The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยวิทยาศาสตร์ 2564 เทอม 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pattharattineeporn.pon, 2022-04-02 11:04:51

วิจัยวิทยาศาสตร์ 2564 เทอม 1

วิจัยวิทยาศาสตร์ 2564 เทอม 1

รายงานการวจิ ัยในชั้นเรยี น

เรอ่ื ง

การพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรอื่ ง ไฟฟา้
โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps ดว้ ยกจิ กรรมการเรยี นแบบผสมผสาน
ผา่ นเครอื ขา่ ยสังคมออนไลน์ ของนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ปกี ารศึกษา 2564

ผูว้ ิจัย
นางสาวภัทรฐิณพี ร พงษว์ สิ วุ รรณ์
กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564

โรงเรียนอนบุ าลวดั ลูกแกประชาชนูทศิ
สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต 2

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน

1

ชอื่ เร่อื ง "การพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เรอ่ื ง ไฟฟ้า
ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps ร่วมกับการเรียนแบบผสมผสาน
ผ่านบทเรยี นออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยสี ื่อสงั คม (Social Media)
ของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6/3 ปกี ารศึกษา 2564"

ชื่อผู้วิจัย นางสาวภัทรฐิณพี ร พงษ์วสิ ุวรรณ์
ภาคเรียนที่ 1 ปีท่ีวิจยั 2564

ทม่ี าและความสำคัญของปัญหา

การจัดการศกึ ษาในปัจจบุ นั นับว่ามีความสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชากร ดังจะเห็นได้จากแนว
การจัด การศกึ ษาท่ีไดร้ ะบุไวใ้ นหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (กระทรวงศึกษาธิการ,
2552:6) ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้
คณุ ธรรม มจี ิตสำนึกในความเปน็ พลเมอื งไทยและเป็นพลโลก ยึดมนั่ ในการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตย อนั มี
พระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ มคี วามรูแ้ ละทักษะพน้ื ฐาน รวมทัง้ เจตคติ ท่จี ำเป็นตอ่ การศึกษาต่อการ ประกอบ
อาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต ซึ่งในอดีตที่ผ่านมาการเรียนการสอนโดยทั่วไปจะเป็นแบบครูผู้สอนเข้าสอน
นักเรียนที่นั่งเรียนรวมกันอยู่ในห้องหนึ่ง อันถือเป็นการเรียนการสอนแบบพบเห็นหน้ากันโดยตรง ต่อมาได้มีการ
พัฒนารูปแบบการเรียนท่ีทำให้ผู้เรียนสามารถเรยี นรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง ด้วยสถานการณ์ Covid-19 ที่ส่งผลให้นักเรยี น
ไม่สามารถมาโรงเรียนและตอ้ งเรยี นผา่ นช่องทางออนไลน์ ต้องปรบั เปล่ียนการเรียนใหมส่ ่งผลต่อความเขา้ ใจในการ
เรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้วยหลายปัจจัย เช่น ปัญหาการเข้าถึงเนื้อหาการเรียน ปัญหาด้านอุปกรณ์
ปัญหาด้านการสื่อสารระหว่าง ครูผู้สอนและนักเรียนทำให้เกิดปัญหาในการเรียนในระดับที่สูงขึ้นซ่ึงเป็นการ
ล้มเหลวในกระบวนการจัดการเรียนรู้เป็นอย่างมาก มีการใช้สื่อสังคมออนไลน์กันอย่างกว้างขวาง ครูต้องพบกับ
ความท้าทายทีต่ ่างไปจากอดีต นกั เรียนควรได้เรยี นรรู้ อบดา้ นและเตรียมความพร้อมสู่การเป็นพลเมืองของประเทศ
และของโลก ดังนั้นเพื่อตอบสนองต่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 รูปแบบของการจัดการเรียนการสอนจึง
เปลี่ยนแปลงไป จึงได้มีการนำ e-Learning แอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา ได้แก่ Facebook Line Google Sites
Google Form Kahoot Mentimeter Wprdwall Youtube MSN Wordwall Phet Menti Wizer เ ป ็ น ต้ น
มาผสมผสานเข้ากับการเรียนแบบพบหน้ากันในห้องเรียนแบบดั้งเดิม ถือว่าเป็นการเรียนแบบผสมผสาน เป็นการ
เรียนรู้ที่ผสมผสานวิธีการเรียนแบบเผชิญหน้ากับการเรียนรู้ผ่านระบบสื่อคอมพิวเตอร์ออนไลน์เข้าด้วยกัน
องค์ประกอบการเรียนแบบผสมผสาน สามารถแบ่งออกเป็นได้ 2 องค์ประกอบหลัก คือ องค์ประกอบออฟไลน์
และองค์ประกอบออนไลน์การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน ให้ประสบผลสำเร็จต้องคำนึงถึงจุดประสงค์

โรงเรียนอนุบาลวัดลูกแกประชาชนทู ิศ สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษากาญจนบุรี เขต 2

2

ของการเรียนที่กำหนดไว้ ระยะเวลาในการเรียนรวมถึงความแตกตา่ งของรูปแบบการเรยี นรู้และการคิดของผู้เรียน
เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน บทบาทของครูต้องเป็นผู้นำ ผู้สร้างแรงจูงใจ
พร้อมทั้งใช้นวัตกรรมและสื่อสังคมออนไลน์ทีม่ ีอยู่ เข้ามาบูรณาการ ส่งเสริมให้เกิดทกั ษะการใช้เทคโนโลยี ทักษะ
การคิดเพื่อให้นักเรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น ผู้วิจัยจึงมี
ความสนใจที่จะทำการวิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่อง ไฟฟ้า
โดยใช้กระบวนการเรียนรูแ้ บบ GPAS 5 Steps ด้วยกิจกรรมการเรียนแบบผสมผสานผา่ นเครือข่ายสังคมออนไลน์
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2564 เพื่อส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในเชิงสร้างสรรค์ และเกิด
ประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของตนเอง ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อีกทั้งยังช่วยพัฒนาทักษะกระบวนการคิด
วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ ของนักเรียนให้มีประสิทธิภาพอีกด้วยเพราะวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีถือว่าเป็น
เครือ่ งมือสำคญั ในการดำรงชวี ติ ประจำวนั ของคนเรามาก

วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย

1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่องไฟฟ้า ด้วยกระบวนการจัดการ
เรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps ร่วมกับการเรียนแบบผสมผสานผ่านบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยี สื่อสังคม
(Social Media)

2. เพื่อศึกษาหาความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps
ร่วมกบั การเรยี นแบบผสมผสานผา่ นบทเรยี นออนไลนโ์ ดยใชเ้ ทคโนโลยีสื่อสงั คม (Social Media)

ขอบเขตของการวิจยั
1. นักเรียน หมายถึง นักเรียนที่กำลังศึกษาในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/3 โรงเรียนอนุบาลวัดลูกแก

ประชาชนูทิศ ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564
2. กระบวนการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps หมายถึง การจัดการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาทักษะการคิดและ

สรา้ งความรู้โดยผูเ้ รยี น
3. การเรียนแบบผสมผสาน (Blended Learning) อ่าน “เบล็น-เดด เลริ น์ นิง่ ”หมายถึง ถือเป็นการเรียนรู้ท่ีมี

การวางแผนการจัดกระบวนการเรียนแบบเผชิญหน้าที่ใช้วิธีการสอนที่หลากหลายผสมผสานกับการเรียนระบ บ
ออนไลนท์ นี่ ำเทคโนโลยเี ข้าใชใ้ ห้ผ้เู รียนเข้าถงึ การเรียนร้ไู ดร้ วดเรว็ มากขึ้น

4. บทเรียนออนไลน์ หมายถึง บทเรียนที่สร้างขึ้นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และนำเสนอเนื้อหาบทเรียน
ผ่านเครือขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ เป็นเนอื้ หารายวิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เรือ่ งไฟฟ้า รหสั วชิ า ว16101 กลมุ่ สาระ
การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามหลักสูตรโรงเรียนโรงเรียนอนุบาลวัดลูกแกประชาชนูทิศ ประกอบด้วย
เน้ือหาบทเรยี น ภาพน่งิ ข้อความ คลิวดี ิโอ แบบฝกึ ทกั ษะ และแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น

โรงเรยี นอนุบาลวัดลกู แกประชาชนูทิศ สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาญจนบรุ ี เขต 2

3

5. เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) หมายถึง สังคมออนไลน์ที่มีผู้ใช้เป็นผู้สื่อสาร หรือเขียนเรื่องราว
ประสบการณ์ บทความ รูปภาพ และวีดีโอ ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นเอง ท าขึ้นเอง หรือพบเจอจากสื่ออื่น ๆ แล้วนำมา
แบ่งปนั ใหก้ บั ผอู้ ่ืนทอี่ ย่ใู นเครอื ข่ายของตน ผ่านทางเวบ็ ไซต์ Social Network ท่ีใหบ้ ริการบนโลกออนไลน์ ปัจจุบัน
การสื่อสารแบบนี้จะทำผ่านทาง Internet และโทรศพั ทม์ อื ถือเท่านั้น

ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะได้รับ

1. พฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนวชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เรื่องไฟฟา้ ดว้ ยกระบวนการจัดการเรยี นรู้
แบบ GPAS 5 Steps ร่วมกับการเรียนแบบผสมผสานผ่านบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social
Media)

2. นักเรียนมีความพึงพอใจด้วยการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่องไฟฟ้า
ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps ร่วมกับการเรียนแบบผสมผสานผ่านบทเรียนออนไลน์โดยใช้
เทคโนโลยีสื่อสงั คม (Social Media)
ระยะเวลาทใี่ ช้ในการดำเนินงาน

ปีการศึกษา 2564 โดยใชเ้ วลา 8 สัปดาห์ สัปดาหล์ ะ 2 ช่ัวโมง รวมเวลาทง้ั ส้นิ 16 ชว่ั โมง

วธิ ดี ำเนนิ การวจิ ัย

ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง

นกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6/3 โรงเรยี นอนบุ าลวดั ลกู แกประชาชนูทิศ ทีเ่ รียนในภาคเรยี นท่ี 1
ปกี ารศกึ ษา 2564 จำนวน 23 คน

เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการดำเนินการวจิ ยั

1. แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps ร่วมกับการเรียนแบบ
ผสมผสานผ่านบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เรื่องไฟฟ้า ว16101 เป็นการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (ONLINE) ร้อยละ 50 และแบบ
ออนดีมานด์ (ON–DEMAND) ร้อยละ 50 โดยผ่านการตรวจสอบคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน ผลการ
ประเมนิ แผนการจัดการ เรยี นรูม้ ีความเหมาะสมอยู่ในระดบั มาก

2. เว็บไซต์ https://sites.google.com/kn.ac.th/kruammy เพอ่ื การจดั กิจกรรมการเรียนรแู้ บบ GPAS 5
Steps ร่วมกบั การเรียนแบบผสมผสานผ่านบทเรียนออนไลนโ์ ดยใชเ้ ทคโนโลยสี ื่อสังคม (Social Media) ซง่ึ
เว็บไซต์จะ ประกอบดว้ ยเนอ้ื หาในรปู แบบสอื่ ประเภทต่าง ประกอบด้วย เอกสาร วีดโี อ ข้อความและภาพกราฟฟิก
เว็บไซตส์ ำหรบั การจัดกิจกรรมแบบผสมผสานผา่ นเครือข่ายสงั คมออนไลน์ซ่งึ ในการวิจยั นี้ ไดก้ ำหนดให้ใชส้ อื่

โรงเรียนอนบุ าลวัดลูกแกประชาชนทู ิศ สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาญจนบรุ ี เขต 2

4

บทเรียนออนไลน์ กระทรวงศึกษาธกิ าร
https://www.youtube.com/channel/UCmycWNwX7lwSaYcKZVJwp0Q ผ่านการตรวจสอบคุณภาพจาก
ผ้เู ชยี่ วชาญจำนวน 3 คน ผลการประเมนิ เว็บไซต์มีความเหมาะสมอยใู่ นระดบั มาก

3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่องไฟฟ้า ว16101 ผู้วิจัย
ได้สร้างขึ้นเป็นแบบทดสอบชนิดปรนัย 4 ตัวเลือก ผ่านการประเมินจาก ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา 3 ท่าน มีค่าดัชนี
ความสอดคล้องตั้งแต่ .50 ขึ้นไป มีค่าความยากง่ายอยู่ระหว่าง 0.20-0.80 มีค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป
และ มคี า่ ความเชอื่ ม่ันของแบบทดสอบ (KR–20 ของคูเดอร์-รชิ ารด์ สัน) เท่ากบั 0.81

4. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps
ร่วมกับการเรียนแบบผสมผสานผ่านบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ซึ่งผู้วิจัย
สร้างแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มี 5 ระดับ

การเกบ็ รวบรวมข้อมลู

1. ผู้วิจัยชี้แจง ให้นักเรียนรับรู้ถึงวัตถุประสงค์ รายละเอียด ขั้นตอนของการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps
ร่วมกบั การเรยี นแบบผสมผสานผา่ นบทเรยี นออนไลนโ์ ดยใชเ้ ทคโนโลยีสือ่ สังคม (Social Media)

2. ผู้วิจัยทำการสอน โดยจัดกิจกรรมการเรียนในการสอนแบบออนไลน์ (ONLINE) ร้อยละ 50 และแบบ
ออนดีมานด์ (ON–DEMAND) ร้อยละ 50 ตามแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เร่ืองไฟฟ้า ว16101 ในอตั ราสว่ น 50:50

3. ระหว่างดำเนินวิจัย ผู้วิจัยทำการประเมินการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps ร่วมกับ
การเรียนแบบผสมผสานผ่านบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม ( Social Media) ของนักเรียน
เป็นรายบคุ คล โดยจะบนั ทึกลงในแบบสงั เกตที่สร้างข้ึน

4. เมื่อสิ้นสุดการวิจัย ให้นักเรียน ทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี เรื่องไฟฟ้า ว16101

5. ให้นักเรียนทำแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนทม่ี ีต่อการเรยี นด้วยกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ GPAS
5 Steps ร่วมกับ การเรียนแบบผสมผสานผ่านบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
ซ่ึงแบง่ ออกเป็น 2 สว่ น คอื แบบสอบถามความพงึ พอใจปลายปดิ และแบบสอบถามความพงึ พอใจปลายเปิดเพื่อ

6. สอบถามความคิดเหน็ อื่น ๆ

การวเิ คราะหข์ ้อมลู

ผวู้ จิ ยั เกบ็ รวบรวมข้อมูลท้ังหมดไปวเิ คราะหข์ ้อมูลตามวิธกี ารทางสถิติ เพอื่ นำเสนอในงานวจิ ัย ต่อไป

โรงเรียนอนุบาลวดั ลูกแกประชาชนทู ิศ สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาญจนบรุ ี เขต 2

5

ผลการวิจัย

การศึกษางานวิจัยครั้งนี้ได้ศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เรื่อง ไฟฟ้า ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps ร่วมกับการเรียนแบบผสมผสานผ่านบทเรียน
ออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/3 ปีการศึกษา 2564
โดยนำเสนอผลการวิจัยใน 2 ประเดน็ ดงั ต่อไปนี้

ตอนที่ 1 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่องไฟฟ้า ด้วยกระบวนการจดั การเรียนรู้
แบบ GPAS 5 Steps ร่วมกับการเรียนแบบผสมผสานผ่านบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยี สื่อสังคม (Social
Media) จำนวน 23 คน

ตอนที่ 2 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนท่ีเรียนด้วยกระบวนการจดั การเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps
ร่วมกับการเรียนแบบผสมผสานผ่านบทเรียนออนไลนโ์ ดยใช้เทคโนโลยสี ือ่ สังคม (Social Media)

ตอนที่ 1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่องไฟฟ้า ด้วยกระบวนการจัดการ
เรียนรูแ้ บบ GPAS 5 Steps ร่วมกับการเรียนแบบผสมผสานผา่ นบทเรยี นออนไลน์โดยใชเ้ ทคโนโลยี สื่อสังคม
(Social Media) จำนวน 23 คน

ตารางที่ 1 แสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน - หลังเรียน วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เรื่อง ไฟฟ้า ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps ร่วมกับการเรียนแบบผสมผสานผ่านบทเรียน
ออนไลน์โดยใชเ้ ทคโนโลยีสอื่ สงั คม (Social Media) ของนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6/3 จำนวน 23 คน

นักเรียน คะแนนกอ่ นเรียน คะแนนหลงั เรียน คะแนนผลต่าง
คนที่ Pre-test Post-test D
1 4 6 2
2 3 5 2
3 4 6 2
4 4 7 3
5 3 6 3
6 4 7 3
7 5 9 4
8 4 7 3
9 2 5 3
10 4 6 2
11 6 8 2

โรงเรียนอนุบาลวัดลกู แกประชาชนทู ิศ สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาญจนบุรี เขต 2

6

นักเรียน คะแนนกอ่ นเรยี น คะแนนหลังเรยี น คะแนนผลต่าง
คนที่ Pre-test Post-test D
12 5 6 1
13 3 5 2
14 5 9 4
15 5 7 2
16 5 8 3
17 5 8 3
18 5 7 2
19 4 6 2
20 3 5 2
21 4 6 2
22 5 7 2
23 6 9 3

จากตารางที่ 1 พบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียน - หลังเรียน วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เรื่อง ไฟฟ้า ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps ร่วมกับการเรียนแบบผสมผสานผ่านบทเรียน
ออนไลน์โดยใชเ้ ทคโนโลยีส่ือสังคม (Social Media) ของนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6/3 จำนวน 23 คน
มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน (ดขี ึ้น) คดิ เปน็ 100 %

ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติทดสอบที และระดับนัยสำคัญทางสถิติของการ
ทดสอบเปรยี บเทียบคะแนนสอบก่อนและหลงั เรียนของนักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6/3 จำนวน 23 คน (n =23)

การทดสอบ S.D. D¯ S.D.d t Sig.(2-tailed)

ก่อนเรยี น 4.26 1.01 2.48 0.73 16.27* 0.0000

หลงั เรียน 6.74 1.29

จากตารางที่ 2 พบว่า การทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/3
มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.26 คะแนน และ 6.74 คะแนน ตามลำดับ และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างคะแนนก่อนและ
หลังเรยี น พบวา่ คะแนนสอบหลงั เรียนของนักเรียนสูงกวา่ ก่อนเรยี นอย่างมนี ยั สำคญั ทางสถติ ิท่รี ะดับ .05

โรงเรียนอนุบาลวัดลูกแกประชาชนูทิศ สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาญจนบรุ ี เขต 2

7

ตอนที่ 2 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ GPAS 5

Steps รว่ มกบั การเรียนแบบผสมผสานผา่ นบทเรยี นออนไลนโ์ ดยใชเ้ ทคโนโลยสี อื่ สังคม (Social Media)

ตารางที่ 3 แสดงผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้

แบบ GPAS 5 Steps ร่วมกับการเรียนแบบผสมผสานผ่านบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม

(Social Media)

ลำดบั ท่ี คาบเรยี นน้ี เรียนแลว้ I wish คาบน้จี ะดี I learn ส่ิงทฉ่ี นั ได้ I like สิ่งทช่ี อบ I wonder สงิ่ ทีย่ งั

เปน็ ยังไงบ้าง เขา้ ใจแคไ่ หน ขึ้นอกี ถา้ ครู... เรียนรู้ในคาบนี้... และอยากให้ครูทำ สงสัยในคาบน.ี้ ..

ต่อไป...

15 4 - ถ้าครูเก่ง ใจดี -ได้ความรู้ -อยากให้ครสู อน -วิชาวทิ ยาศาสตร์

25 4 สวย และไมด่ ุ สามารถนำมาสอน และอยู่แบบนไ้ี ป เปน็ วชิ าทใ่ี ครเป็น

34 4 คนอ่ืนๆตอ่ ไปได้ นานๆ คนคดิ และ
45 4 ออกแบบ
55 5 -การเกดิ ไฟฟ้า -สอนท่ีนอี่ ยู่ -ทำไมเราถึงต้อง
65 5 เรียนวชิ านี้
75 5 -ความรู้ ความ ทนี่ ี่ เพราะคุณครู เพ่อื ให้ไดค้ วามรู้
84 5 ต่อๆกันไปเร่ือยๆ
95 4 เขา้ ใจในวิชา สอนเข้าใจมาก
10 5 4
วทิ ยาศาสตร์ -ชอบตรงท่ีครู

-การทำความเขา้ ใจ ชอบทำให้มี

-ไฟฟา้ มี ความสขุ

แหลง่ กำเนิดที่ใด

11 5 4

12 5 5

13 4 4

14 5 4

15 5 5

16 4 5

17 4 5

18 4 5

19 5 5

20 4 5

21 5 5

22 5 5

23 5 5

คา่ เฉลีย่ 4.70 4.61

โรงเรยี นอนุบาลวดั ลกู แกประชาชนทู ศิ สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาญจนบรุ ี เขต 2

8

ลำดบั ที่ คาบเรยี นนี้ เรียนแล้ว I wish คาบน้จี ะดี I learn สิง่ ที่ฉันได้ I like ส่ิงทชี่ อบ I wonder สิง่ ทยี่ งั
เป็นยงั ไงบา้ ง เข้าใจแค่ไหน ขึ้นอีกถ้าครู... เรียนรใู้ นคาบน.้ี .. และอยากใหค้ รทู ำ สงสัยในคาบนี.้ ..

สว่ น 0.50 ต่อไป...
เบี่ยงเบน 0.47
มาตรฐาน มากทส่ี ุด
แปลผล มากท่สี ดุ 4.65
0.32
คา่ เฉล่ยี
สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน

จากตารางที่ 3 พบว่า ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/3 ที่มีต่อ
กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps ร่วมกับการเรียนแบบผสมผสานผ่านบทเรียนออนไลน์โดยใช้
เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โดยภาพรวมมคี วามพึงพอใจอยู่ในระดบั มากท่สี ดุ ( x̅ = 4.65, S.D.= 0.32) ซง่ึ
มีรายละเอียดดังนี้ 1.คาบเรียนนี้เป็นยังไงบ้าง จากผลการวิเคราะห์ ข้อมูลพบว่านักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ใน
ระดับมากที่สุด ( x̅ = 70, S.D.= 0.47) 2.เรียนแล้วเข้าใจแค่ไหน จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่านักเรียนมีความ
พึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สดุ ( ̅x= 4.61, S.D.= 0.50) 3. I wish คาบนี้จะดีขึ้นอีกถ้าครู (ถ้าครูเก่ง ใจดี สวย และ
ไม่ดุ) 4. I learn สิ่งที่ฉันได้เรียนรู้ในคาบนี้ ได้ความรู้ สามารถนำมาสอนคนอื่นๆต่อไปได้ การเกิดไฟฟ้า ความรู้
ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์ การทำความเข้าใจ ไฟฟ้ามีแหล่งกำเนิดที่ใด 5. I like สิ่งที่ชอบและอยากให้ครูทำ
ตอ่ ไป อยากให้ครสู อนและอยู่แบบน้ีไปนานๆ สอนทน่ี อี่ ย่ทู น่ี ี่ เพราะคณุ ครูสอนเข้าใจมาก ชอบตรงท่ีครูชอบทำให้
มคี วามสขุ 6. I wonder สิ่งทย่ี งั สงสัยในคาบน้ี -วชิ าวิทยาศาสตร์ เป็นวิชาท่ใี ครเปน็ คนคิดและออกแบบ และทำไม
เราถึงตอ้ งเรยี นวิชานี้เพื่อใหไ้ ดค้ วามรู้ต่อๆกันไปเร่อื ย ๆ

โรงเรียนอนุบาลวดั ลกู แกประชาชนูทิศ สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาญจนบรุ ี เขต 2

9

สรปุ ผล

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน - หลังเรียน วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่อง ไฟฟ้า
ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps ร่วมกับการเรียนแบบผสมผสานผ่านบทเรียนออนไลน์โดยใช้
เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/3 จำนวน 23 คน มีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน (ดีขึ้น) คิดเป็น 100 % มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) =0.73 ค่าความแปรปรวน 16.27 มีคะแนนเฉล่ีย
เท่ากบั 4.26 คะแนน และ 6.74 คะแนน หมายถงึ ประสทิ ธิภาพอยู่ในระดบั ดีมาก

2. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/3 ที่มีต่อกระบวนการ
จดั การเรยี นรู้แบบ GPAS 5 Steps รว่ มกบั การเรยี นแบบผสมผสานผา่ นบทเรยี นออนไลนโ์ ดยใช้เทคโนโลยสี ือ่ สังคม
(Social Media) โดยภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดบั มากทส่ี ดุ ( x̅ = 4.65, S.D.= 0.32)

อภปิ รายผล

จากการวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่อง ไฟฟ้า
ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps ร่วมกับการเรียนแบบผสมผสานผ่านบทเรียนออนไลน์โดยใช้
เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ได้บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ซึ่งเป็นรูปแบบ
และเทคนิควิธกี ารสอนหน่งึ ทนี่ ำมาใช้ในการเรยี นรู้ในยุคแห่งสังคมสารสนเทศในปัจจุบันผู้เรยี นสามารถเรียนได้โดย
ไม่มีข้อจำกัดในเรื่องเวลาและสถานที่ (Anytime Anywhere) เป็นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคในการ
เรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน ผู้เรียนสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้และส่งข่าวสารถึงกันได้ย่างรวดเร็วก่อให้เกิดสังคมแห่งการ
เรียนรู้ในการเรียนผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นโอกาสอันดีของผู้เรียนที่ต้องการพัฒนาทักษะความรู้ในการ
ทำงาน ทักษะชีวิตและความรู้ในชีวิตประจำวันโดยวิธีหาความรู้เพิ่มเติม จากสื่อต่าง ๆ มากขึ้น การนำเอารูปแบบ
การเรียนแบบผสมผสานมาใช้นั้น ต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆให้พร้อมเพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพทางการเรียนให้
เกิดขน้ึ ปัจจบุ นั รูปแบบการเรียนแบบนไี้ ด้ถูกนำมาใช้เป็นสื่อการสอนในทุกระดบั การศึกษา
ข้อเสนอแนะ

1. ควรมีการสร้างบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กับ กลุ่มสาระการเรียนรูอ้ ื่น ๆ
เพ่ือเปน็ ประโยชน์ตอ่ การเรยี นการสอนมากยงิ่ ข้นึ

2. ควรมกี ารจัดอบรมการสรา้ งนวัตกรรมบทเรยี นออนไลนโ์ ดยใชเ้ ทคโนโลยีสอื่ สงั คม (Social Media) ให้กบั ครู
ทกุ คนในโรงเรียน เพื่อจะไดพ้ ัฒนาการเรยี นการสอนให้มีประสิทธิภาพทุกกลุม่ สาระ

3. ควรส่งเสริมใหค้ รูไดน้ ำเทคโนโลยมี าใชใ้ นกจิ กรรมการเรยี นการสอนอย่างต่อเน่ือง

4. ควรส่งเสริมผู้ปกครองในการเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ให้ นักเรียนเพื่อพัฒนานักเรียนให้

สอดคลอ้ งกับสมรรถนะของผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21

โรงเรยี นอนุบาลวดั ลูกแกประชาชนทู ศิ สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษากาญจนบรุ ี เขต 2


Click to View FlipBook Version