วารสารเกาหลีเกาใจ ฉบับแรก
สิงหาคม 2565
•
요세하녕안
สาธารณรัฐเกาหลี (Republic of Korea) หรือที่รู้จักกันในนาม เกาหลีใต้ (South Korea)
ซึ่งในภาษาเกาหลี เรียกว่า “แทฮันมินกุก” หรือเรียกสั้น ๆ ว่า “ฮันกุก” หมายถึง ชาวฮั่นหรือชาว
เกาหลี และบางครั้งชาวเกาหลีใต้จะเรียกตนเองว่า “นัมฮัน” หมายถึง ชาวฮั่นทางใต้ ส่วนชาว
เกาหลีเหนือจะเรียกเกาหลีใต้ว่า “นัมโชซอน” หมายถึง โชซอนใต้ เกาหลีใต้ได้รับสมญานามว่าเป็น
“ดินแดนแห่งความสงบยามเช้า (The Land of Morning Calm)” หรือ “โคโยฮัน อาชิมเอ
นารา” ในภาษาเกาหลีซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงขนบธรรมเนียมที่สืบทอดต่อกันมายาวนานถึง 5,000 ปี
| 02
ส า ร บั ญ
4 สภาพภูมิประเทศ
5 สภาพภูมิอากาศและฤดู
7 ธงประจำชาติ
8 เพลงชาติ คำขวัญ
9 ดอกไม้ประจำชาติ
10 ชุดประจำชาติ
11 ภาษา ศาสนา
12 สกุลเงิน ความแตกต่างของเวลา
13 วัฒนธรรม
18 การคมนาคม
20 อาหาร
28 สถานที่ท่องเที่ยว
34 เทศกาล
39 ทักทายท้ายเล่ม
สภาพภูมิประเทศ
ประเทศเกาหลีใต้ตั้งอยู่ละติจูดที่ 33 – 39 องศาเหนือ และลองจิจูดที่ 125 – 131 องศาตะวันออก
มีพื้นที่ทั้งหมด 99,208 ตารางกิโลเมตร รวมพื้นที่ของน้ำ (ทะเลสาบ อ่างเก็บน้ำ แม่น้ำ) ที่อยู่ภายใน
ดินแดนนั้นด้วย โดย 70 เปอร์เซ็นต์ของประเทศเป็นภูเขาซึ่งขนาดเนื้อที่ของประเทศเกาหลีใต้นั้น
ใหญ่เป็นอันดับที่ 108 ของโลก เกาหลีใต้เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกมีพื้นที่ครอบคลุมทางใต้
ของคาบสมุทรเกาหลี พรมแดนทางเหนือติดกับประเทศเกาหลีเหนือ และมีประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ทาง
ตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีทะเลญี่ปุ่นและช่องแคบเกาหลีกั้นไว้ โดย ประเทศเกาหลีใต้ประกอบไปด้วย
9 จังหวัด 6 เมืองใหญ่หรือมหานคร แต่รวมทั้งประเทศมีทั้งหมด 77 เมือง และ 88 มณฑล หรือ
อำเภอ โดยได้มีการแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 8 จังหวัด อีก 1 จังหวัดปกครองตนเองแบบพิเศษ
6 มหานคร และ 1 นครพิเศษ เมืองหลวงของประเทศเกาหลีใต้คือ กรุงโซล
| 04
สภาพภูมิ
อากาศและฤดู
ชาวเกาหลีเรียกผืนแผ่นดินแห่งนี้ว่า คึมซูกังซาน หรือ ผืน
พรมทองแห่งแม่น้ำและภูเขา ความน่าพิศวงของผืนแผ่นดินนี้
ถ่ายทอดผ่านแต่ละช่วงฤดูกาลด้วยทัศนียภาพที่สวยงามแตก
ต่างกันไป ภูมิอากาศของเกาหลีซึ่งอยู่ในเขตอบอุ่นมีอยู่ 4
ฤดูกาลใน 1 ปีแบ่งออกเป็นฤดูหนาว ฤดูใบไม้ผลิ ฤดูร้อน และ
ฤดูใบไม้ร่วง มีความแตกต่างกันมาก โดยช่วงฤดูหนาวจะกิน
เวลายาวนานกว่าฤดูร้อน และฤดูใบไม้ผลิ ส่วนฤดูใบไม้ร่วง
เป็นฤดูที่สั้นที่สุด และช่วงเวลาฝนตกจะเป็นระหว่างฤดูร้อนใน
ช่วงเดือนมิถุนายน
ฤดูใบไม้ผลิ
ฤดูใบไม้ผลิของเกาหลีจะอยู่ในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือน
พฤษภาคม โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ย 6 องศาฯ ถึง 16 องศาฯ
ช่วงนี้ดอกไม้เยอะ ต้นไม้จะทำการผลิใบสะพรั่งเต็มต้น
แสงแดดสดใสยาวนานตลอดวัน
ฤดู ร้ อน
ฤ ดู ร้อ น ข อ ง เ ก า ห ลี จ ะ อ ยู่ ใ น ช่ ว ง เ ดื อ น
มิ ถุ น า ย น ถึง เ ดือ น สิ ง ห า ค ม โ ด ย อุ ณ ห ภู มิ
เ ฉ ลี่ ย 2 2 อ ง ศ า ฯ ถึ ง 3 8 อ ง ศ า ฯ ถื อ เ ป็ น
ช่ ว ง ที่ ร้อ น จัด แ ต่ อ า ก า ศ ร้ อ น ก็ จ ะ ทำ ใ ห้ มี
ฝ น ต ก บ้า ง ห า ก ไ ป เ ที่ ย ว เ ก า ห ลี ช่ ว ง นี้ ม อ ง
ไ ป ท า ง ไ ห น ก็จ ะ เ ห็น สี เ ขี ย ว ทั้ ง ต้ น ไ ม้ ใ บ ห ญ้ า
ผ ลิ ใ บ เ ต็ม ที่ ป ล า ย เ ดื อ น มิ ถุ น า ย น จ น ถึ ง
ป ล า ย เ ดือ น ก ร ก ฎ า ค ม แ ล ะ ต ล อ ด เ ดื อ น
สิ ง ห า ค ม อ า ก า ศ จ ะ ร้ อ น จั ด ที่ สุ ด
| 05
ฤดูใบไม้ร่วง
ฤดูใบไม้ร่วงหรือใบไม้เปลี่ยนสีจะอยู่ช่วงเดือน
กันยายนถึงเดือนพฤศจิกายน โดยอุณหภูมิ
เฉลี่ยจะลดลงอยู่ที่ 5 องศา ถึง 25 องศาฯ
แต่จะมีอากาศสดชื่น ท้องฟ้าแจ่มใส อากาศดี
เป็นช่วงที่ได้รับความนิยมมาก ๆ จากนักท่อง
เที่ยว ถือว่าบรรยากาศโรแมนติกสุด ๆ ในช่วง
เดือนตุลาคมที่เกาหลีจะมีสีสันสดใสด้วยใบไม้ที่
เปลี่ยนเป็นสีทองและสีแดงเต็มต้น เป็นช่วงที่
เหมาะกับการท่องเที่ยวมากที่สุด
ฤดูหนาว
ฤดูหนาวจะอยู่ในช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือน
กุมภาพันธ์ อุณหภูมิเฉลี่ย -5 องศาฯ ถึง 20
องศาฯ อากาศจะแห้งและหนาวจัด บางครั้งมี
ฝนตกหรือหิมะตกหนัก
| 06
ธงประจำชาติ
ธงประจำชาติของประเทศเกาหลีใต้ในภาษาเกาหลีเรียกว่า
“แทกึกกี” โดย “แทกึก” แปลว่า จักรวาล และ “กี” แปลว่า
ธง พื้นสีขาวของธงชาติ หมายถึง ความสะอาดบริสุทธิ์
ของประชาชนของประเทศเกาหลีใต้ บนผืนธงประกอบไป
ด้วยวงกลมอยู่ตรงกลาง แบ่งเป็นสีน้ำเงินและสีแดงเท่า ๆ
กัน ซึ่งเป็นลักษณะของ “หยิน – หยาง” ตามหลักปรัชญา
ตะวันออกโดยสีน้ำเงิน หมายถึง หยิน หรือ พลังในเชิงลบ
ส่วนสีแดง หมายถึง หยาง หรือ พลังในเชิงบวก ซึ่งพลัง
ทั้งสองรวมกันเป็นหลักแห่งการเคลื่อนที่ในการพัฒนา
อย่างต่อเนื่องประสานกันอย่างสมดุล อีกทั้งเป็นหลักแห่ง
ความสามัคคีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และรอบวงกลม
นี้จะมีสัญลักษณ์สีดำตรงมุมทั้ง 4 ด้าน อยู่บนพื้นธงสีขาว
สัญลักษณ์ทั้ง 4 มุมนี้ ได้แก่
Geon อยู่มุมบนด้านซ้าย หมายถึง สวรรค์
Gon อยู่มุมล่างด้านขวา หมายถึง โลก
Gam อยู่มุมบนด้านขวา หมายถึง น้ำ
Li อยู่มุมล่างด้านซ้าย หมายถึง ไฟ
| 07
คำขวัญ
Broadly bring benefit to humanity หรือ นอลรี อินกัน เซคเยรึล
อีรพเก ฮารา หมายความว่า นำผลประโยชน์อันมหาศาลมาสู่มวลมนุษย์
เพลงชาติ โดยชาวเกาหลีโพ้นทะเลเพื่อขอพรให้ประเทศ
ของตนได้รับอิสรภาพ ซึ่งเชื่อกันว่าคำร้อง
เพลงชาติประเทศเกาหลีใต้ในภาษา ได้ประพันธ์ขึ้นในปี ค.ศ. 1896 โดยยอนชิโน
เกาหลีเรียกว่า“เอกุกกา” หมายถึง ผู้นำการต่อสู้เพื่อเอกราชของเกาหลีและเป็น
เพลงของผู้รักชาติ เนื่องจากชาว นักการศึกษา ต่อมาในปี ค.ศ. 1935 ได้มี
เกาหลีเป็นคนที่รักในชาติิของตนมาก ผู้ประพันธ์ทำนองเพลงนี้ขึ้น คือ อันอิกแท
เพลงชาติ จึงมีความหมายอันสื่อถึง นักดนตรีเกาหลีในสเปน เพลงนี้ได้บรรเลงใน
ความรักชาติอย่างยิ่งยวด ในช่วงที่ พิธีฉลองการสถาปนาสาธารณรัฐเกาหลีใน
เกาหลีตกเป็นเมืองขึ้นของประเทศ วันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ.1948 โดยนายลีซึง
ญี่ปุ่นเพลงนี้ถูกร้อง มาน ประธานาธิบดีคนแรกของสาธารณรัฐ
เกาหลี หลังการปลดปล่อยเป็นอิสระจาก
ญี่ปุ่นเป็นเวลาสามปี และนำมาใช้เป็นเพลง
ชาติในปีเดียวกันจวบจนปัจจุบัน
| 08
ดอกไม้ประจำชาติ
ดอกมูกุงฮวา หรือ Rose of Sharon เป็นดอกไม้ประจำชาติของ
เกาหลีใต้ “มูกุงฮวา” มาจากรากศัพท์ “มูกุง” หมายถึง ความเป็น
อมตะ สะท้อนถึงความเป็นอมตะของประวัติศาสตร์ และความมุ่งมั่น
อดทนของชาวเกาหลีใต้ ดอกมูกุงฮวาจะบานสะพรั่งทั่วประเทศ ใน
ช่วงเดือนกรกฎาคมถึงเดือนตุลาคม คุณสมบัติเด่นของดอกไม้ชนิด
นี้คือ สามารถทนสภาพอากาศที่เลวร้ายและศัตรูพืชได้เป็นอย่างดี
| 09
ชุดประจำชาติ
ชุดประจำชาติของเกาหลี เรียกว่า ชุด'ฮันบก' ในอดีตคนเกาหลีนิยมใส่ชุดสีขาวจนทำให้ถูกเรียกขานว่า 'แพกอึยมินจก'
หรือชนชาติชุดขาว แต่คนเกาหลีก็นิยมใส่ชุดฮันบกหลากหลายสีสัน และหรูหรางดงามเช่นเดียวกันเพื่อให้เหมาะสมกับ
เวลาและสถานที่ และยังมีการใส่หมวกที่แตกต่างกันให้เข้ากันกับชุดนั้น ๆ อีกด้วย ชุดฮันบกนั้นโดยพื้นฐานแล้วผู้ชาย
จะใส่กางเกงและชอโกรี (เสื้อคลุม) ส่วนผู้หญิงจะใส่กระโปรงและชอโกรี (เสื้อคลุม) เกาหลีมีสี่ฤดูกาลที่มีอากาศแตก
ต่างกันอย่างชัดเจน จึงมีความจำเป็นที่จะต้องตัดชุดใส่ให้เหมาะสมกับแต่ละฤดูกาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในฤดูร้อนและ
ฤดูหนาว จึงทำให้ชาวเกาหลีได้พัฒนาวัฒนธรรมเครื่องแต่งกายต่าง ๆ โดยการเปลี่ยนวัสดุที่นำมาทำเนื้อผ้าตามแต่ละ
ฤดูกาล
องค์ประกอบของชุดฮันบกสำหรับผู้หญิง
저고리 (ชอโกรี) เสื้อคลุม
치마 (ชิมา) กระโปรง
두루마기 (ทูรูมากี) เสื้อคลุมตัวยาว ส่วนใหญ่มัก
สวมใส่ตอนออกไปข้างนอก
배자 (แพจา) เสื้อกั๊ก
고무신 (โคมูชิน) รองเท้า
족두리 (ชกดู) เครื่องประดับศีรษะ
องค์ประกอบของชุดฮันบกสำหรับผู้ชาย
저고리 (ชอโกรี) เสื้อคลุม
바지 (พาจี) กางเกง
두루마기 (ทูรูมากี) เสื้อคลุมตัวยาว ส่วนใหญ่
มักสวมใส่ตอนออกไปข้างนอก
조끼 (โชกี) เสื้อกั๊ก
고무신 (โคมูชิน) รองเท้า
마고자 (มาโกจา) เสื้อที่ใช้สวมทับชุดฮันบก
ซึ่งมีกระดุมติดอยู่และไม่มีปกคอเสื้อหรือสายผูก
| 10
ภาษา
ชาวเกาหลีใต้สื่อสารกันด้วยภาษาเดียวกัน คือ ภาษาเกาหลี โดยใน
กรุงโซลและเขตปริมณฑลจะใช้เป็นภาษากลาง ส่วนภาษาท้องถิ่นก็
มีใช้กันตามภาคต่าง ๆ แต่ถึงกระนั้นชาวเกาหลีใต้ก็สามารถสื่อสาร
เข้าใจกันเป็นอย่างดี ยกเว้นภาษาท้องถิ่นของเกาะเชจู ซึ่งเข้าใจ
ยากกว่าท้องถิ่นอื่น ๆ
ศาสนา
ชาวเกาหลีใต้มีศาสนาที่ตนนับถือกันอย่างหลากหลาย กล่าวคือ
นับถือศาสนาคริสต์ 26.3% (นิกายโปรแตสแตนท์ 19.7% และ
นิกายโรมันคาทอลิก 6.6%) ศาสนาพุทธ 23.2% และศาสนาอื่น ๆ
1.3% ส่วนกลุ่มที่ไม่นับถือศาสนาใดเลย 49.3%
| 11
สกุลเงิน
ความแตกต่างของเวลา
สกุลเงิน ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ข อ ง เ ว ล า
สกุลเงินของประเทศเกาหลีใต้ คือ “วอน” ใ น ป ร ะ เ ท ศ เ ก า ห ลี ใ ต้ จ ะ เ ร็ ว ก ว่ า
(Korea won: KRW) ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย 2 ชั่ ว โ ม ง
ประเภทธนบัตรของเกาหลีใต้จะมี 4 ชนิด
คือ ธนบัตร จำนวน 1,000 วอน 5,000
วอน 10,000 วอน 50,000 วอน
ประเภทเหรียญ ได้แก่ 1 วอน, 10 วอน, 50
วอน ,100 วอน, 500 วอน
| 12
ชาวเกาหลีใต้ได้สร้างวัฒนธรรมที่โดดเด่นผ่านช่วงประวัติศาสตร์อันยาวนาน
วัฒนธรรมหลาย ๆ อย่าง เกิดขึ้นมาจากอิทธิพลของหลากหลายศาสนา
ซึ่งมีอิทธิพลมากต่อการดำรงชีวิตความเป็นอยู่ของชาวเกาหลีมาจวบจนปัจจุบันนี้
| 13
วัฒนธรรม
การทักทาย การเรียกผู้อื่น
Korean DO Korean DO
การกล่าวคำทักทายและคำขอบคุณ ต้อง การเรียกคนที่ไม่รู้จักกัน หรือไม่รู้จักชื่อบาง
ก้มหัวคำนับเสมอการโค้งต่ำระดับไหนนั้น คนจะใช้คำพู ดที่เป็นการเกริ่นนำขึ้นมาก่อนไม่
ขึ้นอยู่กับความอาวุโสของอีกฝ่าย ได้มีคำเรียกบุคคลนั้นตายตัว (เช่น ขอโทษนะ
คะ, ไม่ทราบว่า) แต่บางคนจะมีคำสรรพนามที่
Korean DON’T สามารถใช้เรียกได้เลย (เช่น คุณลุง, คุณป้า)
ทักทายด้วยการโอบกอดในที่สาธารณะ การเรียกคนที่มีอายุมากกว่าจะไม่เรียกชื่อเขา
นอกเสียจากเพื่อการร่ำลา แต่จะใช้สรรพนามให้ เหมาะสมกับเขาคนนั้น
(ซึ่งแบ่งตามเพศ และสถานภาพ) แต่ถ้าเรียก
คนที่มีอายุน้อยกว่า หรือเป็นเพื่อนรุ่น
เดียวกันสามารถเรียกชื่อได้ หรืออาจใช้
สรรพนามแทนก็ได้เช่นกัน
เรียกชื่อจริงเฉพาะกับเพื่อนสนิท หรือคนใน
ครอบครัวเท่านั้น
การเรียกผู้อาวุโสในสำนักงาน อาจเติมคำว่า
“นิม” ต่อท้ายตำแหน่งหน้าที่การงานของ
บุคคลนั้นหรือเติมคำว่า “ชี” ต่อท้ายชื่อเต็ม
ของเพื่อนร่วมงาน เพื่อความสุภาพมากขึ้น
Korean DON'T
เรียกคนที่ไม่รู้จักกัน หรือไม่รู้จักชื่อ ว่า “นอ”
ที่แปลว่า You ในภาษาอังกฤษเพราะเป็นคำที่
ใช้เรียกกันเฉพาะในหมู่เพื่อนหรือคนสนิท
เท่านั้น
เรียกผู้อาวุโสกว่าด้วยชื่อจริง หรือ นอ
เรียกชื่อจริงของบุคคลผู้ที่เราไม่ได้รู้จักกัน
เป็นอย่างดีเช่น เพื่อนร่วมงาน, หัวหน้า ฯลฯ
| 14
การรับประทานอาหาร
Korean DO
ใช้ตะเกียบโลหะกับช้อนยาวโดยใช้ช้อนรับประทานข้าว
ซุป และใช้ตะเกียบกับเครื่องเคียงแบบอาหารแห้ง
เคี้ยวอาหารเสียงดัง ๆ เพื่อแสดงความอร่อย
(คล้ายวัฒนธรรมจีนและญี่ปุ่น)
วางช้อนและตะเกียบลงบนโต๊ะเมื่อทานเสร็จแล้ว
น้อมรับคำชมเกี่ยวกับรสชาติอาหารและบริการ
ผู้น้อยต้องรอให้ผู้อาวุโสที่สุดเป็นฝ่ายบอกเริ่มการรับ
ประทานอาหารเสมอ
เมื่อมีคนรินเครื่องดื่มให้ก็ควรรินกลับเพื่อเป็นการ
แสดงความขอบคุณ
ผู้ที่มีอายุน้อยที่สุด ต้องเป็นคนรินเครื่องดื่มให้ผู้
อาวุโสกว่าเสมอและต้องรินด้วยสองมือ
Korean DON’ T
ใช้ช้อนและตะเกียบพร้อมกัน
ปักตะเกียบไว้ในชามข้าว เพราะถือว่าเป็นการเซ่นไหว้
คนตาย
ยกจานหรือชามขึ้นมาขณะรับประทานอาหาร
การพู ดคุยระหว่างมื้ออาหารที่มากเกินไป
แชร์ค่าอาหาร (ยกเว้นในกรณีพิเศษ)
การสั่งน้ำมูกในโต๊ะอาหาร
ลุกจากโต๊ะอาหารก่อนที่ผู้อาวุโสที่สุดจะรับประทาน
เสร็จ
รินเครื่องดื่มให้ผู้อื่นขณะที่เครื่องดื่มในแก้วยังไม่
หมด
ครอบครัวเกาหลีนิยมรับประทานข้าว ซุป และเครื่อง
เคียงอีกสามสี่อย่างรวมทั้งกิมจิ มีการจัดเรียงจากซ้าย
ไปขวาของผู้รับประทาน ดังนี้ ข้าว ซุป ช้อน และตะเกียบ
ส่วนสตูและเครื่องเคียงอื่นๆ จะวางกลางโต๊ะ รับประทาน
กับผู้อื่น ชาวเกาหลีเชื่อว่า การรับประทานอาหารร่วมจาน
กันจะเป็นการกระชับความสัมพันธ์ แต่หากต้องการจาน
ชามส่วนตัวก็สามารถขอได้ และทุกวันนี้ร้านอาหารเกาหลี
ก็จะจัดชุดจานเฉพาะบุคคลให้
| 15
การแสดงออก การไปเยี่ยมบ้านผู้อื่น
Korean DO Korean DO
การจับมือทักทายกันอย่างสุภาพ ถอดรองเท้าก่อนเข้าบ้าน เนื่องจากตาม
โอบกอดในที่สาธารณะ ซึ่งจะทำเฉพาะ ประเพณีดั้งเดิมคนเกาหลีนั่งรับประทาน
กรณีเพื่อการร่ำลา อาหาร และนอนบนพื้น
แสดงออกอย่างอ่อนน้อมถ่อมตน สวมถุงเท้า หรือถุงน่อง
ชาวเกาหลีจะแสดงแสดงความคิดเห็น
ด้วยความระมัดระวังรอบคอบเพื่อ Korean DON'T
ป้องกันไม่ให้ผู้อื่นเกิดการเข้าใจหรือ ใส่รองเท้าเข้าบ้าน
ตีความหมายผิด เดินหรือนั่งเท้าเปล่าต่อหน้าผู้ใหญ่ หรือ
ผู้อาวุโส
Korean DON'T
การแสดงความรักระหว่างเพศในที่
สาธารณะ(เช่น กอด, จูบ)
ถูกเนื้อต้องตัว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
บริเวณศีรษะ นอกจากจะแสดงความ
เอ็นดูต่อเด็กเล็ก ๆ เท่านั้น
คุยโวโอ้อวดความสามารถของตนเอง
แสดงความคิดเห็นอย่างตรงไปตรงมา
ทิ้งขยะบนท้องถนน เพราะค่าปรับแพง
การใช้มือ
Korean DO
รับสิ่งของจากผู้ใหญ่ ด้วยสองมือ
มอบสิ่งของให้ผู้ใหญ่ ด้วยสองมือ
Korean DON'T
รับสิ่งของจากผู้ใหญ่ ด้วยมือเดียว
มอบสิ่งของให้ผู้ใหญ่ ด้วยมือเดียว
| 16
การปฏิเสธ
Korean DO
ใช้วิธีการพูดแบบอ้อมๆ (พูดอ้อมค้อม)
Korean DON'T
ใช้วิธีการพู ดแบบตรงไปตรงมา
Korean DO
ในเกาหลี การให้ทิปไม่ใช่สิ่งจำเป็น เพราะตามโรงแรม และร้านอาหารจะบวก
ค่าบริการ (Service Charge) ไว้แล้ว 5 – 10% ของค่าอาหาร หรือห้อง
พัก
ค่าเลี้ยงสุนัขที่เกาหลีใต้ค่อนข้างแพง ถ้าหากจูงสุนัขไปเดินเล่นตามถนน
แล้วสุนัขอึ เราต้องทำการเก็บทำความสะอาด มิฉะนั้นต้องเสียค่าปรับ
ตามร้านมินิมาร์ทที่เกาหลีใต้ เวลาซื้อของเขาจะไม่ใส่ถุงให้ ทั้งนี้เพื่อรณรงค์
ลดการใช้ถุงพลาสติก หากต้องการถุง เขาจะคิดเงินเพิ่ม 100 วอน แต่ก็มี
บางร้านที่ให้ถุงโดยไม่ต้องจ่ายเงิน
ประเทศเกาหลีใต้มีระบบตรวจจับคนที่ขับรถผิดกฎจราจร ซึ่งทางตำรวจจะ
ส่งหลักฐานมาถึงบ้าน เพื่อแจ้งเรื่อง ความเร็ว, เวลา, ทะเบียนรถยนต์ และ
ผู้ทำผิดกฎจราจรต้องไปเสียค่าปรับที่โรงพักเอง
ผู้หญิงเมื่อแต่งงานแล้ว จะไม่เปลี่ยนไปใช้นามสกุลของสามี แต่จะยังคงใช้
นามสกุลของตนตามเดิม ส่วนบุตรธิดาจะใช้ชื่อสกุลของบิดา
ชาวเกาหลี มีความคิดที่ว่าการถามคำถามอย่าง “คุณอายุเท่าไร ?” “คุณ
แต่งงานแล้วหรือยัง ?” หรือ “ทำไมคุณถึงมาที่เกาหลี ?” จะช่วยให้เกิด
ความใกล้ชิดและมิตรภาพที่ดีขึ้น ดังนั้น จึงไม่แปลกหากชาวเกาหลี จะถาม
อายุของเรา เพราะเขาจะได้รู้ว่าควรจะใช้คำพูดในการคุยกับเราอย่างไร
| 17
การคมนาคม
รถไฟ (Trains) รถไฟใต้ดิน(Subways)
รถไฟจะวิ่งตามตารางเวลาปกติ ระบบรถไฟใต้ดินในกรุงโซลนั้น มีความ
เหมาะสำหรับการเดินทางไกล ก้าวหน้ามาก และวิ่งตามตารางเวลา
นอกจากรยังมีรถไฟด่วน (KTX) ปกติด้วยราคาที่ไม่สูงนัก ค่าโดยสาร
ซึ่งเริ่มให้บริการตั้งแต่ปี 2004 ขึ้นอยู่กับสถานีปลายทาง นอกจาก
โดยมีรถไฟสายเซมาอึลและสาย กรุงโซลแล้ว ในเมืองปูซาน แดกู และ
มูกุงฮวา แดจอนก็มีรถไฟใต้ดินเช่นกัน โดยระยะ
เวลาปกติที่รถไฟใต้ดินให้บริการ คือ
5.30 – 24.00
| 18
รถแท็กซี่ (Taxis) รถโดยสารด่วนสำหรับระยะทางไกล
(Long Distance Express
รถแท็กซี่จะมีค่าบริการแพงกว่า เมื่อเทียบ Buses)
กับรถโดยสารประจำทางหรือรถไฟใต้ดิน
แต่ข้อดี คือ มีความสะดวกสบาย สะอาด รถโดยสารด่วนนี้เหมาะสำหรับระยะทาง
ปลอดภัย และสามารถให้บริการได้แม้ยาม ไกลเช่นเดียวกันกับรถโดยสารประจำท้อง
ค่ำคืน ค่าโดยสาร จะขึ้นอยู่กับเวลาและระยะ ถิ่น แต่สิ่งที่ต่างกัน คือ รถโดยสารด่วนนี้
ทางที่ใช้ไป จะเดินทางบนทางหลวง (หรือถนนไฮเวย์)
ซึ่งในแต่ละเมืองจะมี สถานีปลายทางของ
รถโดยสารประจำทางภายในเมือง รถโดยสารด่วน เพียง 1 สถานี
(Inner – City Buses)
เป็นการเดินทางที่ค่าใช้จ่ายถูกที่สุด ซึ่ง
จะมีให้บริการอยู่ในตัวเมืองและบริเวณ
ชานเมือง ซึ่งรถโดยสารประจำทางใน
กรุงโซลนี้ จะแบ่งออกเป็น 4 สี ตาม
พื้นที่ที่แต่ละสีครอบคลุม
| 19
อ า ห า ร เ ก า ห ลี
| 20
อ า ห า ร เ ก า ห ลี
| 21
กิมจิ
กิมจิเป็นผักดองเค็มชนิดหนึ่งอันเป็นส่วนหนึ่งของมื้ออาหารเฉกเช่นเดียวกับเครื่อง
เคียงอย่างอื่น ถึงกระนั้นกิมจิกลับเป็นรายการหลักที่ขาดไม่ได้เลยในมื้ออาหารของ
ชาวเกาหลีเพราะเป็นสิ่งที่ช่วยเพิ่มรสชาติ ในการรับประทานอาหารให้อร่อยมากยิ่งขึ้น
โดยที่มาของกิมจินั้น ก็เนื่องมาจากมนุษย์เล็งเห็นคุณค่าของผักซึ่งมีทั้งวิตามินและแร่
ธาตุมากมาย แต่ในฤดูหนาวสภาพอากาศไม่เอื้อต่อการเพาะปลูก มนุษย์จึงได้คิดค้น
วิธีการถนอมอาหารโดยวิธีการหมักดอง กิมจิจึงได้ถือกำเนิดขึ้นในศตวรรษที่ 7 ต่อมา
ในระหว่างศตวรรษที่ 12 ได้มีการทำกิมจิรูปแบบใหม่ที่มีส่วนผสมของเครื่องเทศและ
เครื่องปรุงรส และในศตวรรษที่ 18 พริกเผ็ดป่นก็ได้มาเป็นส่วนผสมที่สำคัญของกิมจิ
ในที่สุดอีกทั้งยังมีการนำเอากะหล่ำปลีเข้ามาในศตวรรษที่ 19 มาทำเป็นกิมจิอันเป็นที่
รู้จักกันดีในปัจจุบัน | 22
bear
양념치긴ไก่ทอดสไตล์เกาหลี () หรือที่คนเกาหลี
เรียกว่า ยังนยอมชีกิน ไก่ทอดเกาหลีถือว่าเป็น
치맥เมนูที่คนเกาหลีนิยมทานคู่กับเบียร์ จนเกิดเป็นเมนู
ยอดฮิตอย่าง (ชีแม็ก) ที่นำเอาคำว่า ชีกิน
(ไก่) และ แม็กจู (เบียร์) มารวมกัน จนได้เป็นเมนู
ไก่ทอดกับเบียร์แสนอร่อย โดยไก่ทอดเกาหลี
เป็นการนำไก่มาทอดให้กรุบกรอบ หลังจากนั้นก็นำ
ไก่ที่ทอดแล้วมาเคลือบด้วยซอสพริกหวานเกาหลี
แบบโฮมเมดหรือที่เรียกกันว่าซอสโคชูจังเพื่อให้ได้
รสชาติกลมกล่อม เมื่อทานแล้วจะสัมผัสได้ถึง
ความกรอบ เผ็ดและหวานแบบลงตัว
ไก่ทอดสไตล์เกาหลี chicken
| 23
บิบิมบับ
비빔밥บิบิมบับ () คือ ข้าวยำเกาหลี โดยคำว่า บิบิม มีความหมายว่า การผสม หรือคลุก
밥เคล้าให้เข้ากัน และบับ ที่มีความหมายว่า ข้าว ซึ่งชื่อดั้งเดิมในยุคโชซอน หรือ พ.ศ.
2343 มีชื่อเรียกว่า ฮวาบัน โดยสาเหตุที่มีชื่อเรียกแบบนี้เพราะว่า บิบิมบับจะมีการจัดวาง
หน้าตาของอาหารคล้ายคลึงกับดอกไม้นั้นเอง โดยส่วนใหญ่วัตถุดิบที่จะใส่ลงไปในเมนูนี้ก็
จะเป็น ข้าว เนื้อ ผัก ซอสโคซูจัง และไข่
| 24
ชับแช
잡채ชับแช (เกาหลี: ) เป็นอาหารเกาหลีชนิดหนึ่ง
ได้จากการนำวุ้นเส้นที่ทำจากแป้งมันเทศไปผัดใน
น้ำมันงากับผักชนิดต่าง ๆ (ตามปกติจะใช้แคร์
รอต, หัวหอม, ผักโขม และเห็ดหั่นเป็นเส้นบาง ๆ)
ปรุงรสด้วยซีอิ๊วและน้ำตาลทราย ตกแต่งด้วย
เมล็ดงาและพริกหั่นแฉลบ จะเสิร์ฟขณะร้อนหรือ
เย็นก็ได้
ชาวเกาหลีมักทำชับแชรับประทานกันในงานเลี้ยง
และโอกาสพิเศษ โดยเพิ่มเนื้อวัวและผักตาม
ฤดูกาลเข้าไป โดยทั่วไปมักเสิร์ฟอาหารจานนี้เป็น
กับข้าว แต่จะเสิร์ฟเป็นอาหารจานหลักก็ได้ บ่อย
ครั้งจะเสิร์ฟกับข้าวสวย หากมีข้าวด้วยจะเรียก
잡채밥อาหารจานนี้ว่า ชับแชบับ (
밥( ) แปลว่า "ข้าว" ) โดยคำว่า พับ
มันดู
만두ตามประวัติศาสตร์เชื่อว่า “เกี๊ยว” หรือ “มันดู
(Mandu- )” นั้นเข้ามาในประเทศเกาหลี
ครั้งแรกในช่วงราชวงศ์โครยอ หรือช่วง
ศตวรรษที่ 14 โดยชาวมองโกลในสมัยนั้น
ศาสนาพุ ทธที่เป็นศาสนาประจำชาติของชาว
โครยอซึ่งมีกฎการบริโภคเนื้อสัตว์ที่จำกัด
แต่การเข้ามาของชาวมองโกลได้ทำให้เกิด
การผ่อนปรนในข้อห้ามดังกล่าวมากขึ้น
สามารถบริโภคเนื้อสัตว์ได้และ “เกี๊ยว” เป็น
หนึ่งในอาหารช่วงแรกของการผ่อนปรนกฎ
ข้อห้ามนี้ โดยใช้วิธีการสอดไส้เนื้อสัตว์ไว้ด้าน
ในเกี๊ยว
| 25
บูลโกกิ
บู ล โ ก กิ ข อ ง เ ก า ห ลี มี ตั้ ง แ ต่ ส มั ย ยุ ค บู ล โ ก กิ นิ ย ม ห มั ก กั บ ซ อ ส โ ช ยุ น้ำ ต า ล ท ร า ย
G o g u r y e o ( G o - g u - r y e o ) ต่ อ ม า ก็ เ ป ลี่ ย น พ ริ ก ไ ท ย น้ำ มั น ง า ก ร ะ เ ที ย บ สั บ ห อ ม ใ ห ญ่
ชื่ อ เ ป ลี่ ย น จ า ก G o g u r y e o ม า เ ป็ น K o r e a ต้ น ห อ ม แ ล ะ สุ ด ท้ า ย คื อ ลู ก แ พ ร ขู ด ถ้ า เ ป็ น
ซึ่ ง ยุ ค G a g u r y e o นี้ เ กิ ด ม า ตั้ ง ก ว่ า 1 , 0 0 0 บ้ า น เ ร า จ ะ ใ ช้ ลู ก ส า ลี่ แ ท น ที่ เ ร า ใ ส่ ลู ก ส า ลี่ ขู ด
ปี แ ล้ ว ป ร ะ เ ท ศ เ ก า ห ลี ถ้ า ดู ใ ห้ ถี่ ถ้ ว น เ ก า ห ลี จ ะ ไ ป เ พ ร า ะ ใ น ลู ก ส า ลี่ จ ะ มี e n z y m e ตั ว นึ ง ทำ ใ ห้
ร อ บ ล้ อ ม ไ ป ด้ ว ย ท ะ เ ล ค ล้ า ย เ ก า ะ อ า ห า ร ส่ ว น เ นื้ อ นิ่ ม ขึ้ น ภ า ษ า ฝ รั่ ง เ รี ย ก ( T e n d e r i z e ) ถ้ า
ใ ห ญ่ จึ ง เ ป็ น ผั ก แ ล ะ อ า ห า ร ท ะ เ ล ใ น ยุ ค นั้ น เ ร า ห า ลู ก ส า ลี่ ไ ม่ ไ ด้ จ ริ ง ๆ ผ ล ไ ม้ ที่ แ ท น ไ ด้ คื อ
ใ ค ร ไ ด้ ม า กิ น เ นื้ อ สั ต ว์ โ ด ย เ ฉ พ า ะ เ นื้ อ วั ว จ ะ ต้ อ ง K i w i ห รื อ สั ป ป ะ ร ด แ ต่ ต้ อ ง ล ด ป ริ ม า ณ ล ง
มี ตำ แ ห น่ ง สู ง ห รื อ เ ป็ น เ ชื้ อ เ จ้ า เ พ ร า ะ เ นื้ อ จ า ก ลู ก แ พ ร เ พ ร า ะ 2 ตั ว นี้ e n z y m e แ ร ง
สั ต ว์ ส มั ย นั้ น เ ป็ น ข อ ง ห า ย า ก ก ว่ า ลู ก แ พ ร
불고기 불บูลโกกิ Bulgogi ( ห ลั ง จ า ก ที่ เ ร า ห มั ก ป ร ะ ม า ณ 2 - 3 ชั่ ว โ ม ง
) ตั ว B u l ( ) ห รื อ ข้ า ม คื น เ ร า จ ะ เ อ า ม า ผั ด ใ น ก ร ะ ท ะ โ ร ย
고 기แ ป ล ว่ า ไ ฟ แ ล ะ ตั ว G o g i ( ) แ ป ล ว่ า เ นื้ อ แ ต่ ง ห น้ า ด้ ว ย หั ว ห อ ม สั บ เ ล็ ก ๆ แ ล ะ ง า ข า ว คั่ ว
วิ ธี ท า น แ บ บ เ ก า ห ลี แ ท้ ๆ ก็ คื อ เ ร า ว า ง เ นื้ อ บู ล
สั ต ว์ พ อ ร ว ม คำ ด้ ว ย กั น บู ล โ ก กิ ก็ แ ป ล ว่ า เ นื้ อ โ ก กิ ไ ว้ บ น ผั ก แ ป ะ ซ อ ส เ ก า ห ลี เ ล็ ก น้ อ ย ที่ เ รี ย ก
ว่ า ซั ม จั ง ( S s a m j a n g ) ซึ่ ง ทำ ม า จ า ก ก า ร
ย่ า ง เ ก า ห ลี ถ้ า กิ น เ ป็ น เ นื้ อ ห มู จ ะ เ รี ย ก ผ ส ม มิ โ ซ ะ โ ค ชู จั ง น้ำ เ ชื่ อ ม พั บ แ ล้ ว เ อ า เ ข้ า
돼지불백Dwaeji Bulgogi ( ป า ก ไ ด้ เ ล ย ห รื อ จ ะ ท า น บู ล โ ก กิ กั บ ข้ า ว ก็ ไ ด้
) แ ล ะ ถ้ า เ ป็ น ไ ก่
닭 불 백ก็ จ ะ เ รี ย ก D a k B u l g o g i (
) ขึ้ น อ ยู่
กั บ เ นื้ อ สั ต ว์ ที่ เ ร า ใ ช้
| 26
รามยอน
라면รามยอน (ภาษาเกาหลี : )
คือ บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปของเกาหลี
เมนูอาหารประเภทเส้นที่นำไปต้ม
ในน้ำร้อน เพียงเติมซอสและผง
น้ำซุปก็สามารถกินได้ง่าย ๆ โดย
สามารถเติมเนื้อสัตว์และผัก
ประเภทต่าง ๆ ลงไปได้ด้วย
ต็อกโบกี
ต็อกโบกี ราชันย์แห่ง Street
떡Food “tteok ต๊อก” คือ
볶이ขนมทำจากข้าว “bokki
บกกี” คือ นำอาหารไปผัด
ต๊อกบกกี จึงแปลว่า อาหารที่
ทำจากแป้งข้าวนำไปผัด ใครได้
ชิมรสชาติแล้วจะติดใจกับความ
หนึบหนับของแป้งต๊อก
| 27
| 28
พระราชวังคยองบกกุง
พระราชวังคยองบกกุง หนึ่งในที่ กิจกรรมไฮไลท์พระราชวังคยองบกกุง
เที่ยวเกาหลียอดฮิตที่ดึงดูดนักท่อง เมื่อมาถึงพระราชวังคยองบกกุงก็
เที่ยวจากทั่วโลก เพราะนอกจากจะ ไม่ควรพลาดพิธีเปลี่ยนเวรยาม
เป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันทรง พระราชวังเคียงบก (Gyeongbok
คุณค่าของประวัติศาสตร์เกาหลี Palace Royal Guard – Changing
แล้ว มีสถาปัตยกรรมที่งดงาม Ceremony) เป็นการแสดงที่ยิ่งใหญ่
สอดคล้องกับธรรมชาติอย่างลงตัว ที่จะจัดขึ้น 3 ครั้งในทุก ๆ วัน ยกเว้น
เพียงแค่ได้ไปเยือนก็รู้สึกเหมือนได้ วันจันทร์ พอได้ชมแล้วก็เหมือนได้
ย้อนเวลาไปอยู่ในสมัยราชวงศ์โช ย้อนเวลากลับไปในสมัยโชซอนจริง ๆ
ซอนเลย ยิ่งถ้าได้เช่าชุดฮันบกมาใส่ด้วย ก็ยิ่ง
เข้ากับบรรยากาศขึ้นไปอีก ซึ่งด้าน
ไฮไลท์พระราชวังคยองบกกุง หน้าพระราชวังจะมีบริการเช่าชุดฮัน
แต่เดิมพระราชวังคยองบกกุงมี บกให้เราได้ใส่ไปถ่ายรูปด้วย หรือจะ
อาคารและตำหนักจำนวบมาก ออกไปเช่าตามร้านในบริเวณใกล้ ๆ
ถึง 200 หลังด้วยกัน แต่หลัง กับพระราชวังก็ได้เช่นกันค่ะ รับรองได้
จากการรุกรานของญี่ปุ่น ภาพสวย ๆ มาเพียบชัวร์
ตำหนักต่าง ๆ ก็ถูกทำลายไป
จนปัจจุบันเหลือประมาณ 10
หลังเท่านั้น แต่ในจำนวนกว่า 10
หลังที่ยังเหลืออยู่ต่างก็เป็นสิ่ง
ก่อสร้างสำคัญที่ควรค่าต่อการ
อนุรักษ์ให้แก่คนรุ่นหลัง
การเดินทาง : ขึ้นรถไฟใต้ดินสาย 3 ลงที่สถานี Gyeongbokgung Palace Station ทางออก 5
หรือ ขึ้นรถไฟใต้ดินสาย 5 ลงที่สถานี Gwanghwamun Station ทางออก 2
| 29
โซลทาวเวอร์
หรือ นัมซาน
ทาวเวอร์
โซลทาวเวอร์ หรือนัม จุดเช็คอินห้ามพลาดและ
ซานทาวเวอร์ คือ
แลนด์มาร์คชื่อดังและ กิจกรรมยอดฮิตที่ต้องทำ
ที่เที่ยวห้ามพลาดของ
กรุงโซล นอกจาก บนโซลทาวเวอร์
หอคอยแห่งนี้จะเป็น
จุดชมวิวแล้ว 1. หอชมวิว N Seoul Tower
ยังเป็นอาคารส่ง หอชมวิวแห่งนี้เป็นที่เที่ยวที่ป็อป
สัญญาณการสื่อสาร ที่สุดของโซลทาวเวอร์ ใครอยาก
อีกด้วย หอคอยแห่ง ชมวิวจากมุมสูงเสียดฟ้าให้ตีตั๋วขึ้น
นี้ตั้งอยู่บนยอดเขา ไปได้เลย หอชมวิวนั้นตั้งอยู่ที่ชั้น 3
นัมซาน ใจกลางกรุง ของโซลทาวเวอร์ ที่นี่มีหน้าต่าง
โซล หากใครวางแผน เต็มบานขนาดใหญ่รอบชั้นให้นัก
มาเที่ยวโซลล่ะก็ ขอบ ท่องเที่ยวได้ชมวิวอย่างจุใจ
อกว่าห้ามพลาดขึ้นไป 2. ศูนย์วัฒนธรรมด้านชุดฮันบก
ชมวิวที่โซลทาวเวอร์ ตั้งอยู่ที่ชั้นล็อบบี้ของโซลทาวเวอร์
โดยเด็ดขาด นักท่องเที่ยวจะได้เรียนรู้วัฒนธรรม
ของเกาหลีในสมัยราชวงศ์โชซอนที่
นี่ โดยด้านในจะมีโซนชุดฮันบกและ
เคื่องประดับให้นักท่องเที่ยวได้ลอง
สวมใส่และถ่ายรูปกับฉากโบราณ
ต่าง ๆ ราวกับอยู่ในยุคโชซอน
3. คล้องใจไว้ที่กุญแจ
นอกจากโซลทาวเวอร์จะโด่งดัง
เรื่องจุดชมวิวแล้ว การมาคล้อง
กุญแจกับคู่รักที่โซลทาวเวอร์ก็เป็น
กิจกรรมยอดนิยมของที่นี่เช่นกัน
คนส่วนใหญ่จะนิยมเขียนชื่อตัวย่อ
หรือข้อความสั้น ๆ ไว้ที่แม่กุญแจ
จากนั้นก็จับแม่กุญแจสองอันมา
คล้องกันที่รั้วบนลานชมวิวแล้วโยน
ลูกกุญแจทิ้งไป เพื่อเป็น
สัญลักษณ์ว่าจะรักกันไปจนนิรันดร์
| 30
เกาะเชจู
เกาะที่ใหญ่ที่สุดในเกาหลีใต้
จังหวัดเชจู หรือชื่ออย่างเป็นทางการ จังหวัด เกาะเชจูนี้จัดเป็นจังหวัดที่เล็กที่สุดในประเทศ
เกาหลีใต้ และในจังหวัดเชจูนั้นมีมรดกโลก คือ
제주특별자치도ปกครองตนเองพิเศษเชจู เกาะภูเขาไฟเชจูและอุโมงค์ลาวา เกาะเชจูนั้นมี
(เกาหลี: ) อากาศอบอุ่นแม้กระทั่งในฤดูหนาว อุณหภูมิ
แทบจะไม่ต่ำไปกว่าจุดเยือกแข็ง
เป็นหนึ่งในเก้าจังหวัดของประเทศเกาหลีใต้ มี
31
พื้นใหญ่ส่วนใหญ่ครอบคลุมเกาะเชจู ซึ่งเป็น
เกาะที่ใหญ่ที่สุดในเกาหลีใต้ ตั้งอยู่บริเวณ
ช่องแคบเกาหลี อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ใต้
ของจังหวัดช็อลลาใต้ จังหวัดเชจูเคยเป็น
ส่วนหนึ่งของจังหวัดช็อลลาใต้ ก่อนที่จะแยก
ออกมามีฐานะเป็นจังหวัดเมื่อปี พ.ศ. 2489 |
โดยมีเมืองเอกอยู่ที่นครเชจู
ตลาดนัมแดมุน
เป็นตลาดที่ใหญ่และเก่าแก่ที่สุดใน
เกาหลีใต้ ตลาดนี้มีอายุยาวนานโดยเปิดมา
ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1414 ปัจจุบันตลาดแห่งนี้
เป็นที่เที่ยวที่ได้รับความนิยมมากที่สุดแห่ง
หนึ่งของโซล ไม่ว่าจะในหมู่นักท่องเที่ยว
หรือชาวเกาหลีใต้เอง ตลาดนัมแดมุนอยู่
ใกล้กับประตูใหญ่ทางทิศใต้ (Great
South Gate) ซึ่งเคยเป็นทางเข้าเมืองเก่า
ของโซลในสมัยก่อน
ตลาดใหญ่ของเกาหลี!!
มาทำความรู้จักตลาด
นัมแดมุนกัน
ในบรรดาตลาดทั้งหลายของเกาหลี ตลาดนัมแดมุน
น่าจะเป็นตลาดที่มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักในระดับโลก
มากที่สุดแล้ว นัมแดมุนเป็นตลาดที่มีร้านค้าและ
แผงลอยแน่นขนัด เหมาะกับเป็นแหล่งซื้อหาของฝาก
เวลามาเที่ยวเกาหลีใต้ และยังมีสตรีทฟู้ดรสเด็ดและ
สินค้านานาชนิดด้วย สิ่งหนึ่งที่ทำให้ตลาดนัมแดมุน
โดดเด่นกว่าแหล่งช้อปปิ้ งไหน ๆ ก็คือตลาดแห่งนี้
ไม่เคยปิด ตลาดนัมแดมุนเปิดตลอดเวลาทุกวัน
ไม่มีหยุด และภายในตลาดมีการจัดสรรสินค้าเป็น
หมวดหมู่ซึ่งทำให้เลือกช้อปได้สะดวกมาก ถนนทั้งแถบ
จะมีเสื้อผ้าเด็ก เสื้อผ้าผู้ใหญ่ เครื่องประดับ เครื่องใช้
ไฟฟ้า อุปกรณ์ในครัวเรือน และสินค้าอื่น ๆ อีก
มากมาย นอกจากนี้ ตลาดนัมแดมุน ซึ่งเป็น
ศูนย์กลางของการใช้ชีวิตของผู้คนในโซล ยังเป็น
สถานที่ที่เราจะได้พบเห็นวัฒนธรรมและความเป็นอยู่
ทั่วไปของผู้คนในเกาหลีได้เป็นอย่างดี
| 32
ปูซานเป็นหนึ่งในไม่กี่พื้นที่ในเกาหลีที่อยู่ภายใต้
เ มื อ ง ปู ซ า น การควบคุมของเกาหลีใต้ตลอดช่วงสงคราม เกาหลี
บางครั้งก็ทำหน้าที่เป็นเมืองหลวง
ชั่วคราวของสาธารณรัฐเกาหลี กองทหารของ
สหประชาชาติได้จัดตั้งแนวป้องกันรอบเมืองที่
เรียกว่า ปริมณฑลปูซาน ในฤดูร้อนและฤดูใบไม้
부산시ปูซาน หรือ พูซัน (เกาหลี : ) หรือ ร่วงปี ค.ศ. 1950 ตั้งแต่นั้นมาเมืองนี้ก็กลายเป็น
มหานครที่ปกครองตนเองและได้สร้าง
부산광역시ทางการเรียกว่า มหานครปูซาน (เกาหลี :
) เป็นเมืองท่าที่ใหญ่ที่สุดใน เอกลักษณ์ของเมืองที่เข้มแข็ง
ประเทศเกาหลีใต้ มีประชากรประมาณ 3.65 มหานครปูซาน
ล้านคน และปูซานยังคงเป็นเมืองที่ใหญ่อันดับ
2 ของประเทศ รองจากโซล บริเวณที่แออัด
ของปูซานตั้งอยู่บริเวณหุบเขาแคบระหว่าง
แม่น้ำนักดง และแม่น้ำซูย็อง
ห น้ า สี่ | ก า ร เ ดิ น ท า ง | 33
| 34
หน้า 8
เทศกาลตกปลาเทร้าท์
เทศกาลตกปลาเทร้าท์หน้าหนาวภูเขาฮวาชอน (Hwacheon Mountain Trout
Ice Festival) ในเทศกาลตกปลาเทร้าท์นี้ นักท่องเที่ยวจะได้สัมผัสกับกิจกรรม
หน้าหนาวต่าง ๆ เช่น การตกปลาใต้นํ้าแข็ง, การเล่นฟุตบอลนํ้าแข็ง และการเล่น
เลื่อนหิมะ นอกจากนี้ยังมีของกินอร่อยๆมากมาย และมีกิจกรรมสนุกสนานให้ได้
ชมกันอีกด้วย เทศกาลนี้มีเฉพาะในฤดูหน้าหนาวเท่านั้นจึงทำให้เป็นที่สนใจของนัก
ท่องเที่ยวที่จะได้เพลิดเพลินกับการตกปลาเทร้าท์มากมายที่แหวกว่ายอยู่ใต้ผืนนํ้า
แข็งอันบริสุทธิ์ของฮวาชอน
| 35
เ ท ศ ก า ล ชิ น โ ด
ย อ ง ดึ ง น้ำ ท ะ เ ล แ ย ก
มาเที่ยวเกาหลีต้อง เทศกาลทะเลแหวกที่ชินโด (JINDO MIRACLE SEA FESTIVAL) เทศกาล
ห้ามพลาด ! นี้จัดขึ้นทุกปีตอนประมาณเดือนมีนาคม เป็นปรากฏการณ์ทะเลแหวกที่เกิด
เทศกาลชินโด จากน้ำขึ้นน้ำลง เมื่อนํ้าทะเลลดลง และจะมีบางพื้นที่ของทางเดินกว้าง
ยองดึง น้ำทะเลแยก ประมาณ 50 เมตร ซึ่งสามารถเดินผ่านไปได้ระหว่างเมืองจินโดจนถึงเกาะ
โมโด ซึ่งปรากฏการณ์นี้ผู้คนพากันเรียกว่า “มหัศจรรย์แห่งโมเสส” ในงาน
เทศกาล มีการแสดงพื้นบ้านของเมืองชินโด, ขบวนพาเหรด และมีกิจกรรม
กับการแสดงอื่น ๆ อีกมากมาย ค่าเข้าชมเทศกาล 5,000 วอน กิจกรรมที่
จัดในงาน และของกินในงานฟรี
สถานที่จัดงาน: บริเวณชายหาดเมืองชินโด
ช่วงเวลาจัดงาน: ประมาณเดือนมีนาคมของทุกปี
| 36
เ ท ศ ก า ล ผี เ สื อ ฮั ม เ ปี ย ง ช่วงเดือน เมษายน
เทศกาลผีเสื้อฮัมเปียงและแมลง (Hampyeong Butterfly Festival) เทศกาลนี้เป็น
เทศกาลเฉลิมฉลองความมหัศจรรย์ของธรรมชาติอย่างแท้จริง จะได้เห็นถึงความ
อัศจรรย์ของธรรมชาติที่รวมความยิ่งใหญ่ของผีเสื้อและแมลงนับหมื่น ๆ ตัว มาบินให้
นักท่องเที่ยวได้ชมบริเวณเหนือทะเล นอกจากนี้ยังมีมีนิทรรศการผีเสื้อและมีการศึ กษา
การบินของผีเสื้อ ตัวอย่างของผีเสื้อและแมลงอื่น
สถานที่จัดงาน: อุทยานริมน้ำฮัมเปียงและพื้ นที่เกษตรกรรมสิ่งแวดล้อมฮัมเปียง
| 37
เ ท ศ ก า ล โ ค ล น โ พ เ รีย ง
ป ร ะ ทิ น ผิ ว ส ว ย ด้ ว ย โ ค ล น กั บ “ เ ท ศ ก า ล โ ค ล น ที่ โ พ เ รี ย ง ”
เทศกาลโคลนโพเรียง เป็นเทศกาลโคลนที่ดังระดับ เทศกาลนี้จะจัดขึ้นช่วงหน้าร้อนของทุก
เดือนกรกฎาคมของทุกปีที่ริมชายหาดแด
โลกและยิ่งใหญ่อลังการที่สุดในเกาหลีใต้เลยก็ว่าได้ เจิน เมืองโพเรียง จังหวัดซุงซองนัมโด
ตั้งอยู่ทางชายฝั่ งทะเลตะวันตกเฉียงใต้
เทศกาลที่สามารถดึงดูดผู้คนนับล้านจากทั่วโลกให้ ของประเทศเกาหลี วันที่มีงานเทศกาลนั้น
ทั้งเมืองจะเต็มไปด้วยความสนุกสนาน
มาเยือนเกาหลีใต้ได้ ถือว่าเป็นงานที่ยิ่งใหญ่ ครึกครื้น ปลุกให้เมืองเล็กกลายมามีชีวิต
ชีวาได้อย่างน่าแปลกใจ นักท่องเที่ยวจะ
อลังการมาก เคล็ดลับจะเป็นอะไรไปไม่ได้นอกจาก มารวมตัวกันที่ริมชายหาดเพื่อเล่นน้ำ
และทำกิจกรรมร่วมกัน
“โคลน” เพราะโคลนของที่นี่บอกได้คำเดียวเลยว่า
มันดีสุด ๆ มีคุณประโยชน์มากมายที่ช่วยดูแลผิวให้
ผ่องใส สุขภาพดี แถมยังเป็นที่นิยมอย่างมากของ
ชาวเกาหลีใต้ และชาวต่างชาติที่นิยมมาพอกโคลน
กัน โดยเฉพาะสาว ๆ คนไหนที่อยากมีผิวสวยแบบ
สาวเกาหลีใต้นั้นต้องห้ามพลาด “ เทศกาลโคลนที่ | 38
โพเรียง”
Supiya
อันยองค่ะ ท่านผู้อ่านที่น่ารักทุกท่าน
วารสารฉบับนี้ เป็นฉบับแรกของการรับหน้าที่
เป็นสาราณียกร ในส่วนของเนื้อหาในวารสารฉบับนี้
เป็นการนำเสนอเกี่ยวกับประเทศเกาหลีใต้ อาทิ เช่น
สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศ อาหาร สถานที่
ท่องเที่ยว เทศกาล วัฒนธรรม ฯลฯ ท่านผู้อ่านจะ
พบกับการเข้าสู่ในประเทศเกาหลีใต้ที่มีเสน่ห์ชวนให้
หลงใหล และอยากที่จะแพ็คกระเป๋าเตรียมตัวไปเที่ยว
กันเลย เกาหลีใต้เป็นหนึ่งในประเทศในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกที่มีความเป็นเอกลักษณ์และมีความโดด
เด่นด้านวัฒธรรม ซึ่งเป็นที่น่าศึกษาและเรียนรู้เป็น
อย่างมาก
สุดท้ายนี้ขอให้ท่านผู้อ่านมีความสุขและเกิด
ความเพลิดเพลินในการอ่านวารสารฉบับบนี้นะคะ
หวังว่าวารสารฉบับนี้จะมีประโยชน์แก่ท่านผู้อ่าน
ทุกท่านค่ะ
ที่ปรึกษา
อาจารย์ณัชธ์เมมิน สุภารัตน์
สาราณียกร
นางสาวปิยาพร ขวัญศิริมงคล
นางสาวสุวนันท์ แป้นบางนา
| 39