The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 3 ไฟฟ้า 3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pattharattineeporn.pon, 2021-08-21 04:15:11

หน่วยที่ 3 ไฟฟ้า 3

หน่วยที่ 3 ไฟฟ้า 3

Keywords: ไฟฟ้า

108

108

หน่วยการเรยี นรอู้ ิงมาตรฐานตามแนวทาง Backward Design

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 ไฟฟ้า

รหสั -ชื่อรายวิชา ว 16101 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชั้น ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 16 ชั่วโมง

ผู้สอน นางสาวภัทรฐิณพี ร พงษ์วิสุวรรรณ์ โรงเรียน อนุบาลวดั ลกู แกประชาชนทู ิศ สพป.กาญจนบรุ ี เขต 2

ข้ันที่ 1 กำหนดเปา้ หมายหลกั ของการเรยี นรู้

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ดั

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องแรงในชวี ิตประจำวนั ผลของแรงทก่ี ระทำต่อวัตถุ

ลกั ษณะการเคล่ือนท่ีแบบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชว้ี ัด
ว 2.2 ป.6/1 อธบิ ายการเกิดและผลของแรงไฟฟา้ ซง่ึ เกดิ จากวตั ถุทีผ่ ่านการขดั ถู โดยใชห้ ลกั ฐาน
เชิงประจกั ษ์
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 2.3 เขา้ ใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถา่ ยโอนพลงั งาน ปฏิสัมพันธ์

ระหวา่ งสสารและพลังงาน พลงั งานในชวี ิตประจำวัน ธรรมชาติของคลนื่ ปรากฏการณ์
ท่ีเกย่ี วขอ้ งกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟา้ รวมทัง้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวช้ีวัด
ว 2.3 ป.6/1 ระบสุ ว่ นประกอบและบรรยายหนา้ ท่ีของแตล่ ะสว่ นประกอบของวงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ย
จากหลักฐานเชิงประจักษ์
ว 2.3 ป.6/2 เขียนแผนภาพและต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย
ว 2.3 ป.6/3 ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวธิ ีทเ่ี หมาะสมในการอธิบายวธิ กี ารและผลของ
การตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนุกรม
ว 2.3 ป.6/4 ตระหนกั ถงึ ประโยชนข์ องความรู้ของการต่อเซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนกุ รม โดยบอกประโยชน์
และการประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวัน
ว 2.3 ป.6/5 ออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ยวธิ ีทเี่ หมาะสมในการอธบิ ายการต่อหลอดไฟฟา้
แบบอนกุ รมและแบบขนาน
ว 2.3 ป.6/6 ตระหนกั ถึงประโยชน์ของความรู้ของการตอ่ หลอดไฟฟ้าแบบอนกุ รมและแบบขนาน
โดยบอกประโยชน์ ขอ้ จำกดั และการประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวัน

109

ผลการเรยี นรขู้ อง ASEAN Curriculum Sourcebook
-

ความรูฝ้ งั แนน่ ความเข้าใจทคี่ งทน (Enduring Understanding)

นักเรียนเข้าใจว่า วัตถุ 2 ชนิดที่ผ่านการขัดถูแล้ว เม่ือนำเข้าใกล้กันอาจดึงดูดหรือผลักกัน
แรงท่ีเกิดข้ึนนี้เป็นแรงไฟฟ้า ซ่ึงเป็นแรงไม่สัมผัส เกิดข้ึนระหว่างวัตถุท่ีมีประจุไฟฟ้า ซึ่งประจุไฟฟ้า
มี 2 ชนิด คือ ประจุไฟ ฟ้าบวกและประจุไฟฟ้าลบ วัตถุที่มีประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันผลักกัน
ชนิดตรงข้ามกันดงึ ดูดกนั

วงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ยประกอบดว้ ยแหลง่ กำเนิดไฟฟ้า สายไฟฟ้า และเคร่ืองใช้ไฟฟา้ หรืออุปกรณไ์ ฟฟ้า
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า เช่น ถ่านไฟฉาย หรือแบตเตอร่ี ทำหน้าท่ีให้พลังงานไฟฟ้า สายไฟฟ้าเป็นตัวนำไฟฟ้า
ทำหน้าท่ีเช่ือมต่อระหว่างแหล่งกำเนิดไฟฟ้าและเคร่ืองใช้ไฟฟ้าเข้าด้วยกัน เคร่ืองใช้ไฟฟ้ามีหน้าที่เปลี่ยน
พลังงานไฟฟ้าเปน็ พลังงานอ่ืน

เมื่อนำเซลล์ไฟฟ้าหลายเซลล์มาต่อเรียงกัน โดยให้ข้ัวบวกของเซลล์ไฟฟ้าเซลล์หน่ึงต่อกับข้ัวลบ
ของอีกเซลล์หน่ึง เป็นการต่อแบบอนุกรม ทำให้มีพลังงานไฟฟ้าเหมาะสมกับเคร่ืองใช้ไฟฟ้า ซึ่งการต่อ
เซลล์ไฟฟ้าแบบอนกุ รมสามารถนำไปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตประจำวนั เชน่ การตอ่ เซลล์ไฟฟ้าในไฟฉาย

การต่อหลอดไฟฟา้ แบบอนุกรม เมื่อถอดหลอดไฟฟ้าดวงใดดวงหนึ่งออกทำให้หลอดไฟฟ้าท่ีเหลือดับ
ท้ังหมด ส่วนการต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนาน เม่อื ถอดหลอดไฟฟ้าดวงใดดวงหนึ่งออกหลอดไฟฟา้ ที่เหลอื กย็ ัง
สว่างได้ การต่อหลอดไฟฟ้าแต่ละแบบสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น การต่อหลอดไฟฟ้าหลายดวง
ในบา้ นจงึ ตอ้ งตอ่ หลอดไฟฟา้ แบบขนาน เพื่อเลอื กใชห้ ลอดไฟฟ้าดวงใดดวงหนง่ึ ไดต้ ามตอ้ งการ

สาระการเรยี นรู้

 วัตถสุ ามารถถ่ายโอนประจุลบกบั วัตถอุ ่ืนได้ วัตถุทุกชนดิ มปี ระจุไฟฟา้ เมื่อนำวัตถตุ ่างชนดิ กัน
มาขัดถกู นั จะทำให้เกดิ ประจุไฟฟ้าทสี่ ะสมบนวัตถุ

 วตั ถุ 2 ชนดิ ท่ผี า่ นการขัดถูแลว้ เม่อื นำเข้าใกล้กันอาจดงึ ดดู หรอื ผลกั กัน แรงทเี่ กิดขึน้ นีเ้ ปน็ แรงไฟฟา้
ซ่งึ เปน็ แรงไมส่ ัมผัส เกิดข้นึ ระหว่างวตั ถทุ มี่ ีประจไุ ฟฟ้า ซง่ึ ประจุไฟฟา้ มี 2 ชนิด คือ ประจุไฟฟ้าบวก
และประจไุ ฟฟา้ ลบ วตั ถุท่มี ีประจุไฟฟา้ ชนิดเดยี วกนั ผลักกัน ชนดิ ตรงขา้ มกนั ดึงดดู กัน

 สัญลักษณท์ ี่สำคญั ของสว่ นประกอบของวงจรไฟฟา้ จะถูกใช้ในแผนภาพวงจรไฟฟา้ เพอ่ื แสดง
ให้เหน็ การตอ่ เข้าด้วยกันของวงจร

110

 วงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ยประกอบด้วยแหลง่ กำเนดิ ไฟฟ้า สายไฟฟ้า และเครอื่ งใช้ไฟฟา้ หรอื อุปกรณ์
ไฟฟ้า แหลง่ กำเนดิ ไฟฟ้า เชน่ ถา่ นไฟฉายหรอื แบตเตอรี่ ทำหน้าทใ่ี หพ้ ลงั งานไฟฟ้า สายไฟฟ้าเปน็
ตวั นำไฟฟา้ ทำหนา้ ทีเ่ ช่อื มต่อระหว่างแหล่งกำเนดิ ไฟฟา้ และเคร่อื งใชไ้ ฟฟ้าเข้าด้วยกัน
เครื่องใช้ไฟฟ้ามหี นา้ ทีเ่ ปลีย่ นพลังงานไฟฟา้ เปน็ พลงั งานอ่ืน

 วสั ดทุ ี่ให้ประจไุ ฟฟ้าไหลผา่ นได้ เรียกวา่ ตัวนำ วัสดุท่ไี ม่ให้ประจุไฟฟ้าไหลผ่าน เรยี กว่า ฉนวน
 ตัวนำมีความตา้ นทานการไหลของประจุไฟฟา้ นอ้ ย
 วัสดทุ มี่ คี วามตา้ นทานการไหลของประจไุ ฟฟา้ แต่ยอมใหป้ ระจไุ ฟฟ้าไหลผ่านได้ เรยี กวา่ ตัวตา้ นทาน
 ไฟฟ้าลดั วงจรเกดิ จากการท่ีลวดสายไฟฟ้าสัมผัสกันกอ่ นท่ีประจไุ ฟฟ้าจะไหลผา่ นเครื่องใช้ไฟฟ้า

ทำใหเ้ กิดความรอ้ นสงู มาก อาจเป็นสาเหตขุ องไฟไหมไ้ ด้ ฉนวนช่วยป้องกันการเกดิ ไฟฟา้ ลัดวงจร
 ถา่ นไฟฉายประกอบด้วย วตั ถุสองชนดิ ทำหนา้ ทเ่ี ป็นขว้ั ไฟฟ้าบวกและขัว้ ไฟฟ้าลบ และสารทีเ่ ปน็

ของผสมเปยี กชื้นที่นำไฟฟ้าได้ ถา้ ตอ่ ขว้ั ไฟฟา้ บวกและลบดว้ ยสายไฟฟ้าจนครบวงจร จะมีกระแสไฟฟ้า
ในวงจร
 ถา่ นไฟฉาย แบตเตอรี่ เครือ่ งกำเนิดไฟฟา้ หรอื ไดนาโม เซลล์สุริยะ และไฟฟา้ จากส่ิงมชี ีวิต
เปน็ แหลง่ พลงั งาน
 เมอื่ นำเซลล์ไฟฟ้าหลายเซลล์มาเรยี งต่อกัน โดยให้ข้ัวบวกของเซลล์ไฟฟา้ เซลล์หนึ่งต่อกบั ข้วั ลบของ
อกี เซลลห์ นง่ึ เป็นการตอ่ แบบอนุกรม ทำใหม้ ีพลังงานไฟฟ้าเหมาะสมกบั เครอ่ื งใช้ไฟฟ้า ซ่งึ การตอ่
เซลล์ไฟฟา้ แบบอนกุ รมสามารถนำไปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตประจำวนั เชน่ การตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ ในไฟฉาย
 การตอ่ หลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม เมื่อถอดหลอดไฟฟา้ ดวงใดดวงหนง่ึ ออกทำใหห้ ลอดไฟฟ้าทเ่ี หลือดับ
ท้ังหมด สว่ นการตอ่ หลอดไฟฟา้ แบบขนาน เม่อื ถอดหลอดไฟฟ้าดวงใดดวงหนึ่งออก หลอดไฟฟ้า
ท่ีเหลือก็ยังสว่างได้ การตอ่ หลอดไฟฟ้าแต่ละแบบสามารถนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ เช่น การตอ่ หลอดไฟฟา้
หลายดวงในบา้ นจึงต้องต่อหลอดไฟฟา้ แบบขนาน เพ่ือเลอื กใชห้ ลอดไฟฟ้าหลอดใดหลอดหนึง่ ได้
ตามตอ้ งการ

สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น

1. ความสามารถในการสือ่ สาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

111

คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 2 ความรับผิดชอบ ความมุง่ มั่น อดทน
4 ความรอบคอบ
1. ใฝเ่ รียนรู้ 6 ร่วมแสดงความคดิ เห็นและรับฟังความคิดเห็นของผอู้ ่ืน
2. มุง่ มนั่ ในการทำงาน

คา่ นิยมหลกั 12 ประการ

1 มีความสนใจใฝ่รู้
3 ความมเี หตุผล
5 ความซ่ือสตั ย์

ทักษะกระบวนการคดิ 2 ทักษะการสำรวจ 3 ทกั ษะการจำแนกประเภท
5 ทักษะการอธบิ าย 6 ทกั ษะการวเิ คราะห์
1 ทักษะการสงั เกต
4 ทักษะการเปรียบเทยี บ
7 ทกั ษะการทดลอง

จดุ เนน้ สพฐ./สพป./ร.ร.

อ่านคลอ่ ง เขียนคล่อง คดิ เลขคลอ่ ง ทักษะการคดิ ขน้ั พื้นฐาน ทักษะชีวิต การส่ือสารอยา่ งสรา้ งสรรค์

เปา้ หมายหลกั ในการพัฒนาของโรงเรยี นคณุ ภาพประจำตำบล

1. การพฒั นานักเรียนใหม้ ีคุณภาพ มที ักษะชีวิตท่ีดี นำความคดิ และองคค์ วามรู้ไปปรบั ใช้ใน
ชวี ติ ประจำวัน

2. มสี ขุ ภาพกายและใจทแี่ ข็งแรง เปน็ คนดี มจี ิตสาธารณะ และรักษส์ ง่ิ แวดล้อม
มคี วามร้ดู ้านภาษา ทันเทคโนโลยีคดิ วเิ คราะหเ์ ปน็ มีคณุ ธรรม และหา่ งไกลยาเสพติด

อัตลักษณโ์ รงเรียน

งามอย่างไทย

112

คำถามสำคัญ

1. ไฟฟ้าสถิตเกดิ ขึน้ ไดอ้ ย่างไร
2. แรงไฟฟา้ ที่เกิดข้ึนมลี ักษณะอย่างไร
3. สว่ นประกอบพื้นฐานของวงจรไฟฟ้ามีอะไรบ้าง
4. วตั ถุชนดิ ใดบ้างนำไฟฟ้าได้ และชนดิ ใดบ้างไม่นำไฟฟา้
5. วัสดุธรรมชาตสิ ามารถเป็นแหล่งกำเนิดไฟฟา้ ไดห้ รอื ไม่
6. ถา่ นไฟฉายใหพ้ ลงั งานไฟฟ้าไดอ้ ย่างไร
7. ถา้ ตอ้ งการให้หลอดไฟฟ้าในวงจรไฟฟา้ สว่างมากขน้ึ จะตอ่ วงจรไฟฟ้าอย่างไร
8. ความสวา่ งของหลอดไฟฟ้าในการตอ่ แบบอนกุ รมและแบบขนานมคี วามเหมอื นหรอื แตกตา่ งกนั อยา่ งไร

ข้นั ท่ี 2 กำหนดหลกั ฐานหรอื ร่องรอยของการเรยี นรู้

ภาระงาน : ชิน้ งาน/การแสดงออกของผเู้ รียน

1. แผนภาพความคิด แรงไฟฟา้
2. แผนภาพ การต่อวงจรไฟฟา้ อยา่ งง่ายท่ีถูกวิธี วงจรปดิ และวงจรเปดิ
3. สิ่งประดษิ ฐ์ วงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ย
4. โปสเตอร์ ตวั นำไฟฟา้ และฉนวนไฟฟ้า
5. โครงงาน การทำงานของถ่านไฟฉายทีใ่ ชอ้ ปุ กรณ์การทดลองแตกต่างกนั เพื่อศกึ ษาอปุ กรณก์ ารทดลอง

ที่เหมาะสมที่แสดงการทำงานของถา่ นไฟฉายไดช้ ัดเจน
6. สิ่งประดิษฐ์ การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนานในวงจรไฟฟ้า
7. สิ่งประดษิ ฐ์ การตอ่ หลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนานในวงจรไฟฟา้

การประเมินการเรียนรู้

1. ประเมินความรู้เรอื่ ง แรงไฟฟ้า วงจรไฟฟา้ (วงจรไฟฟ้าอยา่ งง่าย ตวั นำไฟฟา้ และฉนวนไฟฟ้า
แหล่งพลงั งานไฟฟ้า) การตอ่ วงจรไฟฟ้า (การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนกุ รม และการต่อหลอดไฟฟ้า) (K)
ดว้ ยแบบทดสอบ

2. ประเมนิ กระบวนการกลุ่ม การปฏบิ ัติการทำกจิ กรรมการทดลอง และการสืบสอบขอ้ มูล (P)
ดว้ ยแบบประเมนิ

3. ประเมินชิน้ งาน แผนภาพความคิด แรงไฟฟา้
• แผนภาพ การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างงา่ ยทถ่ี ูกวิธี วงจรปิด และวงจรเปิด

113

• สิง่ ประดษิ ฐ์ วงจรไฟฟ้าอย่างงา่ ย
• โปสเตอร์ ตัวนำไฟฟ้า และฉนวนไฟฟ้า
• โครงงาน การทำงานของถ่านไฟฉายที่ใช้อปุ กรณก์ ารทดลองแตกต่างกัน
• เพอ่ื ศึกษาอปุ กรณก์ ารทดลองทีเ่ หมาะสมที่แสดงการทำงานของถ่านไฟฉายไดช้ ัดเจน
• สิ่งประดษิ ฐ์ การต่อเซลล์ไฟฟา้ แบบอนุกรมและแบบขนานในวงจรไฟฟา้
• สง่ิ ประดษิ ฐ์ การตอ่ หลอดไฟฟา้ แบบอนุกรมและแบบขนานในวงจรไฟฟ้า
4. ประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ด้านใฝ่เรียนรู้ อยอู่ ยา่ งพอเพียง และมุ่งม่ันในการทำงาน (A)
ดว้ ยแบบประเมนิ

แบบประเมินตามสภาพจรงิ (Rubrics)

แบบประเมนิ กระบวนการทำงานกลุ่ม

รายการการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ

กระบวนการ 432 1
ทำงานกลมุ่ ไม่มีการกำหนด
มกี ารกำหนดบทบาท มกี ารกำหนดบทบาท มกี ารกำหนดบทบาท บทบาทสมาชกิ
และไมม่ กี ารชแ้ี จง
สมาชกิ ชัดเจน สมาชกิ ชัดเจน เฉพาะหัวหน้า เป้าหมาย สมาชกิ
ตา่ งคนตา่ งทำงาน
และมกี ารช้แี จงเป้าหมาย มกี ารช้แี จงเป้าหมาย ไม่มกี ารช้แี จงเปา้ หมาย

การทำงาน อย่างชดั เจนและ อยา่ งชดั เจน

มีการปฏิบัติงานร่วมกนั ปฏิบตั งิ านร่วมกนั ปฏิบัตงิ านรว่ มกัน

อยา่ งร่วมมือร่วมใจ แตไ่ มม่ กี ารประเมนิ ไมค่ รบทกุ คน

พรอ้ มกับการประเมิน เปน็ ระยะ ๆ

เปน็ ระยะ ๆ

114

แบบประเมนิ การปฏิบัติการทำกจิ กรรมการทดลอง

รายการการประเมนิ 4 ระดบั คณุ ภาพ 1
32

1. การทำกิจกรรม ทำกจิ กรรมการทดลอง ทำกจิ กรรมการทดลอง ทำกิจกรรมการทดลอง ทำกจิ กรรมการทดลอง

การทดลอง ตามวิธีการและขัน้ ตอน ตามวิธกี ารและขั้นตอน ตามวธิ ีการและขัน้ ตอน ไม่ถกู ต้องตามวิธกี าร

ตามแผนที่กำหนด ทกี่ ำหนดไว้อย่างถูกต้อง ท่ีกำหนดไว้ดว้ ยตนเอง ท่กี ำหนดไว้ โดยมคี รู และขน้ั ตอนทกี่ ำหนดไว้

ด้วยตนเอง มกี ารปรบั ปรุง มกี ารปรบั ปรงุ แกไ้ ขบา้ ง หรือผู้อืน่ เปน็ ผแู้ นะนำ ไมม่ กี ารปรับปรงุ แกไ้ ข

แก้ไขเป็นระยะ

2. การใชอ้ ปุ กรณ์ ใชอ้ ุปกรณ์และ/หรอื ใชอ้ ปุ กรณแ์ ละ/หรือ ใชอ้ ปุ กรณแ์ ละ/หรอื ใช้อปุ กรณ์และ/หรอื

และ/หรอื เครื่องมือ เครือ่ งมอื ในการทำ เคร่ืองมอื ในการทำ เครื่องมือในการทำ เครอื่ งมือในการทำ

กิจกรรมการทดลอง กิจกรรมการทดลอง กจิ กรรมการทดลอง กิจกรรมการทดลอง

ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง ไดอ้ ย่างถกู ต้อง โดยมีครู ไมถ่ กู ต้องและไม่มี

ตามหลักการปฏบิ ัติ ตามหลักการปฏบิ ัติ หรือผ้อู ื่นเปน็ ผแู้ นะนำ ความคลอ่ งแคล่ว

และคล่องแคล่ว แตไ่ มค่ ล่องแคล่ว ในการใช้

3. การบันทึกผล บนั ทึกผลเปน็ ระยะ บนั ทึกผลเป็นระยะ บนั ทกึ ผลเปน็ ระยะ บนั ทกึ ผลไมค่ รบ

การทำกจิ กรรม อยา่ งถกู ต้อง มีระเบียบ อยา่ งถกู ตอ้ ง มีระเบียบ แต่ไม่เป็นระเบยี บ ไมม่ กี ารระบุหนว่ ย

การทดลอง มีการระบุหน่วย มีการ มีการระบหุ น่วย มีการ ไม่มีการระบุหน่วย และไมเ่ ปน็ ไปตาม

อธบิ ายข้อมลู ใหเ้ ห็น อธิบายขอ้ มูลใหเ้ ห็น และไม่มีการอธิบายขอ้ มูล การทำกิจกรรม

ความเชอ่ื มโยงเป็นภาพรวม ถงึ ความสัมพันธ์ ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ การทดลอง

เป็นเหตุเป็นผล และเป็นไป เป็นไปตามการทำ ของการทำกจิ กรรม

ตามการทำกิจกรรม กิจกรรมการทดลอง การทดลอง

การทดลอง

4. การจัดกระทำข้อมลู จัดกระทำข้อมลู จดั กระทำข้อมลู จดั กระทำขอ้ มูล จดั กระทำข้อมลู อยา่ ง

และการนำเสนอ อยา่ งเป็นระบบ อย่างเปน็ ระบบ มีการ อยา่ งเปน็ ระบบ ไม่เป็นระบบ และมกี าร

มีการเชอื่ มโยงให้เหน็ จำแนกขอ้ มูลให้เหน็ มกี ารยกตวั อยา่ งเพม่ิ เตมิ นำเสนอไมส่ ่ือความหมาย

เป็นภาพรวม และนำเสนอ ความสมั พันธ์ นำเสนอ ใหเ้ ข้าใจง่าย และนำเสนอ และไม่ชดั เจน

ด้วยแบบต่าง ๆ อย่างชัดเจน ด้วยแบบตา่ ง ๆ ได้ ด้วยแบบต่าง ๆ

ถกู ต้อง แต่ยงั ไมช่ ัดเจน แต่ยังไม่ชัดเจน

และไม่ถกู ต้อง

115

รายการการประเมนิ 4 ระดับคุณภาพ 1
32 สรุปผลการทำกิจกรรม
การทดลองตามความรู้
5. การสรปุ ผล สรุปผลการทำกจิ กรรม สรุปผลการทำกจิ กรรม สรุปผลการทำกจิ กรรม ท่พี อมีอยู่ โดยไมใ่ ช้
ข้อมูลจากการทำกจิ กรรม
การทำกิจกรรม การทดลอง การทดลอง การทดลองได้ โดยมคี รู การทดลอง

การทดลอง ได้อยา่ งถูกตอ้ ง กระชบั ได้ถกู ตอ้ ง แต่ยงั หรอื ผอู้ ืน่ แนะนำบ้าง ไม่ดูแลอปุ กรณ์และ/
หรอื เคร่อื งมือในการทำ
ชดั เจน และครอบคลุม ไม่ครอบคลมุ ขอ้ มลู จงึ สามารถสรุปไดถ้ ูกต้อง กจิ กรรมการทดลอง
และไม่สนใจทำความ
ขอ้ มูลจากการวเิ คราะห์ จากการวเิ คราะห์ทั้งหมด สะอาด รวมทั้งเก็บ
ไม่ถกู ตอ้ ง
ท้ังหมด

6. การดูแลและการเกบ็ ดูแลอปุ กรณแ์ ละ/หรือ ดูแลอปุ กรณแ์ ละ/หรอื ดแู ลอุปกรณแ์ ละ/หรือ

อปุ กรณ์และ/หรือ เครอ่ื งมือในการทำ เครือ่ งมอื ในการทำ เครื่องมอื ในการทำ

เคร่ืองมอื กจิ กรรมการทดลอง กจิ กรรมการทดลอง กิจกรรมการทดลอง

และมีการทำความสะอาด และมกี ารทำความสะอาด มกี ารทำความสะอาด

และเก็บอยา่ งถกู ตอ้ ง อยา่ งถูกต้อง แต่เก็บ แต่เก็บไม่ถูกต้อง

ตามหลักการ และแนะนำ ไม่ถูกตอ้ ง ต้องใหค้ รูหรือผู้อ่ืน

ให้ผ้อู นื่ ดูแลและเก็บ แนะนำ

รกั ษาได้ถูกต้อง

116

แบบประเมินการสืบสอบขอ้ มูล

รายการการประเมิน 4 ระดับคุณภาพ 1
32

1. การวางแผนค้นคว้า วางแผนทีจ่ ะค้นคว้าข้อมูล วางแผนที่จะค้นคว้าข้อมลู วางแผนทีจ่ ะค้นคว้าข้อมลู ไม่มีการวางแผนทีจ่ ะ

ข้อมลู จาก จากแหล่งการเรยี นรู้ จากแหล่งการเรยี นรู้ จากแหลง่ การเรียนรู้ ค้นควา้ ข้อมูลจาก

แหลง่ การเรยี นรู้ ที่หลากหลาย เชอื่ ถือได้ ทีห่ ลากหลายและเหมาะสม โดยมคี รูหรือผู้อ่นื แหลง่ การเรยี นรู้

และมีการเช่ือมโยงให้เห็น แต่ไม่มกี ารเชือ่ มโยง แนะนำบ้าง อย่างเปน็ ระบบ

เป็นภาพรวม แสดงให้เห็น ใหเ้ ห็นเปน็ ภาพรวม

ถึงความสัมพันธ์ของ

วธิ กี ารทง้ั หมด

2. การเกบ็ รวบรวม เก็บรวบรวมข้อมลู เกบ็ รวบรวมข้อมูล เกบ็ รวบรวมข้อมูล เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

ข้อมูล ตามแผนทก่ี ำหนด โดยคดั เลอื กและ/หรอื โดยไมม่ ีการคดั เลอื ก เปน็ ระยะ ขาดการ

ทุกประการ ประเมินขอ้ มลู และ/หรือประเมินขอ้ มูล ประเมินเพอื่ คัดเลือก

3. การจัดกระทำข้อมูล จัดกระทำขอ้ มลู จดั กระทำขอ้ มูล จดั กระทำข้อมูล จัดกระทำข้อมลู อย่าง

และการนำเสนอ อย่างเปน็ ระบบ อย่างเปน็ ระบบ มกี าร อยา่ งเป็นระบบ ไมเ่ ปน็ ระบบ และ

มกี ารเชอื่ มโยงให้เหน็ จำแนกขอ้ มลู ใหเ้ ห็น มีการยกตัวอย่างเพิ่มเตมิ นำเสนอไม่สือ่ ความหมาย

เป็นภาพรวม และนำเสนอ ความสมั พันธ์ นำเสนอ ใหเ้ ข้าใจง่ายและนำเสนอ และไมช่ ดั เจน

ด้วยแบบต่าง ๆ อย่างชดั เจน ด้วยแบบตา่ ง ๆ ดว้ ยแบบต่าง ๆ

ถกู ต้อง ไดอ้ ย่างถกู ต้อง แต่ยงั ไม่ถกู ต้อง

4. การสรุปผล สรปุ ผลไดอ้ ยา่ งถูกต้อง สรปุ ผลได้อยา่ งกระชบั สรปุ ผลได้กระชับ สรุปผลโดยไมใ่ ช้

กระชับ ชดั เจน และ แตย่ งั ไม่ชัดเจนและ กะทดั รัด แตไ่ มช่ ัดเจน ข้อมูล และไม่ถูกต้อง

ครอบคลมุ มเี หตุผล ไม่ครอบคลมุ ขอ้ มลู

ทอ่ี ้างองิ จากการสบื สอบ จากการวเิ คราะห์

ได้ ทั้งหมด

5. การเขียนรายงาน เขียนรายงาน เขยี นรายงาน เขยี นรายงาน เขยี นรายงานได้

ตรงตามจุดประสงค์ ตรงตามจดุ ประสงค์ โดยสอ่ื ความหมายได้ ตามตัวอยา่ ง แต่ใชภ้ าษา

ถูกต้องและชดั เจน อยา่ งถูกตอ้ งและชัดเจน โดยมคี รูหรอื ผอู้ น่ื ไม่ถกู ต้องและไมช่ ดั เจน

และมกี ารเชือ่ มโยง แตข่ าดการเรียบเรยี ง แนะนำ

ใหเ้ ห็นเป็นภาพรวม

117

แบบประเมินชิน้ งาน แบบจำลอง/สิ่งประดษิ ฐ์ด้วยวสั ดใุ นทอ้ งถิ่นหรอื วัสดเุ หลือใชใ้ นบา้ น

รายการการประเมนิ 4 ระดบั คณุ ภาพ 1
32

1. การวางแผน วางแผนในการออกแบบ วางแผนทีจ่ ะออกแบบ วางแผนทจี่ ะออกแบบ วางแผนที่จะออกแบบ

ในการออกแบบ อย่างคิดสรา้ งสรรค์ อย่างคิดริเร่ิม และ อยา่ งเหมาะสม แตไ่ มม่ ี ตามแบบอย่าง โดยไมม่ ี

เหมาะสม มคี วามละเอียด เหมาะสม มีความละเอยี ด ความคิดสรา้ งสรรค์ ความคดิ สรา้ งสรรค์ หรอื

และมีการเช่ือมโยงให้ แต่ไมม่ ีการเช่อื มโยงให้ ไม่มีความละเอียด และ ออกแบบตามทคี่ รแู นะนำ

เห็นเป็นภาพรวม แสดง เหน็ เป็นภาพรวม ไมม่ ีการเชือ่ มโยงให้เห็น

ให้เหน็ ถงึ ความสมั พันธ์ และไม่แสดงใหเ้ ห็นถึง เปน็ ภาพรวม

ของวธิ ีการทัง้ หมด ความสัมพันธ์ของวธิ ีการ

2. การเลอื กใชว้ สั ดุ เลอื กใชว้ สั ดใุ นท้องถิ่น เลือกใช้วสั ดใุ นท้องถ่ิน เลอื กใชว้ สั ดใุ นทอ้ งถน่ิ ไมใ่ ช้วสั ดุในท้องถ่ิน

ในท้องถิ่น/ ไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์ ไดอ้ ยา่ งคดิ ริเริม่ ราคาถูก ได้ ราคาถกู และสามารถ แตใ่ ช้วัสดทุ ่ีมีราคาแพง

วัสดุเหลือใช้ ด้วยตนเอง ราคาถูก และสามารถใช้งานได้ ใชง้ านได้

และสามารถใชง้ านได้

อยา่ งทนทาน

3. การประดิษฐ์ตาม ประดษิ ฐต์ ามแผนท่ี ประดษิ ฐต์ ามแผนที่ ประดษิ ฐ์ตามแผนที่ ประดิษฐข์ ้ามขั้นตอน

แผนทีอ่ อกแบบ ออกแบบอย่างเป็น ออกแบบอย่างเป็น ออกแบบอยา่ งเป็น และไม่มกี ารปรับปรงุ

ขั้นตอนด้วยความ ขัน้ ตอนด้วยความ ขั้นตอน แตม่ กี ารแกไ้ ข

คลอ่ งแคลว่ มกี าร คล่องแคลว่ มกี าร ปรับปรุงเป็นระยะบ้าง

ปรบั ปรุงเป็นระยะ ๆ ปรบั ปรุงบ้าง

4. การนำเสนอ นำเสนอแบบจำลอง/ นำเสนอแบบจำลอง/ นำเสนอแบบจำลอง/ นำเสนอแบบจำลอง/

แบบจำลอง/ สิ่งประดษิ ฐ์ สง่ิ ประดษิ ฐ์ สิง่ ประดษิ ฐ์ได้ สงิ่ ประดิษฐ์

สิ่งประดิษฐ์ โดยนำไปใชไ้ ดจ้ รงิ โดยนำไปใช้ไดจ้ รงิ แตไ่ มช่ ัดเจน ต้องมีการ ท่ีไมส่ ามารถนำไปใช้ได้

ถูกต้อง น่าสนใจ ถกู ตอ้ ง น่าสนใจ ยกตัวอย่างเพ่ิมเติม ไมส่ ่อื ความหมาย

และชัดเจน มกี ารเช่ือมโยง และชัดเจน แต่ไม่มี ใหเ้ ขา้ ใจง่าย ไมช่ ัดเจน

ใหเ้ หน็ เป็นภาพรวม การเชื่อมโยงใหเ้ ห็น

เปน็ ภาพรวม

5. การดูแลและการ ดูแล เกบ็ และทำความ ดูแล และทำความสะอาด ดแู ล เกบ็ และทำ ไมด่ แู ลอปุ กรณแ์ ละ/หรอื

เกบ็ อุปกรณแ์ ละ/ สะอาดอปุ กรณแ์ ละ/ อุปกรณแ์ ละ/หรอื ความสะอาดอุปกรณแ์ ละ/ เคร่ืองมือในการออกแบบ

หรือเครือ่ งมือ หรือเครอื่ งมือในการ เครือ่ งมอื ในการออกแบบ หรือเคร่ืองมือในการ และประดิษฐ์ และ

ออกแบบและประดิษฐ์ และประดษิ ฐ์ ออกแบบ และประดิษฐ์ ไมส่ นใจทำความสะอาด

อย่างถกู ต้องตามหลักการ อย่างถกู ต้อง แตไ่ ม่ถูกต้อง และเกบ็ ไมถ่ กู ต้อง

และแนะนำให้ผ้อู ืน่ ดแู ล แตเ่ ก็บไมถ่ ูกตอ้ ง

และเก็บรักษาไดถ้ ูกตอ้ ง

118

แบบประเมินช้ินงาน แผนภาพความคิด

รายการการประเมิน ระดับคณุ ภาพ

การจัดกระทำและ 4 32 1
นำเสนอแผนภาพ จดั กระทำแผนภาพ จดั กระทำแผนภาพ
ความคิด ความคดิ อย่างเป็นระบบ จดั กระทำแผนภาพ จัดกระทำแผนภาพ ความคดิ อย่างไมเ่ ป็น
และนำเสนอด้วยแบบ ระบบ และนำเสนอ
ที่ชดั เจน ถูกต้อง ความคดิ อย่างเป็นระบบ ความคิดได้ มีการ ไมส่ ่อื ความหมาย
ครอบคลุมและมีการ และไม่ชัดเจน
เชอ่ื มโยงให้เห็นเป็น มกี ารจำแนกข้อมูลให้เหน็ ยกตัวอย่างเพิ่มเติม และ
ภาพรวม
ความสมั พนั ธ์ นำเสนอด้วยแบบตา่ ง ๆ

และนำเสนอด้วยแบบ แตย่ งั ไมค่ รอบคลมุ

ทคี่ รอบคลุม

แบบประเมินชน้ิ งาน แผนภาพ

รายการการประเมิน ระดับคณุ ภาพ

การจดั กระทำและ 4 32 1
นำเสนอแผนภาพ จดั กระทำแผนภาพ จัดกระทำแผนภาพอยา่ ง
อย่างเปน็ ระบบ และ จัดกระทำแผนภาพอย่าง จดั กระทำแผนภาพได้ ไมเ่ ป็นระบบ
นำเสนอด้วยแบบ และนำเสนอ
ทชี่ ดั เจน ถูกตอ้ ง เป็นระบบ มกี ารจำแนก และนำเสนอด้วยแบบ ไมส่ ่อื ความหมาย
ครอบคลมุ และมีการ และไม่ชัดเจน
เชื่อมโยงให้เห็น ขอ้ มูลใหเ้ ห็น ต่าง ๆ แตย่ ังไม่
เป็นภาพรวม
ความสัมพนั ธ์ ครอบคลมุ

และนำเสนอด้วยแบบ

ทค่ี รอบคลุม

แบบประเมนิ ชนิ้ งาน โปสเตอร์

รายการการประเมิน ระดับคุณภาพ

การจัดกระทำและ 432 1
นำเสนอโปสเตอร์ จัดกระทำและนำเสนอ
จดั กระทำและนำเสนอ จัดกระทำและนำเสนอ จัดกระทำและนำเสนอ โปสเตอร์ได้
แต่ไม่สอดคลอ้ ง
โปสเตอร์ได้สัมพันธ์กนั โปสเตอรไ์ ดส้ ัมพันธ์ โปสเตอรไ์ ด้ กับหวั ขอ้ เรอ่ื งทก่ี ำหนด

และถกู ตอ้ งตามหวั ขอ้ กบั หวั ขอ้ เรอื่ งท่กี ำหนด ตามหัวข้อเรื่อง

เร่ืองทีก่ ำหนด มกี าร มกี ารออกแบบ โดยมีครูหรือผอู้ ่นื

วางแผน มีการออกแบบ มีความคดิ รเิ รมิ่ ใหค้ ำแนะนำ

และมคี วามคดิ สร้างสรรค์ แต่ไม่มีการเช่ือมโยง

มกี ารเช่ือมโยงให้เหน็ เปน็ ให้เหน็ เป็นภาพรวม

ภาพรวม

119

แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

ใฝเ่ รยี นรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตง้ั ใจ เพยี รพยายามในการเรียนและเขา้ รว่ มกิจกรรมการเรียนรู้

พฤติกรรมบ่งช้ี ดเี ยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไมผ่ า่ น (0)

4.1.1 ตั้งใจเรียน ต้ังใจเรียน เอาใจใส่ ตง้ั ใจเรียน เอาใจใส่ ตงั้ ใจเรยี น เอาใจใส่ ไม่ตงั้ ใจเรียน

4.1.2 เอาใจใส่ และมคี วามเพียรพยายาม และมคี วามเพียรพยายาม และมคี วามเพียรพยายาม

และมคี วามเพียรพยายาม ในการเรยี นรู้ เข้ารว่ ม ในการเรียนรู้ เข้าร่วม ในการเรยี นรู้ เข้าร่วม

ในการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรตู้ า่ ง ๆ กจิ กรรมการเรยี นรูต้ ่าง ๆ กจิ กรรมการเรียนรูต้ ่าง ๆ

4.1.3 สนใจเข้าร่วม เปน็ ประจำ บ่อยครง้ั บางครงั้

กิจกรรมการเรียนรตู้ า่ ง ๆ

ตวั ชวี้ ัดที่ 4.2 แสวงหาความรจู้ ากแหลง่ เรียนรูต้ ่าง ๆ ทัง้ ภายในและภายนอกโรงเรียน
ด้วยการเลือกใช้ส่อื อยา่ งเหมาะสม บันทึกความรู้ วเิ คราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้
และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

พฤติกรรมบ่งชี้ ดเี ยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
4.2.1 ศึกษาคน้ ควา้ ศกึ ษาค้นคว้า ศึกษาค้นคว้า ศกึ ษาค้นควา้ ไมศ่ กึ ษาคน้ ควา้
หาความรู้จากหนังสอื หาความรู้จากหนงั สอื หาความร้จู ากหนงั สือ หาความรจู้ ากหนังสอื หาความรู้
เอกสาร สง่ิ พิมพ์ เอกสาร สิ่งพมิ พ์ เอกสาร สง่ิ พิมพ์ เอกสาร สิ่งพิมพ์
สอ่ื เทคโนโลยีต่าง ๆ ส่ือเทคโนโลยตี า่ ง ๆ ส่ือเทคโนโลยตี า่ ง ๆ สอื่ เทคโนโลยีตา่ ง ๆ
แหลง่ เรยี นรู้ แหลง่ เรยี นรทู้ งั้ ภายใน แหล่งเรยี นรู้ทั้งภายใน แหล่งเรียนรทู้ งั้ ภายใน
ท้ังภายในและภายนอก และภายนอกโรงเรยี น และภายนอกโรงเรียน และภายนอกโรงเรียน
โรงเรียน และเลอื กใชส้ ่อื เลอื กใช้ส่อื ได้อย่าง มกี ารบันทกึ ความรู้ มกี ารบันทึกความรู้
ได้อยา่ งเหมาะสม เหมาะสม มีการบนั ทึก สรุปเป็นองคค์ วามรู้
4.2.2 บันทกึ ความรู้ ความรู้ สรุปเป็น นำเสนอและแลกเปล่ยี น
วเิ คราะห์ ตรวจสอบ องคค์ วามรู้ นำเสนอและ ความร้กู บั ผูอ้ นื่ ได้
จากส่งิ ทเี่ รยี นรู้ แลกเปล่ียนองค์ความรู้
สรปุ เป็นองคค์ วามรู้ ดว้ ยวธิ กี ารทหี่ ลากหลาย
4.2.3 แลกเปลี่ยนเรยี นรู้
ดว้ ยวธิ ีการตา่ ง ๆ
และนำไปใช้
ในชีวิตประจำวัน

120

อยอู่ ยา่ งพอเพียง

ตัวชีว้ ัดที่ 5.1 ดำเนินชวี ิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม

พฤติกรรมบง่ ช้ี ดีเย่ียม (3) ดี (2) ผา่ น (1) ไมผ่ ่าน (0)
ใช้เงินและของใช้สว่ นตวั
5.1.1 ใช้ทรพั ยส์ ิน ใช้ทรัพยส์ ินของตนเอง ใช้ทรพั ยส์ ินของตนเอง ใช้ทรัพยส์ ินของตนเอง อยา่ งไม่ประหยัด

ของตนเอง เช่น เงนิ และทรัพยากรของ และทรัพยากรของ และทรัพยากรของ

สงิ่ ของ เครอื่ งใช้ ฯลฯ ส่วนรวมอยา่ งประหยดั ส่วนรวมอย่างประหยัด ส่วนรวมอยา่ งประหยัด

อยา่ งประหยัด ค้มุ ค่า ค้มุ ค่า รอบคอบ คุ้มคา่ เก็บรกั ษา และคุ้มค่า

และเกบ็ รกั ษาดูแล เก็บรักษา ดูแลอยา่ งดี ดแู ลอยา่ งดี ตัดสนิ ใจ

อยา่ งดี รวมทั้ง ตดั สินใจอย่างมีเหตุผล อยา่ งมเี หตุผล

การใช้เวลาอย่างเหมาะสม ไม่เอาเปรยี บผู้อื่นและ ไมเ่ อาเปรยี บผอู้ ่ืน

5.1.2 ใช้ทรพั ยากรของ ไม่ทำใหผ้ ู้อืน่ เดือดรอ้ น

ส่วนรวมอยา่ งประหยดั

คมุ้ ค่าและเก็บรกั ษา

ดูแลอยา่ งดี

5.1.3 ปฏิบตั ติ นและ

ตดั สนิ ใจด้วย

ความรอบคอบ มเี หตุผล

5.1.4 ไม่เอาเปรยี บผ้อู นื่

และไมท่ ำให้ผอู้ ื่น

เดอื ดร้อน พร้อมให้อภัย

เมอ่ื ผอู้ ืน่ กระทำ

ผดิ พลาด

มงุ่ ม่ันในการทำงาน
ตวั ช้ีวดั ท่ี 6.1 ตั้งใจและรับผดิ ชอบในการปฏิบัติหนา้ ที่การงาน

พฤติกรรมบง่ ช้ี ดีเยยี่ ม (3) ดี (2) ผา่ น (1) ไมผ่ า่ น (0)
ตงั้ ใจและรับผิดชอบ ตัง้ ใจและรับผิดชอบ ไมต่ ้ังใจปฏิบตั ิ
6.1.1 เอาใจใส่ต่อ ตงั้ ใจและรับผดิ ชอบ ในการปฏิบัติหนา้ ท่ี ในการปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ หน้าที่การงาน
ท่ีไดร้ ับมอบหมาย ท่ไี ด้รับมอบหมาย
การปฏิบตั ิหน้าที่ ในการปฏิบัตหิ น้าที่ ให้สำเรจ็ มกี ารปรับปรงุ ให้สำเร็จ
การทำงานให้ดีข้นึ
ท่ไี ด้รับมอบหมาย ท่ไี ด้รับมอบหมายให้

6.1.2 ตัง้ ใจและ สำเร็จ มีการปรบั ปรุง

รบั ผิดชอบ และพัฒนาการทำงาน

ในการทำงานให้สำเรจ็ ใหด้ ีขนึ้ ด้วยตนเอง

6.1.3 ปรับปรุง

และพัฒนาการทำงาน

ด้วยตนเอง

121

คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดับ
อนั พึงประสงคด์ ้าน คะแนน
321

1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเมอ่ื ได้ยินเพลงชาติ รอ้ งเพลงชาตไิ ด้ และบอกความหมายของเพลงชาติ
กษัตริย์ 1.2 ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าท่ีของนกั เรยี น ใหค้ วามร่วมมือ ร่วมใจ ในการทำงานกับ
สมาชิกในห้องเรียน

1.3 เขา้ ร่วมกิจกรรมท่สี ร้างความสามัคคี ปรองดอง และเปน็ ประโยชนต์ อ่ โรงเรียนและ
ชมุ ชน

1.4 เข้ารว่ มกิจกรรมทางศาสนาท่ีตนนบั ถอื ปฏบิ ตั ิตนตามหลักของศาสนาและเป็น
ตัวอยา่ งทดี่ ีของศาสนกิ ชน

1.5 เขา้ ร่วมกิจกรรมและมสี ว่ นรว่ มในการจดั กิจกรรมทเ่ี ก่ียวกับสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์
ตามทีโ่ รงเรียนและชุมชนจดั ขน้ึ ช่ืนชมในพระราชกรณียกจิ พระปรชี าสามารถของ
พระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์

2. ซอื่ สัตย์ สุจริต 2.1 ใหข้ อ้ มูลทถี่ ูกตอ้ ง และเป็นจรงิ

2.2 ปฏิบัตใิ นสิง่ ท่ีถูกตอ้ ง ละอาย และเกรงกลัวที่จะทำความผดิ ทำตามสญั ญาที่ตนให้ไว้
กบั พอ่ แมห่ รอื ผู้ปกครอง และครู

2.3 ปฏบิ ัติตนตอ่ ผู้อ่นื ด้วยความซื่อตรง และเปน็ แบบอย่างท่ดี ีแกเ่ พือ่ นด้านความซ่ือสตั ย์

3. มวี ินัย 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคับของครอบครวั และโรงเรยี น มคี วาม
รับผดิ ชอบ ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั กิ จิ กรรมต่างๆ ในชวี ิตประจำวันมคี วามรบั ผิดชอบ

4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 ตง้ั ใจเรยี น

4.2 เอาใจใส่ในการเรียน และมีความเพียรพยายามในการเรยี น

4.3 เข้ารว่ มกจิ กรรมการเรียนรตู้ ่างๆ

4.4 ศกึ ษาคน้ คว้า หาความรู้จากหนังสอื เอกสาร สิ่งพิมพ์ ส่ือเทคโนโลยีตา่ งๆ

แหล่งการเรยี นรทู้ ้ังภายในและภายนอกโรงเรยี น และเลอื กใช้สือ่ ได้อย่างเหมาะสม

4.5 บนั ทึกความรู้ วเิ คราะห์ ตรวจสอบบางส่งิ ท่เี รียนรู้ สรปุ เปน็ องคค์ วามรู้

4.6 แลกเปลี่ยนความรู้ ดว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆ และนำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั

5. อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง 5.1 ใช้ทรัพย์สนิ และสิ่งของของโรงเรยี นอยา่ งประหยัด

5.2 ใช้อปุ กรณ์การเรยี นอยา่ งประหยดั และรคู้ ณุ คา่

5.3 ใชจ้ า่ ยอยา่ งประหยดั และมกี ารเกบ็ ออมเงนิ

คุณลกั ษณะ รายการประเมนิ 122
อันพึงประสงค์ดา้ น
ระดับ
คะแนน
321

6. มุ่งมนั่ ในการ 6.1 มคี วามตั้งใจและพยายามในการทำงานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย
ทำงาน 6.2 มีความอดทนและไมท่ ้อแทต้ อ่ อุปสรรคเพือ่ ให้งานสำเรจ็
7.1 มีจิตสำนึกในการอนรุ กั ษ์วัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทย
7. รักความเปน็ ไทย 7.2 เหน็ คณุ ค่าและปฏบิ ตั ติ นตามวัฒนธรรมไทย
8.1 รจู้ กั ช่วยพอ่ แม่ ผู้ปกครอง และครทู ำงาน
8. มีจิตสาธารณะ 8.2 อาสาทำงาน ช่วยคดิ ชว่ ยทำ และแบง่ ปันสิง่ ของให้ผู้อนื่
8.3 ดแู ล รักษาทรพั ย์สมบตั ิและสง่ิ แวดลอ้ มของหอ้ งเรียน โรงเรยี น ชมุ ชน
8.4 เขา้ รว่ มกิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชนข์ องโรงเรียน

เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏบิ ตั ชิ ัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน
พฤตกิ รรมทป่ี ฏิบตั ชิ ัดเจนและบอ่ ยครั้ง ให้ 1 คะแนน
พฤติกรรมทปี่ ฏิบัติบางคร้ัง

รหัส จำนวนนักเรียน ชาย ........ คน หญงิ ........ คน รวม ....... คน คน ครูประจำชั้น นางสาวภทั รฐณิ ีพร พงษ์วสิ วุ รรณ์
เลขที่ ประจำ

ตวั

ชือ่ – สกลุ

1.การทำกิจกรรมตามแผนท่ีกำหนด แบบประเมินการปฏิบตั ิการทำกจิ กรรม รายช่อื นกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6/....... ปีการศึกษา 256........
2.การใช้อปุ กรณ์และ/หรอื เคร่ืองมือ
3.การบนั ทกึ ผลการทำกิจกรรม ร ร รร แบบประเมินการสืบสอบข้อมูล
4.การจดั กระทำข้อมูล และการนำเสนอ ว ว ว ว หมายเหตุ
5. การสรุปผลการทำกจิ กรรม ม ม มม แบบประเมนิ
6. การดแู ลและการเกบ็ อุปกรณ์และ/หรือเคร่ืองมือ คณุ ลักษณะ
อันพึงประสงค์
1.การวางแผนคน้ คว้า ขอ้ มลู จากแหลง่ การเรียนรู้
2.การเก็บรวบรวม ข้อมูล แบบ 123
3.การจัดกระทำข้อมูลและการนำเสนอ ประเมิน
4.การสรุปผล ชนิ้ งาน
5.การเขยี นรายงาน

3.มีวนิ ัย รับผดิ ชอบ
4.ใฝ่เรยี นรู้
6.มงุ่ ม่ันในการทำงาน

การจัดกระทำและนำเสนอ

124

ข้นั ท่ี 3 การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนหรอื ประสบการณ์การเรยี นรู้

การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

1. แรงไฟฟา้ (4 ชั่วโมง)

•ข้ัน•สงั•เก•ต ร•วบ• ร•วม•ขอ้ •มูล• (G• a•th•eri•ng•)

1. นักเรียนชมวีดิทัศน์เกี่ยวกับการเกิดไฟฟ้าสถิต แล้วร่วมกันสนทนาทบทวนประสบการณ์
เกี่ยวกับการเกิดไฟฟ้าสถิต ผู้แทนนักเรียนเล่าปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเกิดไฟฟ้าสถิต เช่น
ในฤดูหนาว อากาศเย็นและแห้ง จะสังเกตเห็นเสื้อผ้าใส่ติดตัว หรือขณะหวีผมแล้วเส้นผมติดหวีข้ึนมา
แลว้ รว่ มกันตอบคำถามกระตนุ้ ความคิด

2. นกั เรยี นเขา้ สู่บทเรียนเกย่ี วกับแรงไฟฟ้า โดยร่วมกนั ทำกจิ กรรมกระตุ้นความสนใจ ดังนี้
2.1 นักเรียนออกมาลองเล่นตุ๊กตาท่ีทำด้วยขนสัตว์ที่มีขนยาวเล็กน้อย ขยำให้ขนไม่เป็น

ระเบียบ แล้วสะบัดแรง ๆ นักเรียนทั้งช้ันเรียนร่วมกันสังเกตสิ่งที่เกิดข้ึน นักเรียนจะพบว่าขนของตุ๊กตา
ฟตู ้ังขึน้ อยา่ งเป็นระเบียบ

2.2 ถ้าไม่มีตุ๊กตา นักเรียน 2-3 คน ท่ีมีผมแห้ง ๆ หวีผม แล้วเพ่ือนในช้ันเรียนร่วมกันสังเกต
สิง่ ทเ่ี กิดข้นึ ท้งั เสียงและเส้นผม

3. นักเรียนร่วมกันตั้งประเด็นปัญหา เพื่อให้นักเรียนเกิดความสงสัยและต้องการหาคำตอบ
ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์จากการนำเสนอของเพื่อนในกิจกรรมข้อ 2.1 และ 2.2 วา่ เกิดจากอะไร
โดยพยายามให้นักเรียนสงสัยว่าการขัดถูกันของวัตถุทำให้เกิดอะไรขึ้น และร่วมกันตอบคำถามสำคัญ
กระตนุ้ ความคิด

4. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละเพศ และคละนักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน
(หรือจะแบ่งกลุ่มด้วยวิธีการต่าง ๆ เพ่ิมเติมได้) โดยแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังศึกษา อ่านเน้ือหา
สืบสอบและรวบรวมขอ้ มูลเกี่ยวกับแรงไฟฟา้ จากหนงั สอื เรยี นและแหล่งการเรียนรู้ทีห่ ลากหลาย พรอ้ มทั้ง
ออกแบบการนำเสนอผลการสบื สอบในแบบที่น่าสนใจ

5. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังศึกษาวิธีทำและปฏิบัติกิจกรรมที่ 3.1 เร่ือง
บทบาทสมมตุ ิการถ่ายโอนประจไุ ฟฟา้ ลบ และกจิ กรรมท่ี 3.2 เร่ือง แรงดงึ ดูดและแรงผลักทางไฟฟ้า

6. นกั เรียนแต่ละกลุ่มรว่ มกันแสดงความคิดเหน็ กอ่ นทำกิจกรรม โดยร่วมกันตอบคำถาม
กอ่ นทำกิจกรรม ร่วมกนั อยา่ งรวมพลังลงมือทำกจิ กรรมและบนั ทึกผล

7. ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการสืบสอบและผลการทำกิจกรรมหน้าช้ันเรียน
เพ่อื แลกเปลี่ยนเรยี นรู้กนั เพ่ือน ๆ ร่วมกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง

125

•ข(G้ัน•aคt•ดิhวe•เิ rคinร•าgะ)•หแ์• ล•ะส•รปุ •คว•าม•รู้ •(P•ro•ce•ssi•ng•)
8•. น• ักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ อภิปราย และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการทำกิจกรรม

โดยร่วมกนั ตอบคำถามหลงั ทำกิจกรรม
9. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปผลการทำกิจกรรมและสรุปส่ิงท่ีเข้าใจเป็นความรู้ร่วมกันเกี่ยวกับ

แรงไฟฟา้ วา่ วตั ถสุ ามารถถา่ ยโอนประจลุ บกับวตั ถุอน่ื ได้ โดยหลงั จากวัตถุถ่ายโอนประจุไฟฟ้ากนั แล้ว วัตถจุ ะมี
จำนวนประจุไฟฟ้าบวกและลบในตวั เองไม่เทา่ กนั และจะแสดงอำนาจไฟฟา้ ตามชนิดประจุทมี่ มี ากกวา่

 วัตถุเมื่อนำไปขัดถูด้วยผ้าแห้งจะทำให้เกิดประจุไฟฟ้าและวัตถุชนิดเดียวกันจะมีประจุไฟฟ้า
เหมือนกัน เมื่อนำมาใกล้กันจะเกิดแรงผลักกัน ส่วนวัตถตุ ่างชนิดกันจะมปี ระจุไฟฟา้ ต่างกัน เมื่อนำมาใกล้กัน
จะเกิดแรงดึงดูดกัน

ขั้นปฏิบตั แิ ละสรปุ ความรูห้ ลังการปฏบิ ตั ิ (Applying and Constructing the Knowledge)

• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • • • • • •
10•. •นัก•เร•ียน•แต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังวางแผน สืบสอบข้อมูลเก่ียวกับการถ่ายโอนประจุไฟฟ้า

แล้วรวบรวมข้อมลู จดั ทำเปน็ รายงาน
11. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังวางแผน สังเกต และสำรวจวัตถุที่สนใจในโรงเรียนหรือ

บ้าน ออกแบบ และลองทำการทดลองเหมือนกับกิจกรรมที่ 3.2 แรงดึงดูดและแรงผลักทางไฟฟ้า บันทึกผล
พร้อมเขียนรายงานพอสงั เขป

12. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังวางแผน ออกแบบ และสรุปความรู้เกี่ยวกับแรงไฟฟ้า
ในแบบแผนภาพความคดิ จัดทำเป็นช้ินงาน

13. นกั เรียนรว่ มกนั สรุปส่งิ ทีเ่ ขา้ ใจเปน็ ความรู้ร่วมกัน ดังนี้
 วตั ถุสามารถถ่ายโอนประจลุ บกับวตั ถุอ่ืนได้ วัตถุทุกชนิดมีประจุไฟฟ้า เม่ือนำวัตถตุ ่างชนิดกัน

มาขัดถกู ัน จะทำใหเ้ กิดประจุไฟฟา้ ท่ีสะสมบนวตั ถุ
 วัตถุ 2 ชนิดที่ผ่านการขัดถูแล้ว เมื่อนำเข้าใกล้กันอาจดึงดูดหรือผลักกัน แรงที่เกิดข้ึนนี้

เป็นแรงไฟฟ้า ซ่ึงเป็นแรงไม่สัมผัส เกิดข้ึนระหว่างวัตถุที่มีประจุไฟฟ้า ซึ่งประจุไฟฟ้ามี 2 ชนิด คือ
ประจไุ ฟฟา้ บวกและประจุไฟฟ้าลบ วตั ถทุ ม่ี ปี ระจไุ ฟฟ้าชนดิ เดยี วกันผลักกัน ชนิดตรงข้ามกันดึงดูดกนั

126

• ข•น้ั ส•ื่อส•าร•แล•ะน• ำเ•สน•อ•(A•pp•ly•ing• t•he• C•om• m• u•ni•cat•io•n S•ki•ll•)

14. ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอรายงาน การถ่ายโอนประจุไฟฟ้า รายงาน แรงไฟฟ้า
และแผนภาพความคิด แรงไฟฟ้า โดยวิธีจดั กิจกรรม Team Game Tournament: TGT) โดยจัดแยกให้สมาชิก
กลมุ่ ของตนกระจายไปทุกกลุ่มไปรับฟังการนำเสนอ และตอบข้อซกั ถามของกลุ่มอืน่

15. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเก่ียวกับวิธีการทำงานให้เห็นการคิดเชิงระบบ และวิธีการทำงาน
ทีม่ แี บบแผน

• ข•ัน้ ป•ระ•เม•นิ เ•พอ่ื •เพ•ิม่ ค•ุณ•ค่า•บร•ิกา•รส•ังค•มแ•ละ•จ•ิตส•าธ•าร•ณะ• (S•el•f-R•e•gu•lat•ing•)
16•. •นัก•เร•ียนนำความเข้าใจช่วยอธิบายให้เพ่ือนที่ยังไม่เข้าใจฟัง และร่วมกันคัดเลือกผลงานท่ีดีเด่น

นำไปมอบให้ห้องวิทยาศาสตร์ของโรงเรยี น และติดท่ีป้ายนิเทศหน้าช้ันเรียน เพ่ือใช้เป็นแหล่งการเรียนรู้ของ
นกั เรียนชน้ั อื่น ๆ

17. นักเรียนตรวจสอบหรือประเมินข้ันตอนต่าง ๆ ที่เรียนมาในวันนี้มีจุดเด่น จุดบกพร่องอะไรบ้าง
มีความสงสัย ความอยากรู้อยากเห็นในเรื่องใด ให้ระบุ

18. นักเรียนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู้สึกหลังการเรียนและหลังการทำกิจกรรม
ในประเด็นตอ่ ไปน้ี

• สิ่งทนี่ ักเรยี นไดเ้ รยี นรู้ในวันนคี้ ืออะไร
• นักเรียนมสี ว่ นร่วมกิจกรรมในกลมุ่ มากน้อยเพยี งใด
• เพอ่ื นนกั เรียนในกลุม่ มีสว่ นรว่ มกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพยี งใด
• นักเรียนพึงพอใจกับการเรียนในวนั นห้ี รอื ไม่ เพียงใด
• นักเรียนจะนำความรู้ท่ีได้น้ีไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมท่ัวไป

ได้อยา่ งไร
จาก น้ั น แ ลก เป ล่ี ย น ต ร ว จ ส อ บ ข้ั น ต อ น ก าร ท ำง าน ทุ ก ข้ั น ต อ น ว่ าจ ะ เพิ่ ม คุ ณ ค่ าไป สู่ สั ง ค ม
เกิดประโยชนต์ ่อสังคมให้มากขึ้นกวา่ เดิมในขนั้ ตอนใดบ้าง สำหรับการทำงานในครงั้ ต่อไป

127

2. วงจรไฟฟ้า (8 ช่ัวโมง)
 วงจรไฟฟา้ อย่างง่าย ตัวนำไฟฟา้ และฉนวนไฟฟ้า (6 ชว่ั โมง)

•ขนั้ •สงั•เก•ต ร•วบ• ร•วม•ข้อ•มลู • (G• a•th•eri•ng•)

1. นักเรียนสังเกตสายไฟฟ้า หลอดไฟฟ้า และถ่านไฟฉาย แล้วร่วมกันทบทวนประสบการณ์
ต้ังประเด็นปัญหาเพื่อเกิดความสงสัย และต้องการหาคำตอบด้วยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ โดยร่วมกัน
ตอบคำถามสำคญั

2. นักเรียนสังเกตวัตถุต่าง ๆ เช่น ลวดเสียบกระดาษ กระดาษ ตะปู หลอดพลาสติก เข็มหมุด
แล้วร่วมกันสนทนาทบทวนประสบการณ์เก่ียวกับสมบัติการนำไฟฟ้าของวัตถุ เพื่อเข้าสู่บทเรียนและ
กจิ กรรมเก่ยี วกับตัวนำไฟฟ้าและฉนวนไฟฟา้ โดยตอบคำถามสำคัญกระตุ้นความคดิ

3. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละเพศ และคละนักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน
(หรือจะแบ่งกลุ่มด้วยวิธีการต่าง ๆ เพิ่มเติมได้) โดยแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังศึกษา อ่านเน้ือหา
สืบสอบและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับชื่อ และสัญลักษณ์ของส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า ส่วนประกอบของ
วงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ย ตัวนำไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้า จากหนังสอื เรยี นและแหลง่ การเรยี นรู้ท่หี ลากหลาย
พรอ้ มทัง้ ออกแบบการนำเสนอผลการสบื สอบในแบบที่น่าสนใจ

4. นักเรียน แต่ละก ลุ่ มร่วมกัน อย่างรวมพ ลังศึก ษ าวิธีทำและปฏิบั ติกิ จกรรมท่ี 3.3
เรอื่ ง การตอ่ วงจรไฟฟ้าอย่างงา่ ย และกจิ กรรมท่ี 3.4 เรอ่ื ง ตวั นำไฟฟา้ และฉนวนไฟฟ้า

5. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันแสดงความคิดเห็นก่อนทำกิจกรรม โดยร่วมกันตอบคำถาม
ก่อนทำกจิ กรรม รว่ มกนั อยา่ งรวมพลังลงมือทำกจิ กรรมและบันทึกผล

6. ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการสืบสอบและผลการทำกิจกรรมหน้าชั้นเรียน
เพื่อแลกเปลยี่ นเรยี นรู้กัน เพอ่ื น ๆ ร่วมกนั ตรวจสอบความถูกต้อง

ขั้นคดิ วิเคราะหแ์ ละสรุปความรู้ (Processing)

•(G•at•he•rin•g)• • • • • • • • • • • • •
7•. น• กั เรียนแต่ละกลุ่มนำข้อมูลที่ได้จากการศึกษา สืบสอบมารว่ มกนั วิเคราะห์ อภิปราย เปรียบเทยี บ

ชอ่ื และสัญลกั ษณ์ของส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า เพื่อฝึกฝนตนเองใหเ้ ปน็ ผู้มคี วามรู้อยา่ งเข้าใจและมที ักษะ
แล้วสรุปเปน็ ความคิดรวบยอด

8. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ อภิปราย และแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับผลการทำกิจกรรม
โดยร่วมกนั ตอบคำถามหลังทำกิจกรรม

128

9. นักเรียนแต่ละกลุ่มสังเกตและอ่านบัตรคำเกี่ยวกับช่ือ และบัตรภาพสัญลักษณ์ของส่วนประกอบ
ของวงจรไฟฟ้า แต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ และเลือกบัตรคำช่ือ และบัตรภาพให้ถูกต้องและสัมพันธ์กัน
โดยเพื่อนในชนั้ เรียนรว่ มกันตรวจสอบความถูกต้อง

10. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปผลการทำกิจกรรมและสรุปส่ิงที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกันเกี่ยวกับ
วงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ย ตัวนำไฟฟ้าและฉนวนไฟฟา้ สญั ลักษณส์ ำคญั ของสว่ นประกอบของวงจรไฟฟ้า มีดังตาราง

ตาราง ชอ่ื และสญั ลกั ษณ์ที่สำคญั ของสว่ นประกอบของวงจรไฟฟ้า

ช่อื สัญลักษณ์
1. เซลล์ไฟฟา้

2. แบตเตอร่ี

3. สายไฟฟา้

4. สวิตช์

5. ความตา้ นทาน

6. แอมมเิ ตอร์

7. โวลต์มิเตอร์

8. หลอดไฟฟา้

 วงจรไฟฟ้าประกอบด้วยแหล่งกำเนิดไฟฟ้าหรือถ่านไฟฟ้า สายไฟฟ้า และเคร่ืองใช้ไฟฟ้าหรือ
หลอดไฟฟ้า เม่ือเชื่อมต่อท้ัง 3 ส่วนด้วยสายไฟฟ้า หรือวัสดุท่ีนำไฟฟ้ าได้ จะทำให้กระแสไฟฟ้าไหล
ครบวงจร เครื่องใช้ไฟฟ้าทำงาน หลอดไฟฟ้าสวา่ ง

 วัสดุท่ีนำไฟฟ้าได้ เม่ือต่อกับวงจรไฟฟ้าจะทำให้หลอดไฟฟ้าสว่าง เรียกว่า ตัวนำไฟฟ้า
ส่วนวัสดุที่ไม่นำไฟฟ้า เมื่อต่อกับวงจรไฟฟ้า จะทำให้หลอดไฟฟ้าไม่สว่าง เรียกว่า ฉนวนไฟฟ้า
วงจรปิดจะมกี ระแสไฟฟา้ ในวงจร ส่วนวงจรเปิดจะไมม่ กี ระแสไฟฟ้าในวงจร

129

ขั้นปฏิบัติและสรปุ ความรู้หลงั การปฏบิ ตั ิ (Applying and Constructing the Knowledge)

• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • • • • • •
1•1. •นั•กเร•ียน• แต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปความรู้เก่ียวกับชื่อและสัญลักษณ์ท่ีสำคัญของส่วนประกอบของ

วงจรไฟฟ้า แล้ววางแผน ออกแบบ และจัดทำเป็นคู่มือ ช่ือและสัญลักษณ์ท่ีสำคัญของส่วนประกอบของ
วงจรไฟฟ้า

12. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังวางแผน ออกแบบ และเขียนแผนภาพโดยใช้สัญลักษณ์
แสดงการตอ่ วงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ยท่ถี ูกวธิ ี วงจรปิด และวงจรเปดิ จดั ทำเป็นชน้ิ งาน

13. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังวางแผน ออกแบบ และประดิษฐ์วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย
จดั ทำเป็นช้นิ งาน

14. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังวางแผน สังเกต สำรวจวัตถุที่เป็นตัวนำไฟฟ้า และ
ฉนวนไฟฟ้าที่พบในชีวิตประจำวัน แล้วถ่ายภาพหรือวาดภาพและระบายสี นำมาจัดจำแนกในแบบโปสเตอร์
จัดทำเป็นชิ้นงาน

15. นักเรยี นร่วมกนั สรุปส่งิ ท่ีเขา้ ใจเปน็ ความรู้รว่ มกัน ดังน้ี
 สัญลักษณ์ท่ีสำคัญของส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า จะถูกใช้ในแผนภาพวงจรไฟฟ้า

เพอื่ แสดงให้เห็นการตอ่ เขา้ ด้วยกนั ของวงจร
 วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบด้วยแหล่งกำเนิดไฟฟ้า สายไฟฟ้า และเคร่ืองใช้ไฟฟ้าหรือ

อุปกรณ์ ไฟฟ้า แหล่งกำเนิดไฟฟ้า เช่น ถ่านไฟ ฉาย หรือแบตเตอรี่ ทำหน้าท่ีให้พลังงานไฟ ฟ้า
สายไฟฟ้าเป็นตัวนำไฟฟ้า ทำหน้าที่เชื่อมต่อระหว่างแหล่งกำเนิดไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้าเข้าด้วยกัน
เครื่องใช้ไฟฟ้ามหี นา้ ทเ่ี ปลยี่ นพลงั งานไฟฟ้าเป็นพลงั งานอนื่

 วสั ดทุ ่ีให้ประจไุ ฟฟ้าไหลผ่านได้ เรียกว่า ตัวนำ วัสดุที่ไม่ให้ประจไุ ฟฟ้าไหลผา่ น เรยี กว่า ฉนวน
 ตัวนำมคี วามตา้ นทานการไหลของประจไุ ฟฟ้าน้อย
 วัสดุท่ีมีความต้านทานการไหลของประจุไฟฟ้าแต่ยอมให้ประจุไฟฟ้าไหลผ่านได้ เรียกว่า
ตวั ตา้ นทาน
 ไฟฟ้าลัดวงจรเกิดจากการที่ลวดสายไฟฟ้าสัมผัสกันก่อนท่ีประจุไฟฟ้าจะไหลไปผ่าน
เครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ ทำใหเ้ กดิ ความรอ้ นสงู มาก อาจเปน็ สาเหตุของไฟไหม้ได้ ฉนวนช่วยป้องกันการเกิด
ไฟฟา้ ลัดวงจร
16. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังสรุปหลักการเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ตัวนำไฟฟ้า
และฉนวนไฟฟา้ แล้ววางแผน ออกแบบ และเขยี นในแบบผงั ความคิดในกระดาษฟลิปชารต์

130

• ข•นั้ ส•ือ่ ส•าร•แล•ะน• ำเ•สน•อ•(A•pp•ly•ing• t•he• C•om• m• u•ni•cat•io•n S•ki•ll•)

17. ผู้แทนนักเรียนแตล่ ะกลุ่มนำเสนอคู่มือ ช่ือและสัญลกั ษณ์ทีส่ ำคัญของส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
แผนภาพ การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายที่ถูกวิธี วงจรปิด และวงจรเปิด และส่ิงประดิษฐ์ วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย
โปสเตอร์ ตัวนำไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้า และผังความคิด วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ตัวนำไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้า
โดยวิธีจดั กจิ กรรม Team Game Tournament: TGT โดยจัดแยกให้สมาชกิ กลุ่มของตนเองกระจาย
ไปทกุ กลุ่มไปรบั ฟังการนำเสนอ และตอบข้อซกั ถามของกลุ่มอื่น

18. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับวิธีการทำงานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการทำงาน
ทีม่ แี บบแผน

• ข•น้ั ป•ระ•เม•ินเ•พอื่ •เพ•ิม่ ค•ณุ •คา่ •บร•ิกา•รส•ังค•มแ•ละ•จ•ิตส•าธ•าร•ณะ• (S•el•f-R•e•gu•lat•ing•)
19•. •นัก•เร•ียนนำความเข้าใจช่วยอธิบายให้เพื่อนท่ียังไม่เข้าใจฟัง และร่วมกันคัดเลือกผลงานท่ีดีเด่น

มอบใหห้ อ้ งวิทยาศาสตร์ เพอ่ื ใช้เป็นสอื่ การเรยี นการสอนตอ่ ไป
20. นักเรยี นร่วมกันจัดประกวดส่ิงประดิษฐ์ในแบบเดินชมนทิ รรศการทีล่ านอเนกประสงค์ของโรงเรียน

เพื่อเผยแพร่ความรู้ให้เพ่ือนนักเรียนในโรงเรียนเดินชม และคัดเลือกผลงานที่ดีเด่นสิ่งประดิษฐ์วงจรไฟฟ้า-
อยา่ งง่าย นำไปมอบใหโ้ รงเรยี นทห่ี ่างไกล เพอ่ื ใชเ้ ปน็ สอ่ื การเรยี นการสอน

21. นักเรียนร่วมกันนำโปสเตอร์และผังความคิดไปติดท่ีป้ายประกาศในโรงเรียนหรือในท้องถิ่น
เพื่อเผยแพรค่ วามรู้ให้แก่เพื่อนนกั เรียนและคนในทอ้ งถน่ิ

22. นักเรยี นร่วมกนั จัดแสดงผลงานของนกั เรียนเพ่อื เปน็ แรงจูงใจให้นกั เรยี นผลติ ผลงานทด่ี ี และไดเ้ ห็น
ผลงานทหี่ ลากหลายของเพือ่ น เปน็ การเปดิ ความคดิ ของนักเรยี นให้กว้างขนึ้

23. นักเรียนตรวจสอบหรือประเมินขั้นตอนต่าง ๆ ที่เรียนมาในวันนี้มีจุดเด่น จุดบกพร่องอะไรบ้าง
มีความสงสัย ความอยากรู้อยากเห็นในเร่อื งใด ใหร้ ะบุ

24. นักเรียนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู้สึกหลังการเรียน และหลังการทำกิจกรรม
ในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี

• สง่ิ ท่ีนกั เรยี นได้เรยี นรู้ในวนั นี้คืออะไร
• นกั เรียนมสี ว่ นร่วมกจิ กรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• เพอื่ นนกั เรียนในกลุ่มมีสว่ นรว่ มกจิ กรรมในกลุ่มมากนอ้ ยเพียงใด
• นกั เรยี นพึงพอใจกบั การเรียนในวนั น้ีหรือไม่ เพียงใด
• นักเรียนจะนำความรู้ที่ได้นี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทั่วไป

ได้อยา่ งไร
จากน้ันแลกเปล่ียนตรวจสอบข้ันตอนการทำงานทุกข้ันตอนว่าจะเพิ่มคุณค่าไปสู่สังคม
เกดิ ประโยชน์ต่อสงั คมใหม้ ากข้นึ กวา่ เดมิ ในขน้ั ตอนใดบา้ ง สำหรบั การทำงานในคร้งั ต่อไป

131

 แหล่งพลังงานไฟฟา้ (2 ชั่วโมง)

•ขน้ั •สัง•เก•ต ร•วบ• ร•วม•ข้อ•มูล• (G• a•th•eri•ng•)

1. นักเรียนร่วมกันสนทนาทบทวนประสบการณ์เก่ียวกับแหล่งพลังงานไฟฟ้า โดยร่วมกันบอก
แหล่งพลงั งานไฟฟ้าท่ีนกั เรียนรู้จัก ผแู้ ทนนักเรียนบนั ทึกคำตอบบนกระดานในแบบแผนภาพความคดิ

2. นักเรียนสังเกตวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย และตัวนำไฟฟ้า แล้วร่วมกันตอบคำถามเก่ียวกับ
สว่ นประกอบของวงจรไฟฟ้า การไหลของประจุไฟฟา้ ในวงจร

3. นักเรียนบอกความเข้าใจเก่ียวกับแหล่งพลังงานไฟฟ้า หรือถ่านไฟฉาย และต้ังคำถามที่สนใจ
เก่ยี วกับถา่ นไฟฉายเพ่อื โยงไปสู่คำถามสำคัญ

4. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละเพศ และคละนักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน
(หรอื จะแบง่ กลุ่มด้วยวิธีการต่าง ๆ เพ่ิมเติมได้) โดยแตล่ ะกลุ่มรว่ มกันอย่างรวมพลงั ศึกษา อา่ นเน้อื หา สืบสอบ
และรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับแหล่งพลังงานไฟฟ้า จากหนังสือเรียนและแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย
พรอ้ มทง้ั ออกแบบการนำเสนอผลการสืบค้นให้อยู่ในแบบท่นี ่าสนใจ

5. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันฟังอธิบายเกี่ยวกับเครื่องมือวัดกระแสไฟฟ้า หรือแอมมิเตอร์
สาธิตการใช้แอมมิเตอร์ ส่วนคำถามอื่นให้เวลาและโอกาสแก่นักเรียนในการค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
หรอื ทำการทดลองตามความเหมาะสม

6. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังศึกษาวิธีทำและปฏิบัติกิจกรรมท่ี 3.5 เร่ือง เซลล์ไฟฟ้า
จากผลไม้

7. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันแสดงความคิดเห็นก่อนทำกิจกรรม โดยร่วมกันตอบคำถาม
กอ่ นทำกจิ กรรม รว่ มกนั อยา่ งรวมพลงั ลงมอื ทำกิจกรรมและบันทึกผล

8. ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการสืบสอบและผลการทำกิจกรรมหน้าช้ันเรียน
เพือ่ แลกเปล่ียนเรยี นรู้กนั เพือ่ น ๆ ร่วมกนั ตรวจสอบความถกู ต้อง

•(ขG้นั•aคt•ิดhวe•ิเrคinร•าgะ)•หแ์• ล•ะส•รปุ •คว•าม•รู้ •(P•ro•ce•ssi•ng•)
9•. น• ักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ อภิปราย และแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับผลการทำกิจกรรม

โดยร่วมกนั ตอบคำถามหลังทำกจิ กรรม
10. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปผลการทำกิจกรรมและสรุปส่ิงท่ีเข้าใจเป็นความรู้ร่วมกันเก่ียวกับ

การทำงานของถ่านไฟฉาย หรือแหล่งพลังงานไฟฟ้าว่า มะนาว แผ่นสังกะสี และแผ่น ทองแดง
สามารถทำหน้าที่เป็นแหล่งกำเนิดไฟฟ้าได้ เนื่องจากในมะนาวส่งผลต่อการแลกเปลี่ยนประจุไฟฟ้าลบ
ของแผ่นโลหะท้ังสองชนดิ กระแสไฟฟา้ จึงไหลในวงจร ทำใหห้ ลอดไฟฟา้ สว่างข้นึ

132

 ถ่านไฟฉาย แบตเตอร่ี และเคร่อื งกำเนดิ ไฟฟ้า เปน็ แหลง่ พลงั งานไฟฟ้า
 ถ่านไฟฉายประกอบด้วยวัตถุสองชนิด ทำหน้าที่เป็นข้ัวไฟฟ้าบวกและข้ัวไฟฟ้าลบ
โดยมีของผสมเปียกชื้นท่ีนำไฟฟ้าได้อยู่ระหว่างกลาง เม่ือต่อสายไฟฟ้ากับขั้วบวกและข้ัวลบจนครบวงจร
จะมกี ระแสไฟฟา้ ในวงจร
11. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มร่วมกันฟังการอธิบายเกี่ยวกับการทำงานของเครือ่ งกำเนิดไฟฟา้ โดยใช้แรงนํ้า
หรอื แรงไอนาํ้ ท่ีหมุนกังหันเครอ่ื งกำเนิดไฟฟ้า โดยอาจนำเสนอภาพเขื่อนทแ่ี สดงกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้า
จากพลังงานนํา้ หรอื ชมวีดทิ ัศน์การทำงานของเคร่ืองกำเนดิ ไฟฟ้าพลงั น้าํ หรือพลงั ไอนํา้
12. นกั เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ เปรียบเทยี บขอ้ ดี-ข้อเสียของการสรา้ งเขื่อน เพือ่ ใชพ้ ลงั น้ํากับ
การใชเ้ ชือ้ เพลงิ เพ่ือผลติ กระแสไฟฟ้า แลว้ เขยี นในแบบแผนภาพเปรียบเทียบ
13. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปหลักการเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบ และการทำงานของ
เครือ่ งกำเนดิ ไฟฟ้า การเปล่ียนรปู พลังงานในเคร่ืองกำเนิดไฟฟ้าให้ได้ ดังนี้
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าประกอบด้วยแม่เหล็กและขดลวด การหมุนขดลวดในสนามแม่เหล็ก หรือ
การเคล่อื นท่แี ม่เหลก็ ข้ึนลงระหวา่ งขดลวดทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าในขดลวด

• ข•น้ั ป• ฏ•ิบัต•แิ ล•ะส•รุป• ค•วา•มร•ู้หล•ังก•าร•ปฏ•บิ ตั•ิ (•Ap• p•lyi•ng• an• d•C•on•str•uc•tin•g•th•e •Kn•ow•le•dg•e)•
1•4. •นั•กเร•ีย•นแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังวางแผน ออกแบบ และทดลองนำผลไม้ชนิดอื่น

เช่น มะนาว แอปเปิล แทนมันฝร่ัง และใช้แผ่นโลหะชนิดอื่น ๆ แล้วร่วมกันอภิปรายว่านักเรียนจะทราบได้
อย่างไรว่าผลไมช้ นิดใด และโลหะคู่ใดใหพ้ ลงั งานไฟฟา้ ไดม้ ากกวา่ กัน

15. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกนั อยา่ งรวมพลังวางแผน ทำโครงงานเกีย่ วกับการทำงานของถ่านไฟฉายท่ี
ใช้อุปกรณ์การทดลองแตกต่างกัน เพื่อศึกษาอุปกรณ์การทดลองที่เหมาะสมท่ีแสดงการทำงานของถ่านไฟฉาย
ได้ชัดเจน แลว้ รวบรวมขอ้ มูล นำเสนอในแบบแผงโครงงาน จัดทำเป็นช้ินงาน

16. นักเรียนร่วมกนั สรปุ สิ่งท่เี ขา้ ใจเป็นความรู้รว่ มกัน ดังน้ี
 ถ่านไฟฉายประกอบด้วยวัตถุสองชนิดทำหน้าที่เป็นข้ัวไฟฟ้าบวกและข้ัวไฟฟ้าลบ และสารท่ี

เป็นของผสมเปียกช้ืนท่ีนำไฟฟ้าได้ ถ้าต่อข้ัวไฟฟ้าบวกและลบด้วยสายไฟฟ้าจนครบวงจร จะมีกระแสไฟฟ้า
ในวงจร

 ถ่านไฟฉาย แบตเตอร่ี เครื่องกำเนดิ ไฟฟ้าหรอื ไดนาโม และไฟฟา้ จากสิ่งมีชวี ิต
เปน็ แหล่งพลังงาน

133

• ข•ั้นส•่ือส•าร•แล•ะน• ำเ•สน•อ•(A•pp•ly•ing• t•he• C•om• m• u•ni•cat•io•n S•ki•ll•)

17. ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอโครงงาน การทำงานของถ่านไฟฉายที่ใช้อุปกรณ์การทดลอง
แตกต่างกัน เพ่ือศึกษาอุปกรณ์การทดลองท่ีเหมาะสมท่ีแสดงการทำงานของถ่านไฟฉายได้ชัดเจน โดยวิธีจัด
กิจกรรม Team Game Tournament: TGT โดยจัดแยกให้สมาชิกกลุ่มของตนกระจายไปทุกกลุ่มไปรับ
การนำเสนอ และตอบขอ้ ซกั ถามของกลุ่มอน่ื

18. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับวิธีการทำงานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการทำงาน
ที่มีแบบแผน

• ข•้นั ป•ระ•เม•ินเ•พอ่ื •เพ•ิม่ ค•ณุ •คา่ •บร•ิกา•รส•ังค•มแ•ละ•จ•ติ ส•าธ•าร•ณะ• (S•el•f-R•e•gu•lat•ing•)
19•. •นัก•เร•ียนร่วมกันจัดประกวดโครงงานในแบบเดินชมนิทรรศการท่ีลานอเนกประสงค์ของโรงเรียน

เพือ่ เผยแพร่ความรู้ให้เพื่อนนกั เรียนในโรงเรยี นเดนิ ชม
20. นักเรียนประยุกต์ความรู้ในการสอนน้องเกี่ยวกับการใส่ถ่านไฟฉายในของเล่น ของใช้ให้ถูกวิธี

เพื่อใหข้ องเลน่ เล่นได้ ของใชท้ ำงานได้
21. นักเรยี นรว่ มกันจัดแสดงผลงานของนกั เรียนเพ่อื เปน็ แรงจูงใจใหน้ ักเรียนผลติ ผลงานทดี่ ี และได้เห็น

ผลงานทหี่ ลากหลายของเพอ่ื น เป็นการเปิดความคิดของนักเรียนใหก้ วา้ งขึ้น
22. นักเรียนตรวจสอบหรือประเมินขั้นตอนต่าง ๆ ที่เรียนมาในวันน้ีมีจุดเด่น จุดบกพร่องอะไรบ้าง

มคี วามสงสยั ความอยากรู้อยากเหน็ ในเรอื่ งใด ให้ระบุ
23. นักเรียนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู้สึกหลังการเรียนและหลังการทำกิจกรรม

ในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี
• ส่งิ ที่นกั เรยี นไดเ้ รียนรู้ในวนั นคี้ ืออะไร
• นกั เรียนมสี ว่ นร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• เพ่ือนนกั เรียนในกลุ่มมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากนอ้ ยเพยี งใด
• นกั เรยี นพึงพอใจกบั การเรยี นในวันนห้ี รือไม่ เพยี งใด
• นักเรียนจะนำความรู้ที่ได้น้ีไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมท่ัวไป
ได้อยา่ งไร
จาก น้ั น แ ลก เป ลี่ ย น ต ร ว จ ส อ บ ข้ั น ต อ น ก าร ท ำง าน ทุ ก ขั้ น ต อ น ว่ าจ ะ เพ่ิ ม คุ ณ ค่ าไป สู่ สั ง ค ม

เกิดประโยชน์ตอ่ สังคมให้มากขน้ึ กวา่ เดมิ ในขน้ั ตอนใดบ้าง สำหรับการทำงานในครั้งต่อไป

134

3. การต่อวงจรไฟฟา้ (4 ช่ัวโมง)
 การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม (2 ช่วั โมง)

•ขนั้ •สัง•เก•ต ร•วบ• ร•วม•ขอ้ •มลู • (G• a•th•eri•ng•)

1. นักเรียนสังเกตกระบอกไฟฉาย จากน้ันร่วมกันตั้งประเด็นปัญหาเม่ือนักเรียนเกิดความสงสัย
และตอ้ งการหาคำตอบดว้ ยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ โดยรว่ มกันตอบคำถาม

2. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละเพศ และคละนักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน
(หรอื จะแบง่ กลุ่มดว้ ยวิธีการต่าง ๆ เพ่ิมเตมิ ได้) โดยแตล่ ะกลุ่มร่วมกันอยา่ งรวมพลังศกึ ษา อ่านเนอ้ื หา สืบสอบ
และรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการต่อเซลล์ไฟฟ้า จากหนังสือเรียนและแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย
พรอ้ มทง้ั ออกแบบการนำเสนอผลการสืบสอบในแบบท่ีนา่ สนใจ

3. นั ก เรียน แ ต่ ล ะ ก ลุ่ ม ร่วม กั น อ ย่างร ว ม พ ลังศึ ก ษ าวิธี ท ำแ ล ะ ป ฏิ บั ติ กิ จก ร รม ท่ี 3.6
เรอ่ื ง การตอ่ เซลล์ไฟฟ้า

4. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันแสดงความคิดเห็นก่อนทำกิจกรรม โดยร่วมกันตอบคำถาม
กอ่ นทำกิจกรรม ร่วมกันอย่างรวมพลังลงมอื ทำกจิ กรรมและบันทกึ ผล

5. ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการสืบสอบและผลการทำกิจกรรมหน้าช้ันเรียน
เพื่อแลกเปล่ยี นเรยี นรู้กนั เพ่อื น ๆ ร่วมกันตรวจสอบความถกู ตอ้ ง

•(ขG้ัน•aคt•ิดhวe•ิเrคinร•าgะ)•หแ์• ล•ะส•รุป•คว•าม•รู้ •(P•ro•ce•ssi•ng•)
6•. น• ักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ อภิปราย และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการทำกิจกรรม

โดยรว่ มกนั ตอบคำถามหลงั ทำกิจกรรม
7. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปผลการทำกิจกรรมและสรุปสิ่งท่ีเข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน

การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมว่า การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม ส่งผลให้มีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจรไฟฟ้า
เพิม่ ขนึ้ หลอดไฟฟา้ สวา่ งมากขนึ้

 ความสว่างของหลอดไฟฟ้าท่ีเกิดข้ึนในวงจรไฟฟ้าขึ้นอยู่กับจำนวนเซลล์ไฟฟ้า (ถ่านไฟฉาย)
และลกั ษณะการตอ่ เซลล์ไฟฟ้าในวงจร

1) จำนวนเซลลไ์ ฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า ถา้ จำนวนเซลล์ไฟฟา้ ในวงจรมาก จะให้พลงั งานไฟฟ้ามาก
มผี ลใหก้ ระแสไฟฟ้าท่ีผ่านหลอดไฟฟ้ามากข้ึน ทำให้หลอดไฟฟ้าสวา่ งมากขน้ึ

2) ลกั ษณะการตอ่ เซลล์ไฟฟ้าในวงจรไฟฟา้

135

2.1 การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม เป็นการนำเซลล์ไฟฟ้ามาต่อในวงจรไฟฟ้า
โดยให้ข้ัวบวกของก้อนแรกต่อเข้ากับข้ัวลบของก้อนท่ี 2 เรียงกันไป ทำให้กระแสไฟฟ้าที่ผ่านหลอดไฟฟ้า
มากขึ้น หลอดไฟฟ้าสวา่ งมากขึ้น

2.2 การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนาน เป็นการนำเซลล์ไฟฟ้ามาวางขนานกัน โดยข้ัวบวก
แต่ละก้อนต่อเข้าด้วยกันและข้ัวลบแต่ละก้อนต่อเข้าด้วยกัน แล้วจึงต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้า การต่อเซลล์ไฟฟ้า
แบบขนาน จะทำให้เซลล์ไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าใชง้ านไดน้ านขนึ้

ขน้ั ปฏบิ ัตแิ ละสรุปความร้หู ลังการปฏิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge)

• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • • • • • •
•8. • นั•ก เร•ี ย •น แ ต่ ล ะ ก ลุ่ มร่ ว มกั น อ ย่าง ร ว มพ ลั งส รุ ปค ว าม รู้ ด้ ว ย ตน เอ ง เก่ี ย ว กั บก าร ต่ อ เซ ลล์ ไ ฟ ฟ้ า

แบบอนุกรมและแบบขนานในวงจรไฟฟ้า แล้ววางแผน ออกแบบ และเขียนเป็นผังมโนทัศน์ในกระดาษ
ฟลิปชาร์ต

9. นักเรียนเช่ือมโยงความรู้กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกัน
อยา่ งรวมพลังวางแผน ออกแบบ และประดิษฐส์ ่ิงประดิษฐ์ ของเล่น ของใช้ จากการต่อเซลลไ์ ฟฟ้าแบบอนุกรม
และแบบขนานในวงจรไฟฟ้า โดยเลือกใช้วสั ดอุ ย่างประหยดั และค้มุ ค่า จดั ทำเปน็ ชิน้ งาน

10. นกั เรียนรว่ มกันสรปุ สง่ิ ท่ีเข้าใจเปน็ ความรู้รว่ มกนั ดงั น้ี
 เมอื่ นำเซลล์ไฟฟ้าหลายเซลล์มาต่อเรียงกนั โดยให้ข้วั บวกของเซลลไ์ ฟฟ้าเซลล์หน่ึงตอ่ กับข้ัวลบ

ของอีกเซลล์หนึ่งเป็นการต่อแบบอนุกรม ทำให้มีพลังงานไฟฟ้าเหมาะสมกับเครื่องใช้ไฟฟ้า ซึ่งการต่อ
เซลล์ไฟฟา้ แบบอนุกรมสามารถนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจำวนั เช่น การตอ่ เซลล์ไฟฟ้าในไฟฉาย

• ข•ั้นส•ื่อส•าร•แล•ะน• ำเ•สน•อ•(A•pp•ly•ing• t•he• C•om• m• u•ni•cat•io•n S•ki•ll•)

11. ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผังมโนทัศน์ และส่ิงประดิษฐ์ ของเล่น ของใช้จากการต่อ
เซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนานในวงจรไฟฟ้า โดยวิธีจัดกิจกรรม Team Game Tournament: TGT
โดยจดั แยกใหส้ มาชกิ กลุ่มของตนกระจายไปทุกกลุ่มไปรับฟังการนำเสนอและตอบข้อซักถามของกลุ่มอืน่

12. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเก่ียวกับวิธีการทำงานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการทำงาน
ท่ีมีแบบแผน

136

• ข•้นั ป•ระ•เม•ินเ•พอื่ •เพ•่ิมค•ุณ•คา่ •บร•ิกา•รส•ังค•มแ•ละ•จ•ติ ส•าธ•าร•ณะ• (S•el•f-R•e•gu•lat•ing•)
13•. •นกั•เร•ยี นร่วมกนั จัดประกวดสิง่ ประดิษฐ์ในแบบเดินชมนทิ รรศการทล่ี านอเนกประสงค์ของโรงเรียน

เพื่อเผยแพร่ความรู้ให้เพื่อนนักเรียนในโรงเรียนเดินชม และคัดเลือกผลงานท่ีดีเด่นมอบให้ห้องวิทยาศาสตร์
เพอ่ื ใชเ้ ป็นสื่อการเรียนการสอนตอ่ ไป

14. นักเรียนนำความรู้เกี่ยวกับการต่อเซลล์ไฟฟ้าไปบอกผู้ปกครองเก่ียวกับการต่อเซลล์ไฟฟ้า
เพอ่ื ใหห้ ลอดไฟฟ้าสว่าง และส้นิ เปลืองพลังงานไฟฟา้ น้อยที่สุด

15. นักเรียนร่วมกันจัดแสดงผลงานของนักเรียนเพื่อเป็นแรงจูงใจให้นักเรียนผลิตผลงานที่ดี
และไดเ้ ห็นผลงานทีห่ ลากหลายของเพื่อน เปน็ การเปดิ ความคดิ ของนักเรยี นใหก้ ว้างขน้ึ

16. นักเรียนตรวจสอบหรือประเมินขั้นตอนต่าง ๆ ที่เรียนมาในวันน้ีมีจุดเด่น จุดบกพร่องอะไรบ้าง
มีความสงสยั ความอยากรู้อยากเหน็ ในเรื่องใด ใหร้ ะบุ

17. นักเรียนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู้สึกหลังการเรียนและหลังการทำกิจกรรม
ในประเด็นตอ่ ไปน้ี

• สง่ิ ทนี่ ักเรยี นไดเ้ รยี นรใู้ นวนั นี้คอื อะไร
• นักเรียนมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• เพือ่ นนกั เรยี นในกลุ่มมสี ่วนร่วมกิจกรรมในกล่มุ มากนอ้ ยเพียงใด
• นักเรยี นพงึ พอใจกบั การเรยี นในวันน้หี รือไม่ เพยี งใด
• นักเรียนจะนำความรู้ท่ีได้นี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทั่วไป

ได้อยา่ งไร
จาก น้ั น แ ลก เป ล่ี ย น ต ร ว จ ส อ บ ขั้ น ต อ น ก าร ท ำง าน ทุ ก ข้ั น ต อ น ว่ าจ ะ เพ่ิ ม คุ ณ ค่ าไป สู่ สั ง ค ม
เกิดประโยชน์ต่อสังคมใหม้ ากขนึ้ กว่าเดมิ ในข้นั ตอนใดบ้าง สำหรับการทำงานในครงั้ ต่อไป

137

 การต่อหลอดไฟฟา้ แบบอนุกรมและแบบขนาน (2 ชว่ั โมง)

•ข้ัน•สัง•เก•ต ร•วบ• ร•วม•ข้อ•มลู • (G• a•th•eri•ng•)

1. นักเรียนสังเกตการปิดเปิดไฟแต่ละหลอดภายในช้ันเรยี น หรือภายในบ้านว่ามีผลกับหลอดไฟฟ้า
หรอื เครื่องใชไ้ ฟฟ้าอ่ืนหรอื ไม่ อย่างไร นักเรยี นลงมือเขียนแผนภาพแสดงการต่ออุปกรณไ์ ฟฟ้าในบ้านท่เี กิดผล
เชน่ น้นั

2. นักเรียนเข้าสู่บทเรียนเกี่ยวกับการต่อหลอดไฟฟ้า โดยร่วมกัน เล่นเกมผ่านเว็บ ไซต์
(https://phet.colorado.edu) ตอบคำถามสำคญั กระตุ้นความคดิ

3. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละเพศ และคละนักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน
(หรือจะแบ่งกลุ่มด้วยวิธีการต่าง ๆ เพ่ิมเตมิ ได)้ โดยแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังศึกษา อ่านเนื้อหา สืบสอบ
และรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน จาก หนังสือเรียนและ
แหลง่ การเรียนรู้ท่ีหลากหลาย พรอ้ มทงั้ ออกแบบการนำเสนอผลการสืบสอบในแบบท่ีน่าสนใจ

4. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังศึกษาวิธีทำและปฏิบัติกิจกรรมท่ี 3.7 เร่ือง การต่อ
หลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน

5. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันแสดงความคิดเห็นก่อนทำกิจกรรม โดยตอบคำถามก่อนทำกิจกรรม
ร่วมกันอย่างรวมพลังลงมอื ทำกจิ กรรมและบนั ทึกผล

6. ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการสืบสอบและผลการทำกิจกรรมหน้าช้ันเรียน
เพอ่ื แลกเปลี่ยนเรยี นรู้กัน เพือ่ น ๆ รว่ มกันตรวจสอบความถกู ต้อง

•(ขGัน้•aคt•ดิhวe•เิ rคinร•าgะ)•หแ์• ล•ะส•รปุ •คว•าม•รู้ •(P•ro•ce•ssi•ng•)
7•. น• ักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ อภิปราย และแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับผลการทำกิจกรรม

โดยรว่ มกันตอบคำถามหลงั ทำกจิ กรรม
8. นักเรียนร่วมกันสรุปผลการทำกิจกรรมและสรุปส่ิงท่ีเข้าใจเป็นความรู้ร่วมกันเกี่ยวกับการต่อ

หลอดไฟฟ้าว่า การต่อหลอดไฟฟ้ามี 2 แบบ คือ การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม และการต่อหลอดไฟฟ้า
แบบขนาน การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม เม่ือถอดหลอดไฟฟ้าหลอดใดหลอดหน่ึงออกทำให้หลอดไฟฟ้า
ทเี่ หลือดบั ทั้งหมด ส่วนการต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนาน เมื่อถอดหลอดไฟฟ้าหลอดใดหลอดหน่ึงออก หลอดไฟฟ้า
ท่เี หลอื ก็ยังสวา่ งได้

138

ขัน้ ปฏบิ ตั แิ ละสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge)

• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • • • • • •
•9. • นั•กเร•ียน• แต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังสรุปความรู้ด้วยตนเองเก่ียวกับการต่อหลอดไฟฟ้าแบบ

อนุกรมและแบบขนานในวงจรไฟฟ้า แล้ววางแผน ออกแบบ และเขยี นเปน็ ผงั มโนทัศนใ์ นกระดาษฟลิปชารต์
10. นักเรียนเชื่อมโยงความรู้กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกัน

อย่างรวมพลังวางแผน ออกแบบ และประดิษฐ์ส่ิงประดิษฐ์ ของเล่น ของใช้ จากการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม
และแบบขนานในวงจรไฟฟ้า โดยเลอื กใช้วสั ดอุ ย่างประหยดั และคุม้ คา่ จดั ทำเป็นชิ้นงาน

11. นกั เรยี นร่วมกันสรุปสิง่ ทเ่ี ข้าใจเป็นความรู้รว่ มกนั ดังนี้
 การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม เม่ือถอดหลอดไฟฟ้าดวงใดดวงหนึ่งออกทำให้หลอดไฟฟ้า

ท่ีเหลือดับทั้งหมด ส่วนการต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนาน เมื่อถอดหลอดไฟฟ้าดวงใดดวงหน่ึงออก หลอดไฟฟ้า
ทเ่ี หลือก็ยังสว่างได้ การต่อหลอดไฟฟา้ แต่ละแบบสามารถนำไปใช้ประโยชนไ์ ด้ เช่น การต่อหลอดไฟฟ้าหลาย
ดวงในบ้านจึงต้องต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนาน เพอ่ื เลือกใชห้ ลอดไฟฟา้ หลอดใดหลอดหนึ่งได้ตามต้องการ

• ข•น้ั ส•อื่ ส•าร•แล•ะน• ำเ•สน•อ•(A•pp•ly•ing• t•he• C•om• m• u•ni•cat•io•n S•ki•ll•)

12. ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผังมโนทัศน์ และสิ่งประดิษฐ์ ของเล่น ของใช้จากการต่อ
หลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนานในวงจรไฟฟ้า โดยวิธีจัดกิจกรรม Team Game Tournament: TGT
โดยจดั แยกให้สมาชกิ กลุ่มของตนกระจายไปทุกกลุ่ม ไปรับฟังการนำเสนอและตอบขอ้ ซกั ถามของกลุ่มอน่ื

13. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับวิธีการทำงานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการทำงาน
ท่ีมแี บบแผน

• ข•ั้นป•ระ•เม•นิ เ•พอื่ •เพ•ม่ิ ค•ุณ•ค่า•บร•ิกา•รส•ังค•มแ•ละ•จ•ติ ส•าธ•าร•ณะ• (S•el•f-R•e•gu•lat•ing•)
14•. •นัก•เร•ยี นร่วมกนั จัดประกวดสิ่งประดษิ ฐ์ในแบบเดินชมนทิ รรศการท่ลี านอเนกประสงคข์ องโรงเรยี น

เพื่อเผยแพร่ความรู้ให้เพื่อนนักเรียนในโรงเรียนเดินชม และคัดเลือกผลงานท่ีดีเด่นมอบให้ห้องวิทยาศาสตร์
เพ่อื ใช้เป็นส่ือการเรยี นการสอนตอ่ ไป

15. นักเรียนนำความรู้เกี่ยวกับการต่อหลอดไฟฟ้าไปบอกผู้ปกครองเกี่ยวกับการต่อหลอดไฟฟ้า
แบบอนกุ รมและแบบขนานในบ้าน

16. นักเรยี นร่วมกนั จดั แสดงผลงานของนักเรยี นเพ่ือเปน็ แรงจงู ใจใหน้ ักเรยี นผลติ ผลงานทด่ี ี และไดเ้ ห็น
ผลงานทห่ี ลากหลายของเพ่อื น เปน็ การเปิดความคดิ ของนักเรียนให้กวา้ งขนึ้

139

17. นักเรียนตรวจสอบหรือประเมินขั้นตอนต่าง ๆ ท่ีเรียนมาในวันนี้มีจุดเด่น จุดบกพร่องอะไรบ้าง
มคี วามสงสยั ความอยากรู้อยากเห็นในเรื่องใด ให้ระบุ

18. นักเรียนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู้สึกหลังการเรียนและหลังการทำกิจกรรม
ในประเดน็ ต่อไปนี้

• สิ่งทีน่ กั เรียนได้เรยี นรูใ้ นวันน้คี อื อะไร
• นกั เรียนมีสว่ นร่วมกจิ กรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• เพื่อนนกั เรยี นในกลมุ่ มสี ว่ นร่วมกิจกรรมในกล่มุ มากนอ้ ยเพียงใด
• นักเรียนพึงพอใจกับการเรยี นในวันน้หี รือไม่ เพยี งใด
• นักเรียนจะนำความรู้ที่ได้น้ีไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมท่ัวไป

ได้อย่างไร
จากน้ันแลกเปล่ียนตรวจสอบข้ันตอนการทำงานทุกข้ันตอนว่าจะเพ่ิมคุณค่าไปสู่ สังคม
เกดิ ประโยชนต์ อ่ สงั คมให้มากข้นึ กวา่ เดิมในขน้ั ตอนใดบา้ ง สำหรับการทำงานในครั้งต่อไป

สอ่ื การเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้

1. หนังสือเรยี นรายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6

ของสถาบนั พัฒนาคุณภาพวชิ าการ (พว.)

2. แ บ บ ฝึ ก หั ด ร า ย วิ ช า พ้ื น ฐ า น วิ ท ย าศ า ส ต ร์ แ ล ะ เท ค โน โล ยี ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ท่ี 6

ของสถาบันพัฒนาคณุ ภาพวิชาการ (พว.)

3. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาการคิดวิเคราะห์รายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ของสถาบนั พัฒนาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.)

4. วีดทิ ศั น์ การเกิดไฟฟา้ สถติ

5. ปากกาสแี ดง 2 ดา้ ม

6. ปากกาสีน้ําเงนิ 2 ดา้ ม

7. หลอดพลาสตกิ 5 หลอด

8. ลกู โปง่ ทเ่ี ปา่ ลม 4 ลูก

9. ผ้าแหง้ หรือผา้ สักหลาด 2 ผืน

10. กระป๋องพลาสตกิ 1 กระปอ๋ ง

11. ช้อนโลหะ 1 คัน

12. ดินสอไม้ 1 แทง่

13. ท่อพวี ซี ี 1 อัน

14. เศษกระดาษชิ้นเล็ก 15 ชน้ิ

140

15. ไมบ้ รรทัดพลาสติก ยาว 6 น้วิ หรอื แผ่นเปอรส์ เปกซ์ 1 อัน

16. แผน่ พีวีซี ยาว 6 นว้ิ 1 แผ่น

17. กระป๋องพลาสตกิ เบอร์ 1 1 ใบ

18. บัตรคำ และบตั รภาพ สัญลักษณ์วงจรไฟฟา้

19. บัตรคำ ชอื่ สัญลักษณ์ของสว่ นประกอบของวงจรไฟฟ้า

20. บตั รภาพ สัญลักษณ์ของสว่ นประกอบของวงจรไฟฟ้า

21. ถ่านไฟฉาย ขนาด 1.5 โวลต์ 4 กอ้ น

22. ถา่ นไฟฉาย พรอ้ มกระบะใสถ่ า่ นไฟฉาย 8 ชดุ

23. สายไฟฟ้า พร้อมปากจระเข้ 10 ชุด

24. สายไฟฟา้ ยาว 20 เซนติเมตร พร้อมปากจระเข้ 4 ชุด

25. หลอดไฟฟ้า ขนาด 2.5 โวลต์ 6 หลอด

26. หลอดไฟฟ้า ขนาดเลก็ พรอ้ มที่ยึดหลอดไฟฟ้า 1 ชดุ

27. หลอด LED 1 หลอด

28. แอมมิเตอร์ 2 เคร่ือง

29. ลวดเสียบกระดาษ 1 อัน

30. ไมบ้ รรทัดพลาสติก 1 อัน

31. ยางลบ 1 อัน

32. ลกู กุญแจ 1 ดอก

33. ตะปู 1 ตวั

34. สวิตช์ 3 ตวั

35. วัตถชุ นิดตา่ ง ๆ เช่น ลวดเสียบกระดาษ ยางลบ ไมเ้ สยี บลูกชนิ้ เศษผ้า ชอ้ นโลหะ ตะปู

36. แผน่ สงั กะสี ขนาด 1 เซนติเมตร x 5 เซนติเมตร 1 แผ่น

37. แผน่ ทองแดง ขนาด 1 เซนติเมตร x 5 เซนตเิ มตร 1 แผน่

38. มะนาว 1 ลูก

39. มันฝรง่ั หรอื มันเทศ 1 ลูก

40. เทปกาว 4 มว้ น

41. กระบอกไฟฉาย

42. กระดาษฟลปิ ชาร์ต

43. ใบงานที่ 10 เร่อื ง บทบาทสมมตุ ิการถ่ายโอนประจุไฟฟ้าลบ

44. ใบงานท่ี 11 เร่ือง แรงดงึ ดูดและแรงผลกั ทางไฟฟ้า

45. ใบงานที่ 12 เรอื่ ง การต่อวงจรไฟฟา้ อย่างง่าย

46. ใบงานที่ 13 เรือ่ ง ตัวนำไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้า

141

47. ใบงานท่ี 14 เรอ่ื ง เซลล์ไฟฟา้ จากผลไม้
48. ใบงานท่ี 15 เรอ่ื ง การต่อเซลลไ์ ฟฟ้า
49. ใบงานท่ี 16 เรื่อง การต่อหลอดไฟฟา้ แบบอนุกรมและแบบขนาน
50. ใบกิจกรรม เรื่อง การเกดิ แรงไฟฟ้า
51. ใบกิจกรรม เรื่อง ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้าอยา่ งง่าย
52. ใบกิจกรรม เรอ่ื ง ตวั นำและฉนวนไฟฟ้า
53. ใบกจิ กรรม เรื่อง การทำงานของถ่านไฟฉาย
54. ใบกิจกรรม เรอ่ื ง การต่อเซลล์ไฟฟ้าในวงจรไฟฟา้
55. ใบกจิ กรรม เรือ่ ง การตอ่ หลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน
56. เวบ็ ไซต์ (https://phet.colorado.edu)
57. แหลง่ การเรยี นร้ทู ั้งภายในและภายนอกโรงเรยี น

142

แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test)

ชอ่ื ______________________________________________ เลขท่ี _______ ชน้ั ______ ได_้ ___________คะแนน
คะแนนเตม็ 10 คะแนน
นักเรยี นใชด้ นิ สอระบายลงใน หน้าคำตอบทถี่ กู ต้องใหเ้ ต็มวง
1. การตอ่ วงจรไฟฟา้ ขอ้ ใดแตกต่างจากข้ออ่นื

12

3 4

2. ข้อใดไม่ใช่แหลง่ พลังงานไฟฟ้า
1 ถา่ นไฟฉาย
2 เซลล์สุริยะ
3 เสาไฟฟา้
4 แบตเตอร่ี

3.

ถา้ นำหลอดไฟฟา้ ออก 1 หลอด หลอดไฟฟ้าอกี 2 หลอดที่เหลอื จะเป็นอยา่ งไร
1 หลอดไฟฟา้ อีก 2 หลอดจะดบั หมด
2 หลอดไฟฟา้ อีก 2 หลอดจะยงั สว่าง
3 หลอดไฟฟา้ หลอดหนึ่งดบั อีกหลอดหนึ่งจะสว่าง

4 หลอดไฟฟา้ อีก 2 หลอดจะหร่ีลงเรื่อย ๆ จนดับ 143
4. วตั ถขุ อ้ ใดเป็นฉนวนไฟฟ้า
B
1 ถุงมอื ยาง
2 ลูกกญุ แจ
3 ตะปู
4 เข็มเย็บผ้า
5. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ส่วนประกอบพ้ืนฐานของวงจรไฟฟา้ อยา่ งง่าย
1 ถ่านไฟฉาย
2 สายไฟฟา้
3 หลอดไฟฟ้า
4 แอมมเิ ตอร์
6. เม่ือถวู ัตถุ A B และ C ดว้ ยผา้ สักหลาด แลว้ นำวตั ถุมาใกล้กนั ดงั ภาพ

AC
B

วตั ถอุ อกแรงดึงดูดกนั วัตถอุ อกแรงผลกั กัน

ขอ้ ใดอธิบายปรากฏการณใ์ นภาพได้ถกู ต้อง

1 วัตถุ A กับ B ทำจากวสั ดชุ นิดเดยี วกัน

2 วัตถุ B กบั C ทำจากวัสดุชนดิ เดียวกนั

3 วัตถุ A กบั C ทำจากวัสดตุ า่ งชนดิ กัน

4 วตั ถุ A กบั B มปี ระจุไฟฟา้ ชนดิ เดียวกัน

7. แผนภาพขอ้ ใดแสดงส่วนประกอบพ้นื ฐานของวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายไดค้ รบถ้วน

12

34

144

8. ขณะทเี่ ราหวผี มในวนั ทม่ี อี ากาศแห้ง เรารู้สึกวา่ เกิดแรงดึงดดู ระหวา่ งเสน้ ผมกบั หวีพลาสติก
คำอธบิ ายขอ้ ใดไม่เกี่ยวขอ้ งกับเหตกุ ารณด์ ังกลา่ ว
1 มกี ารถ่ายโอนประจุลบระหว่างหวกี ับเสน้ ผม
2 เส้นผมกบั หวีมีประจุไฟฟา้ ตา่ งชนิดกัน
3 เกดิ แรงไฟฟ้าระหวา่ งเส้นผมกับหวี
4 มีการถา่ ยโอนประจบุ วกขณะหวีผม

9. วัตถุข้อใดทำหน้าท่แี ทนสายไฟฟ้าได้
1 ลวดเสยี บกระดาษ
2 ไมบ้ รรทัดพลาสติก
3 แปรงสฟี ัน
4 ไม้จิ้มฟัน

10. ขอ้ ใดอธบิ ายวงจร A และ B ได้ถูกตอ้ ง

วงจร A วงจร B

1 หลอดไฟฟ้าในวงจร A สว่างกวา่ วงจร B
2 หลอดไฟฟา้ ในวงจร B สว่างกว่าวงจร A
3 หลอดไฟฟา้ ในวงจรท้ัง 2 สว่างเท่ากนั
4 วงจร A เป็นวงจรปดิ วงจร B เปน็ วงจรเปิด

145

แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-Test)

ชอ่ื ________________________________________________ เลขท่ี ______ ช้นั _____ ได_้ ___________คะแนน

คะแนนเตม็ 10 คะแนน

นกั เรียนใชด้ นิ สอระบายลงใน หนา้ คำตอบท่ถี กู ต้องใหเ้ ตม็ วง
1. ขณะท่ีเราหวีผมในวนั ที่มอี ากาศแหง้ เรารู้สกึ วา่ เกิดแรงดงึ ดูดระหวา่ งเสน้ ผมกับหวีพลาสตกิ

คำอธิบายข้อใดไม่เกี่ยวข้องกบั เหตุการณ์ดังกล่าว
1 มกี ารถ่ายโอนประจุลบระหว่างหวกี ับเสน้ ผม
2 เสน้ ผมกบั หวีมปี ระจุไฟฟ้าต่างชนิดกัน
3 เกดิ แรงไฟฟา้ ระหว่างเส้นผมกบั หวี
4 มกี ารถ่ายโอนประจุบวกขณะหวผี ม
2. เมอ่ื ถวู ตั ถุ A B และ C ด้วยผา้ สกั หลาด แล้วนำวตั ถุมาใกลก้ นั ดงั ภาพ

AC B
B

วัตถุออกแรงดงึ ดดู กนั วตั ถอุ อกแรงผลกั กัน
ข้อใดอธบิ ายปรากฏการณใ์ นภาพไดถ้ กู ต้อง
1 วตั ถุ A กับ B ทำจากวสั ดชุ นิดเดียวกนั
2 วตั ถุ B กับ C ทำจากวสั ดุชนิดเดียวกัน
3 วัตถุ A กบั C ทำจากวัสดตุ ่างชนิดกัน
4 วัตถุ A กบั B มปี ระจไุ ฟฟา้ ชนดิ เดียวกัน
3. ขอ้ ใดไม่ใช่สว่ นประกอบพื้นฐานของวงจรไฟฟา้ อยา่ งง่าย
1 ถา่ นไฟฉาย
2 สายไฟฟ้า
3 หลอดไฟฟา้
4 แอมมิเตอร์

146

4. แผนภาพขอ้ ใดแสดงส่วนประกอบพ้ืนฐานของวงจรไฟฟา้ อยา่ งงา่ ยไดค้ รบถว้ น
12

34

5. วตั ถุขอ้ ใดทำหนา้ ทแี่ ทนสายไฟฟา้ ได้ 2
1 ลวดเสยี บกระดาษ
2 ไม้บรรทดั พลาสติก
3 แปรงสฟี ัน
4 ไมจ้ ม้ิ ฟนั

6. วัตถขุ ้อใดเป็นฉนวนไฟฟา้
1 ถงุ มือยาง
2 ลูกกุญแจ
3 ตะปู
4 เขม็ เยบ็ ผ้า

7. ขอ้ ใดไม่ใช่แหลง่ พลงั งานไฟฟา้
1 ถ่านไฟฉาย
2 เซลลส์ รุ ิยะ
3 เสาไฟฟา้
4 แบตเตอรี่

8. การตอ่ วงจรไฟฟา้ ข้อใดแตกตา่ งจากขอ้ อ่ืน

1

34

147

9. ขอ้ ใดอธิบายวงจร A และ B ได้ถูกตอ้ ง

วงจร A วงจร B
1 หลอดไฟฟ้าในวงจร A สวา่ งกวา่ วงจร B
2 หลอดไฟฟา้ ในวงจร B สวา่ งกวา่ วงจร A
3 หลอดไฟฟา้ ในวงจรทง้ั 2 สว่างเท่ากนั
4 วงจร A เป็นวงจรปดิ วงจร B เป็นวงจรเปิด
10.

ถา้ นำหลอดไฟฟา้ ออก 1 หลอด หลอดไฟฟ้าอีก 2 หลอดท่เี หลือจะเปน็ อย่างไร
1 หลอดไฟฟ้าอกี 2 หลอดจะดับหมด
2 หลอดไฟฟ้าอีก 2 หลอดจะยังสว่าง
3 หลอดไฟฟ้าหลอดหนึง่ ดบั อีกหลอดหนงึ่ จะสวา่ ง
4 หลอดไฟฟ้าอีก 2 หลอดจะหร่ีลงเร่ือย ๆ จนดับ

148

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre-Test)

1. 1 6. 2
2. 3 7. 1
3. 2 8. 4
4. 1 9. 1
5. 4 10. 2

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน (Post-Test)

1. 4 6. 1
2. 2 7. 3
3. 4 8. 1
4. 1 9. 2
5. 1 10. 2

149

แบบบนั ทึกสรปุ ผลการเรียนรู้สำหรับผู้เรยี น
ชื่อ-นามสกุล _______________________________ เลขท่ี _________ ชั้น ___________
วันที่ _________________________ เดือน _______________________ พ.ศ. ___________
คำช้แี จง นกั เรยี นบนั ทกึ สรปุ ผลการเรียนร้จู ากหนว่ ยการเรียนรนู้ ี้

นักเรียนมีความรูส้ ึกอยา่ งไร

หลังจากทีเ่ รียนหน่วยการเรยี นร้นู ี้แล้ว

นกั เรียนยังไมเ่ ข้าใจเรือ่ งใดอกี บ้าง _____________________________________ นกั เรียนได้รับความรู้เร่อื งใดบ้าง
ท่เี กี่ยวกับหน่วยการเรียนรนู้ ี้ _____________________________________ จากหนว่ ยการเรยี นรู้น้ี
ซ่งึ ต้องการให้ครอู ธบิ ายเพ่ิมเติม _____________________________________
_____________________________________ _____________________________________
_____________________________________ _____________________________________ _____________________________________
_____________________________________ _____________________________________ _____________________________________
_____________________________________ _____________________________________ _____________________________________
_____________________________________ _____________________________________
_____________________________________ __ _____________________________________
____________________________________- _____________________________________
__ ____
____________________________________- ____________________________________- _
____ ____ ____________________________________-
____________________________________- ____
____ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ____________________________________-
____________________________________- ____
ไฟฟ้า
นกั เรียนได้ทำกิจกรรมอะไรบา้ ง
____ ในหนว่ ยการเรียนร้นู ี้

____________________________________- _____________________________________
_____________________________________
น__กั _เ_รยี นจะสามารถนำความรูค้ วามเขา้ ใจ _____________________________________
_____________________________________
จากหนว่ ยการเรยี นรนู้ ีไ้ ปใชป้ ระโยชน์ _____________________________________
_____________________________________
ในชวี ติ ประจำวนั ไดอ้ ยา่ งไรบ้าง ผลงานทีน่ ักเรียนชอบและตอ้ งการ _____________________________________

_____________________________________ คัดเลือกเป็นผลงานดีเด่น __
_____________________________________ จากหน่วยการเรยี นรู้นี้คอื ผลงานใดบา้ ง
_____________________________________ เพราะอะไร
_____________________________________
_____________________________________ _____________________________________
_____________________________________

_____________________________________

_____________________________________

____________________________________-

____

หมายเหตุ ครูสำเนาแบบบนั ทึกนีเ้ พ่ือใหน้ ักเรยี นบนั ทึกทกุ หน่วยการเรยี นรู้

1. ครสู ามารถนำแบบบันทกึ น้ีไปใช้เป็นหลกั ฐานและขอ้ มูลเพอ่ื ปรบั ปรงุ และพัฒนากระบวนการเรียนรูข้ องผเู้ รียน
2. ครูสามารถนำแบบบนั ทกึ นี้ไปใช้ประกอบการทำวิจยั ในช้ันเรียนเพ่อื เป็นผลงานประกอบการเลื่อนวิทยฐานะได้

150


Click to View FlipBook Version