The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการสำรวจทรัพยากรป่าไม้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Eve_ Chantarat, 2020-11-22 22:52:06

อุทยานแห่งชาติน้ำตกพริ้ว

รายงานการสำรวจทรัพยากรป่าไม้

รายงานการสาํ รวจทรพั ยากรป่ าไม้
อทุ ยานแหง่ ชาตนิ ํา้ ตกพลวิ้

กลมุ่ งานวชิ าการ สํานกั บรหิ ารพน้ื ทอ่ี นรุ กั ษ์ ท่ี 2 (ศรรี าชา)
สว่ นสาํ รวจและวเิ คราะหท์ รพั ยากรป่ าไม้
สํานกั ฟื้ นฟแู ละพฒั นาพนื้ ทอ่ี นรุ กั ษ์

กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั วป์ ่ า และพนั ธพุ์ ชื
พ.ศ. 2557

รายงานการสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
อุทยานแหง่ ชาตนิ า้ํ ตกพลว้ิ

กล่มุ งานวิชาการ สาํ นกั บริหารพื้นท่อี นุรกั ษ์ที่ 2 (ศรรี าชา)
สว่ นสาํ รวจและวิเคราะห์ทรัพยากรปา่ ไม้ สํานกั ฟื้นฟแู ละพฒั นาพื้นทอี่ นรุ กั ษ์

กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตวป์ ่า และพนั ธพ์ุ ืช
พ.ศ. 2557

บทสรปุ สําหรบั ผ้บู รหิ าร

จากสถานการณป์ ่าไมใ้ นปจั จบุ นั พบว่า พ้ืนท่ีปา่ ไมใ้ นประเทศเหลืออยู่เพียงประมาณร้อยละ 31.57
ของพื้นที่ประเทศ การดาํ เนนิ การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้จงึ เปน็ อกี ทางหนึง่ ที่ทําให้ทราบถึงสถานภาพและศักยภาพ
ของทรพั ยากร ตลอดจนปจั จัยทางเศรษฐกิจและสังคมท่ีมีผลตอ่ การบกุ รุกทําลายปา่ เพื่อนาํ มาใชใ้ นการดาํ เนินการ
ตามภาระรบั ผิดชอบต่อไป ซงึ่ กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สัตว์ปา่ และพันธ์พุ ชื ได้ดาํ เนนิ การมาอยา่ งต่อเนอ่ื ง

ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2557 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ได้จัดสรรงบประมาณการ
ดําเนินงานและกําหนดจุดสํารวจเป้าหมายในพื้นที่อุทยานแห่งชาตินํ้าตกพลิ้ว ซึ่งมีเน้ือที่ 84,062.50 ไร่ หรือ
ประมาณ 134.50 ตารางกโิ ลเมตร (พื้นท่ไี ดจ้ ากการแปลภาพถ่ายทางอากาศ) ซึ่งอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของ
สํานกั บริหารพืน้ ท่อี นรุ กั ษท์ ี่ 2 (ศรีราชา) จาํ นวน 20 แปลง สําหรับการวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent
Sample Plot) ที่มขี นาดคงท่ี รูปวงกลม 3 วง ซ้อนกัน คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลําดับ
และมวี งกลมขนาดรศั มี 0.631 เมตร อยู่ตามทศิ หลักทัง้ 4 ทิศ

ผลการสาํ รวจและวเิ คราะหข์ อ้ มลู พบวา่ มีชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินที่สํารวจเป็น
ป่าดิบชื้นทัว่ ทง้ั พ้ืนท่ี สําหรับพรรณไม้รวมทุกชนิดป่าพบท้ังสิ้น 50 วงศ์ มีมากกว่า 165 ชนิด จํานวน 8,869,921 ต้น
ปริมาตรไมร้ วมทงั้ หมด 2,675,144.38 ลูกบาศกเ์ มตร ความหนาแน่นของไม้เฉลี่ย 106 ต้นต่อไร่ และปริมาตรไม้
เฉลี่ย 31.82 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ เมื่อเรียงลําดับตามปริมาตรจากมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก คือ
ขี้หนอนควาย (Gironniera nervosa) ชุมแพรก (Heritiera javanica) พุงทะลาย (Scaphium scaphigerum)
หว้า (Syzygium cumini) จิกดง (Barringtonia pauciflora) สมพง (Tetrameles nudiflora) กระบาก (Anisoptera
costata) ขนุนนก (Palaquium obovatum) พนอง (Shorea hypochra) และก่อหิน (Castanopsis piriformis)
ตามลาํ ดับ

ลูกไม้ (Sapling) ที่พบในแปลงสํารวจมีมากกว่า 62 ชนิด รวมจํานวนท้ังหมด 29,023,684 ต้น
ซึง่ เมื่อเรยี งลําดับจากจํานวนต้นท่ีพบมากสดุ ไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ หย่อง (Archidendron quocense)
ยางโอน (Polyalthia viridis) ลําป้าง (Pterospermum diversifolium) แอ๊ดเล็ก (Erismanthus sinensis)
พลอง (Memecylon garcinioides) กําลังวัวเถลิง (Anaxagorea luzonensis) พิลังกาสา (Ardisia polycephala)
คา้ งคาว (Aglaia edulis) พริกนายพราน (Tabernaemontana bufalina) และจกิ ดง ตามลําดบั

กล้าไม้ (Seedling) ท่ีพบในแปลงสํารวจมีมากกว่า 47 ชนิด รวมจํานวนท้ังหมด 539,415,789 ต้น
ซง่ึ เมอ่ื เรยี งลาํ ดบั จากจาํ นวนต้นท่ีพบมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ หย่อง พริกนายพราน ลางสาด
(Lansium domesticum) คา้ งคาว พระเจา้ ห้าพระองค์ (Dracontomelon dao) จําปูน (Anaxagorea javanica)
พลิ ังกาสา แอด๊ เลก็ หวา้ และพลอง ตามลําดับ

ส่วนผลการวเิ คราะห์ข้อมูลสังคมพืชเชิงปริมาณ (Quantitative Value) พบว่า ชนิดไม้ที่มีความถ่ี
(Frequency) มากทีส่ ุด คอื พุงทะลาย รองลงมา คือหย่อง ชนิดไม้ท่ีมีความหนาแน่นของพืชพรรณ (Density)
มากท่ีสุด คือ หย่อง รองลงมา คือ ขี้หนอนควาย ชนิดไม้ท่ีมีความเด่น (Dominance) มากที่สุด คือ ข้ีหนอนควาย

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นท่อี ทุ ยานแห่งชาตนิ ํา้ ตกพล้ิว

รองลงมา คอื พุงทะลาย ชนิดไม้ที่มีค่าความสําคญั ทางนิเวศวทิ ยา (Importance Value Index : IVI) มากที่สุด
คอื หย่อง

ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลโครงสรา้ งปา่ พบว่า มีไม้ยนื ตน้ ขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) ระหว่าง 15-45
เซนตเิ มตร จํานวน 5,847,211 ต้น คดิ เปน็ ร้อยละ 65.92 ของไมท้ ้ังหมด ไม้ยนื ตน้ ขนาดเสน้ รอบวงเพียงอก (GBH)
อยรู่ ะหวา่ ง >45-100 เซนติเมตร จาํ นวน 2,215,711 ต้น คิดเป็นร้อยละ 24.98 ของไม้ทั้งหมด และไม้ยืนต้น
ขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่า 100 เซนติเมตรขึ้นไป จํานวน 807,000 ต้น คิดเป็นร้อยละ 9.10
ของไมท้ ้ังหมด

จากผลการดําเนินงานดังกล่าว ทําให้ทราบข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้าน
กําลงั ผลิตและความหลากหลายของพนั ธุพ์ ืชในพนื้ ทตี่ า่ งๆ ของอุทยานแห่งชาตินํ้าตกพลิ้ว อีกทั้งยังเป็นแนวทาง
ในการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ เกยี่ วกบั รปู แบบ วธิ กี ารสํารวจ และการวิเคราะห์ข้อมลู อย่างเป็นระบบและแบบแผน
เพ่ือเป็นแนวทางในการติดตามการเปล่ยี นแปลงของทรพั ยากรป่าไม้ในพน้ื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติน้ําตกพลิว้ ตอ่ ไป

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นท่ีอุทยานแหง่ ชาตนิ ํ้าตกพล้ิว

สารบญั i

สารบญั หน้า
สารบัญตาราง I
สารบญั ภาพ Iii
คาํ นาํ Iv
วตั ถปุ ระสงค์ 1
เปา้ หมายการดาํ เนนิ งาน 2
ข้อมลู ทว่ั ไปอทุ ยานแหง่ ชาตนิ ้าํ ตกพลว้ิ 2
3
ความเปน็ มา 3
ลกั ษณะภมู ิประเทศ 4
ลักษณะภมู อิ ากาศ 4
พืชพรรณและสตั ว์ป่า 4
แหลง่ ท่องเทีย่ วภายในอุทยานแหง่ ชาตนิ ้ําตกพล้วิ 5
การเดนิ ทางและเสน้ ทางคมนาคม 7
รปู แบบและวธิ ีการสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้ 8
การสมุ่ ตวั อย่าง (Sampling Design) 8
รปู รา่ งและขนาดของแปลงตัวอย่าง (Plot Design) 9
ขนาดของแปลงตัวอย่างและขอ้ มูลที่ทําการสาํ รวจ 9
การวเิ คราะหข์ ้อมูลการสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
10
1. การคาํ นวณเน้อื ทป่ี ่าและปรมิ าณไม้ทั้งหมดของแตล่ ะพนื้ ทอ่ี นรุ กั ษ์ 10
2. การคํานวณปริมาตรไม้ 10
3. ข้อมลู ท่วั ไป 11
4. การวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหมไู่ ม้ 11
5. การวิเคราะหข์ อ้ มลู ชนิดและปริมาณของลูกไม้ (Sapling) และกลา้ ไม้ (Seedling) 11
12
6. การวเิ คราะหข์ อ้ มูลชนดิ และปริมาณของไม้ไผ่ หวาย 12
7. การวิเคราะห์ขอ้ มูลสังคมพืช 13
8. วิเคราะหข์ ้อมลู ความหลากหลายทางชีวภาพ

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ทอี่ ทุ ยานแห่งชาตินาํ้ ตกพล้วิ

สารบญั (ต่อ) ii

ผลการสาํ รวจและวิเคราะหข์ อ้ มลู ทรพั ยากรป่าไม้ หนา้
1. การวางแปลงตัวอย่าง 15
2. พืน้ ท่ีป่าไม้ 15
3. ปริมาณไม้ 16
4. ชนิดพันธ์ุไม้ 17
5. สงั คมพชื 18
6. ความหลากหลายทางชวี ภาพ 22
24
สรปุ ผลการสาํ รวจและวเิ คราะห์ขอ้ มลู ทรพั ยากรปา่ ไม้ 25
เอกสารอา้ งอิง 27
ภาคผนวก 28

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ท่อี ุทยานแห่งชาตินํา้ ตกพล้ิว

iii

สารบญั ตาราง หนา้
9
ตารางท่ี 17
1 ขนาดของแปลงตัวอย่างและขอ้ มูลท่ีทาํ การสาํ รวจ 19
2 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ัง้ หมดในอุทยานแห่งชาตนิ ้าํ ตกพลว้ิ 20
3 ปรมิ าณไมท้ งั้ หมดของอทุ ยานแหง่ ชาตนิ ํา้ ตกพลิ้ว (30 ชนิดแรกทมี่ ปี รมิ าตรไม้สูงสดุ ) 21
4 ชนิดและปริมาณกล้าไมข้ องไมย้ ืนตน้ (Seedling) ท่พี บในอทุ ยานแห่งชาตนิ ้ําตกพล้วิ 23
5 ชนดิ และปรมิ าณลูกไมข้ องไมย้ นื ต้น (Sapling) ที่พบในอทุ ยานแห่งชาตนิ ํ้าตกพลิ้ว
6 ดัชนีความสาํ คญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าดิบชนื้ 24
ในอุทยานแหง่ ชาตินาํ้ ตกพล้ิว
7 ความหลากหลายทางชีวภาพของชนดิ พนั ธุ์ไมใ้ นอทุ ยานแห่งชาตนิ ้ําตกพลิ้ว

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ท่ีอุทยานแหง่ ชาตนิ ํา้ ตกพลว้ิ

สารบญั ภาพ iv

ภาพท่ี หนา้
1 นา้ํ ตกคลองนารายณ์ 5
2 ศาลเจา้ พอ่ เขาสระบาป 5
3 น้ําตกพลิว้ 6
4 อลงกรณเ์ จดีย์และสถปู พระนางเรือล่ม 7
5 ลกั ษณะและขนาดของแปลงตัวอยา่ ง 8
6 แผนทแ่ี สดงขอบเขตและลกั ษณะภูมิประเทศของอทุ ยานแห่งชาตนิ า้ํ ตกพล้วิ 15
7 ลกั ษณะท่วั ไปของป่าดิบชนื้ ในพนื้ ทีอ่ ทุ ยานแห่งชาตินา้ํ ตกพล้วิ 16
8 การกระจายขนาดความโตของไมต้ น้ ในพื้นทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาตนิ ํ้าตกพลว้ิ 17

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนท่อี ุทยานแหง่ ชาตินํา้ ตกพล้วิ

1

คํานํา

กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้มอบหมายให้สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพ้ืนที่อนุรักษ์
ดาํ เนินโครงการสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้เพื่อติดต้ังระบบติดตามความเปล่ียนแปลงของทรัพยากรป่าไม้ในพ้ืนท่ีป่า
อนุรักษ์ ภายใต้กิจกรรมจัดทําฐานข้อมูล ผลผลิตที่ 3 ฐานข้อมูลพ้ืนที่ป่าอนุรักษ์ แผนงานอนุรักษ์และจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติ กลุ่มงานวิชาการ สํานักบริหารพื้นท่ีอนุรักษ์ท่ี 2 (ศรีราชา) ในฐานะหน่วยงานทางวิชาการ
ในระดับภูมิภาค จึงได้รับมอบหมายให้ดําเนินการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ตามแผนงานดังกล่าว โดยรับผิดชอบ
สํารวจจํานวนท้ังสิ้น 30 จุด ดําเนินการสํารวจในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาตินํ้าตกพล้ิว จังหวัดจันทบุรี จํานวน 20 จุด
และพนื้ ท่อี ุทยานแหง่ ชาติเขาคิชฌกูฏ จํานวน 10 จุด ทําการสํารวจชนิดและปริมาณไม้ ลูกไม้ กล้าไม้ ไผ่ และ
หวาย เป็นตน้ ขน้ึ อยู่กับสภาพพื้นที่ป่าท่ีทําการสํารวจในแต่ละจุด ซ่ึงผลการสํารวจท่ีได้จะทําให้ทราบข้อมูลพ้ืนฐาน
เกย่ี วกับทรพั ยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้านกําลังผลิตและความหลากหลายของชนิดพันธุ์ไม้ในพ้ืนที่ภาคตะวันออก
ของประเทศไทย เพื่อใช้เป็นต้นแบบในการวางหลักเกณฑ์ด้านการสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้เกี่ยวกับรูปแบบวิธีการ
และแนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบและแบบแผน เพื่อกําหนดแนวทางการวางระบบ และวิธีการ
ติดตาม ตรวจสอบ รวมท้ังกิจกรรมต่างๆ ในพ้ืนท่ี ซึ่งเป็นการวางแผนการจัดการทรัพยากรป่าไม้อย่างย่ังยืน
และยังสามารถกาํ หนดชวี้ ดั ผลสัมฤทธขิ์ องงานด้านการจัดการทรพั ยากรปา่ ไมใ้ นพ้ืนทีป่ า่ อนุรักษไ์ ด้

สํานักบริหารพื้นท่ีอนุรักษ์ที่ 2 (ศรีราชา) จึงได้จัดทํารายงานผลการดําเนินงานโครงการสํารวจ
ทรัพยากรป่าไม้เพื่อติดต้ังระบบติดตามความเปล่ียนแปลงของทรัพยากรป่าไม้ในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติน้ําตกพล้ิว
ฉบบั น้ขี น้ึ คณะผู้ดําเนินการหวงั วา่ รายงานดังกล่าว จะเกิดประโยชน์ต่อผู้สนใจศึกษาค้นคว้าตัวอย่างพันธุ์ไม้ท่ี
พบในพนื้ ท่ีปา่ อนรุ กั ษ์ในภาคตะวันออก ตลอดจนรูปแบบวธิ กี ารและแนวทางการวเิ คราะห์ข้อมลู สาํ หรับผู้ต้องการ
ศึกษาตามหลกั วิชาการ การพัฒนางานวิจัยและองค์ความรู้ในด้านการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ให้เกิดประสิทธิผล
ได้ดียง่ิ ข้นึ

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ทอี่ ุทยานแหง่ ชาตนิ าํ้ ตกพล้วิ

2

วัตถปุ ระสงค์

1. เพื่อใหท้ ราบขอ้ มลู พืน้ ฐานเก่ยี วกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้านกําลังผลิต และความหลากหลาย
ของพชื พนั ธใ์ุ นพน้ื ท่อี นรุ กั ษต์ ่างๆ ของประเทศไทย

2. เพ่อื ใช้เปน็ แนวทางในการสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้ เก่ียวกับรูปแบบ วธิ กี ารสํารวจ และการวเิ คราะห์
ข้อมูลอยา่ งเปน็ ระบบและแบบแผน

3. เพ่อื เปน็ แนวทางในการวางระบบตดิ ตามการเปล่ียนแปลงของทรพั ยากรปา่ ไมใ้ นพื้นที่
4. เพอ่ื ใหไ้ ด้ขอ้ มูลพ้ืนฐานเกยี่ วกับพรรณไม้เดน่ และชนดิ ไมม้ าใชใ้ นการวางแผนเพาะชํากลา้ ไม้เพื่อ
ปลกู เสรมิ ป่าในแตล่ ะพน้ื ท่ี

เปา้ หมายการดําเนินงาน

ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2557 ส่วนสํารวจและวเิ คราะหท์ รพั ยากรปา่ ไม้ สํานักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นท่ี
อนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้จัดสรรงบประมาณการดําเนินงานและกําหนดพ้ืนท่ีสํารวจ
เปา้ หมายในพนื้ ท่อี ทุ ยานแหง่ ชาตินาํ้ ตกพลิว้ มพี ้นื ท่ีครอบคลุมท้องทีอ่ ําเภอเมือง อําเภอแหลมสิงห์ อําเภอขลุง
และอําเภอมะขาม จังหวดั จันทบรุ ี จาํ นวน 20 แปลง

การสํารวจใช้การวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ที่มีขนาดคงที่ รูปวงกลม
3 วง ซ้อนกัน คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลําดับ และมีวงกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยู่ตาม
ทิศหลักทั้ง 4 ทิศ โดยจุดศูนย์กลางของวงกลมท้ัง 4 ทิศ จะอยู่บนเส้นรอบวงกลมของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร
จาํ นวนท้งั สน้ิ 20 แปลง และทําการเกบ็ ข้อมลู การสํารวจทรัพยากรป่าไมต้ ่างๆ อาทิ เช่น ชนิดไม้ ขนาดความโต
ความสงู จํานวนกลา้ ไม้และลกู ไม้ ชนิดป่า ลกั ษณะต่างๆ ของพื้นที่ที่ต้นไม้ขึ้นอยู่ ข้อมูลลักษณะภูมิประเทศ เช่น
ระดับความสูง ความลาดชัน เป็นต้น ตลอดจนการเก็บข้อมูลองค์ประกอบร่วมของป่า เช่น ไม้ไผ่ หวาย ไม้พุ่ม
เถาวัลย์ และพืชชั้นล่าง แล้วนํามาวิเคราะห์และประมวลผลเพ่ือให้ทราบเนื้อท่ีป่าไม้ ชนิดป่า ชนิดไม้ ปริมาณ
และความหนาแนน่ ของหม่ไู ม้ กาํ ลังผลติ ของปา่ ตลอดจนการสบื พันธุ์ตามธรรมชาตขิ องหมู่ไมใ้ นป่านัน้

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พนื้ ทอี่ ุทยานแห่งชาติน้าํ ตกพล้วิ

3

ข้อมูลทวั่ ไปอทุ ยานแห่งชาตนิ า้ํ ตกพลิว้

อุทยานแห่งชาตนิ ํ้าตกพล้ิว มีพ้นื ท่ีครอบคลมุ ท้องทีอ่ าํ เภอเมือง อาํ เภอแหลมสงิ ห์ อําเภอขลุง และ
อาํ เภอมะขาม จงั หวดั จนั ทบุรี ประกอบด้วยป่าทส่ี มบรู ณ์ เทือกเขาสูงสลบั ซบั ซ้อนเป็นแหล่งต้นนํ้าลําธารหลายสาย
และมเี อกลกั ษณท์ างธรรมชาติ คอื นา้ํ ตกพลิ้วทส่ี วยงาม มีนาํ้ ตกตลอดปี เปน็ ท่ีรูจ้ กั ของประชาชนทัว่ ไป ซึ่งอยหู่ า่ ง
จากจงั หวัดจนั ทบุรปี ระมาณ 14 กิโลเมตร ถนนลาดยางตลอดสายทําให้สะดวกสบายในการไปเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจ
มเี นอ้ื ทป่ี ระมาณ 134.50 ตารางกโิ ลเมตร หรอื 84,062.50 ไร่

ความเป็นมา

ตามมตคิ ณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2502 ให้กําหนดป่าเขาสระบาป จังหวัดจันทบุรี เป็น
อุทยานแหง่ ชาติ ในข้นั แรกกรมป่าไมไ้ ด้กาํ หนดพืน้ ทท่ี ดี่ นิ ป่านํ้าตกพล้ิว-เขาสระบาป ให้เป็นป่าสงวนแห่งชาติใน
ปี พ.ศ. 2505 ออกตามพระราชบัญญตั ิคุ้มครองและสงวนปา่ พทุ ธศกั ราช 2481 ลงวันท่ี 6 กุมภาพันธ์ 2504
และในปี พ.ศ. 2515 ไดด้ าํ เนินการพัฒนาและปรับปรุงบริเวณน้ําตกพล้ิว จัดต้ังเป็นวนอุทยานน้ําตกพลิ้ว อยู่ใน
ความควบคุมดูแลของสํานักงานป่าไม้จังหวัดจันทบุรี ในคราวประชุมคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ ครั้งที่
1/2517 เมื่อวันท่ี 22 มกราคม 2517 ได้มีมติให้รีบดําเนินการประกาศพื้นที่ป่าท่ีคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่
7 ตุลาคม 2502 เป็นอุทยานแห่งชาติโดยเร็ว และจังหวัดจันทบุรีได้มีหนังสือด่วนมาก ที่ จบ.09/1401 ลงวันท่ี
31 มกราคม 2517 ขอให้กรมปา่ ไม้ส่งเจ้าหน้าท่ีไปประจําวนอุทยานนํ้าตกพลิ้ว เพื่อปรับปรุงให้เป็นไปตามหลักการ
จดั การวนอุทยาน ประกอบกับในปี 2517 กองอุทยานแห่งชาติมีแผนงานจัดบริเวณดังกล่าวเป็นอุทยานแห่งชาติ
ดังน้ันในเดอื นมนี าคม 2517 กรมปา่ ไม้จงึ มคี าํ ส่ังที่ 360/2517 ลงวันท่ี 28 มนี าคม 2517 ใหน้ ายสนิ ไชย บรู ณะเรข
นักวิชาการปา่ ไมต้ รี และนายประชุม ตัณยะบุตร พนักงานโครงการช้ัน 2 ไปทําการสํารวจหาข้อมูลบริเวณป่า
น้ําตกพล้ิว เขาสระบาป ในท้องท่ีจังหวัดจันทบุรี ปรากฏว่า บริเวณดังกล่าวประกอบด้วยเทือกเขาสลับซับซ้อน
เป็นต้นน้ําลําธาร เช่น นํ้าตก หน้าผา ถ้ํา ตามหนังสือรายงานผลการสํารวจ ที่ กส 0708(อส)/7 ลงวันท่ี
28 มิถุนายน 2517 กรมป่าไม้ได้นําเสนอคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ ซ่ึงมีมติในคราวประชุมครั้งท่ี 6/2517
เมือ่ วันที่ 26 กรกฎาคม 2517 เห็นชอบให้กําหนดท่ีดินบริเวณดังกล่าว เป็นอุทยานแห่งชาติ โดยได้มีพระราช
กฤษฎกี ากาํ หนดบริเวณทีด่ นิ ปา่ นา้ํ ตกพลวิ้ -เขาสระบาป ในทอ้ งท่ตี าํ บลพลบั พลา ตาํ บลคลองนารายณ์ ตําบลคมบาง
อําเภอเมืองจันทบุรี ตําบลพล้ิว อําเภอแหลมสิงห์ ตําบลมะขาม อําเภอมะขาม และตําบลมาบไพ ตําบลวังสรรพรส
ตําบลตรอกนอง ตําบลซ้ึง ตําบลตะปอน ตําบลเกวียนหัก อําเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 92 ตอนท่ี 87 ลงวันที่ 2 พฤษภาคม 2518 เป็นอุทยานแห่งชาติลําดับท่ี
11 ของประเทศไทย โดยใช้ชอื่ วา่ "อทุ ยานแห่งชาติเขาสระบาป" ต่อมา นายผจญ ธนมิตรามณี หัวหน้าอุทยาน
แห่งชาติเขาสระบาป ได้มีหนงั สือ ที่ กษ 0708 (สบ)/พเิ ศษ ลงวันที่ 1 มนี าคม 2525 ขอเปล่ียนชือ่ อุทยานแหง่ ชาติ
เขาสระบาปเป็นอุทยานแห่งชาตินํ้าตกพล้ิว เนื่องจากนํ้าตกพล้ิวเป็นนํ้าตกท่ีมีความสวยงามตามธรรมชาติเป็น
จดุ เด่นของอทุ ยานแหง่ ชาติ เปน็ ที่รู้จักของนักท่องเท่ียวและประชาชนโดยท่ัวไปเป็นเวลานานแล้ว ซึ่งคณะกรรมการ
อุทยานแห่งชาติได้มีมติในคราวประชุมคร้ังท่ี 3/2525 เม่ือวันท่ี 29 กันยายน 2525 เห็นชอบให้เปล่ียนชื่อเป็น
"อุทยานแห่งชาตนิ ้าํ ตกพล้ิว"

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนที่อุทยานแหง่ ชาตนิ าํ้ ตกพลว้ิ

4

ลักษณะภมู ปิ ระเทศ

สภาพทวั่ ไปเป็นเทือกเขาสงู มยี อดเขาสลบั ซบั ซ้อนสูงจากระดับนํ้าทะเลปานกลางต้ังแต่ 20-924 เมตร
ลาดลงทางทิศใต้ มีทร่ี าบแคบๆ ทัว่ ไปบรเิ วณไหลเ่ ขา พ้ืนที่มีความลาดชันสงู จดุ สงู สดุ ของพนื้ ทอี่ ยทู่ ยี่ อดเขามาบ
หว้ากรอก มคี วามสงู จากระดับนํา้ ทะเลปานกลาง 924 เมตร ลักษณะทางธรณีวิทยาส่วนใหญ่เป็นหินอัคนีประเภท
หนิ แกรนิต ในบรเิ วณตอนกลางของพื้นที่ท่ีมีลักษณะเป็นเทือกเขาสูงชันสลับซับซ้อนท่ีประกอบไปด้วยป่าดงดิบท่ี
สมบูรณ์ ทําให้บรเิ วณน้ีกลายเปน็ แหลง่ ต้นนา้ํ ลาํ ธารหลายสาย เช่น ห้วยตาโบ คลองโป่งแรด คลองนารายณ์ คลอง
สระบาป คลองคมบาง คลองนาป่า คลองพลิ้ว คลองนํ้าแห้ง คลองหนองเสม็ด คลองตะปอนน้อย คลองตะปอนใหญ่
คลองขลุง คลองเคล คลองตรอกนอง และคลองมะกอก กระจายอยูร่ อบพ้นื ท่ี

ลักษณะภมู อิ ากาศ

สภาพอากาศระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายน อากาศจะค่อนข้างร้อน ระหว่างเดือนพฤษภาคม
ถงึ ตุลาคม จะมีฝนตกชกุ ปริมาณน้ําฝนเฉล่ียปีละ 3,000 มิลลิเมตรต่อปี และระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงกุมภาพันธ์
อากาศจะเย็นสบายท่ีสุด อุณหภมู เิ ฉลีย่ ตลอดปีประมาณ 26 องศาเซลเซยี ส

พืชพรรณสตั วป์ า่
สภาพป่าทั่วไปเป็นป่าดงดิบช้ืนที่สมบูรณ์ จัดอยู่ในเขตพฤกษศาสตร์อินโดไชน่าเนื่องจากอิทธิพล

ของทะเล มีพันธุ์ไม้ท่ีสําคัญ ได้แก่ พุงทะลาย เค่ียมคะนอง กระบกกรัง พนอง ตะเคียนหิน ยางแดง กฤษณา
ตาเสือ พะวา ชะมวง จิกดง ปออีเก้ง และขนุนป่า ฯลฯ พืชพ้ืนล่างข้ึนปกคลุมพื้นป่าอีกหลายชนิด เช่น หัสคุณ
ฆ้อนตหี มา แกม้ ขาว หวายลิง กะพอ้ ระกํา เต่ารา้ ง ไผ่ซี้ เร่วป่า ปุดใหญ่ และกระทือ เปน็ ตน้ นอกจากนี้ยังมีพืช
องิ อาศัยหลายชนิดเกาะอยูต่ ามลําต้นและกิ่งก้าน ได้แก่ ชายผ้าสีดา กระแตไต่ไม้ ข้าหลวงหลังลาย เกล็ดนาคราช
และกล้วยไม้นานาชนิด เช่น กะเรกะร่อน เหลืองจันทบูร และเอื้องมัจฉา ไม้เถาเล้ือยท่ีพบ ได้แก่ พญาปล้องทอง
เถาคัน พญาเท้าเอว แสลงพันเถา หวายกําพวน หวายขริง และหวายเล็ก ฯลฯ เน่ืองจากสภาพป่าของอุทยาน
แห่งชาตนิ ํา้ ตกพลิ้ว มลี กั ษณะเปน็ ผนื ป่าธรรมชาติโดดเด่ียว คล้ายป่าเกาะที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นท่ีเกษตรกรรม
และชุมชนที่อยู่อาศัย ไม่มีผืนป่าธรรมชาติแห่งอื่นท่ีต่อเนื่องหรือใกล้เคียง ประกอบกับพ้ืนท่ีมีขนาดไม่มากนัก
ความหลากหลายของสัตว์ป่าในพ้ืนท่ีจึงมีน้อย ท่ีพบโดยท่ัวไป ได้แก่ เลียงผา หมูป่า อีเห็นข้างลาย ลิงกัง ชะนี
มงกฎุ ลิ่นชวา อเี ห็นข้างลาย กระแตเหนือ กระรอกแดง ค้างคาวเล็บกุด ค้างคาวปีกถุงต่อมคาง หนูฟานเหลือง
เป็ดแดง ไก่ป่า นกหกเลก็ ปากแดง นกกระปูดใหญ่ นกเดา้ ลมหลงั เทา นกเฉี่ยวดงหางสนี าํ้ ตาล นกขม้ินน้อยสวน
นกเขียวคราม นกปรอดทอง นกแซงแซวหางปลา นกกินแมลงอกเหลือง นกกระจิบสวน นกกางเขนดง
นกกินปลีคอแดง นกสีชมพูสวน ตุ๊กแกป่าตะวันออก จ้ิงจกหางแบน ก้ิงก่าบินปีกสีส้ม จิ้งเหลนหลากหลาย
ตะกวด งูลายสาบเขียวขว้ันดํา งูเขียวหัวจิ้งจกป่า คางคกบ้าน กบอ่อง เขียดตะปาด และอ่ึงอ่างบ้าน ฯลฯ
นอกจากนี้ยังมีปลาชนิดต่างๆ เช่น ปลาสร้อยขาว ปลากดหิน ปลาค้อ ปลาจ้ิงจก ปลาพลวงหิน ปลากระทิง
ปลาสร้อยลูกกลว้ ย เป็นต้น

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาตนิ ํา้ ตกพล้ิว

5

แหลง่ ท่องเทยี่ วภายในอทุ ยานแหง่ ชาตนิ ํ้าตกพลวิ้
นาํ้ ตกคลองนารายณ์
อยู่ท่ีตาํ บลคลองนารายณ์ หา่ งจากตวั เมืองจนั ทบุรีประมาณ 6 กิโลเมตร นาํ้ ตกอยหู่ ่างจากถนนใหญ่

สายจนั ทบุรี-ตราด ประมาณ 2 กิโลเมตร จะถึงหนว่ ยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติท่ี พล.3 (คลองนารายณ)์ จากนนั้ เดนิ เทา้
ไปอีก 2.5 กิโลเมตร ผ่านป่าดบิ ชืน้ กจ็ ะถึงนํา้ ตกคลองนารายณ์ ซึ่งเปน็ นํา้ ตกขนาดกลางไหลลดหลน่ั จากผาชนั สงู 25
เมตร น้าํ ใสสะอาดและมีน้าํ มากตลอดปี เหมาะสาํ หรบั ผทู้ ีช่ อบการเดนิ ป่าชมความงามของพฤกษาชาตแิ ละนา้ํ ตก

ภาพที่ 1 นา้ํ ตกคลองนารายณ์

ศาลเจา้ พอ่ เขาสระบาป
อยู่เลยจากหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติมาประมาณ 300 เมตร บริเวณข้างลําธาร จะพบศาลตั้งอยู่
ในอดีตบริเวณน้ี เคยเป็นท่ีตั้งของปรําที่ประทับและจุลสีห์จุมพต ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ 4 ทรงสรา้ งไวใ้ กล้ลําธารเพ่ือเป็นอนุสรณ์สถาน ปัจจุบันเหลือเพียงร่อยรอยบริเวณท่ีเคยเป็นพระเจดีย์
เพราะได้ถกู ระแสนา้ํ พดั พงั ไปเมื่อปี 2517

ภาพท่ี 2 ศาลเจา้ พอ่ เขาสระบาป

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้นื ทอ่ี ุทยานแห่งชาตนิ ้ําตกพลิว้

6

นํา้ ตกพลิว้
น้ําตกพลวิ้ เปน็ น้าํ ตกขนาดใหญแ่ ละสวยงาม มนี ้าํ ตลอดปี ประกอบด้วยสายธาร 2 สาย สายหนึ่ง
ไหลลดหล่นั ผา่ นซอกหินผา อีกสายหน่งึ มขี นาดเล็กกว่า แต่ท้ิงตัวลงมาจากผาสูง 20 เมตร ท้ังสองสายไหลมารวมกัน
ในแอง่ นํา้ ใสสะอาดมาก สามารถมองเหน็ พนื้ ล่างซง่ึ ส่วนใหญเ่ ปน็ หินและทรายในระดบั ลกึ กวา่ 2 เมตร ภายใน
บริเวณนาํ้ ตกและลาํ คลองมปี ลาใหญน่ อ้ ยหลายชนดิ อาศัยอยูเ่ ปน็ จํานวนมาก เป็นที่ต่ืนตาตรึงใจกับฝูงปลาแก่ผู้
ท่ีไปท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจ โดยเฉพาะปลาพลวงหินเหล่าน้ี น้ําตกพลิ้วเป็นแหล่งท่องเที่ยวและพักผ่อนหย่อนใจ
ท่ีสําคัญของอุทยานแห่งชาติ ซ่ึงประชาชนชาวจังหวัดจันทบุรีและจังหวัดอื่นๆ รู้จักกันดี และไปเท่ียวพักผ่อน
หย่อนใจมากทีส่ ดุ รชั กาลที่ 5 เสด็จประพาสนํ้าตกแห่งนี้หลายคร้ังในระหว่างปี พ.ศ. 2417-2424 และทรงยกย่อง
ว่าเป็นน้ําตกท่ีงดงามที่สุด ในบรรดานํ้าตกท่ีพระองค์เคยเสด็จประพาส อุทยานแห่งชาติได้จัดเส้นทางศึกษา
ธรรมชาติ ระยะทางประมาณ 1.2 กิโลเมตร จุดเริ่มต้นอยู่ตรงข้ามท่ีทําการอุทยานแห่งชาติ สิ้นสุดอยู่บริเวณ
ด้านหนา้ อลงกรณเ์ จดีย์ ใชเ้ วลาเดนิ ประมาณ 1 ชัว่ โมง

ภาพที่ 3 นาํ้ ตกพลว้ิ

สถปู พระนางเรือลม่
อยู่ในบริเวณน้ําตกพลิ้ว สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลท่ี 5 (พ.ศ. 2424) เพื่อเป็นที่ระลึกแก่สมเด็จพระนางเจ้า

สุนันทากุมารรี ัตน์พระบรมราชเทวี ภายในสถูปพระนางเรือล่มบรรจุพระอังคารของพระนางเจ้าฯ ด้วย เนื่องจาก
พระองค์ท่านเคยเสดจ็ ประพาสน้าํ ตกพลิว้ เม่อื พ.ศ. 2417 และทรงโสมนสั ชืน่ ชม ความงามธรรมชาติของนํ้าตก
พลิ้วยง่ิ นัก การทท่ี รงโปรดให้สร้างอนุเสาวรีย์รูปปิรามิดก็ด้วยทรงพระราชดําริว่า "ทําเป็นรูปอ่ืนอาจไม่คงทนถาวร
เพราะต้งั อยู่กลางปา่ เขาลําเนาไพรอนั ไม่มีผู้ดูแล ฉะน้ันเมื่อปิรามิดของอียิปต์ยืนยงคงทนได้ฉันใด ปิรามิดน้อยนี้
กค็ งจะยนื ยงคงทนอยเู่ ชน่ กนั ณ ทา่ มกลางปา่ และเสียงไหลรินของธารพลิว้ "

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ทอ่ี ุทยานแห่งชาตินาํ้ ตกพลิว้

7

ภาพท่ี 4 อลงกรณเ์ จดยี แ์ ละสถปู พระนางเรือลม่
การเดินทางและเสน้ ทางคมนาคม

จากกรุงเทพฯ มุ่งหน้าสู่จังหวัดชลบุรี ก่อนถึงตัวเมืองชลบุรี ให้เลี้ยวซ้ายตามป้ายบอกทางท่ีจะไป
จงั หวัดระยอง จากนั้นขับตรงไปประมาณ 8.7 กิโลเมตร จากนั้นเล้ียวซ้ายเข้าถนนสาย 344 (มุ่งหน้าอําเภอแกลง
จังหวัดระยอง และมุ่งหน้าจังหวัดจันทบุรี) เม่ือเล้ียวซ้ายแล้วให้ขับตรงไปทางอําเภอบ้านบึง ประมาณ 11.5
กิโลเมตร จากน้ันเลีย้ วขวามอื ไปทางอําเภอแกลง (ถ้าตรงไปจะไปอําเภอบ้านบึง) เมื่อเล้ียวขวาแล้วขับตรงไป
ประมาณ 90 กิโลเมตร (หลักกิโลเมตรท่ี 102 บนถนนสาย 344 แต่เป็นหลักกิโลเมตรท่ี 269 บนถนนสาย 3)
จากน้ันเลี้ยวซ้าย (ตรงนี้จะเป็นหลักกิโลเมตรท่ี 269 บนถนนสาย 3 นะครับ) แล้วขับตรงไปทางจังหวัดจันทบุรี
ประมาณ 78 กิโลเมตร จากน้ันเลี้ยวซ้าย (หลักกิโลเมตรที่ 347 - 348) จากน้ันขับตรงไปประมาณ 1.6 กิโลเมตร
ก็จะถึงลานจอดรถ จากนั้นเดินเท้าเขา้ ไปยังนํา้ ตกพลิว้ ประมาณ 500 เมตร

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นท่ีอุทยานแห่งชาติน้าํ ตกพลว้ิ

8

รูปแบบและวิธีการสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ในแต่ละจังหวัดท่ัวประเทศไทย ดําเนินการโดยกลุ่มสํารวจทรัพยากรป่าไม้
สว่ นสาํ รวจและวเิ คราะห์ทรพั ยากรป่าไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพ้ืนท่ีอนุรักษ์ และสํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษ์ต่างๆ
ในสงั กัดกรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธุ์พืช
การส่มุ ตวั อย่าง (Sampling Design)

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบสมํ่าเสมอ (Systematic Sampling) ในพื้นที่ท่ี
ภาพถ่ายดาวเทียมแปลว่ามีสภาพเป็นป่า โดยให้แต่ละแปลงตัวอย่าง (Sample plot) มีระยะห่างเท่าๆ กัน
โดยกําหนดให้แต่ละแปลงห่างกัน 2.5x2.5 กิโลเมตร เร่ิมจากการสุ่มกําหนดแปลงตัวอย่างแรกบนเส้นกริดแผนที่
(Grid) ลงบนขอบเขตแผนท่ปี ระเทศไทยมาตราส่วน 1:50,000 ใหม้ ีระยะห่างระหว่างเส้นกริดท้ังแนวต้ัง และ
แนวนอนเท่ากับ 2.5x2.5 กโิ ลเมตร คอื ระยะช่องกริดในแผนทเี่ ท่ากับ 10 ช่อง จุดตัดของเส้นกริดทั้งสองแนวก็
จะเป็นตําแหน่งที่ต้ังของแปลงตัวอย่างแต่ละแปลง เม่ือดําเนินการเสร็จส้ินแล้วจะทราบจํานวนหน่วยตัวอย่าง
และตําแหนง่ ท่ตี ้ังของหนว่ ยตัวอยา่ ง โดยลักษณะของแปลงตวั อย่างดงั ภาพท่ี 1 และ รูปแบบของการวางแปลง
ตัวอยา่ งดงั ภาพที่ 5 ตามลําดบั

ภาพที่ 5 ลักษณะและขนาดของแปลงตวั อย่าง

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นท่อี ทุ ยานแห่งชาตินํ้าตกพล้วิ

9

รปู รา่ งและขนาดของแปลงตวั อยา่ ง (Plot Design)

แปลงตัวอย่าง (Sample Plot) ท่ีใช้ในการสํารวจมีท้ังแปลงตัวอย่างถาวรและแปลงตัวอย่าง
ชว่ั คราว เป็นแปลงที่มขี นาดคงที่ (Fixed Area Plot) และมีรูปร่าง 2 ลักษณะด้วยกนั คือ

1. ลักษณะรปู วงกลม (Circular Plot)

1.1 รปู วงกลมที่มีจุดศูนย์กลางร่วมกัน รัศมีแตกต่างกัน จํานวน 3 วง คือ วงกลมรัศมี 3.99,
12.62 และ 17.84 เมตร ตามลาํ ดับ

1.2 รปู วงกลมที่มรี ัศมเี ทา่ กนั จดุ ศูนย์กลางต่างกัน จํานวน 4 วง รัศมี 0.631 เมตร เท่ากัน
โดยจุดศูนยก์ ลางของวงกลมอยบู่ นเสน้ รอบวงของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร ตามทศิ หลักทัง้ 4 ทิศ

2. ลักษณะแบบแนวเส้นตรง (Intersect Line) จํานวน 2 เส้น ความยาวเส้นละ 17.84 เมตร
โดยมีจุดเริ่มต้นร่วมกัน ณ จุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่างทํามุมฉากซึ่งกันและกัน ซึ่งตัวมุม Azimuth ของเส้นที่ 1
ได้จากการสมุ่ ตวั อย่าง

ขนาดของแปลงตวั อย่างและข้อมลู ที่ทาํ การสาํ รวจ

ขนาดของแปลงตวั อย่าง และข้อมลู ท่ีทําการสาํ รวจแสดงรายละเอียดไว้ในตารางท่ี 1

ตารางท่ี 1 ขนาดของแปลงตัวอย่างและขอ้ มลู ท่ที าํ การสํารวจ

รศั มีของวงกลม หรือ จํานวน พนื้ ท่หี รือความยาว ข้อมลู ทส่ี าํ รวจ
ความยาว (เมตร)
กล้าไม้
0.631 4 วง 0.0005 เฮกตาร์ ลูกไม้และการปกคลุมพนื้ ทีข่ องกล้าไม้
และลูกไม้
3.99 1 วง 0.0050 เฮกตาร์ ไมไ้ ผ่ หวายที่ยงั ไมเ่ ล้อื ย และตอไม้
ตน้ ไม้ และตรวจสอบปจั จยั ท่รี บกวน
12.62 1 วง 0.0500 เฮกตาร์ พืน้ ท่ปี ่า
Coarse Woody Debris (CWD)
17.84 1 วง 0.1000 เฮกตาร์ หวายเล้ือย และไมเ้ ถา ที่พาดผา่ น

17.84 (เสน้ ตรง) 2 เส้น 17.84 เมตร

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ที่อุทยานแหง่ ชาตินํ้าตกพลวิ้

10

การวเิ คราะหข์ ้อมลู การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้

1. การคาํ นวณเนื้อทีป่ า่ และปรมิ าณไมท้ ั้งหมดของแต่ละพนื้ ที่อนุรักษ์
1.1 ใช้ข้อมลู พน้ื ทอ่ี นุรกั ษจ์ ากแผนทแ่ี นบทา้ ยกฤษฎกี าของแต่ละพนื้ ที่อนรุ ักษ์
1.2 ใชส้ ดั สว่ นจํานวนแปลงตัวอย่างท่ีพบในแต่ละชนิดป่า เปรียบเทียบกับจํานวนแปลงตัวอย่างท่ี

วางแปลงทง้ั หมดในแตล่ ะพ้ืนทอี่ นรุ กั ษ์ ทีอ่ าจจะไดข้ อ้ มูลจากภาคสนาม หรือการดูจากภาพถ่ายดาวเทียมหรือ
ภาพถ่ายทางอากาศ มาคํานวณเป็นเนอื้ ทป่ี ่าแต่ละชนดิ โดยนาํ แปลงตัวอย่างทว่ี างแผนไว้มาคาํ นวณทุกแปลง

1.3 แปลงตัวอย่างทไ่ี ม่สามารถดําเนินการได้ ก็ตอ้ งนาํ มาคํานวณดว้ ย โดยทาํ การประเมนิ ลักษณะ
พืน้ ท่วี า่ เป็น หน้าผา น้ําตก หรอื พน้ื ทอ่ี นื่ ๆ เพ่อื ประกอบลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ด่ี ิน

1.4 ปริมาณไมท้ ้ังหมดของพื้นท่ีอนุรักษ์ เป็นการคํานวณโดยใช้ข้อมูลเนื้อที่อนุรักษ์จากแผนที่แนบท้าย
กฤษฎีกาของแต่ละพื้นท่ีอนุรักษ์ ซ่ึงบางพื้นที่อนุรักษ์มีข้อมูลเน้ือที่คลาดเคล่ือนจากข้อเท็จจริงและส่งผลต่อการ
คาํ นวณปรมิ าณไม้ทงั้ หมด ทําใหก้ ารคาํ นวณปริมาณไม้เปน็ การประมาณเบ้ืองตน้
2. การคาํ นวณปริมาตรไม้

สมการปรมิ าตรไมท้ ่ใี ช้ในการประเมนิ การกกั เก็บธาตคุ าร์บอนในพ้ืนทปี่ า่ ไม้ แบบวธิ ี Volume based
approach โดยแบ่งกลุ่มของชนิดไมเ้ ปน็ จาํ นวน 7 กลุม่ ดังนี้

2.1 กลุ่มที่ 1 ได้แก่ ยาง เต็ง รัง เหียง พลวง กระบาก เคี่ยม ตะเคียน สยา ไข่เขียว พะยอม
จันทนก์ ะพอ้ สนสองใบ

สมการทไี่ ด้ ln V = 2.372083 + 2.443847 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 188

2.2 กลุ่มที่ 2 ได้แก่ กระพ้ีจ่ัน กระพี้เขาควาย เก็ดดํา เก็ดแดง เก็ดขาว เถาวัลย์เปรียง พะยูง
ชงิ ชนั กระพี้ ถอ่ น แดง ขะเจ๊าะ แคทราย แคฝอย และสกุลมะเกลือ

สมการที่ได้ ln V = 2.134494 + 2.363034 ln (DBH/100)
R2 = 0.91, sample size = 135

2.3 กลุ่มท่ี 3 ได้แก่ รกฟ้า สมอพิเภก สมอไทย หูกวาง หูกระจง ตีนนก ขี้อ้าย กระบก ตะคร้ํา
ตะคร้อ ตาเสือ ค้างคาว สะเดา ยมหอม ยมหิน กระท้อน เล่ียน มะฮอกกานี ข้ีอ้าย ตะบูน ตะบัน รัก ติ้ว
สะแกแสง ปู่เจา้ และไม้สกลุ ส้าน เสลา อนิ ทนิล ตะแบก ชะมวง สารภี บนุ นาค

สมการทไ่ี ด้ ln V = 1.880578 + 2.053321 ln (DBH/100)
R2 = 0.89, sample size = 186

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ที่อทุ ยานแห่งชาตนิ ํ้าตกพลิ้ว

11

2.4 กลุ่มที่ 4 ได้แก่ กางขี้มอด คูน พฤกษ์ มะค่าโมง นนทรี กระถินพิมาน มะขามป่า หลุมพอ
และสกลุ ข้เี หลก็

สมการท่ีได้ ln V = 1.789563 + 2.025666 ln (DBH/100)
R2 = 0.90, sample size = 36

2.5 กลุม่ ท่ี 5 ได้แก่ สกลุ ประดู่ เติม
สมการท่ไี ด้ ln V = 2.037096 + 2.299618 ln (DBH/100)

R2 = 0.94, sample size = 99
2.6 กลมุ่ ที่ 6 ได้แก่ สกั ตนี นก ผ่าเสย้ี น หมากเลก็ หมากน้อย ไขเ่ นา่ กระจบั เขา กาสามปีก สวอง
สมการท่ีได้ ln V = 2.119907 + 2.296511 ln (DBH/100)

R2 = 0.94, sample size = 186
2.7 กลุ่มท่ี 7 ได้แก่ ไม้ชนิดอ่ืนๆ เช่น กุ๊ก ขว้าว งิ้วป่า ทองหลางป่า มะม่วงป่า ซ้อ โมกมัน
แสมสาร และไม้ในสกุลปอ กอ่ เปลา้ เป็นต้น
สมการทีไ่ ด้ ln V = 2.250111 + 2.414209 ln (DBH/100)

R2 = 0.93, sample size = 138
โดยท่ี V คอื ปริมาตรสว่ นลําตน้ เม่ือตัดโค่นทีค่ วามสูงเหนือดนิ (โคน) 10 เซนติเมตร

ถึงก่ิงแรกที่ทาํ เป็นสินค้าได้ มหี นว่ ยเปน็ ลูกบาศกเ์ มตร
DBH มีหน่วยเป็นเซนตเิ มตร
Ln = natural logarithm
3. ขอ้ มูลทั่วไป
ข้อมลู ท่ัวไปที่นาํ ไปใช้ในการวิเคราะห์ ไดแ้ ก่ ที่ตง้ั ตาํ แหน่ง ช่วงเวลาทีเ่ ก็บขอ้ มูล ผ้ทู ท่ี าํ การเก็บ
ขอ้ มูล ความสงู จากระดบั นํา้ ทะเล และลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน เปน็ ต้น โดยขอ้ มลู เหลา่ นี้จะใช้ประกอบใน
การวเิ คราะหป์ ระเมนิ ผลรว่ มกบั ข้อมลู ด้านอนื่ ๆ เพอ่ื ติดตามความเปลย่ี นแปลงของพน้ื ทใี่ นการสาํ รวจทรัพยากร
ปา่ ไม้คร้ังตอ่ ไป
4. การวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหมู่ไม้
4.1 ความหนาแนน่
4.2 ปรมิ าตร
5. การวเิ คราะหข์ ้อมูลชนิดและปริมาณของลูกไม้ (Sapling) และกลา้ ไม้ (Seedling)

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พน้ื ทอี่ ทุ ยานแห่งชาตนิ ํ้าตกพล้ิว

12

6. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ชนิดและปริมาณของไม้ไผ่ หวาย

6.1 ความหนาแน่นของไมไ้ ผ่ (จํานวนกอ และ จํานวนลํา)
6.2 ความหนาแนน่ ของหวายเส้นตั้ง (จํานวนตน้ )

7. การวิเคราะหข์ อ้ มลู สังคมพชื

โดยมีรายละเอียดการวเิ คราะห์ขอ้ มูลดังน้ี

7.1 ความหนาแน่นของพรรณพชื (Density : D) คือ จํานวนต้นไมท้ งั้ หมดของชนิดพันธ์ุท่ศี ึกษาท่ี
ปรากฏในแปลงตัวอย่างตอ่ หน่วยพืน้ ท่ที ่ีทาํ การสํารวจ

D= จาํ นวนต้นของไม้ชนิดนน้ั ทั้งหมด
.

พืน้ ท่แี ปลงตวั อย่างทง้ั หมดท่ที าํ การสํารวจ

7.2 ความถี่ (Frequency : F) คอื อัตรารอ้ ยละของจํานวนแปลงตวั อยา่ งทีป่ รากฏพนั ธ์ุไม้
ชนดิ นั้นตอ่ จาํ นวนแปลงท่ที ําการสาํ รวจ

F = จํานวนแปลงตัวอยา่ งท่ีพบไม้ชนิดทกี่ าํ หนด X 100
จาํ นวนแปลงตัวอยา่ งท้ังหมดที่ทําการสาํ รวจ

7.3 ความเด่น (Dominance : Do) ใชค้ วามเด่นดา้ นพื้นท่ีหน้าตดั (Basal Area : BA)
หมายถึง พน้ื ทห่ี นา้ ตดั ของลาํ ต้นของต้นไม้ทีว่ ดั ระดับอก (1.30 เมตร) ตอ่ พื้นทที่ ที่ ําการสํารวจ

Do = พ้นื ทีห่ นา้ ตดั ทงั้ หมดของไม้ชนิดท่ีกาํ หนด X 100
พ้ืนท่แี ปลงตัวอยา่ งทท่ี ําการสํารวจ

7.4 ค่าความหนาแนน่ สมั พัทธ์ (Relative Density : RD) คอื คา่ ความสมั พทั ธ์ของความ
หนาแน่นของไม้ทตี่ ้องการต่อคา่ ความหนาแนน่ ของไมท้ กุ ชนดิ ในแปลงตัวอย่าง คิดเปน็ ร้อยละ

RD = ความหนาแน่นของไมช้ นดิ นน้ั X 100
ความหนาแน่นรวมของไม้ทุกชนดิ

7.5 ค่าความถส่ี ัมพัทธ์ (Relative Frequency : RF) คือ คา่ ความสมั พัทธข์ องความถีข่ องชนดิ ไม้ท่ี
ต้องการตอ่ คา่ ความถ่ีท้ังหมดของไม้ทกุ ชนิดในแปลงตวั อยา่ ง คดิ เปน็ ร้อยละ

RF = ความถข่ี องไม้ชนดิ นั้น X 100
ความถ่ีรวมของไมท้ กุ ชนิด

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นทอ่ี ุทยานแห่งชาตนิ าํ้ ตกพลิ้ว

13

7.6 คา่ ความเดน่ สมั พทั ธ์ (Relative Dominance : RDo) คอื คา่ ความสมั พันธ์ของความเด่น
ในรูปพ้ืนที่หนา้ ตัดของไมช้ นิดทก่ี ําหนดตอ่ ความเด่นรวมของไม้ทุกชนดิ ในแปลงตวั อย่าง คิดเปน็ รอ้ ยละ

RDo = ความเดน่ ของไม้ชนดิ น้ัน X 100
ความเดน่ รวมของไม้ทุกชนิด

7.7 ค่าดชั นีความสาํ คัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) คอื ผลรวมของค่า
ความสมั พทั ธต์ า่ งๆ ของชนดิ ไม้ในสงั คม ไดแ้ ก่ คา่ ความสมั พทั ธ์ดา้ นความหนาแน่น คา่ ความสัมพทั ธ์ด้านความถ่ี
และค่าความสมั พทั ธ์ด้านความเด่น

IVI = RD + RF + RDo

8. วิเคราะหข์ อ้ มูลความหลากหลายทางชวี ภาพ

โดยทาํ การวเิ คราะหค์ ่าต่างๆ ดังนี้

8.1 ความหลากหลายของชนิดพนั ธ์ุ (Species Diversity) วดั จากจาํ นวนชนิดพันธ์ุทปี่ รากฏใน
สังคมและจํานวนตน้ ที่มใี นแตล่ ะชนิดพนั ธุ์ โดยใช้ดชั นคี วามหลากหลายของ Shannon-Wiener Index of
diversity ตามวิธกี ารของ Kreb (1972) ซ่ึงมสี ูตรการคาํ นวณดังต่อไปน้ี

s
H = ∑ (pi)(ln pi)

i=1
โดย H คอื คา่ ดัชนีความหลากชนิดของชนิดพนั ธุ์ไม้

pi คือ สดั ส่วนระหวา่ งจํานวนตน้ ไม้ชนิดท่ี i ต่อจํานวนต้นไมท้ ้งั หมด
S คือ จาํ นวนชนดิ พันธไุ์ ม้ทัง้ หมด

8.2 ความรํ่ารวยของชนดิ พันธ์ุ (Richness Indices) อาศยั ความสมั พันธร์ ะหวา่ งจํานวนชนดิ กบั
จาํ นวนตน้ ทงั้ หมดทีท่ าํ การสํารวจ ซ่งึ จะเพิม่ ข้นึ เม่ือเพม่ิ พนื้ ทแ่ี ปลงตัวอยา่ ง และดชั นคี วามราํ่ รวย ทีน่ ยิ มใช้กัน
คือ วิธีของ Margalef index และ Menhinick index (Margalef 1958, Menhinick 1964) โดยมสี ตู รการ
คํานวณดังนี้

1) Margalef index (R1)
R1 = (S-1)/ln(n)

2) Menhinick index (R2)
R2 = S/

เมอ่ื S คอื จาํ นวนชนดิ ทงั้ หมดในสงั คม
n คอื จาํ นวนต้นท้ังหมดทีส่ ํารวจพบ

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นทีอ่ ุทยานแห่งชาตนิ ํ้าตกพล้ิว

14

8.3 ความสมํา่ เสมอของชนิดพนั ธ์ุ (Evenness Indices) เป็นดชั นที ่ีตง้ั อยบู่ นสมมติฐานที่ว่า ดชั นี
ความสม่าํ เสมอจะมคี ่ามากทสี่ ดุ เม่ือทุกชนดิ ในสังคมมจี ํานวนต้นเท่ากนั ทงั้ หมด ซ่งึ วิธีการท่ีนยิ มใชก้ ันมากในหมู่
นกั นิเวศวิทยา คือ วิธขี อง Pielou (1975) ซงึ่ มีสตู รการคํานวณดังนี้

E = H/ ln(S) = ln (N1)/ln (N0)
เมอื่ H คือ ค่าดชั นคี วามหลากหลายของ Shannon-Wiener

S คือ จาํ นวนชนดิ ท้งั หมด (N0)
N1 คอื eH

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พนื้ ท่ีอทุ ยานแห่งชาตนิ ้ําตกพลว้ิ

15

ผลการสํารวจและวเิ คราะห์ข้อมูลทรพั ยากรปา่ ไม้

1. การวางแปลงตวั อยา่ ง
จากผลการดําเนนิ การวางแปลงสํารวจเพ่อื ประเมนิ สถานภาพและศกั ยภาพของทรัพยากรปา่ ไม้ใน

พ้ืนที่อุทยานแห่งชาตินํ้าตกพล้ิว ดําเนินการวางแปลงสํารวจโดยกลุ่มสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ส่วนสํารวจและ
วิเคราะห์ทรพั ยากรป่าไม้ สํานกั ฟน้ื ฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ ดงั ภาพท่ี 6

ภาพที่ 6 แผนทีแ่ สดงขอบเขตและลกั ษณะภูมิประเทศของอทุ ยานแห่งชาตินาํ้ ตกพลว้ิ

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตินํา้ ตกพลวิ้

16

2. พื้นทป่ี ่าไม้
จากการสาํ รวจ พบวา่ มีพ้ืนท่ีป่าไม้เปน็ ปา่ ดิบชื้นทัว่ พน้ื ที่ ดังภาพที่ 7

ภาพท่ี 7 ลกั ษณะทว่ั ไปของป่าดิบชนื้ ในพ้ืนทีอ่ ุทยานแหง่ ชาตนิ ้าํ ตกพล้วิ

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นทีอ่ ุทยานแห่งชาตนิ าํ้ ตกพล้วิ

17

3. ปริมาณไม้

จากการวิเคราะห์เก่ียวกับชนิดไม้ ปริมาณ ปริมาตร และความหนาแน่นของต้นไม้ในป่า โดยการ
สาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้ในแปลงตวั อยา่ งถาวร ในพ้ืนทจ่ี าํ นวนท้ังส้ิน 20 แปลง

ตารางท่ี 2 การกระจายขนาดความโตของไม้ท้ังหมดในอทุ ยานแห่งชาติน้ําตกพลิ้ว

ขนาดความโต (GBH) ปรมิ าณไมท้ งั้ หมด (ตน้ ) รอ้ ยละ (%)

15 - 45 ซม. 5,847,211 65.92

>45 - 100 ซม. 2,215,711 24.98

>100 ซม. 807,000 9.10

รวม 8,869,921 100.00

ภาพที่ 8 การกระจายขนาดความโตของไม้ตน้ ในพนื้ ทอ่ี ุทยานแห่งชาตินา้ํ ตกพลว้ิ

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พน้ื ทีอ่ ุทยานแห่งชาติน้าํ ตกพลว้ิ

18

4. ชนดิ พนั ธ์ุไม้
ชนิดพันธุ์ไม้ที่สํารวจพบในภาคสนาม จําแนกโดยใช้เจ้าหน้าท่ีผู้เชี่ยวชาญทางด้านพันธุ์ไม้ ช่วยจําแนก

ชนิดพันธุ์ไม้ท่ีถูกต้อง และบางครั้งจําเป็นต้องใช้ราษฎรในพ้ืนที่ซึ่งมีความรู้ในชนิดพันธ์ุไม้ประจําถ่ินช่วยในการ
เก็บข้อมลู และเก็บตวั อยา่ งชนดิ พันธุ์ไม้ เพอื่ นาํ มาให้ผู้เช่ียวชาญด้านพันธุ์ไม้ เจ้าหน้าที่จากส่วนกลาง และสํานัก
หอพรรณไม้ กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ช่วยจําแนกชื่อทางการและชื่อวิทยาศาสตร์ท่ีถูกต้องอีก
ครัง้ หน่งึ และชนดิ พนั ธ์ุไมส้ ่วนใหญท่ พี่ บมักจะเป็น พันธ์ุไมท้ ร่ี ู้จกั และคุ้นเคยสําหรับเจ้าหน้าที่ท่ีทําการสํารวจอยู่
แลว้ โดยชนิดพันธไ์ุ ม้ที่พบท้ังหมดในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาตินํ้าตกพลิ้ว มี 50 วงศ์ มีมากกว่า 165 ชนิด จํานวน
8,869,921 ตน้ ปรมิ าตรไม้รวมท้ังหมด 2,675,144.38 ลูกบาศก์เมตร ความหนาแน่นของไม้เฉลี่ย 106 ต้นต่อไร่
และปรมิ าตรไม้เฉล่ีย 31.82 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ เม่ือเรียงลําดับตามปริมาตรจากมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก
คือ ข้ีหนอนควาย (Gironniera nervosa) ชุมแพรก (Heritiera javanica) พุงทะลาย (Scaphium scaphigerum)
หว้า (Syzygium cumini) จิกดง (Barringtonia pauciflora) สมพง (Tetrameles nudiflora) กระบาก (Anisoptera
costata) ขนุนนก (Palaquium obovatum) พนอง (Shorea hypochra) และก่อหิน (Castanopsis piriformis)
ตามลําดับ รายละเอยี ดดังตารางท่ี 3

ชนิดและปริมาณของกล้าไม้ที่พบในอุทยานแห่งชาตินํ้าตกพล้ิว มีมากกว่า 47 ชนิด รวมจํานวน
ท้งั หมด 539,415,789 ตน้ ซ่งึ เมอ่ื เรียงลาํ ดับจากจํานวนตน้ ท่ีพบมากสดุ ไปหาน้อยสุด 10 อนั ดบั แรก ไดแ้ ก่ หย่อง
(Archidendron quocense) พริกนายพราน (Tabernaemontana bufalina) ลางสาด (Lansium domesticum)
ค้างคาว (Aglaia edulis) พระเจ้าห้าพระองค์ (Dracontomelon dao) จําปูน (Anaxagorea javanica)
พิลังกาสา (Ardisia polycephala) แอ๊ดเล็ก (Erismanthus sinensis) หว้า (Syzygium cumini) และพลอง
(Memecylon garcinioides) ตามลําดบั รายละเอียดดังตารางท่ี 4

ชนิดและปริมาณของลูกไม้ที่พบในอุทยานแห่งชาติน้ําตกพลิ้ว มีมากกว่า 62 ชนิด รวมจํานวน
ท้ังหมด 29,023,684 ตน้ ซึ่งเม่ือเรียงลําดบั จากจํานวนต้นท่ีพบมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ หย่อง
(Archidendron quocense) ยางโอน (Polyalthia viridis) ลาํ ปา้ ง (Pterospermum diversifolium) แอด๊ เลก็
(Erismanthus sinensis) พลอง (Memecylon garcinioides) กําลังวัวเถลิง (Anaxagorea luzonensis) พิลังกาสา
(Ardisia polycephala) ค้างคาว (Aglaia edulis) พริกนายพราน (Tabernaemontana bufalina) และจิกดง
(Barringtonia pauciflora) ตามลําดบั รายละเอียดดังตารางที่ 5

สาํ หรบั ไผ่ ในพ้นื ที่อทุ ยานแหง่ ชาตนิ ํ้าตกพลิ้ว พบเพียงชนิดเดียว คือ ไผ่สีสุก (Bambusa blumeana)
มีปรมิ าณไมไ้ ผ่จํานวน 113,263 กอ รวมทั้งส้นิ 2,251,105 ลํา

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาตนิ ํ้าตกพล้วิ

19

ตารางที่ 3 ปรมิ าณไมท้ ั้งหมดของอทุ ยานแหง่ ชาตนิ ํา้ ตกพลว้ิ (30 ชนดิ แรกทม่ี ปี รมิ าตรไม้สงู สดุ )

ลาํ ดับ ชนดิ พนั ธุไ์ ม้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ความหนาแนน่ ปริมาตร ปริมาณไมท้ ้งั หมด

ตน้ /ไร่ ลบ.ม./ไร่ ต้น ลบ.ม.

1 ขีห้ นอนควาย Gironniera nervosa 7.24 2.13 608,789 178,645.28
2 ชมุ แพรก Heritiera javanica 0.93 1.98 77,868 166,755.18
3 พุงทะลาย Scaphium scaphigerum 7.16 1.91 601,711 160,300.25

4 หว้า Syzygium cumini 3.37 1.76 283,158 148,259.99

5 จกิ ดง Barringtonia pauciflora 1.01 1.34 84,947 112,673.11

6 สมพง Tetrameles nudiflora 0.25 1.25 21,237 105,224.36

7 กระบาก Anisoptera costata 0.17 1.14 14,158 95,792.30

8 ขนุนนก Palaquium obovatum 1.01 1.09 84,947 91,492.69

9 พนอง Shorea hypochra 0.08 1.04 7,079 87,186.60

10 กอ่ หิน Castanopsis piriformis 3.28 0.88 276,079 73,853.54

11 ข้อี ้าย Terminalia triptera 0.59 0.81 49,553 68,403.28

12 หวา้ หนิ Syzygium claviflorum 0.08 0.73 7,079 61,065.07

13 หยอ่ ง Archidendron quocense 13.22 0.63 1,111,395 52,640.63

14 กระบก Irvingia malayana 0.08 0.59 7,079 49,767.51

15 ตีนเป็ดป่า Ardisia murtonii 0.17 0.59 14,158 49,285.39

16 เลือดควาย Knema erratica 4.72 0.58 396,421 49,017.96

17 พระเจา้ หา้ พระองค์ Dracontomelon dao 0.25 0.56 21,237 47,216.30

18 สมอพเิ ภก Terminalia bellirica 0.34 0.56 28,316 46,923.04

19 ขนนุ ปา่ Artocarpus lanceifolius 0.76 0.53 63,711 44,778.93

20 ไทร Ficus annulata 0.08 0.48 7,079 40,590.91

21 มะซาง Madhuca grandiflora 0.84 0.42 70,789 35,539.86

22 ตะแบก Lagerstroemia cuspidata 0.34 0.41 28,316 34,524.99

23 ปออีเกง้ Pterocymbium tinctorium 1.09 0.41 92,026 34,515.68

24 คอแลน Nephelium hypoleucum 2.86 0.40 240,684 33,813.81

25 มะเดอื่ กวาง Ficus callosa 0.42 0.38 35,395 31,858.21

26 คอแลน Xerospermum noronhianum 1.77 0.38 148,658 31,728.45

27 เตง็ ตานี Shorea guiso 0.17 0.34 14,158 28,302.27

28 มะหาดข่อย Artocarpus nitidus 0.34 0.32 28,316 26,794.19

29 มะเดือ่ ปล้อง Ficus hispida 1.43 0.32 120,342 26,555.48

30 สะทอ้ นรอก Elaeocarpus robustus 0.17 0.31 14,158 26,401.88

31 อ่ืนๆ Others 51.28 7.56 4,311,079 635,237.22

รวม 106 31.82 8,869,921 2,675,144.38

หมายเหตุ : มชี นิดพันธุ์ไม้ทีส่ าํ รวจพบทงั้ หมด 165 ชนิด

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนทีอ่ ุทยานแหง่ ชาตินํ้าตกพลิว้

20

ตารางท่ี 4 ชนดิ และปรมิ าณของกลา้ ไม้ (Seedling) ทพี่ บในอทุ ยานแห่งชาตนิ า้ํ ตกพลวิ้

ลาํ ดับ ชนดิ พนั ธุไ์ ม้ ชอื่ วิทยาศาสตร์ ความหนาแน่น จํานวนทง้ั หมด

ตน้ /ไร่ ต้น

1 หยอ่ ง Archidendron quocense 1,448 121,757,895

2 พริกนายพราน Tabernaemontana bufalina 522 43,889,474

3 ลางสาด Lansium domesticum 488 41,057,895

4 คา้ งคาว Aglaia edulis 269 22,652,632

5 พระเจา้ หา้ พระองค์ Dracontomelon dao 269 22,652,632

6 จําปูน Anaxagorea javanica 185 15,573,684

7 พลิ งั กาสา Ardisia polycephala 185 15,573,684

8 แอ๊ดเล็ก Erismanthus sinensis 185 15,573,684

9 หวา้ Syzygium cumini 168 14,157,895

10 พลอง Memecylon garcinioides 168 14,157,895

11 ผเี ส้ือ Alangium chinense 152 12,742,105

12 พวาปา่ Garcinia forbesii 152 12,742,105

13 ตาเสอื Aphanamixis polystachya 135 11,326,316

14 จิกเขา Barringtonia pendula 135 11,326,316

15 เขม็ ปา่ Ixora butterwickii 135 11,326,316

16 มลายเขา Burretiodendron esquirolii 118 9,910,526

17 กระดุมผี Glochidion rubrum 101 8,494,737

18 ยางโอน Polyalthia viridis 101 8,494,737

19 พุงทะลาย Scaphium scaphigerum 101 8,494,737

20 คอแลน Xerospermum noronhianum 101 8,494,737

21 มะม่วงปา่ Mangifera caloneura 84 7,078,947

22 ล้นิ จ่ี Litchi chinensis 67 5,663,158

23 กําลังวัวเถลิง Anaxagorea luzonensis 67 5,663,158

24 กอ่ หนิ Castanopsis piriformis 51 4,247,368

25 กระเบียน Ceriscoides turgida 51 4,247,368

26 สลอดปา่ Microdesmis caseariifolia 51 4,247,368

27 กระบาก Anisoptera costata 34 2,831,579

28 จนั Diospyros decandra 34 2,831,579

29 อนิ ปา่ Diospyros pendula 34 2,831,579

30 มะพร้าวนกกก Horsfieldia glabra 34 2,831,579

31 อ่ืนๆ Others 792 66,542,105

รวม 6,417 539,415,789

หมายเหตุ : มีชนิดพนั ธ์กุ ลา้ ไมท้ ่สี าํ รวจพบทั้งหมด 47 ชนิด

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ท่ีอทุ ยานแห่งชาตนิ ้าํ ตกพลิ้ว

21

ตารางท่ี 5 ชนดิ และปรมิ าณของลกู ไม้ (Sapling) ทพ่ี บในอุทยานแหง่ ชาตนิ า้ํ ตกพล้ิว

ลําดับ ชนิดพันธ์ุไม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ ความหนาแนน่ จํานวนทง้ั หมด

ตน้ /ไร่ ตน้

1 หยอ่ ง Archidendron quocense 66 5,521,579

2 ยางโอน Polyalthia viridis 24 1,982,105

3 ลาํ ปา้ ง Pterospermum diversifolium 15 1,274,211

4 แอด๊ เลก็ Erismanthus sinensis 15 1,274,211

5 พลอง Memecylon garcinioides 12 991,053

6 กําลงั ววั เถลิง Anaxagorea luzonensis 10 849,474

7 พิลังกาสา Ardisia polycephala 10 849,474

8 คา้ งคาว Aglaia edulis 8 707,895

9 พริกนายพราน Tabernaemontana bufalina 8 707,895

10 จกิ ดง Barringtonia pauciflora 7 566,316

11 พระเจา้ ห้าพระองค์ Dracontomelon dao 7 566,316

12 หว้า Syzygium cumini 7 566,316

13 ขลู่ Pluchea indica 7 566,316

14 ปลาไหลเผือก Eurycoma longifolia 7 566,316

15 พวาปา่ Garcinia forbesii 7 566,316

16 ลางสาด Lansium domesticum 5 424,737

17 มะซาง Madhuca grandiflora 5 424,737

18 ยางโดน Polyalthia asteriella 5 424,737

19 พลิ ังกาสา Ardisia ionantha 5 424,737

20 สลอดป่า Microdesmis caseariifolia 5 424,737

21 ผีเส้ือ Alangium chinense 3 283,158

22 กระบาก Anisoptera costata 3 283,158

23 ตาเสอื Aphanamixis polystachya 3 283,158

24 จิกเขา Barringtonia pendula 3 283,158

25 ขี้หนอนคาย Celtis tetrandra 3 283,158

26 ยางนา Dipterocarpus alatus 3 283,158

27 กระดุมผี Glochidion rubrum 3 283,158

28 มะพร้าวนกกก Horsfieldia glabra 3 283,158

29 เลือดควาย Knema erratica 3 283,158

30 ลน้ิ จี่ Litchi chinensis 3 283,158

31 อ่นื ๆ Others 77 6,512,632

รวม 345 29,023,684

หมายเหตุ : มชี นิดพันธก์ุ ล้าไม้ท่ีสํารวจพบท้งั หมด 62 ชนิด

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ทอี่ ุทยานแห่งชาตนิ า้ํ ตกพลิ้ว

22

5. สังคมพชื
จากผลการสํารวจเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืชในอุทยานแห่งชาตินํ้าตกพล้ิว พบว่ามีสังคมเพียง

ชนิดเดียว คือ ป่าดิบชื้น และจากวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช พบความหนาแน่นของพรรณพืช (Density) ความถ่ี
(Frequency) ความเด่น (Dominance) และดรรชนคี วามสาํ คัญของพรรณไม้ (IVI) ดังนี้

ในพ้ืนที่ป่าดิบชื้นของอุทยานแห่งชาติน้ําตกพลิ้ว มีชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI)
สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ หย่อง (Archidendron quocense) ข้ีหนอนควาย (Gironniera nervosa)
พุงทะลาย (Scaphium scaphigerum) หว้า (Syzygium cumini) เลือดควาย (Knema erratica) ก่อหิน
(Castanopsis piriformis) จิกนมยาน (Barringtonia macrocarpa) ชุมแพรก (Heritiera javanica) คอแลน
(Nephelium hypoleucum) และจกิ ดง (Barringtonia pauciflora) ตามลําดบั รายละเอยี ดแสดงดังตารางที่ 6

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาตนิ ํา้ ตกพลว้ิ



ตารางท่ี 6 ดัชนีความสาํ คญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ ดิบช

ลาํ ดับ ชนิดพันธุ์ไม้ ช่ือวิทยาศาสตร์ ความหนาแนน่

(Rdensi

1 หย่อง Archidendron quocense

2 ขี้หนอนควาย Gironniera nervosa

3 พุงทะลาย Scaphium scaphigerum

4 หว้า Syzygium cumini

5 เลอื ดควาย Knema erratica

6 กอ่ หิน Castanopsis piriformis

7 จิกนมยาน Barringtonia macrocarpa
8 ชมุ แพรก Heritiera javanica

9 คอแลน Nephelium hypoleucum

10 จกิ ดง Barringtonia pauciflora

11 คอแลน Xerospermum noronhianum
12 ค้างคาว Aglaia edulis

13 ตาเสือ Aphanamixis polystachya

14 ขนนุ นก Palaquium obovatum

15 มะเดื่อขน้ี ก Ficus chartacea
16 พลอง Memecylon garcinioides

17 ขอ้ี ้าย Terminalia triptera

18 สมพง Tetrameles nudiflora

19 ผเี สื้อ Alangium chinense

20 มะเดื่อปล้อง Ficus hispida

21 อ่นื ๆ Others

รวม

ชน้ื ในอทุ ยานแห่งชาตินา้ํ ตกพลิว้

นสัมพทั ธ์ ความถส่ี มั พัทธ์ ความเดน่ สมั พัทธ์ คา่ ดชั นคี วามสมั คัญ
(Rdominance) (IVI)
ity) (Rfrequency) 19.009
3.200 17.010
12.530 3.279 7.805 16.881
6.585 10.720
6.864 2.342 5.186 9.745
2.465 7.025
6.784 3.513 3.210 6.197
0.887 5.959
3.192 2.342 3.910 5.689
1.571 5.685
4.469 2.810 3.322 5.099
1.316 4.647
3.113 0.703 1.098 4.633
1.174 4.357
3.671 1.639 2.697 4.170
0.878 1.171 0.929 4.087
0.462 3.967
2.713 1.405 2.706 3.698
2.990 3.693
0.958 1.405 0.452 3.676
1.148 154.050
1.676 2.108 46.890
1.676 1.874 300.000
100.000
1.117 2.342

0.958 0.703

1.836 1.405
1.516 2.108

0.559 0.703

0.239 0.468

1.836 1.405

1.357 1.171

42.060 65.110

100.000 100.000

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พน้ื ท่อี ทุ ยานแห่งชาติน้ําตกพล้วิ

24

6. ความหลากหลายทางชีวภาพ
จากผลการสํารวจและวิเคราะห์หาค่าดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ป่าดิบช้ืน มีค่า

ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (Species Diversity) เท่ากับ 4.09 มีค่าความมากมาย (Species Richness)
เท่ากับ 22.99 และมีค่าความสม่ําเสมอ (Species Evenness) ของชนิดพันธุ์ไม้เท่ากับ 0.80 รายละเอียดดัง
ตารางท่ี 7

ตารางท่ี 7 ความหลากหลายทางชวี ภาพของชนิดพนั ธ์ไุ ม้ในอทุ ยานแหง่ ชาตินา้ํ ตกพลิ้ว

ลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ทีด่ ิน ความหลากหลายทางชวี ภาพ (Biodiversity)

(Landuse Type) ความหลากหลาย ความสม่ําเสมอ ความมากมาย

(Diversity) (Evenness) (Richness)

ป่าดิบชนื้ 4.09 0.80 22.99

(Tropical Evergreen Forest)

อทุ ยานแหง่ ชาตินาํ้ ตกพลิว้ 4.09 0.80 22.99

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นท่อี ทุ ยานแหง่ ชาติน้ําตกพล้ิว

25

สรุปผลการสาํ รวจและวเิ คราะห์ขอ้ มลู ทรัพยากรปา่ ไม้

จากการวางแปลงตวั อยา่ งถาวร เพือ่ เก็บข้อมูลและสํารวจทรพั ยากรป่าไม้ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
นํา้ ตกพลว้ิ ซึ่งมเี นื้อท่ี 84,062.50 ไร่ หรอื ประมาณ 134.50 ตารางกโิ ลเมตร อยู่ในความดแู ลรับผิดชอบของสํานัก
บริหารพื้นทีอ่ นรุ ักษท์ ่ี 2 (ศรรี าชา) จาํ นวนท้งั หมด 20 แปลง โดยการวางแปลงตวั อยา่ งถาวร (Permanent Sample
Plot) ท่มี ขี นาดคงที่ รูปวงกลม 3 วง ซอ้ นกนั คือ วงกลมรศั มี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลาํ ดบั และมวี งกลม
ขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยตู่ ามทิศหลกั ทง้ั 4 ทิศ โดยจุดศูนย์กลางของวงกลมท้ัง 4 ทิศ อยู่บนเส้นรอบวงกลม
ของวงกลมรศั มี 3.99 เมตร และทําการเก็บขอ้ มลู การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ต่างๆ อาทิเช่น ชนิดไม้ ขนาดความโต
ความสงู จาํ นวนกล้าไมแ้ ละลกู ไม้ ชนดิ ป่า ลกั ษณะตา่ งๆ ของพ้ืนที่ที่ต้นไม้ข้ึนอยู่ ข้อมูลลักษณะภูมิประเทศ เช่น
ระดบั ความสูง ความลาดชนั เปน็ ต้น ตลอดจนการเก็บข้อมูลองค์ประกอบร่วมของป่า เช่น ไม้ไผ่ หวาย ไม้พุ่ม
ไมเ้ ถา เถาวัลย์ และพืชช้ันล่าง แล้วนําข้อมูลมาวิเคราะห์เพ่ือประเมินสถานภาพทรัพยากรป่าไม้ ทั้งนี้เพื่อให้ทราบ
เนื้อท่ีป่าไม้ ชนิดป่า ชนิดไม้ ปริมาณและความหนาแน่นของหมู่ไม้ กําลังผลิตของป่า ตลอดจนการสืบพันธ์ุตาม
ธรรมชาตขิ องไม้ โดยใชโ้ ปรแกรมประมวลผลขอ้ มลู ระบบสารสนเทศการสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้ ของส่วนสํารวจ
และวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช
สรุปผลได้ดังน้ี

1. ลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ่ีดนิ

พบชนดิ ปา่ หรอื ลักษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ดี นิ ประเภทเดยี ว คือ ปา่ ดบิ ช้ืน

2. ชนิดพนั ธแ์ุ ละปริมาณไมย้ ืนตน้ (Trees)

จากการวิเคราะห์ข้อมลู เกยี่ วกับชนดิ ไม้ ปริมาณ ปริมาตร และความหนาแน่นของต้นไม้ ในแปลง
ตวั อยา่ งถาวร พืน้ ทีอ่ ทุ ยานแห่งชาตนิ ้ําตกพลิว้ จํานวนทั้งส้ิน 20 แปลง พบไม้ยืนต้นที่มีความสูงมากกว่า 1.30 เมตร
และมีเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่าหรือเท่ากับ 15 เซนติเมตรขึ้นไป มีจํานวนทั้งหมด 8,869,921 ต้น
โดยเปน็ ไมท้ มี่ ีความโต 15-45 เซนติเมตร จาํ นวน 5,847,211 ต้น คิดเป็นร้อยละ 65.92 ของปริมาณไม้ท้ังหมด
ไมท้ ม่ี ีขนาดความโต 45-100 เซนตเิ มตร จํานวน 2,215,711 ต้น คิดเป็นร้อยละ 27.98 ของไม้ท้ังหมด และไม้ท่ีมี
ขนาดความโตมากกวา่ 100 เซนติเมตร จาํ นวน 807,000 ต้น คิดเป็นร้อยละ 9.10 ของไม้ท้ังหมด

สําหรับชนิดพันธ์ุไม้ท่ีพบในแปลงสํารวจ มี 50 วงศ์ มากกว่า 165 ชนิด เม่ือเรียงลําดับพันธุ์ไม้ท่ี
พบตามปรมิ าตรจากมากสุดไปหาไปน้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ข้ีหนอนควาย ชุมแพรก พุงทะลาย หว้า จิกดง
สมพง กระบาก ขนุนนก พนอง และก่อหิน ตามลาํ ดับ

3. ชนดิ พนั ธ์ุและปรมิ าณกลา้ ไม้ (Seedling) และลูกไม้ (Sapling)

จากการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับกล้าไม้ (Seedling) ซึ่งเป็นกําลังการผลิตไม้ที่สําคัญที่จะขึ้นมา
ทดแทนสังคมพืชไม้ยืนต้นต่อไปในอนาคตท่ีได้ทําการสํารวจ พบว่า มีชนิดของกล้าไม้ (Seedling) มากกว่า มี

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาตนิ ํา้ ตกพลว้ิ

26

มากกว่า 47 ชนดิ รวมทง้ั สนิ้ 539,415,789 ต้น โดยชนิดกล้าไม้ท่ีมีปริมาณมากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ หย่อง
พริกนายพราน ลางสาด ค้างคาว พระเจา้ หา้ พระองค์ จาํ ปูน พลิ ังกาสา แอด๊ เลก็ หวา้ และพลอง ตามลาํ ดับ

การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับลูกไม้ (Sapling) ท่ีพบในแปลงสํารวจมีมากกว่า 62 ชนิด รวมท้ังส้ิน
29,023,684 ต้น ชนิดลูกไม้ที่มีปริมาณมากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ หย่อง ยางโอน ลําป้าง แอ๊ดเล็ก พลอง
กาํ ลงั วัวเถลิง พิลงั กาสา ค้างคาว พรกิ นายพราน และจกิ ดง ตามลําดบั
4. ชนดิ พนั ธแุ์ ละปริมาณของไผ่ หวาย และไม้กอ

จากการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณของไผ่ พบไผ่ในแปลงสํารวจชนิดเดียว ได้แก่ ไผ่สีสุก
มปี ริมาณไม้ไผจ่ ํานวน 113,263 กอ รวมทัง้ สนิ้ 2,251,105 ลาํ
5. ค่าดัชนคี วามสาํ คัญทางนเิ วศวิทยา

จากผลการสาํ รวจเกบ็ และวิเคราะหข์ อ้ มลู สงั คมพชื ในอทุ ยานแหง่ ชาตนิ า้ํ ตกพล้วิ สรุปได้ดังนี้
ในพื้นที่ป่าดิบช้ืน มีชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
หยอ่ ง ขีห้ นอนควาย พงุ ทะลาย หวา้ เลอื ดควาย กอ่ หิน จกิ นมยาน ชมุ แพรก คอแลน และจกิ ดง ตามลาํ ดับ
6. ความหลากหลายทางชีวภาพ
ข้อมูลเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ ในป่าดิบช้ืนของอุทยานแห่งชาติน้ําตกพล้ิว พบว่า
ค่าความหลากหลายของชนิดพันธุ์ไม้ (Species Diversity) มีค่าเท่ากับ 4.09 ค่าความมากมายของชนิดพันธุ์ไม้
(Species Richness) มีคา่ เท่ากับ 22.99 และคา่ ความสมํ่าเสมอของชนิดพันธ์ุไม้ (Species Evenness) มีค่า
เทา่ กบั 0.80

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนทอ่ี ุทยานแหง่ ชาตินา้ํ ตกพลิว้

27

เอกสารอ้างองิ

ก่องกานดา ชยามฤต. 2541. คมู่ อื การจาํ แนกพรรณไม.้ ส่วนพฤกษศาสตร์ สํานกั วชิ าการป่าไม้ กรมป่าไม้,
กรงุ เทพฯ. 235 น.

กรมป่าไม้ และองค์การไม้เขตร้อนระหว่างประเทศ (ITTO). 2544. คู่มอื การเกบ็ ขอ้ มลู ดา้ นการสํารวจทรัพยากรป่าไม้
โครงการศึกษาเพื่อจดั ทาํ ระบบ ติดตาม ตรวจสอบ การจัดการทรพั ยากรป่าไมแ้ บบย่งั ยืน
สาํ หรับประเทศไทย, สํานกั วชิ าการปา่ ไม้ กรมปา่ ไม,้ กรงุ เทพฯ. 44 น.

ชวลติ นยิ มธรรม. 2545. ทรพั ยากรปา่ ไมข้ องประเทศไทย. สว่ นพฤกษศาสตร์ สาํ นักวิชาการป่าไม้
กรมป่าไม้, กรงุ เทพฯ. 10 น.

สามารถ มุขสมบตั ิ และ ธัญนรนิ ทร์ ณ นคร. 2538. การใช้ Spiegel Relaskop เพ่ือจัดสรา้ งตารางปริมาตรไม้
บริเวณป่าสาธิตเซคเตอร์แมแ่ ตง อาํ เภองาว จังหวัดลําปาง, สาํ นกั วชิ าการปา่ ไม้ กรมป่าไม,้
กรงุ เทพฯ. 55 น.

วชิ าญ ตราช.ู 2548. แนวทางการสํารวจทรพั ยากรป่าไม้ในพนื้ ที่ป่าอนรุ ักษ.์ สว่ นวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้
สํานกั วิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ. 95 น.

สว่ นพฤกษศาสตร.์ 2544. ชอ่ื พรรณไมแ้ หง่ ประเทศไทย เต็ม สมิตินนั ท์ ฉบบั แกไ้ ขเพิ่มเติม สํานกั วชิ าการปา่ ไม้
กรมป่าไม,้ กรงุ เทพฯ. 810 น.

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นทีอ่ ุทยานแหง่ ชาตินํ้าตกพลวิ้

28

ภาคผนวก

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้นื ที่อุทยานแหง่ ชาติน้ําตกพลว้ิ

ตารางผนวกที่ 1 ชนิดและปรมิ าณไมท้ งั้ หมดที่พบในอุทยานแห่งชาตนิ ้ําตกพลวิ้

ลําดับ ชนิดพนั ธไ์ุ ม้ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ ความหนาแนน่ ปรมิ าตร ปริมาณไม้ทงั้ หมด
ต้น ลบ.ม.
ตน้ /ไร่ ลบ.ม./ไร่ 608,789 178,645.28
77,868 166,755.18
1 ข้หี นอนควาย Gironniera nervosa 7.24 2.13 601,711 160,300.25
283,158 148,259.99
2 ชมุ แพรก Heritiera javanica 0.93 1.98 84,947 112,673.11
21,237 105,224.36
3 พงุ ทะลาย Scaphium scaphigerum 7.16 1.91 14,158 95,792.30
84,947 91,492.69
4 หว้า Syzygium cumini 3.37 1.76 7,079 87,186.60
5 จกิ ดง Barringtonia pauciflora 1.01 1.34 276,079 73,853.54
6 สมพง Tetrameles nudiflora 0.25 1.25 49,553 68,403.28
7 กระบาก Anisoptera costata 0.17 1.14 7,079 61,065.07
8 ขนนุ นก Palaquium obovatum 1.01 1.09 1,111,395 52,640.63
7,079 49,767.51
9 พนอง Shorea hypochra 0.08 1.04 14,158 49,285.39
396,421 49,017.96
10 ก่อหนิ Castanopsis piriformis 3.28 0.88 21,237 47,216.30
28,316 46,923.04
11 ข้ีอา้ ย Terminalia triptera 0.59 0.81 63,711 44,778.93
7,079 40,590.91
12 หวา้ หนิ Syzygium claviflorum 0.08 0.73 70,789 35,539.86
28,316 34,524.99
13 หยอ่ ง Archidendron quocense 13.22 0.63 92,026 34,515.68
240,684 33,813.81
14 กระบก Irvingia malayana 0.08 0.59 35,395 31,858.21
15 ตีนเปด็ ปา่ Ardisia murtonii 0.17 0.59 148,658 31,728.45
16 เลอื ดควาย Knema erratica 4.72 0.58 14,158 28,302.27
17 พระเจา้ ห้าพระองค์ Dracontomelon dao 0.25 0.56 28,316 26,794.19
18 สมอพิเภก Terminalia bellirica 0.34 0.56 120,342 26,555.48
14,158 26,401.88
19 ขนุนปา่ Artocarpus lanceifolius 0.76 0.53 99,105 26,291.38
56,632 24,565.29
20 ไทร Ficus annulata 0.08 0.48 148,658 23,969.89
14,158 22,065.02
21 มะซาง Madhuca grandiflora 0.84 0.42 28,316 21,657.12
162,816 18,148.28
22 ตะแบก Lagerstroemia cuspidata 0.34 0.41 35,395 16,130.24
42,474 14,676.86
23 ปออเี ก้ง Pterocymbium tinctorium 1.09 0.41
24 คอแลน Nephelium hypoleucum 2.86 0.40
25 มะเดื่อกวาง Ficus callosa 0.42 0.38
26 คอแลน Xerospermum noronhianum 1.77 0.38
27 เตง็ ตานี Shorea guiso 0.17 0.34

28 มะหาดขอ่ ย Artocarpus nitidus 0.34 0.32

29 มะเด่ือปลอ้ ง Ficus hispida 1.43 0.32

30 สะทอ้ นรอก Elaeocarpus robustus 0.17 0.31

31 ตาเสอื Aphanamixis polystachya 1.18 0.31

32 ยางโดน Polyalthia asteriella 0.67 0.29

33 ค้างคาว Aglaia edulis 1.77 0.29
34 มะยมหนิ Meliosma pinnata 0.17 0.26
35 หวา้ เขา Cleistocalyx operculatus 0.34 0.26
36 มะเดอื่ ขี้นก Ficus chartacea 1.94 0.22
37 ปอแดง Sterculia guttata 0.42 0.19

38 กระท้อน Sandoricum koetjape 0.51 0.17

ตารางผนวกท่ี 1 ชนดิ และปรมิ าณไม้ท้งั หมดท่ีพบในอุทยานแห่งชาตินา้ํ ตกพล้วิ

ลําดบั ชนดิ พันธไ์ุ ม้ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ความหนาแนน่ ปรมิ าตร ปริมาณไมท้ ง้ั หมด
ตน้ ลบ.ม.
ตน้ /ไร่ ลบ.ม./ไร่ 325,632 14,145.41
99,105 14,120.52
39 จิกนมยาน Barringtonia macrocarpa 3.87 0.17 28,316 14,116.50
28,316 11,547.46
40 ลางสาด Lansium domesticum 1.18 0.17 7,079 10,215.88
113,263 9,159.74
41 สะตอ Parkia speciosa 0.34 0.17 28,316 8,804.67
63,711 8,661.16
42 ขหี้ นอน Zollingeria dongnaiensis 0.34 0.14 134,500 8,295.04
43 เทพทาโร Cinnamomum porrectum 0.08 0.12 7,079 8,159.67
44 ข้หี นอนคาย Celtis tetrandra 1.35 0.11 113,263 7,808.33
45 ยางพารา Hevea brasiliensis 0.34 0.10 84,947 7,484.15
46 ยางขน Dipterocarpus baudii 0.76 0.10 7,079 7,259.67
162,816 7,215.74
47 พลอง Memecylon garcinioides 1.60 0.10 21,237 6,668.04
14,158 5,927.37
48 พญาไม้ Podocarpus neriifolius 0.08 0.10 7,079 5,750.79
28,316 5,461.38
49 มะพร้าวนกกก Horsfieldia glabra 1.35 0.09 14,158 5,447.22
21,237 5,322.69
50 แอด๊ เล็ก Erismanthus sinensis 1.01 0.09 106,184 4,876.54
49,553 4,632.44
51 มะเดอื่ หอม Ficus hirta 0.08 0.09 7,079 4,549.33
42,474 3,760.34
52 ผเี ส้ือ Alangium chinense 1.94 0.09 49,553 3,499.78
53 ตนี นก Vitex pinnata 0.25 0.08 7,079 3,418.36
54 มะพดู ป่า Garcinia nervosa 0.17 0.07 35,395 3,349.84
55 มะห้า Syzygium albiflorum 0.08 0.07 21,237 3,181.66
56 ปอหู Hibiscus macrophyllus 0.34 0.06 21,237 3,121.73
14,158 3,092.80
57 ลาย Microcos paniculata 0.17 0.06 14,158 3,010.67
35,395 2,941.04
58 สลดั Mallotus peltatus 0.25 0.06 21,237 2,803.42
28,316 2,750.54
59 ข้าวสารหลวง Maesa ramentacea 1.26 0.06 7,079 2,701.43
35,395 2,598.12
60 มะไฟแรด Scleropyrum wallichianum 0.59 0.06 7,079 2,585.07
35,395 2,546.49
61 ก้านเหลอื ง Nauclea orientalis 0.08 0.05
62 โสก Saraca indica 0.51 0.04
63 จันทนช์ ะมด Aglaia silverstris 0.59 0.04
64 สดี าบนุ ทา Madhuca floribunda 0.08 0.04
65 กระโดงแดง Bhesa robusta 0.42 0.04

66 ปอฝ้าย Firmiana colorata 0.25 0.04

67 หว้าจนั ทร์ Syzygium kerrii 0.25 0.04

68 จนั ดาํ Diospyros venosa 0.17 0.04

69 มะเดือ่ ทอง Ficus vasculosa 0.17 0.04

70 เฉียงพรา้ นางแอ Carallia brachiata 0.42 0.03

71 ส้านใบใหญ่ Dillenia grandifolia 0.25 0.03
72 เปลา้ Croton kerii 0.34 0.03
73 ยางแดง Dipterocarpus turbinatus 0.08 0.03
74 ดีหมี Cleidion spiciflorum 0.42 0.03
75 อินป่า Diospyros pendula 0.08 0.03

76 นางเลว Cyathocalyx martabanicus 0.42 0.03

ตารางผนวกท่ี 1 ชนิดและปรมิ าณไมท้ งั้ หมดทีพ่ บในอทุ ยานแห่งชาตนิ ํา้ ตกพลว้ิ

ลาํ ดับ ชนิดพันธ์ไุ ม้ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ความหนาแนน่ ปรมิ าตร ปรมิ าณไมท้ ้งั หมด

ตน้ /ไร่ ลบ.ม./ไร่ ตน้ ลบ.ม.

77 เงาะปา่ Rinorea anguifera 0.42 0.03 35,395 2,529.70

78 โมกเหลือง Wrightia viridiflora 0.34 0.03 28,316 2,464.28

79 ดหี มี Lophopetalum wightianum 0.34 0.03 28,316 2,254.82

80 ปลาไหลเผอื ก Eurycoma longifolia 0.08 0.03 7,079 2,225.67
81 กะทงั หนั Calophyllum thorelii 0.17 0.03
82 งวงช้าง Osmelia maingayi 0.67 0.03 14,158 2,196.45
83 ยางกลอ่ ง Dipterocarpus dyeri 0.17 0.03
84 ตะเคียนเตง็ Shorea thorelii 0.08 0.02 56,632 2,172.91

14,158 2,130.57

7,079 2,014.40

85 มะมุด Mangifera foetida 0.93 0.02 77,868 1,976.75

86 ยางโอน Polyalthia viridis 0.42 0.02 35,395 1,916.48

87 โสกเขา Saraca declinata 0.84 0.02 70,789 1,819.40

88 กระเบาใหญ่ Hydnocarpus anthelminthicus 0.08 0.02 7,079 1,790.56

89 ขันทองพยาบาท Suregada multiflorum 0.51 0.02 42,474 1,786.28

90 กะโมกเขา Sageraea elliptica 0.25 0.02 21,237 1,768.66
91 เหมอื ดวอน Aporosa wallichii 0.42 0.02
92 รกั เขา Gluta compacta 0.42 0.02 35,395 1,665.01
93 มะพอก Parinari anamense 0.08 0.02
94 รักขาว Holigarna albicans 0.34 0.02 35,395 1,615.35

7,079 1,553.45

28,316 1,542.05

95 ลิ้นจ่ี Litchi chinensis 0.08 0.02 7,079 1,453.13

96 ไขเ่ นา่ Vitex glabrata 0.51 0.02 42,474 1,414.19

97 สกุณี Terminalia calamansanai 0.25 0.02 21,237 1,399.76

98 มกู เขา Hunteria zeylanica 0.08 0.02 7,079 1,377.81

99 สําโรง Sterculia foetida 0.08 0.02 7,079 1,335.81
100 เลือดควายใบใหญ่ Knema furfuracea 0.25 0.02
101 สารภี Mammea siamensis 0.17 0.01 21,237 1,333.99
102 มลายเขา Burretiodendron esquirolii 0.25 0.01
103 ทะลอก Vatica philastreana 0.25 0.01 14,158 1,187.92

21,237 1,175.20

21,237 1,086.76

104 ตริด Litsea myristicaefolia 0.34 0.01 28,316 1,049.05

105 มะกอก Spondias pinnata 0.08 0.01 7,079 1,000.32

106 หมากสะคั่ง Vitex cochinchinensis 0.08 0.01 7,079 956.97

107 อินทนลิ น้ํา Lagerstroemia speciosa 0.17 0.01 14,158 956.65

108 สา้ นใหญ่ Dillenia obovata 0.17 0.01 14,158 935.42

109 หมเี หม็น Litsea glutinosa 0.67 0.01 56,632 905.26
110 กอ่ หมาก Lithocarpus polystachyus 0.34 0.01
111 ลําปา้ ง Pterospermum diversifolium 0.25 0.01 28,316 881.88
112 แกว้ Murraya paniculata 0.25 0.01
113 ทาํ มัง Litsea elliptica 0.25 0.01 21,237 820.94

21,237 794.11

21,237 792.32

114 โมกเขา Wrightia lanceolata 0.25 0.01 21,237 786.24

ตารางผนวกที่ 1 ชนดิ และปรมิ าณไม้ท้ังหมดท่ีพบในอุทยานแห่งชาตินา้ํ ตกพล้วิ

ลาํ ดับ ชนิดพันธ์ไุ ม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ ความหนาแน่น ปรมิ าตร ปริมาณไม้ทงั้ หมด

ตน้ /ไร่ ลบ.ม./ไร่ ต้น ลบ.ม.

115 ส้านใบเล็ก Dillenia ovata 0.25 0.01 21,237 700.70

116 สนนั่ Pterospermum littorale 0.17 0.01 14,158 674.99

117 รักนา Gardenia carinata 0.08 0.01 7,079 666.99

118 กระเบา Hydnocarpus wrayi 0.08 0.01 7,079 649.80
119 รักขาว Semecarpus cochinchinensis 0.17 0.01
120 จกิ เขา Barringtonia pendula 0.17 0.01 14,158 615.89
121 เลือดแรด Knema globularia 0.17 0.01
122 กาสามปีก Vitex peduncularis 0.08 0.01 14,158 575.06

14,158 545.28

7,079 521.68

123 แก้วนา้ํ Cleistanthus hirsutulus 0.25 0.01 21,237 461.83

124 ขุนไม้ Nageia wallichiana 0.17 0.01 14,158 461.02

125 มะไฟ Baccaurea ramiflora 0.17 0.01 14,158 441.34

126 ตะเคยี นหนิ Hopea ferrea 0.08 0.00 7,079 410.02

127 ชมพู่นาํ้ Syzygium siamense 0.17 0.00 14,158 410.00

128 ยมหนิ Chukrasia tabularis 0.17 0.00 14,158 395.97
129 มะปริง Bouea oppositifolia 0.08 0.00
130 พวาปา่ Garcinia forbesii 0.17 0.00 7,079 359.56
131 พลับพลา Microcos tomentosa 0.17 0.00
132 เนา่ ใน Ilex umbellulata 0.08 0.00 14,158 357.43

14,158 331.44

7,079 313.22

133 กะหนาย Pterospermum littorale 0.17 0.00 14,158 264.53

134 พสู ลักใบดก Epiprinus siletianus 0.17 0.00 14,158 245.59

135 ก่อ Quercus austro-cochinchinenis 0.08 0.00 7,079 240.96

136 อบเชย Cinnamomum bejolghota 0.08 0.00 7,079 231.54

137 ยมหอม Toona ciliata 0.08 0.00 7,079 216.42
138 หอมไกลดง Harpullia arborea 0.08 0.00
139 สงั เครยี ดลาย Aglaia rufinervis 0.08 0.00 7,079 204.57
140 ผเี สอื้ หลวง Casearia grewiifolia 0.08 0.00
141 ตวิ้ ขน Cratoxylum formosum 0.08 0.00 7,079 196.01

7,079 196.01

7,079 196.01

142 พลองใบมน Memecylon cyaneum 0.17 0.00 14,158 190.21

143 โมก Wrightia pubescens 0.08 0.00 7,079 179.53

144 สมอรอ่ ง Lagerstroemia undulata 0.08 0.00 7,079 173.18

145 ติว้ ขาว Cratoxylum formosum 0.17 0.00 14,158 127.62

146 จัน Diospyros decandra 0.17 0.00 14,158 115.51

147 ก้างปลา Bridelia affinis 0.08 0.00 7,079 109.50
148 กระเบยี น Ceriscoides turgida 0.08 0.00
149 แครกฟ้า Heterophragma sulfureum 0.08 0.00 7,079 107.12
150 จําปี Michelia alba 0.08 0.00
151 เมา่ Syzygium grande 0.08 0.00 7,079 97.87

7,079 87.00

7,079 72.07

152 พะวาใบใหญ่ Garcinia vilersiana 0.08 0.00 7,079 67.46

ตารางผนวกท่ี 1 ชนดิ และปรมิ าณไม้ทงั้ หมดทพี่ บในอทุ ยานแหง่ ชาตนิ ้าํ ตกพลวิ้

ลาํ ดับ ชนดิ พันธไุ์ ม้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ความหนาแน่น ปรมิ าตร ปรมิ าณไม้ทง้ั หมด

ตน้ /ไร่ ลบ.ม./ไร่ ตน้ ลบ.ม.

153 เหมือดคน Helicia robusta 0.08 0.00 7,079 67.46

154 หสั คณุ Micromelum minutum 0.08 0.00 7,079 67.46

155 รกั Gluta glabra 0.08 0.00 7,079 53.09

156 พนั จาํ Vatica odorata -- --
157 Dillenia sp. Dillenia sp. 0.25 0.03
158 Dracaena sp. Dracaena sp. 0.08 0.03 21,237 2,904.54
159 Antidesma sp. Antidesma sp. 0.25 0.01
160 Ficus sp. Ficus sp. 0.08 0.00 7,079 2,861.27

21,237 568.83

7,079 50.76

161 Dasymaschalon sp. Dasymaschalon sp. 0.08 0.00 7,079 43.44

162 F.ACANTHACEAE F.ACANTHACEAE 0.59 0.60 49,553 50,687.21

163 F.EUPHORBIACEAE F.EUPHORBIACEAE 0.17 0.00 14,158 124.27

164 F.ANNONACEAE F.ANNONACEAE 0.08 0.00 7,079 57.11

165 Unknown Unknown 4.29 1.31 361,026 109,979.23
รวม 105.52 31.82
8,869,921 2,675,144.38

ตารางผนวกท่ี 2 ชนดิ และปรมิ าณกล้าไมท้ ี่พบในอทุ ยานแห่งชาตินํ้าตกพลว้ิ

ลําดับ ชนดิ พันธไุ์ ม้ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ความหนาแนน่ จาํ นวนทั้งหมด
ต้น
ตน้ /ไร่ 121,757,895
43,889,474
1 หยอ่ ง Archidendron quocense 1,448.42 41,057,895
22,652,632
2 พริกนายพราน Tabernaemontana bufalina 522.11 22,652,632
15,573,684
3 ลางสาด Lansium domesticum 488.42 15,573,684
15,573,684
4 คา้ งคาว Aglaia edulis 269.47 14,157,895
14,157,895
5 พระเจา้ ห้าพระองค์ Dracontomelon dao 269.47 12,742,105
12,742,105
6 จําปูน Anaxagorea javanica 185.26 11,326,316
11,326,316
7 พิลังกาสา Ardisia polycephala 185.26 11,326,316
9,910,526
8 แอ๊ดเลก็ Erismanthus sinensis 185.26 8,494,737
8,494,737
9 หวา้ Syzygium cumini 168.42 8,494,737
8,494,737
10 พลอง Memecylon garcinioides 168.42 7,078,947
5,663,158
11 ผเี ส้ือ Alangium chinense 151.58 5,663,158
4,247,368
12 พวาปา่ Garcinia forbesii 151.58 4,247,368
4,247,368
13 ตาเสอื Aphanamixis polystachya 134.74 2,831,579
2,831,579
14 จกิ เขา Barringtonia pendula 134.74 2,831,579
2,831,579
15 เข็มป่า Ixora butterwickii 134.74 2,831,579
2,831,579
16 มลายเขา Burretiodendron esquirolii 117.89 1,415,789
1,415,789
17 กระดุมผี Glochidion rubrum 101.05 1,415,789
1,415,789
18 ยางโอน Polyalthia viridis 101.05

19 พุงทะลาย Scaphium scaphigerum 101.05

20 คอแลน Xerospermum noronhianum 101.05

21 มะมว่ งปา่ Mangifera caloneura 84.21

22 ล้นิ จี่ Litchi chinensis 67.37

23 กาํ ลังวัวเถลงิ Anaxagorea luzonensis 67.37

24 กอ่ หิน Castanopsis piriformis 50.53

25 กระเบยี น Ceriscoides turgida 50.53

26 สลอดปา่ Microdesmis caseariifolia 50.53

27 กระบาก Anisoptera costata 33.68

28 จนั Diospyros decandra 33.68

29 อนิ ปา่ Diospyros pendula 33.68

30 มะพรา้ วนกกก Horsfieldia glabra 33.68

31 ขุนไม้ Nageia wallichiana 33.68

32 เขยตาย Glycosmis pentaphylla 33.68

33 ขนนุ ป่า Artocarpus lanceifolius 16.84

34 จิกนา Barringtonia acutangula 16.84

35 ขหี้ นอนคาย Celtis tetrandra 16.84

36 อบเชย Cinnamomum bejolghota 16.84

ตารางผนวกท่ี 2 ชนดิ และปริมาณกล้าไมท้ ีพ่ บในอทุ ยานแหง่ ชาตนิ าํ้ ตกพล้วิ

ลําดบั ชนดิ พนั ธ์ไุ ม้ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ความหนาแนน่ จาํ นวนทง้ั หมด
ต้น
ตน้ /ไร่ 1,415,789
1,415,789
37 ลาย Microcos paniculata 16.84 1,415,789
1,415,789
38 อะราง Peltophorum dasyrachis 16.84 1,415,789
1,415,789
39 เลือดนก Pentace triptera 16.84 1,415,789
1,415,789
40 ลาํ ป้าง Pterospermum diversifolium 16.84 1,415,789
2,831,579
41 สวอง Vitex limonifolia 16.84 39,642,105
539,415,789
42 กาสามปกี Vitex peduncularis 16.84

43 พลว้ิ Erycibe citriniflora 16.84

44 มะเดื่อขี้นก Ficus chartacea 16.84

45 Syzygium sp. Syzygium sp. 16.84

46 F.SAPOTACEAE F.SAPOTACEAE 33.68

47 Unknown Unknown 471.58

รวม 6,416.84

ตารางผนวกที่ 3 ชนิดและปริมาณกลา้ ไม้อนื่ ๆ ที่พบในอุทยานแหง่ ชาตนิ ํ้าตกพล้วิ

ลาํ ดับ ชนดิ พนั ธุไ์ ม้ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ ความหนาแน่น จํานวนท้งั หมด
ตน้
ตน้ /ไร่ 84,947,368
19,821,053
1 รางแดง Ventilago denticulata 1,010.53 19,821,053
15,573,684
2 เฟนิ ใบมะขามใบเสีย้ ว Nephrolepis acutifolia 235.79 12,742,105
11,326,316
3 กระดูกไก่ Chloranthus erectus 235.79 11,326,316
9,910,526
4 งวงชา้ งดง Polygala isocarpa 185.26 8,494,737
7,078,947
5 นมแมว Cyathostemma micranthum 151.58 7,078,947
5,663,158
6 เข็มแดง Lindernia aculeata 134.74 2,831,579
2,831,579
7 เตา่ ร้างหนู Arenga caudata 134.74 2,831,579
1,415,789
8 เหลืองจนั ทร์ Lysimachia pilosa 117.89 1,415,789
1,415,789
9 เรว่ Amomum villosum 101.05 1,415,789
227,942,105
10 ตอ้ ยติ่ง Ruellia tuberosa 84.21

11 คอเหย้ี Artemisia indica 84.21

12 คดั เคา้ ดง Oxyceros bispinosus 67.37

13 เขม็ ขาว Vanda lilacina 33.68

14 หมาก Areca catechu 33.68

15 หมากลงิ Pinanga riparia 33.68

16 ไผ่สสี ุก Bambusa blumeana 16.84

17 เฟนิ ใบมะขามเลก็ Nephrolepis hirsutula 16.84

18 วา่ นขนั หมาก Aglaonema simplex 16.84

19 เฟนิ ราชนิ ี Doryopteris ludens 16.84

รวม 2,711.58

ตารางผนวกที่ 4 ชนิดและปรมิ าณลกู ไม้ท่พี บในอุทยานแห่งชาตนิ ํา้ ตกพลิ้ว

ลาํ ดับ ชนดิ พันธ์ไุ ม้ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ ความหนาแนน่ จํานวนทัง้ หมด
ตน้
ต้น/ไร่ 5,521,579
1,982,105
1 หย่อง Archidendron quocense 65.68 1,274,211
1,274,211
2 ยางโอน Polyalthia viridis 23.58 991,053
849,474
3 ลาํ ปา้ ง Pterospermum diversifolium 15.16 849,474
707,895
4 แอ๊ดเลก็ Erismanthus sinensis 15.16 707,895
566,316
5 พลอง Memecylon garcinioides 11.79 566,316
6 กําลังวัวเถลงิ Anaxagorea luzonensis 10.11 566,316
7 พิลงั กาสา Ardisia polycephala 10.11 566,316
8 ค้างคาว Aglaia edulis 8.42 566,316
9 พรกิ นายพราน Tabernaemontana bufalina 8.42 566,316
424,737
10 จิกดง Barringtonia pauciflora 6.74 424,737
424,737
11 พระเจ้าห้าพระองค์ Dracontomelon dao 6.74 424,737
424,737
12 หว้า Syzygium cumini 6.74 283,158
283,158
13 ขลู่ Pluchea indica 6.74 283,158
283,158
14 ปลาไหลเผอื ก Eurycoma longifolia 6.74 283,158
283,158
15 พวาปา่ Garcinia forbesii 6.74 283,158
16 ลางสาด Lansium domesticum 5.05 283,158
17 มะซาง Madhuca grandiflora 5.05 283,158
18 ยางโดน Polyalthia asteriella 5.05 283,158
19 พิลงั กาสา Ardisia ionantha 5.05 283,158
283,158
20 สลอดป่า Microdesmis caseariifolia 5.05 283,158
283,158
21 ผีเส้อื Alangium chinense 3.37 283,158

22 กระบาก Anisoptera costata 3.37

23 ตาเสอื Aphanamixis polystachya 3.37

24 จกิ เขา Barringtonia pendula 3.37

25 ข้หี นอนคาย Celtis tetrandra 3.37
26 ยางนา Dipterocarpus alatus 3.37
27 กระดมุ ผี Glochidion rubrum 3.37
28 มะพร้าวนกกก Horsfieldia glabra 3.37
29 เลือดควาย Knema erratica 3.37

30 ลิ้นจี่ Litchi chinensis 3.37

31 มะม่วงป่า Mangifera caloneura 3.37

32 คอแลน Nephelium hypoleucum 3.37

33 คอแลน Xerospermum noronhianum 3.37

34 ตาฉู่แม Ziziphus incurva 3.37

35 มะเด่ือข้ีนก Ficus chartacea 3.37

ตารางผนวกที่ 4 ชนิดและปริมาณลกู ไมท้ ่พี บในอทุ ยานแหง่ ชาตนิ ํา้ ตกพลิว้

ลาํ ดับ ชนดิ พนั ธุ์ไม้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ความหนาแน่น จาํ นวนทงั้ หมด
ตน้
ต้น/ไร่ 283,158
283,158
36 เข็มป่า Ixora butterwickii 3.37 141,579
141,579
37 เขม็ สาวสอยดาว Mycetia membranacea 3.37 141,579
141,579
38 มลายเขา Burretiodendron esquirolii 1.68 141,579
141,579
39 กอ่ หนิ Castanopsis piriformis 1.68 141,579
141,579
40 จนั Diospyros decandra 1.68 141,579
41 จนั ดํา Diospyros venosa 1.68 141,579
42 อนิ ป่า Diospyros pendula 1.68 141,579
43 ขีผ้ ้ึง Chrysophyllum roxburghii 1.68 141,579
44 ลาย Microcos paniculata 1.68 141,579
141,579
45 ชมุ แพรก Heritiera javanica 1.68 141,579
141,579
46 ตะเคียนหิน Hopea ferrea 1.68 141,579
141,579
47 มะหวด Lepisanthes rubiginosa 1.68 141,579
141,579
48 กา้ นเหลอื ง Nauclea orientalis 1.68 141,579
141,579
49 ขุนไม้ Nageia wallichiana 1.68 141,579
283,158
50 กะโมกเขา Sageraea elliptica 1.68 991,053
51 พงุ ทะลาย Scaphium scaphigerum 1.68 29,023,684
52 ข่อย Streblus asper 1.68
53 ผกั หวานป่า Champereia manillana 1.68
54 จําปนู Anaxagorea javanica 1.68

55 พล้วิ Erycibe citriniflora 1.68

56 กระเบียน Ceriscoides turgida 1.68

57 เขยตาย Glycosmis pentaphylla 1.68

58 เปล้า Croton kerii 1.68

59 สีดาบุนทา Madhuca floribunda 1.68

60 Syzygium sp. Syzygium sp. 1.68
61 F.SAPOTACEAE F.SAPOTACEAE 3.37
62 Unknown Unknown 11.79
รวม 345.26

ตารางผนวกท่ี 5 ชนดิ และปริมาณลูกไม้อ่นื ๆ ท่ีพบในอุทยานแหง่ ชาตนิ า้ํ ตกพลิว้

ลําดบั ชนดิ พันธ์ุไม้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ความหนาแนน่ จาํ นวนท้งั หมด
ตน้
ตน้ /ไร่ 283,158
424,737
1 นมแมว Cyathostemma micranthum 3.37 141,579
141,579
2 งวงช้างดง Polygala isocarpa 5.05 1,557,368
283,158
3 เร่ว Amomum villosum 1.68 141,579
566,316
4 ต้อยติ่ง Ruellia tuberosa 1.68 3,539,474
5 คอเหี้ย Artemisia indica 18.53
6 เต่ารา้ งหนู Arenga caudata 3.37

7 กะพอ้ Licuala spinosa 1.68

8 กระดูกไก่ Chloranthus erectus 6.74
รวม 42.11

ตารางผนวกท่ี 6 ชนิดพันธุไ์ ม้จากการวเิ คราะหข์ อ้ มูลสงั คมพชื ดา้ นดัชนีความสําคัญของ

ลําดับ ชนดิ พนั ธุ์ไม้ ช่ือวิทยาศาสตร์ ความหนาแน่นสัมพัทธ

RDensity

1 หยอ่ ง Archidendron quocense 12
2 ขหี้ นอนควาย Gironniera nervosa 6
3 พงุ ทะลาย Scaphium scaphigerum 6
4 หว้า Syzygium cumini 3
5 เลือดควาย Knema erratica 4

6 กอ่ หิน Castanopsis piriformis 3

7 จกิ นมยาน Barringtonia macrocarpa 3

8 ชุมแพรก Heritiera javanica 0

9 คอแลน Nephelium hypoleucum 2

10 จกิ ดง Barringtonia pauciflora 0

11 คอแลน Xerospermum noronhianum 1
12 คา้ งคาว Aglaia edulis 1
13 ตาเสอื Aphanamixis polystachya 1
14 ขนุนนก Palaquium obovatum 0
15 มะเด่ือขี้นก Ficus chartacea 1

16 พลอง Memecylon garcinioides 1

17 ขี้อา้ ย Terminalia triptera 0

18 สมพง Tetrameles nudiflora 0

19 ผเี สือ้ Alangium chinense 1

20 มะเด่อื ปล้อง Ficus hispida 1

21 ขนนุ ป่า Artocarpus lanceifolius 0
22 ปออเี ก้ง Pterocymbium tinctorium 1


Click to View FlipBook Version