The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยวิทยาศาสตร์ 2564 เทอม 2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pattharattineeporn.pon, 2022-04-02 11:05:21

วิจัยวิทยาศาสตร์ 2564 เทอม 2

วิจัยวิทยาศาสตร์ 2564 เทอม 2

วิจัยในชน้ั เรยี น

เร่ือง

การพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วทิ ยาศาสตร์)
เรอื่ ง การเกดิ ฝน หมิ ะ และลกู เห็บ โดยใช้กระบวนการเรียนรแู้ บบ GPAS 5 Steps

ดว้ ยกิจกรรมการเรยี นแบบผสมผสานผ่านเครอื ข่ายสังคมออนไลน์
ของนักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 5 ปกี ารศึกษา 2564

ผู้วิจัย

นางสาวภัทรฐณิ ีพร พงษ์วิสวุ รรณ์

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

โรงเรยี นอนุบาลวัดลูกแกประชาชนทู ิศ
สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษากาญจนบรุ ี เขต 2

ชื่องานวจิ ัย การพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (วทิ ยาศาสตร์)
เรื่อง การเกิดฝน หมิ ะ และลูกเหบ็ โดยใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps
ดว้ ยกจิ กรรมการเรียนแบบผสมผสานผ่านเครอื ข่ายสงั คมออนไลน์
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 5 ปีการศึกษา 2564

ชอื่ ผู้วจิ ยั นางสาวภัทรฐณิ ีพร พงษ์วิสุวรรณ์

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ความเปน็ มาและความสำคัญของปญั หา

การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เน้ือหาวิชาในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี นักเรียนช่วงชั้นที่ 2 ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 รหัสวิชา ว 15101 ภาคเรียนท่ี 2
ปกี ารศกึ ษา 2564 มุ่งเน้นให้นักเรยี นมีทักษะกระบวนการใช้เหตผุ ลในการแก้ปัญหาทางการเรียนวทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี (วิทยาศาสตร์) เรื่อง การเกิดฝน หิมะ และลูกเห็บ โดยการจัดการเรยี นร้แู บบ GPAS 5 Steps
ในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนอนุบาลวัดลูกแกประชาชนูทิศและสามารถนำทักษะกระบวนการคิด
อย่างเป็นข้ันเป็นตอน สร้างงานได้อย่างสร้างสรรค์ เน่ืองจากนักเรียนยังขาดทักษะความเข้าใจเก่ียวกับการใช้
เหตุผลในการแก้ปัญหา ทำให้ผลงานมีประสิทธิภาพต่ำกว่าเกณฑ์ ดังน้ันผู้วิจัยจึงได้การพัฒนาแบบฝึกการใช้
เหตุผลในการแก้ไขปัญหา เพ่ือส่งเสริมทักษะการเกิดฝน หิมะ และลูกเห็บ ให้นักเรียนได้ฝึกทบทวนความรู้
ขัน้ ตอนวิธีการปฏิบัติเสรมิ ความรทู้ ักษะเชิงคิดวิเคราะห์ ให้นักเรียนเกิดเข้าใจใฝ่เรียนรู้มากย่ิงขึ้นตามหลักสูตร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2560 รายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาศาสตร์) ชั้นประถมศึกษา
ปีท่ี 5 จัดทำตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช เมื่อผู้เรียนเรียนจบ
ในสาระการเรียนรู้น้ี จะต้องเข้าใจ เห็นคุณค่าและใช้กระบวนการสืบเสาะ การสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้
การส่ือสารการแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม (กรมวิชาการ
กระทรวงศกึ ษาธิการ. 2545: 19) ดงั น้ันในการสอนเร่ือง การเกิดฝน หิมะ และลูกเหบ็ จึงถือเป็นส่วนหนึ่งของ
การจำลองปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ โดยครอบคลุมโครงสร้างของเนื้อหา เทคนิควิธีการนำเสนอบทเรียน
และกลยุทธ์ถ่ายโยงความรู้ตลอดจนแบบแผนการวัดและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ สามารถใช้เพื่อกระตุ้น
ใหผ้ ู้เรียนรจู้ ักวิธกี ารแสวงหาความร้ทู ่ีตอ่ เนื่อง ผวู้ ิจัยจึงนำบทเรียนคอมพิวเตอร์ เข้ามาเพื่อช่วยแกป้ ญั หาในการ
เรียนการสอน เพ่ือทำให้ผู้เรียนสามมารถในการใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา และผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในการ
แกป้ ัญหาตามข้ันตอนการแกป้ ัญหา สำหรับนักเรยี นช่วงช้ันท่ี 2 ระดบั ประถมศึกษาปที ่ี 5 ได้อย่างต่อเนื่องและ
เป็นระบบมากขึ้น

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพ่ือศึกษาผลการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี (วิทยาศาสตร์) เร่ือง การเกิดฝน หิมะ และลูกเห็บ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps
ด้วยกิจกรรมการเรียนแบบผสมผสานผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5
ปีการศึกษา 2564

ประชากร/กลมุ่ ตัวอยา่ ง ขอบเขตด้านประชากร
ประชากร คือ นักเรียน ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 3 ห้อง รวมทั้งส้ินเป็นจำนวน 87 คน

ของรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว15101 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนอนุบาลวัดลูกแกประชาชนูทิศ
กลุ่มเป้าหมาย คือนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 5/1 , 5/2 จำนวนนักเรียน 42 คน ท่ีเรียนรายวิชา
วิทยาศาสตร์ ว 15101 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนอนุบาลวัดลูกแกประชาชนูทิศ
จำนวน 2 หอ้ งเรียน

นวตั กรรม/เครื่องมือ เครื่องมือทใ่ี ช้ในการวิจัยและพฒั นา(นวัตกรรม / เกบ็ ข้อมูล / อนื่ ๆ)
1. โปรแกรมพาวเวอรพ์ อย เรอ่ื ง การเกดิ ฝน หิมะ และลูกเห็บ
2. แผนการจัดการเรียนรู้หนว่ ยท่ี 2 การเกดิ ฝน หิมะ และลูกเห็บ จำนวน 8 ชว่ั โมง
3. บทเรยี นออนไลน์ เวบ็ ไซต์ https://wordwall.net/
4. แบบฝึกทกั ษะ เรื่องการเกิดฝน หมิ ะ และลูกเห็บ
5. แบบประเมินผลการพัฒนาแบบฝกึ การเกิดฝน หมิ ะ และลูกเห็บ
6. แบบประเมินความพึงพอใจ ผลการประเมินความพึงพอใจในการใช้แบบฝึกทักษะการเกิดฝน หิมะ

และลกู เหบ็

วธิ ดี ำเนินการวจิ ัย

งานวิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาศาสตร์)
เรื่อง การเกิดฝน หิมะ และลูกเห็บ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps ด้วยกิจกรรมการเรียน
แบบผสมผสานผ่านเครือขา่ ยสงั คมออนไลน์ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ 5 ปีการศกึ ษา 2564 ในท่นี ีผ้ ้วู ิจัย
ไดด้ ำเนินการศึกษาคน้ ควา้ ตามลำดบั ขน้ั ตอนดังน้ี

1. โปรแกรมพาวเวอรพ์ อย เรอ่ื ง การเกดิ ฝน หิมะ และลกู เหบ็
2. แผนการจดั การเรยี นรูห้ น่วยที่ 2 การเกดิ ฝน หิมะ และลูกเห็บ จำนวน 8 ชว่ั โมง
3. บทเรยี นออนไลน์ เวบ็ ไซต์ https://wordwall.net/
4. แบบฝกึ ทักษะ เรื่องการเกดิ ฝน หมิ ะ และลูกเห็บ
5. แบบประเมนิ ผลการพัฒนาแบบฝกึ การเกิดฝน หมิ ะ และลกู เหบ็
6. แบบประเมินความพึงพอใจ ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจในการใช้แบบฝกึ ทักษะการเกิดฝน หิมะ
และลูกเห็บ

ผลการวจิ ยั สรุปผลการวจิ ัย

งานวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาศาสตร์)
เรื่อง การเกิดฝน หิมะ และลูกเห็บ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps ด้วยกิจกรรมการเรียน
แบบผสมผสานผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลวัดลูกแก
ประชาชนูทิศ ผลการวิจัย พบว่า การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้โดยนำวิธีการเรียนรู้แบบแบบผสมผสาน
ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์มาจัดการเรียนการสอน ที่เน้นให้ผู้เรียนสืบค้นข้อมูลเรียนรู้ด้วยตนเอง การศึกษา
วิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้จากการลงมือปฏิบัติงานตามแบบฝึกทักษะการใช้เหตุผลแก้ปัญหา โดยการ
จัดการเรียนรแู้ บบ GPAS 5 Steps ซ่ึงจะสง่ เสริมให้ผู้เรยี นสามารถแก้ปญั หา ตอบคำถาม ตั้งคำถามดว้ ยตนเอง
มีการอภิปราย อธิบาย โต้แย้ง และระดมความคิดในระหว่างการเรียนในชั้นเรียน เน้นผู้เรียนให้แสดงความ
รับผิดชอบต่อการเรียนของผู้เรียน ผู้เรียนจะมีส่วนร่วมในการเรียนรู้โดยการทำงาน กิจกรรมร่วมกันกับเพื่อน
ร่วมช้ันซ้ำๆ หลายๆคร้ัง เพ่ือให้เกิดความเข้าใจอยู่เสมอ มีการบรรยายน้อยลง เน้นการ อภิปราย เน้นการ
ปฏบิ ัติและการฝึกทกั ษะการคดิ ระดับสูง สามารถสรปุ ผลการวิจยั ได้ดังนี้

ผลการใช้กิจกรรมงานวิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(วิทยาศาสตร์) เร่ือง การเกิดฝน หิมะ และลูกเห็บ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps
ดว้ ยกจิ กรรมการเรียนแบบผสมผสานผา่ นเครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 5 โรงเรยี น
อนุบาลวัดลูกแกประชาชนูทิศ วิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว15101 จำนวน 2 ห้อง จำนวนนักเรียน 42 คน
ในการทำแบบฝึกทักษะ เร่ืองการเกิดฝน หิมะ และลูกเห็บ นักเรียนห้อง ป.5/1 จำนวนนักเรียน 21 คน มี
คะแนนเฉล่ียของห้อง x̄ = 8.64 อยู่ในระดับคะแนนคุณภาพดี นักเรียนห้อง ป.5/2 จำนวนนักเรียน 21 คน มี
คะแนนเฉล่ียของห้อง x̄ = 6.16 อยู่ในระดับคะแนนคุณภาพพอใช้ ค่าเฉล่ียรวม 2 ห้อง x̄ = 7.40 อยู่ในระดับ
คะแนนคุณภาพพอใช้แบบทดสอบท่ี 2 นักเรียนห้อง ป.5/1 จำนวนนักเรียน 21 คน มีคะแนนเฉล่ยี ของห้อง x̄
= 9.75 อยู่ในระดับคะแนนคุณภาพดีมาก นักเรียนห้อง ป.5/2 จำนวนนักเรียน 21 คน มีคะแนนเฉล่ียของ
หอ้ ง x̄ = 8.98 อยู่ในระดับคะแนนคณุ ภาพดมี าก ค่าเฉลี่ยรวม 2 ห้อง x̄ = 9.63 อยู่ในระดบั คะแนนคุณภาพดี
รวมผลสัมฤทธิ์ค่าเฉลี่ยรวมคะแนนแบบฝึกทักษะ เรื่องการเกิดฝน หิมะ และลูกเห็บ นักเรียนห้อง ป.5/1
จำนวนนักเรียน 21 คน มีคะแนนเฉล่ียรวมของห้อง x̄ = 37.25 คิดเป็นร้อยละ 88.95 อยู่ในระดับคะแนน
คุณภาพดีมาก นักเรียนห้อง ป.5/2 จำนวนนักเรียน 21 คน มีคะแนนเฉล่ียรวม 32.26 คิดเป็นร้อยละ 79.32
อยู่ในระดับคะแนนคุณภาพดี ค่าเฉล่ียรวม 2 ห้อง x̄ = 34.75 คิดเป็นร้อยละ 82.96 อยู่ในระดับคะแนน
คุณภาพดมี าก


Click to View FlipBook Version