรือ่ งของ
คนสู้กับคน สงครามที่ใช้ยานยนตก์ ย็ ังคงใชค้ นสู้กับคน เครอ่ื งจักรเปน็ เพยี งมวลของโลหะทเี่ ฉอื่ ยชา
เท่านั้น ถา้ ไม่ใช้คนแล้วใครจะไปบังคับมันได”้
พล.ร.อ.Ernest J.King อดีต ผบ.ทร.สหรัฐฯ กลา่ วสนุ ทรพจน์ในโอกาสจบการศึกษา
ของนักเรยี นนายเรือสหรฐั ฯ, 19 June 1942.
“สงครามเปน็ เรอื่ งงา่ ย คณุ ลกั ษณะทตี่ อ้ งการคอื ความเชอ่ื มนั่ ตนเอง ความรวดเรว็ และความกลา้ หาญ
สิ่งเหลา่ น้ีไมม่ ีสิ่งใดสมบูรณแ์ บบ แตส่ ามารถทำให้ดีได้”
George S.Patton, 1947.
“สงครามเปน็ ศาสตรท์ ต่ี อ้ งอาศยั ศลิ ปะในการประยกุ ต์ใช้”
“สงครามมักจะเปน็ การทำเร่ืองเลวรา้ ย โดยคาดหวังว่าจะไดร้ บั ผลที่ด”ี
B.H.Liddell Hart.
B.H.Liddel Hart.
“มนษุ ยต์ ้องยตุ ิสงครามให้ได้ มฉิ ะนั้นสงครามจะทำใหม้ นุษย์ถึงจดุ จบ”
John F.Kennedy, 25 Sept.1961.
“ในสงคราม จะไม่เปดิ โอกาสใหท้ ำผดิ พลาดเป็นคร้ังทีส่ อง”
Lamachus, 465 ปี กอ่ น ค.ศ.
นาวกิ าธปิ ตั ยส์ าร
89
คลังปัญญาพัฒนาผู้นำ
“ในสงคราม วัตถุประสงค์ทีเ่ หมาะสมสำหรบั กองทพั เรอื คือ กองทพั เรอื ข้าศึก”
Mahan, 1911.
“ถา้ ยกเลกิ การรกุ ถอื ว่ากองทัพเรอื ยกเลิกขอบเขตงานทเี่ หมาะสมของตน”
Mahan, 1911.
“งานในทะเล ไม่ได้บริหารจัดการอย่างงา่ ย ๆ เหมือนกับงานบนบก มีสิง่ ที่ตอ้ งระมัดระวังอกี มากมาย
ทัง้ ท่านและข้าพเจา้ ก็ไม่สามารถวนิ ิจฉัยมันได้”
Duke of Malborough กล่าวต่อบรรดานายทหารบก
“ในธรรมชาตขิ องมนษุ ย์ เราคน้ พบวา่ มสี าเหตหุ ลกั แหง่ การววิ าท ๓ ประการ คอื การแขง่ ขนั ความไมม่ น่ั ใจ
และเกยี รติยศ ประการแรกทำให้มกี ารบกุ รกุ เพื่อครอบครองอีกฝ่าย ประการทีส่ องเพ่อื ความปลอดภยั
และประการสดุ ท้ายเพื่อช่อื เสยี ง”
Thomas Hobbes, 1732.
“เปา้ หมายของทุกสงครามคือสนั ตภิ าพ”
St.Augustine : De Civitate Dci, vi, 427.
“สันตภิ าพเป็นความฝนั ของคนฉลาด สงครามเป็นประวตั ิศาสตรข์ องมนุษย”์
Sir Richard Burton, 1856.
90 นาวกิ าธปิ ตั ยส์ าร
คลังปัญญาพัฒนาผู้นำ
ผนวก ข
การเปรยี บเทยี บหลกั การสงครามของชาตติ า่ ง ๆ ในปจั จบุ ัน
หลักการสงคราม ไทย สหรฐั ฯ องั กฤษ โซเวยี ต ญ่ีป่นุ จนี ฝรัง่ เศส ซนุ ซ้ ู เคลาเซวิทซ ์ ฟูลเลอร
์
- ความมุ่งหมาย ๑ ๑ ๑ - - ๑ - ๑ ๑ ๑
- การรุก ๒ ๒ ๒ ๑ ๑ ๒ - ๒ ๒ ๒
- การรวมกำลัง ๓ ๓ ๓ ๒ - ๓ ๑ ๓ ๓ ๓
- ความรเิ รมิ่ - - - (๓) - - - - - -
- การออมกำลงั ๔ ๔ ๔ ๔ - (๔) - - ๔ (๗)
- การดำเนนิ กลยุทธ์ ๕ ๕ - (๓) - - - - - -
- ความคลอ่ งแคลว่ ฯ - - - - ๒ - - ๔ ๕ ๔
- เอกภาพในการ C๒ ๖ ๖ - - - ๕ - - - -
- การระวังปอ้ งกัน ๗ ๗ ๕ - - - - - - ๕
- การจู่โจม ๘ ๘ ๖ ๕ ๓ ๖ ๒ ๕ x ๖
- ความงา่ ย ๙ ๙ - - ๔ ๗ - - - -
- การตอ่ ส้เู บ็ดเสรจ็ ๑๐ - - - - - - - - -
- ขวญั - - ๗ ๖ - - - - x -
- ธรุ การ - - ๘ - - ๘ - - - -
- การทำลายล้าง - - - ๗ ๕ - - - - -
- การรบผสมเหล่า - - - ๘ - - - - - -
- กองหนุนพอเพียง - - - ๙ - - - - - -
- ความออ่ นตวั - - ๙ - - - - - - -
- ความรว่ มมือ - - ๑๐ - - - - - - (๘)
- การประสานงาน - - - - - (๔) - ๖ - -
- การรกุ ไปขา้ งหนา้
และสถาปนา - - - ๑๐ - ๙ - - - -
- เสรีในการปฏบิ ัต ิ - - - - - - ๓ - - -
- ขยายผลไลต่ ดิ ตาม - - - - - - - - x -
- การเมอื ง - - - - - ๑๐ - - - -
๑๑
นาวกิ าธปิ ตั ยส์ าร
91
คลังปัญญาพัฒนาผู้นำ
เปรียบเทียบหลักการสงครามของชาติมหาอำนาจ
สหรฐั ฯ UK/ออสเตรเลยี โซเวียต ฝร่ังเศส จนี
๑. ความมงุ่ หมาย การเลอื กและ การรกุ และ - การเลอื กและ
๒. การรกุ ดำรงเปา้ หมาย การสถาปนา ดำรงเปา้ หมาย
๓. การรวมกำลงั
๔. การออมกำลงั การปฏบิ ตั กิ ารรกุ การรกุ - การรกุ
๕. การดำเนนิ กลยทุ ธ ์
การรวมกำลงั การรวมกำลงั การรวมกำลงั การรวมกำลงั
๖. เอกภาพในการ
บงั คบั บญั ชา การออมกำลงั การออมกำลงั - -
๗. การระวงั ปอ้ งกนั
๘. การจู่โจม ความออ่ นตวั การดำเนนิ กลยทุ ธ์ - ความออ่ นตวั
๙. ความงา่ ย
และความรเิ รม่ิ หรอื รเิ รม่ิ
ความรว่ มมอื การรบผสมเหลา่ - การประสาน
การระวงั ปอ้ งกนั กองหนนุ ทเี่ พยี งพอ - การระวงั ปอ้ งกนั
การจู่โจม การจู่โจมและลวง การจู่โจม การจู่โจม
การดำรงรกั ษาขวญั ขวญั - ขวญั
- - เสรใี นการปฏบิ ตั ิ เสรใี นการปฏบิ ตั
ิ
การธรุ การ การทำลายลา้ ง - การเมอื ง
ความคลอ่ งแคลว่
92 นาวกิ าธปิ ตั ยส์ าร
คลังปัญญาพัฒนาผู้นำ
บรรณานุกรม
คณะทำงานพจิ ารณาจดั ทำ อทร.ดา้ นการศกึ ษาชน้ั สงู . อทร.๘๐๐๔ หลกั การและทฤษฎกี ารทำสงคราม.
กรงุ เทพมหานคร : กรมสารบรรณทหารเรอื , ๒๕๔๓.
อภชิ าต ิ ธรี ธำรง, พลโท. ยอดยทุ ธศาสตรข์ องยอดขนุ พล. กรงุ เทพมหานคร : ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๓๒.
Clausewitz, Carl von. On War, M. Howard and P. Paret (eds and trans), Princeton, NJ :
Princeton Uni, Press,1976.
Colin S.Gray. Strategy and History, “Essays on Theory and Practice” London and New
York : Routledge, 2006.
Office of the Chief of Naval Operations. Naval Doctrine Publication 1 – Naval
Warfare. Washington, D.C.1994.
The Stationary Office, The Fundamentals of the British Maritime Doctrine – BR 1806,
London, 1995.
นาวกิ าธปิ ตั ยส์ าร
93
คลังปัญญาพัฒนาผู้นำ