The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการสำรวจทรัพยากรป่าไม้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Eve_ Chantarat, 2020-11-18 01:56:02

อุทยานแห่งชาติศรีสัชนาลัย

รายงานการสำรวจทรัพยากรป่าไม้

รายงานการสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้

อทุ ยานแห่งชาติศรีสัชนาลยั

กลุ่มงานวิชาการ สํานักบรหิ ารพ้ืนท่อี นรุ ักษ์ ที่ 13 (สาขาลาํ ปาง)
กลุ่มงานวิชาการ สํานักบรหิ ารพื้นทอ่ี นุรกั ษ์ ท่ี 14 (ตาก)

สว่ นสํารวจและวิเคราะห์ทรพั ยากรปา่ ไม้ สํานกั ฟ้นื ฟแู ละพฒั นาพื้นทอี่ นุรกั ษ์
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พ.ศ. 2556

บทสรปุ สําหรับผู้บรหิ าร

การดําเนินการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ เป็นทางหนึ่งท่ีทําให้ทราบถึงสถานภาพและศักยภาพของ
ทรัพยากร ตลอดจนปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมที่มีผลต่อการบุกรุกทําลายป่า เพื่อนํามาใช้ในการดําเนินการ
ตามภาระรับผดิ ชอบต่อไป ซ่ึงกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้ดําเนินการมาอย่างต่อเน่ือง โดยใน
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2556 กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สัตวป์ า่ และพันธ์ุพืช ได้จัดสรรงบประมาณการดําเนินงานและกําหนด
จดุ สํารวจเป้าหมายในพื้นทอ่ี ทุ ยานแห่งชาติศรสี ชั นาลยั ซงึ่ มเี นื้อท่ี 133,250 ไร่ หรอื ประมาณ 213.20 ตารางกิโลเมตร
ครอบคลุมจังหวัดสุโขทัยและจังหวัดลําปาง ซึ่งอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ท่ี
13 (สาขาลําปาง) รับผิดชอบพ้ืนที่ในจังหวัดลําปาง จํานวน 20 แปลง และสํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษ์ท่ี 14 (ตาก)
รับผดิ ชอบพน้ื ทใ่ี นจงั หวัดสโุ ขทัย จาํ นวน 37 แปลง รวมทั้งส้ินจํานวน 57 แปลง

ผลการสํารวจและวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินที่สํารวจพบมี 4 ประเภท ได้แก่
ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ พื้นที่เกษตรกรรม และไร่ร้าง โดยพบป่าดิบแล้งมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 61.54
ของพื้นที่ทง้ั หมด รองลงมา คอื ปา่ เบญจพรรณ คิดเป็นรอ้ ยละ 28.85 พืน้ ท่ีเกษตรกรรมคิดเป็นร้อยละ 5.77
และลาํ ดับสุดท้ายเป็นไร่ร้าง คิดเป็นร้อยละ 3.85 สําหรับพรรณไม้รวมทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินพบ
มากกว่า 212 ชนิด 33 วงศ์ รวมจํานวน 7,293,900 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้ รวมทั้งหมด 2,279,088.55 ลูกบาศก์เมตร
มีความหนาแน่นของไม้เฉล่ีย 54.77 ตน้ ตอ่ ไร่ และมีปริมาตรไม้เฉล่ีย 17.10 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ซ่ึงเมื่อเรียงลําดับ
จากจํานวนต้นท่พี บมากทีส่ ุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก คือ คอแลน (Nephelium hypoleucum) ตองแตบ
(Macaranga denticulata) ปอตู๊บหูช้าง (Sterculia villosa) เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) ตะโกพนม
(Diospyros castanea) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) เพกา (Oroxylum indicum) แดง
(Xylia xylocarpa) ตะคร้อหนาม (Sisyrolepis muricata) และมะไฟ (Baccaurea ramiflora) ตามลําดับ
แต่เม่ือเรียงลําดับตามปริมาตรจากมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก คือ ตะโกพนม (Diospyros castanea)
คอแลน (Nephelium hypoleucum) ตะเคียนทอง (Hopea odorata) ตองแตบ (Macaranga denticulata)
ลําพูป่า (Duabanga grandiflora) ตาเสือ (Aphanamixis polystachya) ปอตู๊บหูช้าง (Sterculia villosa) แดง
(Xylia xylocarpa) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) และ จําปีป่า (Michelia floribunda)
ตามลาํ ดับ

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลโครงสร้างป่าในทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน พบว่า มีไม้ยืนต้นขนาดเส้น
รอบวงเพียงอก (GBH) ระหว่าง 15-45 เซนติเมตร มีทั้งหมดจํานวน 4,243,500 ต้น คิดเป็นร้อยละ 58.18
ของไม้ท้ังหมด ไม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) อยู่ระหว่าง >45-100 เซนติเมตร มีทั้งหมดจํานวน
2,152,500 ต้น คิดเป็นร้อยละ 29.51 ของไม้ท้ังหมด และไม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่า
100 เซนติเมตรข้ึนไป มีทัง้ หมดจํานวน 897,900 ตน้ คิดเปน็ รอ้ ยละ 12.31 ของไมท้ ง้ั หมด

ไผ่ (Bamboo) ที่พบในแปลงสํารวจ มีจํานวน 8 ชนิด ได้แก่ ไผ่เฮียะ (Cephalostachyum
virgatum) ไผ่ซาง (Dendrocalamus strictus) ไผ่ซางดอย (Bambusa membranacea) ไผ่หก (Dendrocalamus

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาติศรีสัชนาลยั

hamiltonii) ไผไ่ ร่ (Gigantochloa albociliata) ไผร่ วก (Thyrsostachys siamensis) ไผ่ข้าวหลาม (Cephalostachyum
pergracile) และ ไผ่ไล่ลอ (Gigantochloa nigrociliata) รวมทั้งสิ้นจํานวน 2,689,600 กอ รวมทั้งสิ้น จํานวน
53,595,200 ลํา ซง่ึ พบเฉพาะในปา่ ดบิ แล้งและป่าเบญจพรรณ

กล้าไม้ (Seedling) ท่ีพบในแปลงสํารวจมีมากกว่า 53 ชนิด 38 วงศ์ รวมจํานวนท้ังหมด
297,660,000 ต้น ปา่ ทีส่ ํารวจพบจํานวนกลา้ ไมม้ ากที่สุด คือ ป่าดิบแลง้ รองลงมา คือ ปา่ เบญจพรรณ ซงึ่ เมอ่ื
เรยี งลําดบั จากจาํ นวนต้นทพี่ บมากสุดไปหานอ้ ยสุด 10 อนั ดบั แรก ได้แก่ เข็มป่า (Ixora cibdela) ยอป่า (Morinda
coreia) ตะเคียนทอง (Hopea odorata) เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) ครามป่า (Indigofera sootepensis)
คอแลน (Nephelium hypoleucum) ตะโกพนม (Diospyros castanea) ถั่วเขา (Campylotropis pinetorium)
ปอขาว (Sterculia pexa) และกระท่มุ (Anthocephalus chinensis) ตามลาํ ดบั

ลกู ไม้ (Sapling) ที่พบในแปลงสํารวจมีมากกว่า 34 ชนิด 7 วงศ์ รวมจํานวนท้ังหมด 6,642,000 ต้น
ซ่งึ เมือ่ เรียงลาํ ดับจากจาํ นวนตน้ ท่ีพบมากสดุ ไปหาน้อยสดุ 10 อันดบั แรก ไดแ้ ก่ คอแลน (Nephelium hypoleucum)
เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) ตะเคียนทอง (Hopea odorata) แดง (Xylia xylocarpa) ตาเสือ (Aphanamixis
polystachya) บุนนาค (Mesua ferrea) ลําดวน (Melodorum fruticosum) ตะโกพนม (Diospyros castanea)
ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) และมะม่วงป่า (Mangifera caloneura) ตามลําดับ
ปา่ ทีส่ ํารวจพบจํานวนลูกไม้มากทส่ี ุด คอื ป่าดิบแล้ง รองลงมา คือ ป่าเบญจพรรณ

ชนิดและปริมาณของตอไม้ที่พบในอุทยานแห่งชาติศรีสัชนาลัย มีมากกว่า 20 ชนิด 13 วงศ์ รวม
ทั้งสิ้น 303,400 ตอ มคี วามหนาแน่นของตอไม้ 2.28 ตอต่อไร่ โดยชนิดไม้ที่มีปริมาณตอมากที่สุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ สัก (Tectona grandis) เสลาขาว (Lagerstroemia tomentosa) เพกา (Oroxylum indicum) ตองแตบ
(Macaranga denticulata) อวบดํา (Chionanthus ramiforus) กระท้อน (Sandoricum koetjape) ผ่าเสี้ยน (Vitex
canescens) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) มะเด่ืออุทุมพร (Ficus racemosa) และ
ชมพสู่ าแหรก (Syzygium malaccense)

ส่วนผลการวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช พบว่า ชนิดไม้ท่ีมีความถ่ีสัมพัทธ์ (Relative Frequency)
มากท่สี ุด คอื คอแลน (Nephelium hypoleucum) รองลงมา คือ ตองแตบ (Macaranga denticulata) ชนดิ ไม้
ท่ีมคี วามหนาแนน่ สัมพัทธ์ (Relative Density) มากท่สี ุด คือ คอแลน (Nephelium hypoleucum) รองลงมา
คอื ตองแตบ (Macaranga denticulata) ชนิดไมท้ ี่มีความเด่นสัมพัทธ์ (Relative Dominance) มากที่สุด คือ
คอแลน (Nephelium hypoleucum) รองลงมา คือ ตะโกพนม (Diospyros castanea) และชนิดไม้ท่ีมีค่า
ความสําคัญทางนิเวศวิทยา (Importance Value Index : IVI) มากท่ีสุด คือ คอแลน (Nephelium hypoleucum)
รองลงมา คือ ตองแตบ (Macaranga denticulata) ตะโกพนม (Diospyros castanea) ปอตู๊บหูช้าง (Sterculia
villosa) และตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) และขอ้ มลู เก่ยี วกับความหลากหลายทางชวี ภาพ
พบวา่ ลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ีดินที่มีความหลากหลายของชนิด พันธุ์ไม้ (Species Diversity) มากท่ีสุด คือ
ปา่ ดิบแล้ง รองลงมา คือ ป่าเบญจพรรณ ซ่ึงชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินท่ีมีความมากมายของชนิด
พันธ์ุไม้ (Species Richness) มากท่ีสุด คือ ป่าดิบแล้ง รองลงมา คือ ป่าเบญจพรรณ และชนิดป่าหรือลักษณะ

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พนื้ ที่อทุ ยานแห่งชาติศรีสชั นาลยั

การใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ ท่ีมคี วามสม่าํ เสมอของชนิด พันธ์ุไม้ (Species Evenness) มากที่สุด คือ พ้ืนที่เกษตรกรรม
รองลงมา คือ ป่าเบญจพรรณ

จากผลการดําเนินงานดังกล่าว ทําให้ทราบข้อมูลพ้ืนฐานเก่ียวกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะ
ด้านกําลังผลิตและความหลากหลายของพันธ์ุพืชในพ้ืนท่ีต่างๆ ของอุทยานแห่งชาติศรีสัชนาลัย อีกท้ัง
ยังเป็นแนวทางในการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ เก่ียวกับรูปแบบ วิธีการสํารวจ และการวิเคราะห์ข้อมูล
อย่างเป็นระบบและแบบแผนเพ่ือเป็นแนวทางในการติดตามการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรป่าไม้ในพ้ืนท่ี
อทุ ยานแห่งชาตศิ รสี ชั นาลัยตอ่ ไป 

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

 

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นทอี่ ุทยานแหง่ ชาตศิ รสี ชั นาลยั

  i

สารบญั หนา้
i
สารบญั iii
สารบัญตาราง iv
สารบญั ภาพ 1
คาํ นาํ 2
วตั ถุประสงค์ 2
เปา้ หมายการดาํ เนนิ งาน 3
ขอ้ มลู ทัว่ ไปอทุ ยานแหง่ ชาตศิ รีสชั นาลัย 3
3
ความเป็นมา 4
ลักษณะภมู ิประเทศ 4
ลกั ษณะภมู อิ ากาศ 6
แหล่งท่องเที่ยว 6
รูปแบบและวธิ ีการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ 6
การสุ่มตวั อยา่ ง (Sampling Design) 7
รปู รา่ งและขนาดของแปลงตวั อยา่ ง (Plot Design) 8
ขนาดของแปลงตัวอยา่ งและขอ้ มลู ท่ีทาํ การสํารวจ 8
การวิเคราะหข์ ้อมลู การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้ 8
1. การคํานวณเนื้อที่ป่าและปรมิ าณไมท้ ั้งหมดของแตล่ ะพืน้ ที่อนรุ กั ษ์ 9
2. การคํานวณปริมาตรไม้ 9
3. ข้อมูลทว่ั ไป 9
4. การวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหมู่ไม้ 9
5. การวเิ คราะหข์ ้อมูลชนดิ และปรมิ าณของลกู ไม้ (Sapling) และกลา้ ไม้ (Seedling)
6. การวิเคราะหข์ อ้ มลู ชนดิ และปรมิ าณของไมไ้ ผ่ หวาย 10
7. การวิเคราะห์ขอ้ มูลสงั คมพืช 11
8. วเิ คราะหข์ อ้ มูลความหลากหลายทางชวี ภาพ 12
ผลการสาํ รวจและวิเคราะหข์ อ้ มูลทรพั ยากรป่าไม้ 12
1. การวางแปลงตวั อยา่ ง 13
2. พ้นื ทปี่ า่ ไม้ 18
3. ปรมิ าณไม้ 22
4. โครงสร้างปา่

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นที่อทุ ยานแหง่ ชาติศรีสัชนาลยั

  ii

สารบญั (ต่อ) หน้า
23
5. ชนิดพันธไุ์ ม้ 32
6. ขอ้ มลู สงั คมพืช 36
7. ความหลากหลายทางชีวภาพ 37
สรุปผลการสาํ รวจและวเิ คราะห์ข้อมลู ทรพั ยากรปา่ ไม้ 41
ปัญหาและข้อเสนอแนะ 42
เอกสารอา้ งองิ 43
ภาคผนวก

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ที่อทุ ยานแห่งชาติศรสี ัชนาลัย

iii

 

สารบญั ตาราง

ตารางท่ี หนา้
1 ขนาดของแปลงตัวอยา่ งและข้อมลู ทีท่ ําการสาํ รวจ 7
2 พน้ื ที่ปา่ ไม้จาํ แนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ทีด่ ินในอุทยานแหง่ ชาตศิ รสี ชั นาลัย 18
(Area by Landuse Type)
3 ปรมิ าณไม้ทง้ั หมดจาํ แนกตามลักษณะการใช้ประโยชนท์ ีด่ ินในอุทยานแหง่ ชาตศิ รีสัชนาลยั 18
(Volume by Landuse Type)
4 ความหนาแน่นและปริมาตรไม้ตอ่ หน่วยพนื้ ที่จําแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ ใน 20
อุทยานแห่งชาตศิ รีสชั นาลัย (Density and Volume per Area by Landuse Type)
5 การกระจายขนาดความโตของไม้ท้ังหมดในอุทยานแห่งชาตศิ รีสชั นาลยั 22
6 ปริมาณไม้ท้งั หมดของอทุ ยานแห่งชาติศรสี ัชนาลยั (30 ชนดิ แรกทีม่ ีปรมิ าตรไมส้ ูงสดุ ) 24
7 ปรมิ าณไม้ในป่าดบิ แล้งของอุทยานแห่งชาติศรสี ัชนาลัย (30 ชนดิ แรกท่ีมีปริมาตรไมส้ งู สุด) 25
8 ปรมิ าณไมใ้ นปา่ เบญจพรรณของอุทยานแหง่ ชาติศรสี ชั นาลยั (30 ชนิดแรกทมี่ ปี รมิ าตรไม้สูงสดุ ) 26
9 ปรมิ าณไม้ในพน้ื ท่ีเกษตรกรรมของอุทยานแห่งชาตศิ รสี ชั นาลยั 27
10 ปรมิ าณไมใ้ นพนื้ ท่ไี รร่ ้างของอุทยานแหง่ ชาติศรสี ัชนาลัย 27
11 ชนดิ และปรมิ าณไมไ้ ผ่ หวาย และไมก้ อ ทีพ่ บในอทุ ยานแหง่ ชาตศิ รสี ัชนาลยั 28
12 ชนดิ และปรมิ าณของกล้าไม้ (Seedling) ท่พี บในอุทยานแห่งชาติศรีสัชนาลัย 29
(30 ชนิดแรกทมี่ ีปรมิ าณไมส้ งู สุด)
13 ชนดิ และปริมาณของลกู ไม้ (Sapling) ทพ่ี บในอทุ ยานแหง่ ชาติศรีสัชนาลัย 30
(30 ชนิดแรกทมี่ ีปริมาณไม้สงู สดุ )
14 ชนิดและปรมิ าณของตอไม้ (Tree Stump) ทพ่ี บในอทุ ยานแห่งชาติศรสี ัชนาลยั 31
15 ดัชนีความสาํ คัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) 33
ของปา่ ดิบแล้งในอุทยานแหง่ ชาติศรสี ชั นาลัย
16 ดัชนีความสาํ คญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าเบญจพรรณ 34
ในอทุ ยานแห่งชาตศิ รีสชั นาลยั
17 ดชั นคี วามสาํ คัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของพน้ื ที่เกษตรกรรม 34
ในอุทยานแหง่ ชาติศรสี ัชนาลยั
18 ดชั นคี วามสําคัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของพืน้ ท่ีไร่รา้ ง 35
ในอทุ ยานแหง่ ชาติศรสี ัชนาลัย
19 ความหลากหลายทางชีวภาพของชนดิ พันธุ์ไมอ้ ทุ ยานแหง่ ชาติศรีสัชนาลัย 36

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ทอ่ี ุทยานแห่งชาติศรสี ชั นาลัย

  iv

สารบญั ภาพ หนา้
6
ภาพที่ 12
1 ลกั ษณะและขนาดของแปลงตัวอย่าง 14
2 แปลงตวั อย่างท้ังหมดในการสํารวจภาคสนามในอุทยานแห่งชาตศิ รีสัชนาลยั 15
3 พืน้ ท่ีป่าไม้จําแนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ดี่ นิ ในอทุ ยานแหง่ ชาติศรสี ัชนาลัย 16
4 ลักษณะทว่ั ไปของปา่ ดบิ แล้งในพน้ื ทีอ่ ุทยานแห่งชาติศรีสชั นาลัย 17
5 ลกั ษณะทว่ั ไปของปา่ เบญจพรรณพนื้ ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติศรีสัชนาลยั 17
6 ลักษณะท่วั ไปของพ้ืนท่ีเกษตรกรรมพน้ื ท่อี ทุ ยานแห่งชาติศรสี ชั นาลยั 19
7 ลักษณะทั่วไปของไรร่ ้างพืน้ ที่อทุ ยานแห่งชาตศิ รีสชั นาลัย 19
8 ปริมาณไม้ทัง้ หมดทีพ่ บในพนื้ ทอี่ ุทยานแหง่ ชาติศรีสัชนาลัย 20
9 ปริมาตรไม้ทัง้ หมดที่พบในพน้ื ท่ีอุทยานแหง่ ชาติศรสี ชั นาลัย 21
10 ความหนาแน่นของต้นไม้ในพ้นื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาตศิ รสี ชั นาลัย 22
11 ปริมาตรไม้ต่อหนว่ ยในอุทยานแห่งชาติศรสี ชั นาลัย
12 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ้งั หมด ในอทุ ยานแหง่ ชาตศิ รีสชั นาลยั (ต้น)

 

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติศรีสชั นาลัย

คํานาํ

กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เป็นหน่วยงานหลักของประเทศ ท่ีมีอํานาจและบทบาท
หนา้ ท่จี ะต้องดาํ เนินการอนรุ ักษ์ สงวน และฟื้นฟคู วามหลากหลายทางชีวภาพ ในพ้ืนท่ีป่าอนุรักษ์รวมท้ังบริหาร
จัดการทรัพยากรป่าไม้ ให้สามารถอํานวยประโยชน์ได้อย่างยั่งยืน จึงจําเป็นท่ีจะต้องทราบถึงสถานภาพและ
ศักยภาพของทรัพยากร โดยเฉพาะทรัพยากรป่าไม้ รวมท้ังความหลากหลายทางชีวภาพท่ีมีอยู่ในพ้ืนที่ป่าไม้
ตลอดจนปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมท่ีมีผลต่อการบุกรุกทําลายป่า เพื่อนํามาใช้ในการดําเนินการตามภาระ
รบั ผิดชอบตอ่ ไป ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ จึงได้ดําเนินการ
สํารวจพ้ืนที่ป่าของจังหวัดต่างๆ ท่ัวประเทศ เพ่ือรวบรวมเป็นฐานข้อมูลในการดําเนินงานในกิจกรรมที่มีความ
เก่ยี วขอ้ งกับความหลากหลายทางชีวภาพ รวมท้ังใช้ในการประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้
และทรัพยากรอ่ืนๆ ที่เก่ียวข้อง เพื่อนําไปพัฒนาพ้ืนท่ีอนุรักษ์หรือใช้เป็นต้นแบบในการดําเนินการในพื้นท่ีอ่ืนๆ
ต่อไป

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้เพื่อประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้ และเพ่ือติดตั้ง
ระบบติดตามความเปลย่ี นแปลงของทรพั ยากรปา่ ไม้ รวมท้งั ทรัพยากรอื่นที่เก่ียวข้อง ได้รับการจัดสรรงบประมาณ
ในการดําเนินงานและกําหนดจุดสํารวจเป้าหมาย โดยส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟื้นฟู
และพัฒนาพืน้ ท่อี นรุ ักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพนั ธพุ์ ชื ซึ่งการดําเนนิ งานดังกล่าวสอดคล้องกบั ภารกจิ
ของกรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ท่ีจะต้องดําเนินการอนุรักษ์ สงวน และฟ้ืนฟูความหลากหลายทาง
ชีวภาพ ใหม้ ีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรป่าไม้อย่างย่ังยืน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือทราบข้อมูลพ้ืนฐานเก่ียวกับ
ทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้านกําลังผลิตและความหลากหลายของพืชพันธุ์ในพื้นที่ต่างๆ ของประเทศไทย
สําหรับรูปแบบและวิธีการสํารวจใช้การสํารวจแบบกลุ่มแปลงตัวอย่าง (Cluster) และวิธีสุ่มตัวอย่างแบบสมํ่าเสมอ
(Systematic Sampling) โดยให้แต่ละแปลงตวั อย่างมีระยะหา่ งเท่าๆ กนั บนเสน้ กรดิ แผนท่ี (Grid) 2.5 x 2.5
กิโลเมตร โดยระบบ Datum ของแผนทีส่ ํารวจสว่ นใหญ่เป็น WGS 84

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พนื้ ทีอ่ ทุ ยานแห่งชาตศิ รสี ชั นาลยั

 2

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพือ่ ให้ทราบข้อมลู พนื้ ฐานเกีย่ วกบั ทรพั ยากรปา่ ไม้ โดยเฉพาะด้านกําลงั ผลิต และความหลากหลาย
ของพชื พนั ธุ์ในพนื้ ทป่ี า่ อนรุ กั ษ์ต่างๆ ของประเทศไทย

2. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ เก่ียวกับรูปแบบ วิธีการสํารวจ และการ
วิเคราะหข์ อ้ มลู อย่างเปน็ ระบบและแบบแผน

3. เพื่อเปน็ แนวทางในการวางระบบตดิ ตามการเปลีย่ นแปลงของทรัพยากรป่าไมใ้ นพ้ืนท่ี
4. เพื่อให้ได้ข้อมูลพื้นฐานเก่ียวกับพรรณไม้เด่นและชนิดไม้มาใช้ในการวางแผนเพาะชํากล้าไม้
เพ่ือปลูกเสริมปา่ ในแตล่ ะพืน้ ท่ี

เปา้ หมายการดาํ เนินงาน

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟื้นฟูและพัฒนา
พ้ืนที่อนรุ กั ษ์ กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั วป์ ่า และพันธ์ุพชื ได้จดั สรรงบประมาณการดําเนินงานและกําหนดพ้นื ที่
สาํ รวจเปา้ หมายในพน้ื ท่อี ทุ ยานแห่งชาตศิ รสี ชั นาลยั ในพืน้ ที่ของจงั หวัดสุโขทยั และจังหวดั ลําปาง ซ่ึงอยู่ในความ
ดูแลรบั ผดิ ชอบของสํานักบริหารพ้ืนทีอ่ นรุ กั ษ์ท่ี 13 (สาขาลําปาง) รับผดิ ชอบพื้นทใ่ี นจังหวดั ลําปาง จํานวน 20
แปลง และสํานกั บรหิ ารพ้นื ท่อี นรุ กั ษท์ ี่ 14 (ตาก) รับผิดชอบพน้ื ที่ในจังหวดั สโุ ขทยั จาํ นวน 37 แปลง รวมทั้งสน้ิ
จํานวน 57 แปลง

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาตศิ รีสชั นาลยั

 3

ขอ้ มลู ทว่ั ไปอุทยานแห่งชาติศรสี ัชนาลยั

ความเป็นมา
ในปี 2519 สาํ นักราชเลขาธกิ าร ไดม้ หี นงั สอื ถงึ กรมป่าไม้ ความว่า "พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ

ทรงมีพระราชประสงค์สงวนป่าบริเวณตําบลแม่สํา อําเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ซึ่งในบริเวณนี้ประกอบด้วย
ปา่ ไม้ทอ่ี ุดมสมบรู ณ์และสัตว์ปา่ นานาชนดิ ราษฎรในแถบนี้และใกลเ้ คยี งได้รบั ความสมบูรณ์จากน้ําท่ีเกิดจากพ้ืนที่
ต้นนํ้าลําธารในพื้นที่ป่าแห่งนี้ กรมป่าไม้ควรสงวนไว้เป็นวนอุทยาน ซึ่ง ฯพณฯ พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์
นายกรัฐมนตรี ไดพ้ จิ ารณาแล้ว มบี ญั ชาให้ดาํ เนินการตามพระราชประสงค"์

กรมป่าไม้จึงได้ประชุมผู้แทนกองต่างๆ พิจารณาเม่ือวันที่ 30 มกราคม 2519 และมีหนังสือให้
กองจัดการป่าไม้ กองอุทยานแหง่ ชาติ และกองอนุรักษส์ ัตว์ปา่ แตง่ ต้ังผู้แทนของกองออกไปร่วมกับป่าไม้เขตตาก
และจงั หวัดสุโขทัย ดาํ เนินการตรวจสอบป่าโครงการแมส่ นิ -แมส่ าน (สท.1) ซ่ึงเปน็ พนื้ ทดี่ งั กล่าว ซ่ึงคณะทํางาน
ได้ร่วมกันตรวจสอบ และเห็นสมควรให้จัดป่าแห่งน้ีบางส่วนเป็นอุทยานแห่งชาติ เฉพาะในพื้นท่ีป่าส่วนท่ีเป็น
ตน้ น้ําลําธาร กรมปา่ ไม้จึงมีคําส่ังให้เจ้าหน้าที่ไปทําการสํารวจเบื้องต้นสภาพโครงการป่าโครงการแม่สิน-แม่สาน
ซ่งึ ได้รับรายงานว่า พน้ื ทด่ี ังกลา่ วมสี ภาพป่าเป็นต้นน้าํ ลาํ ธาร พันธไุ์ มม้ ีค่าและสัตว์ป่านานาชนิดน้ําตกหลายแห่ง
ตลอดจนทศั นียภาพที่สวยงามมากมาย มสี ภาพเหมาะสมจดั ตั้งเปน็ อุทยานแหง่ ชาตไิ ด้

กรมป่าไม้ได้นําเสนอคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ ซึ่งมีมติในคราวประชุมเมื่อวันท่ี 12 ธันวาคม
2521 เห็นชอบใหก้ ําหนดพน้ื ที่ดงั กล่าวเป็นอุทยานแห่งชาติ และให้ใช้ชื่อว่า “อุทยานแห่งชาติศรีสัชนาลัย” โดย
ได้มีพระราชกฤษฎีกา กําหนดบริเวณที่ดินป่าแม่สินป่าแม่สาน ป่าแม่สูงฝั่งซ้าย และป่าแม่ท่าแพ ในท้องที่ตําบล
แม่ลน้ ตําบลแม่สาํ ตําบลบ้านแกง่ อําเภอศรีสชั นาลยั และตาํ บลกลางดง อาํ เภอทุ่งเสลย่ี ม จังหวดั สโุ ขทยั ใหเ้ ปน็
อุทยานแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2524 ซงึ่ ประกาศลงในพระราชกจิ จานุเบกษา เล่ม 98 ตอนที่ 70 ลงวันที่ 8 พฤษภาคม
2524 เป็นอุทยานแห่งชาติลาํ ดับท่ี 26 ของประเทศ มีเน้ือท่ีประมาณ 213.20 ตารางกิโลเมตร
ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ

สภาพทั่วไปเป็นภเู ขาสลับซับซอ้ น บางตอนเปน็ ภเู ขาหินมีหน้าผาสูง ทางทิศตะวันตกของพ้ืนท่ีซึ่ง
เป็นภูเขาสูง เช่น ดอยแม่วังช้าง ดอยแม่มอก มีแนวติดต่อกันจากเหนือจรดใต้ ลักษณะเป็นรูปปีกการอบพื้นที่
ซึ่งมีความสูงจากระดับนํ้าทะเลปานกลาง ต้ังแต่ 300-1,200 เมตร โดยพ้ืนท่ีมีความลาดชัน ซึ่งเป็นข้อดีข้อหน่ึงที่
เปน็ อปุ สรรคต่อการแผว้ ถางป่ายึดครองพ้ืนท่ี เพ่ือทําการเกษตรกรรมของราษฎรรอบพ้ืนที่ และเป็นต้นกําเนิดของ
ลาํ ห้วยหลายสาย เชน่ หว้ ยทรายขาว ห้วยแม่ท่าแพ ห้วยแม่สาน ห้วยผาจ่อ และห้วยมะนาว เป็นต้น มีท่ีราบ
ตามริมหว้ ยช้างและบรเิ วณรมิ ฝงั่ แม่นาํ้ ยม

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาตศิ รีสชั นาลยั

 4

ลักษณะภมู อิ ากาศ

อุทยานแห่งชาติศรีสัชนาลัย มีลักษณะภูมิอากาศคล้ายคลึงกันกับท้องถิ่นใกล้เคียงของจังหวัด
ในภาคเหนือ สภาพอากาศในฤดรู ้อนคอ่ นขา้ งร้อน อณุ หภมู สิ ูงสดุ เฉลย่ี ในเดอื นเมษายน 38 อาศาเซลเซียส ฤดูฝน
เริม่ ตง้ั แต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม ปรมิ าณนา้ํ ฝนโดยเฉล่ียประมาณ 1,433 มลิ ลเิ มตร และฤดูหนาวจะมี
อากาศหนาวจัด โดยเฉพาะระหว่างเดือนธันวาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ อุณหภูมิตํ่าสุดเฉล่ียในเดือนมกราคม 16
อาศาเซลเซียส อณุ หภูมิเฉล่ยี ตลอดปี 27 อาศาเซลเซยี ส

แหล่งท่องเที่ยว

อุทยานแห่งชาตศิ รีสัชนาลยั มีพน้ื ท่ีครอบคลมุ ท้องทอ่ี ําเภอศรสี ัชนาลยั และอําเภอทุ่งเสล่ยี ง จังหวัด
สโุ ขทัย เมืองเชลียงหรอื ศรีสชั นาลัยได้ช่อื ว่าเป็นเมอื งประวตั ศิ าสตร์ เป็นท่ีรวมของโบราณวตั ถุ สถานท่ลี ้าํ คา่
และแหลง่ ท่องเท่ยี วท่มี ีชื่อเสยี ง เชน่ วัดพระศรมี หาธาตรุ าชวรวหิ าร วัดนางพญา แกง่ หลวง เตาทุเรยี ง ซ่ึงเป็น
เตาเผาเคร่ืองสังคโลกยังเปน็ ทต่ี ัง้ อทุ ยานแห่งชาตติ ามพระราชประสงคข์ องพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ฯ เพ่ือรักษา
สภาพปา่ อันเป็นแหลง่ ต้นนํา้ ลาํ ธารและทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่มี คี า่ สวยงาม เป็นมรดกของชาติสืบไปอีกด้วย โดย
มีแหล่งทอ่ งเทยี่ วทีน่ า่ สนใจ ได้แก่

1. ถํ้าค้างคาว เป็นถ้ําขนาดใหญ่ที่มีหินงอกหินย้อยสวยงามมาก และเป็นท่ีอยู่อาศัยของค้างคาว
นับแสนตวั อยู่ห่างจากทีท่ ําการอุทยานแห่งชาตปิ ระมาณ 20 กิโลเมตร

2. ถํ้าธาราวสันต์ เป็นถ้ําหินปูนท่ีมีขนาดไม่ใหญ่นัก ลักษณะเป็นลานกว้างเป็นชั้นๆ ภายในถํ้ามี
ค้างคาวอาศัยอยู่ จากปากถํ้าต้องไต่เขาลงไปในถํ้าตามซอกหิน มีอุโมงค์ทางเดินที่เป็นผนังหินของภูเขาสองลูก
มาชนกนั ผา่ นอุโมงคท์ ค่ี ล้ายธารนํ้าไหล ผนังหินเป็นหินท่ีมีลักษณะคล้ายหินอ่อน และมีบริเวณหน่ึงเป็นหินทราย
รูปหัวสงิ โต จากบริเวณนจ้ี ะไปออกพน้ ขึ้นเหนอื ถํา้ บนเชิงหนา้ ผา และทางด้านซ้ายมือมีทางเดินลงไปในอีกถํ้าหนึ่ง
ซงึ่ ภายในค่อนข้างมดื เปน็ ถ้ําโลง่ มคี ้างคาวอาศัยอยูม่ าก รอบบรเิ วณพบพรรณไมแ้ ละสัตว์ป่าได้ทั่วไป เช่น จันทน์ผา
เลียงผา เป็นต้น ห่างจากที่ทาํ การอุทยานแห่งชาติ 1.5 กิโลเมตร โดยไปตามทางร่องน้ําเก่าซ่ึงผ่านป่าดงดิบ
อันร่มครึม้ บางช่วงจะผ่านป่าสัก

3. นํ้าตกตาดดาว มีตน้ กาํ เนดิ จากห้วยแม่ท่าแพ ตกผ่านหน้าผา สูงประมาณ 50 เมตร มีถึง 3 ชั้น
เปน็ น้ําตกขนาดใหญ่ท่ีสวยงามมาก ลักษณะของธารนํ้าตกจะแยกเป็น 2 สาย ไหลลงสู่แอง่ น้าํ เบอ้ื งลา่ ง ในชว่ งฤดทู ่ี
มีนํ้ามาก ละอองของน้ําตกจะฟุ้งกระจายไปทั่ว และสะท้อนแสงแดดเกิดเป็นสายรุ้งงดงาม น้ําตกแห่งน้ี อยู่ห่าง
จากท่ที าํ การอุทยานแหง่ ชาติ ประมาณ 4 กิโลเมตร ตอ้ งเดนิ เลยี บลําหว้ ยไป สภาพทางชว่ งสุดทา้ ยคอ่ นขา้ งชัน

4. น้ําตกตาดเดือน เป็นน้ําตกที่อยู่ในห้วยท่าแพ สูงประมาณ 10 เมตร ลํานํ้าไหลคดเค้ียวตกลง
แอง่ นาํ้ ลกึ สามารถลงเล่นนาํ้ ได้ อยูห่ า่ งจากที่ทําการอุทยานแหง่ ชาติเพยี ง 500 เมตร

5. น้ําตกปากะญอ เป็นน้ําตกที่สวยงาม มีหลายช้ัน บางช้ันเป็นลักษณะของสไลด์เดอร์สูงสวยงาม
อยูบ่ รเิ วณทิศตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของทีท่ าํ การอุทยานแหง่ ชาติ ห่างประมาณ 12 กิโลเมตร ใกล้หมูบ่ ้านห้วยหยวก

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาติศรีสชั นาลยั

 5

6. นํ้าตกห้วยทรายขาว เกิดจากลําห้วยทรายขาว มี 7 ชั้น ลดหลั่นกันไปอยู่ใจกลางขุนเขาและ
แมกไมอ้ ันสงบเงยี บ หา่ งจากท่ที ําการอุทยานแหง่ ชาติ ประมาณ 3 กโิ ลเมตร

7. โป่งน้ําเดือด อยู่ห่างจากบ้านป่าคาประมาณ 500 เมตร นํ้าใสสะอาดมีลักษณะเหมือนเดือดตลอดเวลา
แตม่ กี ลิ่นคลา้ ยแก๊สไขเ่ น่าระเหยออกมาดว้ ย ปจั จบุ ันถูกทําลายไปแล้วโดยพวกเหมอื งแร่เหลือแต่นาํ้ อนุ่ ในฤดหู นาว

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติศรีสชั นาลยั

 6

รปู แบบและวธิ กี ารสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ในแต่ละจังหวัดท่ัวประเทศไทย ดําเนินการโดยกลุ่มสํารวจทรัพยากร
ป่าไม้ ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพ้ืนที่อนุรักษ์ และสํานักบริหารพ้ืนที่
อนุรักษ์ตา่ งๆ ในสังกดั กรมอุทยานแห่งชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธพ์ุ ืช
การสมุ่ ตวั อยา่ ง (Sampling Design)

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบสมํ่าเสมอ (Systematic Sampling) ในพื้นที่
ทภ่ี าพถา่ ยดาวเทยี มแปลวา่ มีสภาพเป็นปา่ โดยให้แต่ละแปลงตัวอย่าง (Sample plot) มีระยะห่างเท่าๆ กัน โดย
กําหนดใหแ้ ต่ละแปลงหา่ งกัน 2.5 x 2.5 กโิ ลเมตร เร่ิมจากการสมุ่ กําหนดแปลงตวั อย่างแรกบนเส้นกรดิ แผนที่ (Grid)
ลงบนขอบเขตแผนที่ประเทศไทยมาตราส่วน 1:50,000 ให้มีระยะห่างระหว่างเส้นกริดทั้งแนวต้ังและแนวนอน
เท่ากับ 2.5 x 2.5 กิโลเมตร คือ ระยะช่องกริดในแผนท่ีเท่ากับ 10 ช่อง จุดตัดของเส้นกริดท้ังสองแนวก็จะเป็น
ตําแหน่งทีต่ ั้งของแปลงตวั อย่างแตล่ ะแปลง เมือ่ ดําเนนิ การเสร็จส้ินแล้วจะทราบจํานวนหน่วยตัวอย่าง และตําแหน่ง
ทต่ี ัง้ ของหนว่ ยตวั อยา่ ง โดยลักษณะของแปลงตัวอย่างดงั ภาพท่ี 1

ภาพที่ 1 ลกั ษณะและขนาดของแปลงตวั อย่าง
รปู ร่างและขนาดของแปลงตวั อยา่ ง (Plot Design)

แปลงตัวอย่าง (Sample Plot) ท่ีใช้ในการสํารวจมีท้ังแปลงตัวอย่างถาวรและแปลงตัวอย่าง
ชั่วคราว เป็นแปลงท่มี ขี นาดคงที่ (Fixed – Area Plot) และมีรูปรา่ ง 2 ลกั ษณะด้วยกัน คอื

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาติศรีสชั นาลยั

 7

1. ลักษณะรปู วงกลม (Circular Plot)
1.1 รูปวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางร่วมกัน รัศมีแตกต่างกัน จํานวน 3 วง คือ วงกลมรัศมี 3.99,

12.62 และ 17.84 เมตร ตามลาํ ดับ
1.2 รูปวงกลมที่มีรัศมีเท่ากัน จุดศูนย์กลางต่างกัน จํานวน 4 วง รัศมี 0.631 เมตร เท่ากัน

โดย จุดศูนย์กลางของวงกลมอยู่บนเส้นรอบวงของวงกลมรศั มี 3.99 เมตร ตามทศิ หลักทงั้ 4 ทศิ
2. ลกั ษณะแบบแนวเส้นตรง (Intersect Line) จํานวน 2 เส้น ความยาวเส้นละ 17.84 เมตร โดยมี

จุดเริ่มต้นร่วมกัน ณ จุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่างทํามุมฉากซึ่งกันและกัน ซึ่งตัวมุม Azimuth ของเส้นที่ 1 ได้จาก
การสมุ่ ตัวอย่าง

ขนาดของแปลงตัวอยา่ งและขอ้ มูลทีท่ าํ การสาํ รวจ
ขนาดของแปลงตัวอย่าง และข้อมูลท่ีทาํ การสาํ รวจแสดงรายละเอียดไวใ้ นตารางท่ี 1

ตารางที่ 1 ขนาดของแปลงตัวอย่างและข้อมลู ทดี่ ําเนนิ การสาํ รวจ

รศั มขี องวงกลม หรือ จํานวน พน้ื ที่หรือความยาว ข้อมลู ท่ีสาํ รวจ
ความยาว (เมตร)

0.631 4 วง 0.0005 เฮกตาร์ กลา้ ไม้

3.99 1 วง 0.0050 เฮกตาร์ ลกู ไมแ้ ละการปกคลมุ พ้ืนท่ีของกล้าไม้ และ

ลูกไม้

12.62 1 วง 0.0500 เฮกตาร์ ไมไ้ ผ่ หวายทยี่ งั ไม่เลื้อย และตอไม้

17.84 1 วง 0.1000 เฮกตาร์ ต้นไม้ และตรวจสอบปจั จยั ท่รี บกวนพนื้ ท่ี

ป่า

17.84 (เสน้ ตรง) 2 เส้น 17.84 เมตร Coarse Woody Debris (CWD) หวาย

เลื้อย และไม้เถา ท่ีพาดผ่าน

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาตศิ รีสชั นาลยั

 8

การวิเคราะหข์ ้อมูลการสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้

1. การคาํ นวณเนอื้ ที่ปา่ และปรมิ าณไมท้ ง้ั หมดของแต่ละพนื้ ท่อี นรุ ักษ์

1.1 ใชข้ อ้ มลู พน้ื ที่อนุรักษ์จากแผนทแ่ี นบทา้ ยกฤษฎีกาของแต่ละพ้นื ทอี่ นรุ กั ษ์

1.2 ใช้สัดส่วนจํานวนแปลงตัวอย่างท่ีพบในแต่ละชนิดป่า เปรียบเทียบกับจํานวนแปลงตัวอย่างที่
วางแปลงทั้งหมดในแต่ละพื้นท่ีอนุรักษ์ ท่ีอาจจะได้ข้อมูลจากภาคสนาม หรือการดูจากภาพถ่ายดาวเทียมหรือ
ภาพถา่ ยทางอากาศ มาคํานวณเปน็ เน้ือท่ปี า่ แตล่ ะชนิดโดยนําแปลงตัวอย่างที่วางแผนไว้มาคํานวณทกุ แปลง

1.3 แปลงตัวอย่างที่ไม่สามารถดําเนินการได้ ก็ต้องนํามาคํานวณด้วย โดยทําการประเมิน
ลกั ษณะพืน้ ที่ว่าเปน็ หน้าผา น้ําตก หรอื พ้นื ท่ีอนื่ ๆ เพื่อประกอบลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ดี ิน

1.4 ปริมาณไม้ทั้งหมดของพื้นท่ีอนุรักษ์ เป็นการคํานวณโดยใช้ข้อมูลเน้ือท่ีอนุรักษ์จากแผนท่ีแนบ
ท้ายกฤษฎกี าของแตล่ ะพ้นื ท่อี นุรกั ษ์ ซ่งึ บางพื้นท่ีอนรุ ักษม์ ีข้อมลู เน้ือท่ีคลาดเคล่ือนจากข้อเท็จจริงและส่งผลต่อ
การคาํ นวณปริมาณไมท้ ัง้ หมด ทําใหก้ ารคาํ นวณปริมาณไม้เป็นการประมาณเบือ้ งต้น

2. การคํานวณปรมิ าตรไม้

สมการปริมาตรไม้ที่ใช้ในการประเมินการกักเก็บธาตุคาร์บอนในพ้ืนที่ป่าไม้ แบบวิธี Volume
based approach โดยแบ่งกลมุ่ ของชนดิ ไม้เปน็ จาํ นวน 7 กล่มุ ดังนี้

2.1 กลุ่มท่ี 1 ได้แก่ ยาง เต็ง รัง เหียง พลวง กระบาก เค่ียม ตะเคียน สยา ไข่เขียว พะยอ
จนั ทน์กะพ้อ สนสองใบ

สมการทไี่ ด้ ln V = 2.372083 + 2.443847 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 188

2.2 กลุ่มท่ี 2 ได้แก่ กระพ้ีจ่ัน กระพ้ีเขาควาย เก็ดดํา เก็ดแดง เก็ดขาว เถาวัลย์เปรียง พะยูง
ชงิ ชัน กระพ้ี ถอ่ น แดง ขะเจ๊าะ แคทราย แคฝอย และสกลุ มะเกลอื

สมการท่ีได้ ln V = 2.134494 + 2.363034 ln (DBH/100)
R2 = 0.91, sample size = 135

2.3 กลุ่มท่ี 3 ได้แก่ รกฟ้า สมอพิเภก สมอไทย หูกวาง หูกระจง ตีนนก ขี้อ้าย กระบก ตะครํ้า
ตะคร้อ ตาเสือ ค้างคาว สะเดา ยมหอม ยมหิน กระท้อน เลี่ยน มะฮอกกานี ขี้อ้าย ตะบูน ตะบัน รัก ติ้ว
สะแกแสง ปเู่ จา้ และไมส้ กุลส้าน เสลา อินทนลิ ตะแบก ชะมวง สารภี บุนนาค

สมการทไี่ ด้ ln V = 1.880578 + 2.053321 ln (DBH/100)
R2 = 0.89, sample size = 186

2.4 กลุ่มที่ 4 ได้แก่ กางขี้มอด คูน พฤกษ์ มะค่าโมง นนทรี กระถินพิมาน มะขามป่า
หลุมพอ และสกลุ ข้เี หลก็

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาตศิ รีสชั นาลยั

 9

สมการท่ีได้ ln V = 1.789563 + 2.025666 ln (DBH/100)
R2 = 0.90, sample size = 36

2.5 กลมุ่ ท่ี 5 ได้แก่ สกลุ ประดู่ เติม
สมการทีไ่ ด้ ln V = 2.037096 + 2.299618 ln (DBH/100)

R2 = 0.94, sample size = 99

2.6 กลมุ่ ท่ี 6 ไดแ้ ก่ สัก ตนี นก ผ่าเสี้ยน หมากเลก็ หมากน้อย ไขเ่ นา่ กระจับเขา กาสามปีก สวอง
สมการทไ่ี ด้ ln V = 2.119907 + 2.296511 ln (DBH/100)

R2 = 0.94, sample size = 186

2.7 กลุ่มท่ี 7 ได้แก่ ไม้ชนิดอ่ืนๆ เช่น กุ๊ก ขว้าว งิ้วป่า ทองหลางป่า มะม่วงป่า ซ้อ โมกมัน
แสมสาร และไมใ้ นสกลุ ปอ ก่อ เปลา้ เปน็ ต้น

สมการทไ่ี ด้ ln V = 2.250111 + 2.414209 ln (DBH/100)
R2 = 0.93, sample size = 138

โดยท่ี V คือ ปริมาตรสว่ นลําตน้ เม่อื ตดั โคน่ ทค่ี วามสูงเหนอื ดนิ (โคน) 10 เซนตเิ มตร
ถงึ ก่ิงแรกท่ีทาํ เปน็ สนิ คา้ ได้ มหี นว่ ยเปน็ ลกู บาศก์เมตร

DBH มหี น่วยเปน็ เซนตเิ มตร
Ln = natural logarithm

3. ข้อมูลทวั่ ไป
ข้อมูลทั่วไปที่นําไปใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ท่ีต้ัง ตําแหน่ง ช่วงเวลาที่เก็บข้อมูล ผู้ที่ทําการเก็บ

ข้อมลู ความสงู จากระดบั น้าํ ทะเล และลักษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ดี นิ เปน็ ต้น โดยข้อมูลเหล่าน้ีจะใช้ประกอบใน
การวิเคราะห์ประเมินผลรว่ มกบั ขอ้ มลู ดา้ นอนื่ ๆ เพ่อื ตดิ ตามความเปลย่ี นแปลงของพื้นที่ในการสํารวจทรัพยากร
ป่าไมค้ รั้งตอ่ ไป

4. การวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหมู่ไม้
4.1 ความหนาแนน่
4.2 ปรมิ าตร

5. การวเิ คราะห์ข้อมูลชนิดและปริมาณของลูกไม้ (Sapling) และกลา้ ไม้ (Seeding)

6. การวิเคราะห์ข้อมูลชนดิ และปริมาณของไมไ้ ผ่ หวาย
6.1 ความหนาแนน่ ของไม้ไผ่ (จาํ นวนกอ และ จาํ นวนลาํ )
6.2 ความหนาแน่นของหวายเส้นตง้ั (จาํ นวนต้น)

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติศรีสชั นาลยั

  10

7. การวเิ คราะหข์ อ้ มูลสังคมพชื
7.1 ความหนาแน่นของพรรณพืช (Density : D) คอื จํานวนตน้ ไม้ทง้ั หมดของชนดิ พนั ธ์ทุ ่ีศึกษา

ที่ปรากฏในแปลงตวั อยา่ งตอ่ หนว่ ยพน้ื ทที่ ีท่ ําการสาํ รวจ

D= จาํ นวนตน้ ของไมช้ นดิ น้นั ทัง้ หมด
.

พนื้ ท่ีแปลงตวั อยา่ งทง้ั หมดทที่ ําการสาํ รวจ

7.2 ความถ่ี (Frequency : F) คือ อัตราร้อยละของจํานวนแปลงตัวอย่างที่ปรากฏพันธ์ุไม้ชนิด
นั้นต่อจํานวนแปลงท่ีทําการสาํ รวจ

F = จาํ นวนแปลงตัวอย่างที่พบไม้ชนิดทีก่ ําหนด X 100
จาํ นวนแปลงตัวอยา่ งทัง้ หมดที่ทําการสํารวจ

7.3 ความเด่น (Dominance : Do) ใช้ความเด่นด้านพื้นท่ีหน้าตัด (Basal Area : BA) หมายถึง
พืน้ ท่หี น้าตดั ของลาํ ตน้ ของต้นไมท้ วี่ ัดระดับอก (1.30 เมตร) ตอ่ พืน้ ทที่ ท่ี าํ การสาํ รวจ

Do = พ้นื ทีห่ น้าตดั ทั้งหมดของไมช้ นิดทีก่ ําหนด X 100
พืน้ ทแี่ ปลงตวั อย่างทท่ี ําการสํารวจ

7.4 ค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Relative Density : RD) คือ ค่าความสัมพัทธ์ของความหนาแน่นของ
ไมท้ ีต่ อ้ งการตอ่ ค่าความหนาแนน่ ของไม้ทุกชนิดในแปลงตวั อยา่ ง คิดเปน็ รอ้ ยละ

RD = ความหนาแนน่ ของไม้ชนิดน้ัน X 100
ความหนาแน่นรวมของไมท้ กุ ชนิด

7.5 ค่าความถ่ีสัมพัทธ์ (Relative Frequency : RF) คือ ค่าความสัมพัทธ์ของความถี่ของชนิดไม้
ท่ีตอ้ งการต่อค่าความถท่ี ้ังหมดของไมท้ กุ ชนิดในแปลงตัวอย่าง คดิ เปน็ รอ้ ยละ

RF = ความถข่ี องไม้ชนิดนนั้ X 100
ความถรี่ วมของไม้ทุกชนิด

7.6 ค่าความเด่นสัมพัทธ์ (Relative Dominance : RDo) คือ ค่าความสัมพันธ์ของความเด่น
ในรูปพน้ื ทห่ี นา้ ตดั ของไมช้ นิดท่กี าํ หนดต่อความเด่นรวมของไม้ทุกชนิดในแปลงตวั อยา่ ง คิดเปน็ ร้อยละ

RDo = ความเด่นของไม้ชนิดนั้น X 100
ความเด่นรวมของไมท้ กุ ชนิด

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาตศิ รีสชั นาลยั

  11

7.7 ค่าดชั นคี วามสําคัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) คอื ผลรวมของคา่
ความสัมพทั ธ์ตา่ งๆ ของชนิดไม้ในสงั คม ได้แก่ คา่ ความสมั พัทธด์ ้านความหนาแน่น ค่าความสัมพัทธ์
ด้านความถี่ และค่าความสัมพัทธ์ด้านความเดน่

IVI = RD + RF + RDo

8. วเิ คราะหข์ อ้ มลู ความหลากหลายทางชวี ภาพ

8.1 ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (Species Diversity) วัดจากจํานวนชนิดพันธุ์ที่ปรากฏใน
สังคมและจํานวนต้นที่มีในแต่ละชนิดพันธ์ุ โดยใช้ดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener Index of
diversity ตามวธิ กี ารของ Kreb (1972) ซง่ึ มสี ตู รการคาํ นวณดังตอ่ ไปน้ี

s
H = ∑ (pi)(ln pi)

i=1
โดย H คอื ค่าดชั นีความหลากชนดิ ของชนิดพนั ธไ์ุ ม้

pi คอื สัดสว่ นระหว่างจํานวนต้นไม้ชนิดที่ i ตอ่ จํานวนตน้ ไมท้ ั้งหมด
S คือ จาํ นวนชนิดพันธ์ไุ ม้ท้ังหมด

8.2 ความรํ่ารวยของชนิดพันธ์ุ (Richness Indices) อาศัยความสัมพันธ์ระหว่างจํานวนชนิดกับ
จํานวนต้นทั้งหมดที่ทําการสํารวจ ซึ่งจะเพ่ิมขึ้นเมื่อเพิ่มพ้ืนท่ีแปลงตัวอย่าง และดัชนีความร่ํารวย
ท่ีนิยมใช้กัน คือ วิธีของ Margalef index และ Menhinick index (Margalef 1958, Menhinick 1964) โดย
มสี ูตรการคํานวณดงั นี้

1) Margalef index (R1)
R1 = (S-1)/ln(n)

2) Menhinick index (R2)

R2 = S/√n

เมอ่ื S คอื จาํ นวนชนิดทงั้ หมดในสังคม
n คือ จํานวนตน้ ทั้งหมดทสี่ าํ รวจพบ

8.3 ความสมํ่าเสมอของชนิดพันธ์ุ (Evenness Indices) เป็นดัชนีท่ีตั้งอยู่บนสมมติฐานท่ีว่า ดัชนี
ความสม่ําเสมอจะมคี ่ามากท่ีสดุ เม่ือทกุ ชนิดในสงั คมมีจํานวนต้นเท่ากันท้ังหมด ซึ่งวิธีการท่ีนิยมใช้กันมากในหมู่
นกั นิเวศวทิ ยา คอื วธิ ขี อง Pielou (1975) ซง่ึ มสี ตู รการคํานวณดังน้ี

E = H/ ln(S) = ln (N1)/ln (N0)
เมอ่ื H คือ คา่ ดชั นีความหลากหลายของ Shannon-Wiener

S คอื จาํ นวนชนิดทง้ั หมด (N0)
N1 คือ eH

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาติศรีสชั นาลยั

  12

ผลการสาํ รวจและวเิ คราะหท์ รัพยากรป่าไม้

1. การวางแปลงตวั อย่าง
จากผลการดําเนนิ การวางแปลงสาํ รวจเพื่อประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้

ในพน้ื ที่อทุ ยานแหง่ ชาตศิ รีสัชนาลัย โดยแบง่ พืน้ ท่ดี ําเนินการวางแปลงสํารวจตามพื้นที่รับผิดชอบของสํานักบริหาร
พนื้ ท่อี นรุ ักษ์ กล่าวคือ สํานักบรหิ ารพ้ืนทอ่ี นุรักษท์ ี่ 13 (สาขาลําปาง) รบั ผดิ ชอบดําเนินการสํารวจพื้นที่อุทยาน
แหง่ ชาตศิ รสี ชั นาลัย ในจังหวัดลําปางจํานวน 20 แปลง และสํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษ์ที่ 14 (ตาก) รับผิดชอบ
ดาํ เนนิ การสาํ รวจพนื้ ท่ีอุทยานแหง่ ชาตศิ รสี ชั นาลยั ในจังหวัดสโุ ขทยั จาํ นวน 37 แปลง ไม่สามารถทําการสํารวจ
ไดจ้ าํ นวน 5 แปลง รวมทั้งส้ินทีท่ ําการสาํ รวจจาํ นวน 52 แปลง รปู แบบของการวางแปลงตัวอย่างดังภาพที่ 2

ภาพที่ 2 แปลงตวั อย่างท้งั หมดในการสํารวจภาคสนามในอุทยานแหง่ ชาติศรีสชั นาลัย

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติศรีสชั นาลยั

  13

2. พื้นทปี่ ่าไม้

จากการสํารวจ พบว่า ลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินท่ีสํารวจพบมี 4 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแล้ง
ป่าเบญจพรรณ พื้นที่เกษตรกรรม และไร่ร้าง โดยพบป่าดิบแล้งมากท่ีสุดมีเน้ือที่ทั้งหมด 131.20 ตารางกิโลเมตร
คดิ เป็นร้อยละ 61.54 ของพน้ื ท่ีทงั้ หมด รองลงมา คือ ป่าเบญจพรรณ มีเน้ือท่ีท้ังหมด 61.50 ตารางกิโลเมตร
คดิ เป็นร้อยละ 28.85 พ้นื ท่เี กษตรกรรม มีเน้ือท่ที ั้งหมด 12.30 ตารางกโิ ลเมตร คิดเปน็ ร้อยละ 5.77 และไรร่ า้ ง
มีเนอ้ื ท่ีทงั้ หมด 8.20 ตารางกโิ ลเมตร คิดเป็นรอ้ ยละ 3.85 รายละเอียดดังตารางที่ 2 และ ภาพท่ี 3

ตารางที่ 2 พืน้ ท่ีปา่ ไม้จาํ แนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ทด่ี ินในอุทยานแหง่ ชาติศรีสัชนาลัย

(Area by Landuse Type)

ลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ี่ดิน พ้ืนที่ รอ้ ยละ

(Landuse Type) ตร.กม. เฮกตาร์ ไร่ ของพ้ืนท่ที ัง้ หมด

ปา่ ดิบแลง้ 131.20 13,120.00 82,000.00 61.54

(Dry Evergreen Forest)

ปา่ เบญจพรรณ 61.50 6,150.00 38,437.50 28.85

(Mixed Deciduous Forest)

พ้นื ท่ีเกษตรกรรม 12.30 1,230.00 7,687.50 5.77

(Agriculture land)

ไร่รา้ ง 8.20 820.00 5,125.00 3.85

(Old Clearing)

รวม (Total) 213.20 21,320.00 133,250.00 100.00

หมายเหตุ : - การคาํ นวณพืน้ ท่ปี ่าไมข้ องชนดิ ป่าแตล่ ะชนดิ ใช้สดั ส่วนของข้อมูลท่ีพบจากการสาํ รวจภาคสนาม
- รอ้ ยละของพืน้ ท่สี าํ รวจคํานวณจากข้อมูลแปลงทส่ี ํารวจพบ ซง่ึ มีพื้นทดี่ ังตารางที่ 1
- ร้อยละของพ้ืนทท่ี ั้งหมดคํานวณจากพืน้ ที่แนบทา้ ยกฤษฎีกาของอุทยานแหง่ ชาติศรีสชั นาลยั ซึ่งมพี ื้นที่เท่ากับ
213.20 ตารางกโิ ลเมตร หรือ 133,250 ไร่

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาติศรีสชั นาลยั

  14

ภาพที่ 3 พื้นที่ปา่ ไม้จําแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ ในอุทยานแหง่ ชาตศิ รสี ชั นาลยั

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาติศรีสชั นาลยั

  15

ภาพที่ 4 ลักษณะท่ัวไปของป่าดิบแลง้ ในพื้นท่ีอทุ ยานแหง่ ชาตศิ รสี ชั นาลัย

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติศรีสชั นาลยั

  16

ภาพท่ี 5 ลักษณะทวั่ ไปของปา่ เบญจพรรณพื้นท่ีอทุ ยานแหง่ ชาตศิ รสี ชั นาลยั

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาตศิ รีสชั นาลยั

  17

ภาพท่ี 6 ลักษณะทว่ั ไปของพืน้ ทเ่ี กษตรกรรมพนื้ ทอ่ี ุทยานแห่งชาตศิ รสี ัชนาลยั

ภาพที่ 7 ลักษณะทั่วไปของไรร่ ้างพ้นื ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาตศิ รีสชั นาลยั

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาตศิ รีสชั นาลยั

  18

3. ปรมิ าณไม้

จากการวิเคราะห์เกี่ยวกับชนิดไม้ ปริมาณ ปริมาตร และความหนาแน่นของต้นไม้ในป่า โดยการ
สํารวจทรัพยากรปา่ ไมใ้ นแปลงตัวอย่างถาวร ในพื้นทอี่ ุทยานแห่งชาติศรสี ัชนาลัย จาํ นวนท้ังสิ้น 52 แปลง พบว่า

ลักษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ดี ินท่ีสํารวจพบทัง้ 4 ประเภท ไดแ้ ก่ ปา่ ดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ พื้นที่
เกษตรกรรมและไรร่ า้ ง พบไม้ยืนต้นที่มีความสูงมากกว่า 1.30 เมตร และมีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่า
หรอื เทา่ กบั 15 เซนติเมตรขึ้นไป มีมากกวา่ 212 ชนดิ 33 วงศ์ รวมทงั้ หมด 7,293,900 ต้น มปี ริมาตรไม้รวม
ท้ังหมด 2,279,088.55 ลูกบาศก์เมตร ปริมาตรไม้เฉล่ีย 17.10 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มีความหนาแน่นของ
ต้นไม้เฉลี่ย 54.77 ต้นต่อไร่ หรือ 342.31 ต้นต่อเฮกแตร์ รายละเอียดดังตารางที่ 3 และ 4 ตามลําดับ และ
ภาพท่ี 8 ถึง 11 ตามลาํ ดบั

ตารางท่ี 3 ปริมาณไม้ท้ังหมดจาํ แนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินในอุทยานแห่งชาติศรีสัชนาลัย

(Volume by Landuse Type)

ลักษณะการใช้ประโยชน์ทด่ี ิน ปริมาณไม้ท้ังหมด

(Landuse Type) จาํ นวน (ต้น) ปริมาตร (ลบ.ม.)

ป่าดบิ แลง้ 4,883,100 1,588,071.76

(Dry Evergreen Forest)

ป่าเบญจพรรณ 2,304,200 671,067.84

(Mixed Deciduous Forest)

พ้ืนท่เี กษตรกรรม 24,600 12,354.60

(Agriculture land)

ไร่ร้าง 82,000 7,594.35

(Old Clearing)

รวม (Total) 7,293,900 2,279,088.55

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติศรีสชั นาลยั

  19

ภาพท่ี 8 ปรมิ าณไม้ทัง้ หมดท่ีพบในพน้ื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติศรสี ัชนาลยั

ภาพที่ 9 ปรมิ าตรไม้ทัง้ หมดทพ่ี บในพนื้ ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาติศรสี ัชนาลยั

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาติศรีสชั นาลยั

  20

ตารางที่ 4 ความหนาแน่นและปริมาตรไม้ต่อหน่วยพ้ืนท่ีจาํ แนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน

ในอุทยานแห่งชาติศรสี ชั นาลัย (Density and Volume per Area by Landuse Type)

ลกั ษณะการใช้ประโยชน์ทด่ี ิน ความหนาแนน่ ปริมาตร

(Landuse Type) ตน้ /ไร่ ต้น/เฮกตาร์ ลบ.ม./ไร่ ลบ.ม./เฮกตาร์

ป่าดบิ แล้ง 59.55 372.19 19.37 121.04

(Dry Evergreen Forest)

ปา่ เบญจพรรณ 59.95 374.67 17.46 109.12

(Mixed Deciduous Forest)

พ้นื ทเ่ี กษตรกรรม 3.20 20.00 1.61 10.04

(Agriculture land)

ไรร่ า้ ง 16.00 100.00 1.48 9.26

(Old Clearing)

เฉลยี่ (Average) 54.74 342.12 17.10 106.90

ภาพท่ี 10 ความหนาแนน่ ของตน้ ไมใ้ นพน้ื ที่อุทยานแหง่ ชาติศรีสชั นาลยั

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาติศรีสชั นาลยั

  21

ภาพที่ 11 ปริมาตรไมต้ ่อหนว่ ยในอทุ ยานแห่งชาตศิ รสี ชั นาลยั

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาตศิ รีสชั นาลยั

  22

4. โครงสรา้ งป่า

การกระจายขนาดความโตของไม้ทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน พบไม้ยืนต้นท่ีมีความสูงมากกว่า
1.30 เมตร และมีเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่าหรือเท่ากับ 15 เซนติเมตรข้ึนไป มีจํานวนทั้งหมด 7,293,900 ต้น
โดยเป็นไมท้ ี่มีความโต 15-45 เซนติเมตร จํานวน 4,243,500 ต้น คิดเป็นร้อยละ 58.18 ของปริมาณไม้ทั้งหมด
ไม้ทม่ี ีขนาดความโต 45-100 เซนติเมตร จํานวน 2,152,500 ต้น คิดเป็นร้อยละ 29.51 และไม้ที่มีขนาดความโต
มากกว่า 100 เซนติเมตร จํานวน 897,900 ต้น คิดเป็นรอ้ ยละ 12.31 รายละเอียดดงั ตารางที่ 5 และภาพท่ี 12

ตารางท่ี 5 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ง้ั หมดในอทุ ยานแห่งชาตศิ รสี ัชนาลยั

ขนาดความโต ปริมาณไม้ทง้ั หมด ร้อยละ

(GBH) (ต้น) (%)

15 – 45 ซม. 4,243,500 58.18
29.51
>45 – 100 ซม. 2,152,500 12.31
100.00
>100 ซม. 897,900

รวม 7,293,900

ภาพท่ี 12 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ง้ั หมดในอทุ ยานแห่งชาติศรสี ชั นาลยั (ตน้ )

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาตศิ รีสชั นาลยั

  23

5. ชนิดพนั ธไ์ุ ม้
ชนดิ พันธไ์ุ ม้ทส่ี ํารวจพบในภาคสนาม จาํ แนกโดยใชเ้ จ้าหนา้ ทีผ่ เู้ ชี่ยวชาญทางดา้ นพนั ธุ์ไมช้ ว่ ยจาํ แนก

ชนิดพนั ธ์ไุ ม้ทถี่ กู ต้อง และบางครั้งจาํ เปน็ ต้องใชร้ าษฎรในพ้นื ที่ ซ่ึงมีความรู้ในชนิดพันธุ์ไม้ประจําถ่ินช่วยในการ
เก็บข้อมูลและเก็บตัวอย่างชนิดพันธุ์ไม้ เพื่อนํามาให้ผู้เชี่ยวชาญด้านพันธุ์ไม้ในสํานักหอพรรณไม้ กรมอุทยาน
แห่งชาติ สตั วป์ ่า และพันธุพ์ ืช ชว่ ยจาํ แนกชอ่ื ทางการและชื่อวิทยาศาสตร์ท่ีถูกต้องอีกครั้งหนึ่ง โดยชนิดพันธ์ุไม้
ทีพ่ บท้งั หมดในพื้นท่ีอทุ ยานแห่งชาติศรีสัชนาลัยมีมากกว่า 212 ชนิด 33 วงศ์ มีปริมาณไม้รวม 7,293,900 ต้น
คดิ เป็นปริมาตรไม้รวม 2,279,088.55 ลูกบาศก์เมตร ชนิดไม้ท่ีมีปริมาณไม้มากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ตะโกพนม
(Diospyros castanea) คอแลน (Nephelium hypoleucum) ตะเคียนทอง (Hopea odorata) ตองแตบ (Macaranga
denticulata) ลําพูป่า (Duabanga grandiflora) ตาเสือ (Aphanamixis polystachya) ปอตู๊บหูช้าง (Sterculia
villosa) แดง (Xylia xylocarpa) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) และ จําปีป่า (Michelia
floribunda) ตามลาํ ดับ รายละเอียดดงั ตารางท่ี 6

ในป่าดิบแล้งของอุทยานแห่งชาติศรีสัชนาลัยพบต้นไม้ 161 ชนิด มีปริมาณไม้รวม 4,883,100 ต้น
คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 1,588,071.76 ลูกบาศก์เมตร มีค่าความหนาแน่นเฉลี่ย 59.55 ต้นต่อไร่ หรือ 372.19
ต้นตอ่ เฮกแตร์ ปริมาตรไม้เฉลี่ย 60.76 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาณไม้มากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
ตะโกพนม (Diospyros castanea) คอแลน (Nephelium hypoleucum) ตะเคียนทอง (Hopea odorata)
ตองแตบ (Macaranga denticulata) ลําพูป่า (Duabanga grandiflora) ตาเสือ (Aphanamixis polystachya)
ปอตู๊บหูช้าง (Sterculia villosa) จําปีป่า (Michelia floribunda) ซ้อ (Gmelina arborea) และกระท้อน
(Sandoricum koetjape) ตามลาํ ดบั รายละเอียดดังตารางที่ 7

ในป่าเบญจพรรณของอุทยานแห่งชาติศรีสัชนาลัย พบต้นไม้ 112 ชนิด ปริมาณไม้รวมจํานวน
2,304,200 ตน้ คดิ เปน็ ปริมาตรไม้รวม 671,067.84 ลูกบาศก์เมตร มคี า่ ความหนาแน่นเฉลีย่ 59.95 ตน้ ตอ่ ไร่ หรือ
374.67 ต้นตอ่ เฮกแตร์ ปรมิ าตรไม้เฉลี่ย 17.46 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาณไม้มากที่สุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ แดง (Xylia xylocarpa) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) สัก (Tectona grandis)
ตะครํ้า (Garuga pinnata) คอแลน (Nephelium hypoleucum) ตะโกพนม (Diospyros castanea) ประดู่
(Pterocarpus macrocarpus) ตะแบกแดง (Lagerstroemia calyculata) จัน (Diospyros decandra) และกุ๊ก
(Lannea coromandelica) รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 8

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาตศิ รีสชั นาลยั

  24

ตารางท่ี 6 ปริมาณไมท้ ัง้ หมดของอทุ ยานแห่งชาตศิ รสี ัชนาลยั (30 ชนดิ แรกทีม่ ีปรมิ าตรไม้สงู สดุ )

ลาํ ดับ ชนดิ พันธ์ุไม้ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแน่น ปรมิ าตร

(ต้น) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่

1 ตะโกพนม Diospyros castanea 176,300 146,840.79 1.32 1.10

2 คอแลน Nephelium hypoleucum 889,700 139,968.78 6.68 1.05

3 ตะเคียนทอง Hopea odorata 32,800 114,340.16 0.25 0.86

4 ตองแตบ Macaranga denticulata 311,600 112,123.68 2.34 0.84

5 ลําพปู า่ Duabanga grandiflora 8,200 94,723.94 0.06 0.71

6 ตาเสือ Aphanamixis polystachya 98,400 69,528.86 0.74 0.52

7 ปอตู๊บหูช้าง Sterculia villosa 246,000 64,865.77 1.85 0.49

8 แดง Xylia xylocarpa 151,700 62,781.15 1.14 0.47

9 ตะแบก Lagerstroemia 172,200 56,316.15 1.29 0.42

เปลอื กบาง duperreana

10 จาํ ปีปา่ Michelia floribunda 20,500 49,359.03 0.15 0.37

11 ซอ้ Gmelina arborea 41,000 48,624.65 0.31 0.37

12 สกั Tectona grandis 98,400 35,983.77 0.74 0.27

13 กระท้อน Sandoricum koetjape 45,100 34,387.44 0.34 0.26

14 ก่อร้วิ Castanopsis costata 36,900 30,054.12 0.28 0.23

15 แคหางค่าง Fernandoa adenophylla 110,700 29,369.29 0.83 0.22

16 มะกอกเกล้ือน Canarium subulatum 57,400 29,359.72 0.43 0.22

17 เพกา Oroxylum indicum 155,800 27,374.92 1.17 0.21

18 ยางดง Polyalthia obtusa 49,200 26,637.48 0.37 0.20

19 กระบก Irvingia malayana 28,700 25,826.62 0.22 0.19

20 เกด็ ขาว Dalbergia glomeriflora 57,400 25,775.49 0.43 0.19

21 ส้านใหญ่ Dillenia obovata 24,600 24,262.99 0.18 0.18

22 ตะคร้ํา Garuga pinnata 20,500 23,308.91 0.15 0.18

23 พระเจา้ หา้ พระองค์ Dracontomelon dao 20,500 21,060.30 0.15 0.16

24 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 24,600 20,830.02 0.18 0.16

25 ตะแบกแดง Lagerstroemia calyculata 24,600 20,395.43 0.18 0.15

26 เหมอื ดวอน Aporosa wallichii 90,200 19,968.66 0.68 0.15

27 จนั Diospyros decandra 16,400 19,031.52 0.12 0.14

28 มะเด่ืออุทุมพร Ficus racemosa 36,900 19,008.22 0.28 0.14

29 ตีนนก Vitex pinnata 69,700 18,824.11 0.52 0.14

30 รกั ใหญ่ Gluta usitata 61,500 18,552.89 0.46 0.14
31 อ่ืนๆ Others 4,116,400 849,603.71 30.89 6.38

รวม (Total) 7,293,900 2,279,088.55

หมายเหตุ : มีชนิดพันธุ์ไม้ท่ีสาํ รวจพบทั้งหมด 212 ชนิด

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาตศิ รีสชั นาลยั

  25

ตารางที่ 7 ปริมาณไมใ้ นป่าดบิ แลง้ ของอทุ ยานแห่งชาติศรสี ชั นาลัย (30 ชนิดแรกทม่ี ีปริมาตรไมส้ งู สดุ )

ลาํ ดบั ชนดิ พันธ์ุไม้ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแน่น ปรมิ าตร

(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่

1 ตะโกพนม Diospyros castanea 102,500 124,544.47 1.25 1.52

2 คอแลน Nephelium hypoleucum 738,000 113,393.72 9.00 1.38

3 ตะเคยี นทอง Hopea odorata 24,600 112,753.37 0.30 1.38

4 ตองแตบ Macaranga denticulata 291,100 107,876.02 3.55 1.32

5 ลําพูปา่ Duabanga grandiflora 8,200 94,723.94 0.10 1.16

6 ตาเสือ Aphanamixis polystachya 90,200 66,684.91 1.10 0.81

7 ปอตบู๊ หูชา้ ง Sterculia villosa 233,700 58,310.73 2.85 0.71

8 จําปีป่า Michelia floribunda 20,500 49,359.03 0.25 0.60

9 ซอ้ Gmelina arborea 20,500 35,502.61 0.25 0.43

10 กระท้อน Sandoricum koetjape 41,000 32,955.88 0.50 0.40

11 กอ่ รว้ิ Castanopsis costata 36,900 30,054.12 0.45 0.37

12 แคหางค่าง Fernandoa adenophylla 82,000 24,833.06 1.00 0.30

13 เพกา Oroxylum indicum 36,900 24,021.09 0.45 0.29

14 มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum 45,100 23,273.84 0.55 0.28

15 ส้านใหญ่ Dillenia obovata 20,500 23,005.48 0.25 0.28

16 เหมือดวอน Aporosa wallichii 90,200 19,968.66 1.10 0.24

17 มะเดื่ออุทุมพร Ficus racemosa 28,700 18,801.90 0.35 0.23

18 ทเุ รยี นดง Cleistanthus myrianthus 12,300 18,277.34 0.15 0.22

19 กระบก Irvingia malayana 24,600 17,062.46 0.30 0.21

20 กระดูกลิง Aglaia simplicifolia 20,500 16,384.83 0.25 0.20

21 สีเสียด Acacia catechu 20,500 13,298.10 0.25 0.16

22 มะเดื่อกวาง Ficus callosa 20,500 12,875.99 0.25 0.16

23 หาด Artocarpus lacucha 41,000 12,611.02 0.50 0.15

24 หว้า Syzygium cumini 24,600 12,423.68 0.30 0.15

25 ขม้ี อด Dalbergia lanceolaria 20,500 12,323.66 0.25 0.15

26 ปอขาว Sterculia pexa 24,600 12,290.11 0.30 0.15

27 ยางนา Dipterocarpus alatus 8,200 11,474.17 0.10 0.14

28 ปอหู Hibiscus macrophyllus 110,700 11,235.06 1.35 0.14

29 ยางดง Polyalthia obtusa 16,400 11,225.53 0.20 0.14

30 แตว้ Cratoxylum maingayi 8,200 10,892.42 0.10 0.13

31 อืน่ ๆ Others 2,619,900 455,634.55 31.95 5.56

รวม (Total) 4,883,100 1,588,071.76

หมายเหตุ : มชี นดิ พันธไ์ุ มท้ ส่ี าํ รวจพบท้ังหมด 161 ชนิด

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาตศิ รีสชั นาลยั

  26

ตารางที่ 8 ปรมิ าณไมใ้ นป่าเบญจพรรณของอุทยานแหง่ ชาตศิ รสี ชั นาลัย (30 ชนดิ แรกทม่ี ปี รมิ าตรไม้สงู สุด)

ลําดับ ชนิดพันธุ์ไม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแน่น ปริมาตร

(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร่)

1 แดง Xylia xylocarpa 151,700 62,781.15 3.95 1.63

2 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 164,000 55,862.24 4.27 1.45

3 สัก Tectona grandis 98,400 35,983.77 2.56 0.94

4 ตะครา้ํ Garuga pinnata 20,500 23,308.91 0.53 0.61

5 คอแลน Nephelium hypoleucum 147,600 22,765.00 3.84 0.59

6 ตะโกพนม Diospyros castanea 73,800 22,296.31 1.92 0.58

7 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 20,500 20,305.01 0.53 0.53

8 ตะแบกแดง Lagerstroemia calyculata 20,500 19,587.39 0.53 0.51

9 จัน Diospyros decandra 16,400 19,031.52 0.43 0.50

10 กุ๊ก Lannea coromandelica 20,500 18,456.19 0.53 0.48

11 เก็ดขาว Dalbergia glomeriflora 16,400 16,491.29 0.43 0.43

12 ตนี นก Vitex pinnata 61,500 16,267.76 1.60 0.42

13 ยางดง Polyalthia obtusa 32,800 15,411.94 0.85 0.40

14 ตะแบกกราย Terminalia pierrei 20,500 15,035.59 0.53 0.39

15 พระเจา้ หา้ Dracontomelon dao 8,200 13,351.02 0.21 0.35

พระองค์

16 ซอ้ Gmelina arborea 20,500 13,122.04 0.53 0.34

17 รกฟา้ Terminalia alata 4,100 12,936.12 0.11 0.34

18 มะคา่ โมง Afzelia xylocarpa 8,200 11,971.11 0.21 0.31

19 สมอพิเภก Terminalia bellirica 12,300 10,715.03 0.32 0.28

20 ยางปาย Dipterocarpus costatus 24,600 10,607.96 0.64 0.28

21 ขว้าว Haldina cordifolia 4,100 10,345.54 0.11 0.27

22 กระพีจ้ ่ัน Millettia brandisiana 24,600 9,743.13 0.64 0.25

23 กางขมี้ อด Albizia odoratissima 61,500 9,616.80 1.60 0.25

24 ลําไยปา่ Paranephelium 32,800 9,558.21 0.85 0.25

xestophyllum

25 รักใหญ่ Gluta usitata 16,400 9,319.92 0.43 0.24

26 มะม่วงป่า Mangifera caloneura 4,100 8,833.30 0.11 0.23

27 กระบก Irvingia malayana 4,100 8,764.16 0.11 0.23

28 ปอตู๊บหูช้าง Sterculia villosa 12,300 6,555.03 0.32 0.17

29 มะกอก Spondias pinnata 8,200 6,454.91 0.21 0.17
30 กระทุ่มเนนิ Mitragyna rotundifolia 8,200 6,246.30 0.21 0.16

31 อืน่ ๆ Others 1,184,900 149,343.17 30.83 3.89

รวม (Total) 2,304,200 671,067.84

หมายเหตุ : มชี นดิ พนั ธ์ุไมท้ ส่ี ํารวจพบท้งั หมด 112 ชนิด

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาตศิ รีสชั นาลยั

  27

ในพ้ืนท่ีเกษตรกรรมมีปริมาณไม้รวมจาํ นวน 24,600 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 12,354.60
ลูกบาศก์เมตร มีค่าความหนาแน่นเฉลี่ย 3.2 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉล่ีย 1.61 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ พบต้นไม้ 4 ชนิด
ได้แก่ ง้ิวป่า (Bombax anceps) คอแลน (Nephelium hypoleucum) เสลาขาว (Lagerstroemia tomentosa)
และเพกา (Oroxylum indicum) รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 9

ตารางที่ 9 ปริมาณไมใ้ นพ้นื ที่เกษตรกรรมของอทุ ยานแหง่ ชาตศิ รีสชั นาลัย

ลําดบั ชนดิ พันธุ์ไม้ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแน่น ปริมาตร
(ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร่)
(ตน้ ) (ลบ.ม.) 1.07
0.53 0.75
1 งวิ้ ปา่ Bombax anceps 8,200 5,767.11 1.07 0.50
0.53 0.27
2 คอแลน Nephelium hypoleucum 4,100 3,810.05 0.09
3 เสลาขาว Lagerstroemia tomentosa 8,200 2,062.64

4 เพกา Oroxylum Indicum 4,100 714.80

รวม (Total) 24,600 12,354.60

ในพื้นที่ไร่ร้างมีปริมาณไม้รวม 82,000 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 7,594.35 ลูกบาศก์เมตรมีค่า
ความหนาแนน่ เฉลย่ี 16 ตน้ ต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 1.48 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ พบต้นไม้ 9 ชนิด ได้แก่ งิ้วป่า (Bombax
anceps) รองลงมา ได้แก่ กระท้อน (Sandoricum koetjape) กําจัดต้น (Zanthoxylum limonella)
ขว้าว (Haldina cordifolia) สะตอ (Parkia speciosa) เสลาขาว (Lagerstroemia tomentosa) ตองแตบ (Macaranga
denticulata) เพกา (Oroxylum indicum) และขนนุ (Artocarpus heterophyllus) รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 10

ตารางท่ี 10 ปริมาณไม้ในพืน้ ทไ่ี รร่ า้ งของอทุ ยานแหง่ ชาติศรสี ชั นาลัย

ลาํ ดบั ชนดิ พันธ์ุไม้ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแนน่ ปรมิ าตร
(ลบ.ม./ไร)่
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่
0.52
1 ง้ิวป่า Bombax anceps 24,600 2,654.31 4.80 0.28
2 กระท้อน Sandoricum koetjape 4,100 1,431.56 0.80 0.24
0.16
3 กําจัดต้น Zanthoxylum limonella 12,300 1,225.74 2.40 0.14
0.05
4 ขวา้ ว Haldina cordifolia 16,400 836.79 3.20 0.05
0.03
5 สะตอ Parkia speciosa 4,100 714.80 0.80 0.02
6 เสลาขาว Lagerstroemia tomentosa 4,100 246.95 0.80

7 ตองแตบ Macaranga denticulata 4,100 237.29 0.80

8 เพกา Oroxylum indicum 8,200 142.93 1.60

9 ขนนุ Artocarpus heterophyllus 4,100 103.98 0.80

รวม (Total) 82,000 7,594.35

สําหรับไมไ้ ผท่ พ่ี บในพน้ื ท่อี ุทยานแหง่ ชาตศิ รีสัชนาลัยมีอยู่ 8 ชนิด ได้แก่ ไผ่เฮียะ (Cephalostachyum
virgatum) ไผ่ซาง (Dendrocalamus strictus) ไผ่ซางดอย (Bambusa membranacea) ไผ่หก (Dendrocalamus
hamiltonii) ไผ่ไร่ (Gigantochloa albociliata) ไผ่รวก (Thyrsostachys siamensis) ไผ่ข้าวหลาม (Cephalostachyum

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาตศิ รีสชั นาลยั

  28

pergracile) และไผไ่ ลล่ อ (Gigantochloa nigrociliata) รวมทง้ั สนิ้ จํานวน 2,689,600 กอ รวมทง้ั ส้ิน จํานวน
53,595,200 ลาํ ดังรายละเอียดในตารางท่ี 11

ตารางที่ 11 ชนิดและปรมิ าณไม้ไผ่ หวาย และไมก้ อ ทพ่ี บในอทุ ยานแหง่ ชาติศรสี ัชนาลัย

ลาํ ดับ ชนิดพันธไุ์ ผ่ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไมไ้ ผ่

จํานวนกอ จํานวนลํา

1 ไผเ่ ฮียะ Cephalostachyum virgatum 1,689,200 40,713,000

2 ไผซ่ าง Dendrocalamus strictus 582,200 8,372,200

3 ไผ่ซางดอย Bambusa membranacea 49,200 1,517,000

4 ไผห่ ก Dendrocalamus hamiltonii 114,800 1,410,400

5 ไผไ่ ร่ Gigantochloa albociliata 196,800 1,221,800

6 ไผ่รวก Thyrsostachys siamensis 32,800 188,600

7 ไผข่ ้าวหลาม Cephalostachyum pergracile 16,400 98,400

8 ไผไ่ ลล่ อ Gigantochloa nigrociliata 8,200 73,800

รวม (Total) 2,689,600 53,595,200

ชนดิ และปรมิ าณของกล้าไมท้ พี่ บในอทุ ยานแห่งชาตศิ รีสชั นาลัย มีมากกวา่ 53 ชนิด รวมจาํ นวนทง้ั หมด
297,660,000 ตน้ เมอื่ เรยี งลําดับจากจํานวนต้นที่พบมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ เข็มป่า (Ixora
cibdela) ยอป่า (Morinda coreia) ตะเคียนทอง (Hopea odorata) เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) ครามป่า
(Indigofera sootepensis) คอแลน (Nephelium hypoleucum) ตะโกพนม (Diospyros castanea) ถั่วเขา
(Campylotropis pinetorium) ปอขาว (Sterculia pexa) และกระทุ่ม (Anthocephalus chinensis)
รายละเอยี ดดังตารางที่ 12

ชนิดและปริมาณของลูกไม้ท่ีพบในอุทยานแห่งชาติศรีสัชนาลัย มีมากกว่า 34 ชนิด รวมจาํ นวน
ท้ังหมด 6,642,000 ต้น ซ่งึ เม่อื เรยี งลาํ ดบั จากจาํ นวนต้นท่ีพบมากสุดไปหาน้อยสดุ 10 อันดบั แรก ได้แก่ คอแลน
(Nephelium hypoleucum) เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) ตะเคียนทอง (Hopea odorata) แดง (Xylia
xylocarpa) ตาเสือ (Aphanamixis polystachya) บุนนาค (Mesua ferrea) ลําดวน (Melodorum
fruticosum) เหมือดวอน (Aporosa wallichii) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) และ
ตะโกพนม (Diospyros castanea) รายละเอียดดังตารางที่ 13

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาตศิ รีสชั นาลยั

  29

ตารางที่ 12 ชนดิ และปริมาณของกล้าไม้ (Seedling) ทพี่ บในอุทยานแหง่ ชาติศรีสชั นาลัย

(30 ชนิดแรกทมี่ ปี รมิ าณไมส้ ูงสุด)

ลําดบั ชนิดพันธ์ุไม้ ช่ือวทิ ยาศาสตร์ ความหนาแนน่ ปรมิ าณไมท้ ัง้ หมด

(ตน้ /ไร)่ (ต้น)

1 เข็มปา่ Ixora cibdela 320 42,640,000

2 ยอป่า Morinda coreia 240 31,980,000

3 ตะเคียนทอง Hopea odorata 203 27,060,000

4 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii 166 22,140,000

5 ครามปา่ Indigofera sootepensis 166 22,140,000

6 คอแลน Nephelium hypoleucum 111 14,760,000

7 ตะโกพนม Diospyros castanea 86 11,480,000

8 ถั่วเขา Campylotropis pinetorium 68 9,020,000

9 ปอขาว Sterculia pexa 68 9,020,000

10 กระทุม่ Anthocephalus chinensis 62 8,200,000

11 แดงนา้ํ Pometia pinnata 49 6,560,000

12 นางแยม้ ป่า Clerodendrum viscosum 49 6,560,000

13 มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum 49 6,560,000

14 กะตังใบ Leea indica 43 5,740,000

15 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 43 5,740,000

16 คอ้ นหมาขาว Dracaena angustifolia 37 4,920,000

17 เครอื เขาหนงั Bauhinia bassacensis 31 4,100,000

18 เสีย้ วป่า Bauhinia saccocalyx 31 4,100,000

19 มะเกลอื เลอื ด Terminalia mucronata 31 4,100,000

20 มะจ้าํ กอ้ ง Ardisia colorata 31 4,100,000

21 เหมือดวอน Aporosa wallichii 25 3,280,000

22 แคหางคา่ ง Fernandoa adenophylla 25 3,280,000

23 แดง Xylia xylocarpa var. kerri 25 3,280,000

24 นอ่ ง Antiaris toxicaria 25 3,280,000

25 จา้ มว่ ง Buchanania arborescens 18 2,460,000

26 ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata 18 2,460,000

27 กุ๊ก Lannea coromandelica 12 1,640,000

28 คางคก Nyssa javanica 12 1,640,000

29 ตะแบกแดง Lagerstroemia calyculata 12 1,640,000

30 บุนนาค Mesua ferrea 12 1,640,000

31 อนื่ ๆ Others 166 22,140,000

รวม (Total) 297,660,000

หมายเหตุ : มีชนดิ พนั ธุ์ไม้ทีส่ ํารวจพบทง้ั หมด 53 ชนดิ

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาตศิ รีสชั นาลยั

  30

ตารางท่ี 13 ชนิดและปริมาณของลูกไม้ (Sapling) ท่ีพบในอุทยานแหง่ ชาตศิ รีสัชนาลยั

(30 ชนดิ แรกทมี่ ปี รมิ าณไม้สูงสดุ )

ลาํ ดบั ชนิดพันธุ์ไม้ ช่ือวิทยาศาสตร์ ความหนาแนน่ ปริมาณไม้ทงั้ หมด

( ต้น/ไร่) (ตน้ )

1 คอแลน Nephelium hypoleucum 11.08 1,476,000

2 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii 4.92 656,000

3 ตะเคยี นทอง Hopea odorata 4.31 574,000

4 แดง Xylia xylocarpa 2.46 328,000

5 ตาเสอื Aphanamixis polystachya 1.85 246,000

6 บุนนาค Mesua ferrea 1.85 246,000

7 ลําดวน Melodorum fruticosum 1.85 246,000

8 เหมือดวอน Aporosa wallichii 1.23 164,000

9 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 1.23 164,000

10 ตะโกพนม Diospyros castanea 1.23 164,000

11 มะมว่ งปา่ Mangifera caloneura 1.23 164,000

12 สกั Tectona grandis 1.23 164,000

13 เขม็ ป่า Ixora cibdela 0.62 82,000

14 เฉียงพร้านางแอ Carallia brachiata 0.62 82,000

15 แคปา่ Markhamia pierrei 0.62 82,000

16 แคหางคา่ ง Fernandoa adenophylla 0.62 82,000

17 กระพ้นี างนวล Dalbergia cana 0.62 82,000

18 กา้ นเหลือง Nauclea orientalis 0.62 82,000

19 กุ่มน้ํา Crateva religiosa 0.62 82,000

20 ข้ีมอด Dalbergia lanceolaria 0.62 82,000

21 จา้ มว่ ง Buchanania arborescens 0.62 82,000

22 ดีหมี Cleidion spiciflorum 0.62 82,000

23 ตองลาด Actinodaphne henryi 0.62 82,000

24 นอ่ ง Antiaris toxicaria 0.62 82,000

25 ปอฝา้ ย Firmiana colorata 0.62 82,000

26 มะเมา่ สาย Antidesma sootepense 0.62 82,000

27 มะกอกเกล้ือน Canarium subulatum 0.62 82,000

28 มะจํ้ากอ้ ง Ardisia colorata 0.62 82,000

29 ยางโอน Polyalthia viridis 0.62 82,000

30 รกั ใหญ่ Gluta usitata 0.62 82,000

31 อนื่ ๆ Others 4.31 574,000

รวม (Total) 6,642,000

หมายเหตุ : มชี นดิ พนั ธ์ไุ ม้ท่ีสํารวจพบทงั้ หมด 34 ชนิด

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติศรีสชั นาลยั

  31

ชนิดและปรมิ าณของตอไม้ท่ีสาํ รวจพบในอทุ ยานแห่งชาตศิ รสี ัชนาลัย มมี ากกวา่ 20 ชนดิ รวมทง้ั สนิ้
303,400 ตอ มีความหนาแน่นของตอไม้ 2.28 ตอตอ่ ไร่ โดยชนดิ ไม้ที่มปี รมิ าณตอมากทสี่ ดุ 10 อนั ดบั แรก ไดแ้ ก่
สัก (Tectona grandis) เพกา (Oroxylum indicum) เสลาขาว (Lagerstroemia tomentosa) ตองแตบ
(Macaranga denticulata) กระท้อน (Sandoricum koetjape) อวบดํา (Chionanthus ramiforus) ผ่าเส้ียน
(Vitex canescens) มะเด่ืออุทุมพร (Ficus racemosa) เสลาดํา (Lagerstroemia undulata) และ แคหางค่าง
(Fernandoa adenophylla) รายละเอียดดังตารางที่ 14

ตารางที่ 14 ชนิดและปรมิ าณของตอไม้ (Tree Stump) ท่ีพบในอทุ ยานแหง่ ชาตศิ รสี ัชนาลัย

ลาํ ดบั ชนดิ พันธ์ไุ ม้ ชือ่ วิทยาศาสตร์ จาํ นวนตอ จาํ นวนทงั้ หมด

(ตอ/ไร่) (ตอ)

1 สัก Tectona grandis 0.49 65,600

2 เพกา Oroxylum indicum 0.25 32,800

3 เสลาขาว Lagerstroemia tomentosa 0.25 32,800

4 ตองแตบ Macaranga denticulata 0.12 16,400
5 กระท้อน Sandoricum koetjape 0.12 16,400

6 อวบดาํ Chionanthus ramiforus 0.12 16,400

7 ผา่ เส้ียน Vitex canescens 0.12 16,400

8 มะเด่ืออทุ ุมพร Ficus racemosa 0.06 8,200

9 เสลาดาํ Lagerstroemia undulata 0.06 8,200

10 แคหางคา่ ง Fernandoa adenophylla 0.06 8,200

11 มะคา่ แต้ Sindora siamensis 0.06 8,200

12 ชะเนียง Archidendron jiringa 0.06 8,200

13 มะไฟ Baccaurea ramiflora 0.06 8,200

14 เหียง Dipterocarpus obtusifolius 0.06 8,200

15 ชมพูส่ าแหรก Syzygium malaccense 0.06 8,200

16 มะเด่ือปลอ้ ง Ficus hispida 0.06 8,200

17 กระบก Irvingia malayana 0.06 8,200

18 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 0.06 8,200

19 จะไคต้น Ormosia robusta 0.06 8,200

20 F.MORACEAE F.MORACEAE 0.06 8,200

รวม (Total) 303,400

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาติศรีสชั นาลยั

  32

6. ขอ้ มูลสงั คมพืช
จากผลการสาํ รวจเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืชในอุทยานแห่งชาติศรีสัชนาลัย พบว่ามีสังคมพืช

4 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ พ้ืนท่ีเกษตรกรรม และไร่ร้าง และจากวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช
พบความหนาแน่นของพรรณพืช (Density) ความถี่ (frequency) ความเด่น (Dominance) และดัชนีความสําคัญ
ของพรรณไม้ (IVI) ดงั น้ี

6.1 ปา่ ดิบแล้ง
จากการวิเคราะห์ค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ในพ้ืนที่ป่าดิบแล้ง พบว่า ชนิดไม้ท่ีมีค่าความถี่
สัมพัทธ์ (RDensity) ค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์ (RFrequency) และค่าความเด่นสัมพัทธ์ (RDominance) มากที่สุด
คือ คอแลน (Nephelium hypoleucum) มีค่าเท่ากับ 15.113, 4.773 และ 8.901 ตามลําดับ ชนิดไม้ท่ีมีค่า
ดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ คอแลน (Nephelium hypoleucum) ตอง
แตบ (Macaranga denticulata) ปอตู๊บหูช้าง (Sterculia villosa) ตะโกพนม (Diospyros castanea) ตาเสือ
(Aphanamixis polystachya) ตะเคยี นทอง (Hopea odorata) แคหางคา่ ง (Fernandoa adenophylla) มะไฟ
(Baccaurea ramiflora) ลําพูป่า (Duabanga grandiflora) และ เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) ดัง
รายละเอียดในตารางท่ี 15

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาตศิ รีสชั นาลยั

  33

ตารางที่ 15 ดชั นีความสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI)

ของปา่ ดบิ แลง้ ในอุทยานแหง่ ชาตศิ รสี ัชนาลยั

ลาํ ดบั ชนดิ พันธ์ุไม้ ช่ือวิทยาศาสตร์ RDensity RFrequency RDominance IVI

1 คอแลน Nephelium hypoleucum 15.113 4.773 8.901 28.787
17.137
2 ตองแตบ Macaranga denticulata 5.961 4.318 6.857 11.828
9.987
3 ปอตบู๊ หูช้าง Sterculia villosa 4.786 2.955 4.087 7.671
6.067
4 ตะโกพนม Diospyros castanea 2.099 1.591 6.297 5.895
5.422
5 ตาเสือ Aphanamixis polystachya 1.847 2.045 3.778 4.609
4.576
6 ตะเคียนทอง Hopea odorata 0.504 1.136 4.427 4.326
4.151
7 แคหางคา่ ง Fernandoa adenophylla 1.679 2.500 1.715 3.889
8 มะไฟ Baccaurea ramiflora 2.267 2.727 0.428 3.689
3.661
9 ลาํ พปู า่ Duabanga grandiflora 0.168 0.455 3.987 3.492
3.469
10 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii 2.015 1.818 0.743 3.426
3.370
11 เหมอื ดวอน Aporosa wallichii 1.847 0.909 1.569 3.304
161.245
12 ปอหู Hibiscus macrophyllus 2.267 0.909 0.975 300.000

13 มะพร้าวนกกก Horsfieldia glabra 1.427 1.591 0.870

14 กระท้อน Sandoricum koetjape 0.840 1.136 1.713

15 ตะครอ้ หนาม Sisyrolepis muricata 2.687 0.455 0.520

16 นอ่ ง Antiaris toxicaria 1.259 1.591 0.641

17 ตองลาด Actinodaphne henryi 1.595 1.136 0.737

18 จําปีปา่ Michelia floribunda 0.420 0.455 2.551

19 หาด Artocarpus lacucha 0.840 1.591 0.940

20 ลาํ ป้าง Pterospermum diversifolium 1.343 1.364 0.597

21 อน่ื ๆ Others 49.034 64.545 47.665

100.000 100.000 100.000

6.2 ปา่ เบญจพรรณ

พื้นท่ีป่าเบญจพรรณ พบว่า ชนิดไม้ท่ีมีค่าความถี่สัมพัทธ์ (RDensity) ค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์
(RFrequency) และค่าความเด่นสัมพัทธ์ (RDominance) มากท่ีสุด คือ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia
duperreana) มีค่าเท่ากับ 7.12, 4.10 และ 8.11 ตามลําดับ ชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI)
สูงสดุ 10 อันดับแรก ไดแ้ ก่ ตะแบกเปลอื กบาง (Lagerstroemia duperreana) แดง (Xylia xylocarpa) คอแลน
(Nephelium hypoleucum) สัก (Tectona grandis) ตีนนก (Vitex pinnata) ตะโกพนม (Diospyros castanea)
ยาบใบยาว (Colona flagrocarpa) กางข้ีมอด (Albizia odoratissima) เพกา (Oroxylum indicum) และเปล้าใหญ่
(Croton roxburghii) ดงั รายละเอียดในตารางที่ 16

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาติศรีสชั นาลยั

  34

ตารางท่ี 16 ดัชนีความสาํ คัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI)

ของป่าเบญจพรรณในอุทยานแห่งชาติศรสี ชั นาลยั

ลําดบั ชนดิ พันธุ์ไม้ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ RDensity RFrequency RDominance IVI

1 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 7.117 4.098 8.133 19.349

2 แดง Xylia xylocarpa 6.584 3.689 8.952 19.225

3 คอแลน Nephelium hypoleucum 6.406 2.459 3.706 12.571

4 สกั Tectona grandis 4.270 2.049 4.948 11.267

5 ตีนนก Vitex pinnata 2.669 2.459 2.461 7.589

6 ตะโกพนม Diospyros castanea 3.203 1.230 3.053 7.486

7 ยาบใบยาว Colona flagrocarpa 3.737 2.459 1.073 7.268

8 กางข้ีมอด Albizia odoratissima 2.669 2.869 1.506 7.044

9 เพกา Oroxylum indicum 4.626 1.639 0.656 6.921

10 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii 3.559 2.459 0.590 6.608

11 ตะคร้าํ Garuga pinnata 0.890 1.639 3.308 5.837

12 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 0.890 1.639 2.823 5.352

13 ตะแบกแดง Lagerstroemia calyculata 0.890 1.230 2.792 4.911
14 ก๊กุ Lannea coromandelica 0.890 1.230 2.537 4.656

15 ลําไยปา่ Paranephelium xestophyllum 1.423 1.639 1.542 4.604

16 แคหางค่าง Fernandoa adenophylla 1.246 2.459 0.789 4.494

17 จนั Diospyros decandra 0.712 1.230 2.509 4.451
18 ซอ้ Gmelina arborea 0.890 1.639 1.916 4.445

19 เก็ดขาว Dalbergia glomeriflora 0.712 1.230 2.391 4.332

20 ยางดง Polyalthia obtusa 1.423 0.820 1.989 4.232

21 อืน่ ๆ Others 45.196 59.836 42.328 147.359

100.000 100.000 100.000 300.000

6.3 พน้ื ทเ่ี กษตรกรรม

ในพื้นที่เกษตรกรรมมีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด คือ งิ้วป่า (Bombax
anceps) รองลงมา ได้แก่ เสลาขาว (Lagerstroemia tomentosa) คอแลน (Nephelium hypoleucum)
และเพกา (Oroxylum indicum) ดงั รายละเอียดในตารางที่ 17

ตารางท่ี 17 ดชั นคี วามสาํ คัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI)

ของพืน้ ท่ีเกษตรกรรมในอุทยานแห่งชาตศิ รีสชั นาลัย

ลําดบั ชนิดพันธ์ุไม้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ RDensity RFrequency RDominance IVI

1 งว้ิ ปา่ Bombax anceps 33.333 25.000 46.318 104.651
75.171
2 เสลาขาว Lagerstroemia tomentosa 33.333 25.000 16.838 71.142
49.036
3 คอแลน Nephelium hypoleucum 16.667 25.000 29.476 300.000

4 เพกา Oroxylum indicum 16.667 25.000 7.369

100.000 100.000 100.000

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติศรีสชั นาลยั

  35

6.4 ไร่รา้ ง

ในพื้นที่ไร่ร้าง มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด คือ ง้ิวป่า (Bombax anceps)
รองลงมาได้แก่ ขว้าว (Haldina cordifolia) กําจัดต้น (Zanthoxylum limonella) กระท้อน (Sandoricum
koetjape) สะตอ (Parkia speciosa) เพกา (Oroxylum indicum) ตองแตบ (Macaranga enticulata)
เสลาขาว (Lagerstroemia tomentosa) และขนุน (Artocarpus heterophyllus) ดังรายละเอียดใน
ตารางท่ี 18

ตารางท่ี 18 ดัชนคี วามสาํ คัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI)

ของพืน้ ทีไ่ รร่ า้ งในอทุ ยานแหง่ ชาตศิ รสี ชั นาลัย

ลําดับ ชนดิ พันธ์ุไม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ RDensity RFrequency RDominance IVI

1 ง้ิวป่า Bombax anceps 30.000 11.111 35.535 76.646
43.229
2 ขวา้ ว Haldina cordifolia 20.000 11.111 12.118 42.893
32.099
3 กาํ จดั ตน้ Zanthoxylum limonella 15.000 11.111 16.782 25.104
23.709
4 กระท้อน Sandoricum koetjape 5.000 11.111 15.988 19.718
18.669
5 สะตอ Parkia speciosa 5.000 11.111 8.993 17.932
300.000
6 เพกา Oroxylum indicum 10.000 11.111 2.598

7 ตองแตบ Macaranga denticulata 5.000 11.111 3.607

8 เสลาขาว Lagerstroemia tomentosa 5.000 11.111 2.558

9 ขนุน Artocarpus heterophyllus 5.000 11.111 1.821

100.000 100.000 100.000

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาตศิ รีสชั นาลยั

  36

7. ข้อมลู เกย่ี วกับความหลากหลายทางชวี ภาพ

จากผลการสํารวจและวิเคราะห์หาค่าดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ลักษณะการใช้
ประโยชนท์ ีด่ ินท่ีมีความหลากหลายของชนดิ พนั ธุ์ไม้ (Species Diversity) มากทีส่ ุด คือ ปา่ ดิบแล้ง ลักษณะการ
ใช้ประโยชนท์ ดี่ นิ ทมี่ คี วามมากมายของชนิดพันธุไ์ ม้ (Species Richness) มากทส่ี ุด คอื ปา่ ดิบแลง้ และลักษณะการ
ใช้ประโยชน์ท่ีดินท่ีมีความสมํ่าเสมอของชนิดพันธ์ุไม้ (Species Evenness) มากท่ีสุด คือ พ้ืนท่ีเกษตรกรรม
ดังรายละเอียดในตารางท่ี 19

ตารางที่ 19 ความหลากหลายทางชวี ภาพของชนิดพนั ธ์ไุ มอ้ ุทยานแหง่ ชาตศิ รีสัชนาลยั

ลกั ษณะการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ความหลากหลายทางชวี ภาพ (Biodiversity)

(Landuse Type) ความหลากหลาย ความสมา่ํ เสมอ ความมากมาย

(Diversity) (Evenness) (Richness)

ป่าดิบแลง้ 4.185 0.824 22.530

(Dry Evergreen Forest)

ป่าเบญจพรรณ 4.087 0.866 17.445

(Mixed Deciduous Forest)

พื้นทเี่ กษตรกรรม 1.330 0.959 1.674

(Agriculture land)

ไรร่ า้ ง 1.947 0.886 2.671

(Old Clearing)

อุทยานแห่งชาติศรสี ัชนาลัย 4.515 0.843 28.109

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาตศิ รีสชั นาลยั

  37

สรุปผลการสาํ รวจและวเิ คราะห์ข้อมลู ทรัพยากรปา่ ไม้

จากการวางแปลงตัวอย่างถาวรเพื่อเก็บข้อมูลและสํารวจทรัพยากรป่าไม้ในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติ
ศรีสัชนาลัย ซ่ึงมีเนื้อที่ 133,250 ไร่ หรือประมาณ 213.20 ตารางกิโลเมตร จํานวน 52 แปลง โดยการวางแปลง
ตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ทม่ี ีขนาดคงท่ี รปู วงกลม 3 วง ซ้อนกัน คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62,
17.84 เมตร ตามลําดบั และมวี งกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยู่ตามทิศหลักท้ัง 4 ทิศ โดยจุดศูนย์กลางของ
วงกลมทัง้ 4 ทศิ อยูบ่ นเส้นรอบวงกลมของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร และทาํ การเก็บขอ้ มลู การสาํ รวจทรัพยากร
ปา่ ไมต้ า่ งๆ อาทิ เชน่ ชนิดไม้ ขนาดความโต ความสงู จํานวนกล้าไม้และลูกไม้ ชนดิ ป่าลักษณะต่างๆ ของพ้ืนท่ีท่ี
ต้นไม้ขึน้ อยู่ ขอ้ มูลลักษณะภมู ิประเทศ เช่น ระดบั ความสงู ความลาดชนั เปน็ ตน้ ตลอดจนการเกบ็ ขอ้ มูลองค์ประกอบ
รว่ มของปา่ เชน่ ไมไ้ ผ่ หวาย ไมพ้ มุ่ ไม้เถา เถาวลั ย์ และพืชช้ันล่าง แล้วนําข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อประเมิน
สถานภาพทรัพยากรป่าไม้ ทั้งนี้เพ่ือให้ทราบเน้ือที่ป่าไม้ ชนิดป่า ชนิดไม้ ปริมาณและความหนาแน่นของหมู่ไม้
กําลังผลิตของป่า ตลอดจนการสืบพันธุ์ตามธรรมชาติของไม้ โดยใช้โปรแกรมประมวลผลข้อมูลระบบสารสนเทศ
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ของส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์
กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตวป์ ่า และพันธ์ุพืช สรปุ ผลได้ดงั นี้

1. ลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดนิ

พน้ื ทีด่ ําเนินการสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติศรีสัชนาลัย ครอบคลุมจังหวัด
สุโขทัยและจังหวัดลําปาง ซ่ึงอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของสํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษ์ที่ 13 (สาขาลําปาง)
รบั ผดิ ชอบพ้นื ทีใ่ นจังหวดั ลําปาง จํานวน 20 แปลง และสํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษ์ที่ 14 (ตาก) รับผิดชอบพื้นที่
ในจังหวัดสุโขทัย จํานวน 37 แปลง รวมทั้งสิ้นจํานวน 57 แปลง รวมเน้ือที่ท้ังหมด 133,250 ไร่ หรือประมาณ
213.20 ตารางกโิ ลเมตร

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติศรีสัชนาลัย พบลักษณะการใช้ประโยชน์
ที่ดินอยู่ 4 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ พื้นท่ีเกษตรกรรม และไร่ร้าง โดยพบป่าดิบแล้งมากที่สุด
มเี น้ือท่ีทั้งหมด 131.20 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 61.54 ของพื้นท่ีทั้งหมด รองลงมา คือ ป่าเบญจพรรณ
มีเนื้อที่ทั้งหมด 61.50 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 28.85 ของพ้ืนท่ีทั้งหมด พื้นท่ีเกษตรกรรม มีเนื้อท่ีทั้งหมด
12.30 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 5.77 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด และไร่ร้าง มีเน้ือที่ท้ังหมด 8.20 ตารางกิโลเมตร
คดิ เป็นร้อยละ 3.85 ของพน้ื ที่ทง้ั หมด

2. ชนิดพันธ์แุ ละปรมิ าณไมย้ นื ต้น (Trees)

จากการวิเคราะหข์ อ้ มลู เก่ยี วกับชนดิ ไม้ ปรมิ าณ ปริมาตร และความหนาแน่นของตน้ ไม้ ในแปลง
ตัวอยา่ งถาวร พน้ื ท่อี ุทยานแหง่ ชาตศิ รีสัชนาลัย จํานวนทั้งส้ิน 52 แปลง พบไม้ยืนต้นที่มีความสูงมากกว่า 1.30
เมตร และมเี สน้ รอบวงเพยี งอก (GBH) มากกว่าหรอื เท่ากบั 15 เซนติเมตรข้ึนไป มจี ํานวนทั้งหมด 7,298,000 ต้น
โดยเป็นไม้ท่ีมีความโต 15 - 45 เซนติเมตร จํานวน 4,243,500 ต้น คิดเป็นร้อยละ 58.18 ของปริมาณไม้ท้ังหมด

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติศรีสชั นาลยั

  38

ไมท้ มี่ ขี นาดความโต 45-100 เซนติเมตร จํานวน 2,152,500 ตน้ คดิ เปน็ ร้อยละ 29.51 ของไม้ทั้งหมด และไม้ท่ีมี
ขนาดความโตมากกว่า 100 เซนตเิ มตร จํานวน 897,900 ต้น คิดเป็นร้อยละ 12.31 ของไม้ทั้งหมด สําหรับชนิด
พนั ธ์ุไม้ทพ่ี บในแปลงสํารวจ มมี ากกว่า 212 ชนดิ 33 วงศ์ โดยชนิดพันธท์ุ ีพ่ บมากทสี่ ดุ ไปหานอ้ ยสดุ 10 อนั ดบั แรก
คือ คอแลน (Nephelium hypoleucum) ตองแตบ (Macaranga denticulata) ปอตู๊บหูช้าง (Sterculia villosa)
เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) ตะโกพนม (Diospyros castanea) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana)
เพกา (Oroxylum indicum) แดง (Xylia xylocarpa) ตะคร้อหนาม (Sisyrolepis muricata) และมะไฟ (Baccaurea
ramiflora) ตามลําดับ แต่เมื่อเรียงลําดับตามปริมาตรไม้พบว่า 10 อันดับแรกที่พบ คือ ตะโกพนม (Diospyros
castanea) คอแลน (Nephelium hypoleucum) ตะเคียนทอง (Hopea odorata) ตองแตบ (Macaranga denticulata)
ลําพูป่า (Duabanga grandiflora) ตาเสือ (Aphanamixis polystachya) ปอตู๊บหูช้าง (Sterculia villosa)
แดง (Xylia xylocarpa) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) และจําปีป่า (Michelia floribunda)
ตามลาํ ดบั

3. ชนดิ พันธ์แุ ละปรมิ าณกล้าไม้ (Seedling) และลูกไม้ (Sapling)

จากการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับกล้าไม้ (Seedling) และลูกไม้ (Sapling) ซึ่งเป็นกําลังผลิตที่
สําคัญที่จะขึน้ มาทดแทนสงั คมพืชไม้ยืนต้นต่อไปในอนาคตรวมทุกชนิดป่าหรือทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินที่
ได้สํารวจ พบว่า มีชนิดของกล้าไม้ (Seedling) มากกว่า 53 ชนิด 38 วงศ์ รวมจํานวนทั้งหมด 297,660,000 ต้น
เม่อื เรียงลําดับจากจาํ นวนตน้ ทพ่ี บมากสดุ ไปหานอ้ ยสุด 10 อนั ดับแรก ได้แก่ เข็มปา่ (Ixora cibdela) ยอปา่ (Morinda
coreia) ตะเคียนทอง (Hopea odorata) เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) ครามป่า (Indigofera sootepensis)
คอแลน (Nephelium hypoleucum) ตะโกพนม (Diospyros castanea) ถ่ัวเขา (Campylotropis pinetorium)
ปอขาว (Sterculia pexa) และกระทุ่ม (Anthocephalus chinensis) ตามลําดับ โดยสํารวจพบจํานวนกล้าไม้มาก
ท่สี ดุ ในป่าดบิ แล้ง รองลงมา คอื ปา่ เบญจพรรณ การวิเคราะหข์ อ้ มูลเก่ียวกับลูกไม้ (Sapling) ที่พบในแปลงสํารวจ
มีมากกวา่ 34 ชนิด 7 วงศ์ รวมจํานวนทง้ั หมด 6,642,000 ต้น ซ่ึงเมือ่ เรยี งลาํ ดับจากจาํ นวนต้นที่พบมากสุดไปหา
นอ้ ยสดุ 10 อันดับแรก ไดแ้ ก่ คอแลน (Nephelium hypoleucum) เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) ตะเคียนทอง
(Hopea odorata) แดง (Xylia xylocarpa) ตาเสือ (Aphanamixis polystachya) บนุ นาค (Mesua ferrea) ลําดวน
(Melodorum fruticosum) เหมือดวอน (Aporosa wallichii) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana)
และตะโกพนม (Diospyros castanea) ตามลําดับ โดยป่าที่สํารวจพบจํานวนลูกไม้มากที่สุด คือป่าดิบแล้ง
รองลงมา คอื ป่าเบญจพรรณ

4. ชนิดพนั ธแ์ุ ละปริมาณของไม้ไผ่ หวาย และไม้กอ

จากการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับปริมาณของไม้ไผ่ในแต่ละชนิดและแต่ละกอรวมทุกลักษณะการใช้
ประโยชนท์ ่ดี นิ พบไม้ไผ่ ในแปลงสํารวจ จํานวน 8 ชนิด ได้แก่ ไผ่เฮียะ (Cephalostachyum virgatum) ไผ่ซาง
(Dendrocalamus strictus) ไผ่ซางดอย (Bambusa membranacea) ไผ่หก (Dendrocalamus hamiltonii)
ไผ่ไร่ (Gigantochloa albociliata) ไผ่รวก (Thyrsostachys siamensis) ไผ่ข้าวหลาม (Cephalostachyum pergracile)

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาติศรีสชั นาลยั

  39

และไผ่ไล่ลอ (Gigantochloa nigrociliata) รวมทั้งสิ้นจํานวน 2,689,600 กอ รวมทั้งส้ิน จํานวน 53,595,200
ลาํ ซ่ึงพบได้ในปา่ ดบิ แล้งและป่าเบญจพรรณ

สว่ นตอไม้ท่ีสํารวจพบ มีมากกว่า 20 ชนิด รวมจํานวนทั้งสิ้น 303,400 ตอ มีค่าความหนาแน่น
ของตอไม้เฉลี่ย 2.28 ตอต่อไร่ โดยพบจํานวนตอมากที่สุดในข้าวไร่ มีจํานวน 123,000 ตอ รองลงมาพบใน
ปา่ เบญจพรรณ มจี ํานวน 90,200 ตอ

5. ค่าดัชนีความสาํ คญั ทางนเิ วศวิทยา

จากผลการสํารวจเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืชในอุทยานแห่งชาติศรีสัชนาลัย พบว่า
มีสังคมพืช 4 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ พื้นท่ีเกษตรกรรม และไร่ร้าง และจากวิเคราะห์ข้อมูล
สังคมพืช สรุปไดด้ งั นี้

ในพื้นที่ป่าดิบแล้ง มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ คอแลน (Nephelium hypoleucum) ตองแตบ (Macaranga denticulata) ปอตู๊บหูช้าง (Sterculia
villosa) ตะโกพนม (Diospyros castanea) ตาเสือ (Aphanamixis polystachya) ตะเคียนทอง (Hopea odorata)
แคหางค่าง (Fernandoa adenophylla) มะไฟ (Baccaurea ramiflora) ลําพูป่า (Duabanga grandiflora) และ
เปลา้ ใหญ่ (Croton roxburghii)

พ้ืนท่ีป่าเบญจพรรณ มีชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก
ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) แดง (Xylia xylocarpa) คอแลน (Nephelium
hypoleucum) สัก (Tectona grandis) ตนี นก (Vitex pinnata) ตะโกพนม (Diospyros castanea) ยาบใบยาว
(Colona flagrocarpa) กางขี้มอด (Albizia odoratissima) เพกา (Oroxylum indicum) และ เปล้าใหญ่
(Croton roxburghii)

ในพน้ื ที่เกษตรกรรมมชี นดิ ไม้ทม่ี ีค่าดัชนคี วามสาํ คัญของชนิดไม้ (IVI) สงู สดุ คอื งว้ิ ปา่ (Bombax
anceps) รองลงมา ได้แก่ เสลาขาว (Lagerstroemia tomentosa) คอแลน (Nephelium hypoleucum)
และเพกา (Oroxylum indicum)

ในพื้นที่ไร่ร้าง มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด คือ งิ้วป่า (Bombax
anceps) รองลงมา ได้แก่ ขว้าว (Haldina cordifolia) กําจัดต้น (Zanthoxylum limonella) กระท้อน
(Sandoricum koetjape) สะตอ (Parkia speciosa) เพกา (Oroxylum indicum) ตองแตบ (Macaranga
denticulata) เสลาขาว (Lagerstroemia tomentosa) และขนุน (Artocarpus heterophyllus)

6. ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ข้อมูลเก่ียวกับความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินท่ีมีความ
หลากหลายของชนดิ พันธไ์ุ ม้ (Species Diversity) มากท่ีสุด คือ ป่าดบิ แล้ง รองลงมา คอื ป่าเบญจพรรณ ซ่ึงชนิดป่า
หรือลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินที่มีความมากมายของชนิดพันธุ์ไม้ (Species Richness) มากท่ีสุด คือ ป่าดิบแล้ง

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาติศรีสชั นาลยั

  40

รองลงมา คอื ป่าเบญจพรรณ และชนดิ ป่าหรอื ลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ ินท่ีมีความสม่ําเสมอของชนิดพันธ์ุไม้
(Species Evenness) มากทส่ี ุด คอื พืน้ ทเ่ี กษตรกรรม รองลงมา คอื ป่าเบญจพรรณ

7. ขนาดความโตของต้นไม้ในป่า
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลโครงสร้างป่าในทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดิน พบไม้ยืนต้นที่มีความ

สูงมากกว่า 1.30 เมตร และมีเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่าหรือเท่ากับ 15 เซนติเมตรขึ้นไป มีจํานวน
ทั้งหมด 7,298,000 ต้น โดยเป็นไม้ท่ีมีความโต 15-45 เซนติเมตร จํานวน 4,243,500 ต้น คิดเป็นร้อยละ 58.18
ของปรมิ าณไมท้ ง้ั หมด ไมท้ ่มี ขี นาดความโต 45-100 เซนติเมตร จาํ นวน 2,152,500 ต้น คดิ เปน็ ร้อยละ 29.51 ของ
ไมท้ ้งั หมด และไม้ที่มีขนาดความโตมากกว่า 100 เซนติเมตร จํานวน 897,900 ต้น คิดเป็นร้อยละ 12.31 ของไม้
ท้งั หมด

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติศรีสชั นาลยั

  41

ปัญหาและขอ้ เสนอแนะ

ปญั หา
1. ชนิดไม้ยืนต้นและไม้พื้นล่างในป่าดิบและป่าเบญจพรรณบางพื้นที่ในอุทยานแห่งชาติ

ศรีสัชนาลัย ยากต่อการจําแนกชนิดไม้ อีกทั้งช่วงเวลาดําเนินงานสํารวจเป็นช่วงที่ต้นไม้กําลังผลัดใบ ทําให้มี
ตน้ ไมห้ ลายชนดิ ทย่ี งั ไม่ทราบชนิด

2. ในการดําเนินงานสํารวจทรัพยากรป่าไม้ภาคสนาม ได้มีการแบ่งสายการดําเนินงาน
ซึ่งทําให้งานแล้วเสร็จเร็วข้ึน เน่ืองจากจํานวนจุดสํารวจมีจํานวนมาก อาจทําให้เกิดความคลาดเคลื่อน
ในการสํารวจข้อมูลได้ เน่ืองจากอุปกรณ์ที่ใช้ในการสํารวจของแต่ละทีมมีไม่เหมือนกัน ความเช่ียวชาญหรือ
ความชํานาญในการจําแนกชนิดไม้ของแต่ละบุคคลไม่เท่ากัน ซ่ึงอาจทําให้ชนิดไม้ที่นํามาวิเคราะห์ข้อมูลมีความ
คลาดเคล่อื นได้

3. ในช่วงท่ีดําเนินการสํารวจภาคสนามพบร่องรอยการกระทําผิดเก่ียวกับการลักลอบตัดไม้และ
ล่าสัตว์ป่าไม้ในพื้นที่บ่อยมาก ซึ่งอาจเกิดอันตรายหรือการปะทะกันระหว่างทีมสํารวจกับผู้เข้ามาลักลอบตัดไม้
ได้

4. การเข้าถึงแปลงสํารวจในอุทยานแห่งชาติศรีสัชนาลัยค่อนข้างยาก เนื่องจากพ้ืนที่เป็นเขาสูง
ชนั บางพน้ื ท่ไี ม่สามารถเขา้ ทําการสํารวจได้ และบางพนื้ ท่ตี ้องพักคา้ งแรมในป่าหลายวนั ในการสาํ รวจ
ขอ้ เสนอแนะ

1. กลุ่มสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ ควรมีการจัดทําคู่มือ
สาํ หรบั การจาํ แนกชนิดไมใ้ นแต่ละพ้ืนที่หรือใสภ่ าพประกอบไม้แตล่ ะชนดิ ในฐานข้อมูลพรรณไม้ เพื่อใช้เป็นฐาน
ในการจาํ แนกชนดิ ไม้ใหต้ รงรหสั CODE พรรณไม้มากขนึ้

2. ในการปฏิบัติงานภาคสนาม ควรชี้แจงและทําความเข้าใจกับชาวบ้านเกี่ยวกับภารกิจท่ี
ปฏิบัติ

3. การจัดฝึกอบรมและมีการฝึกภาคปฏิบัติในภาคสนามแก่เจ้าหน้าท่ีในส่วนภูมิภาค รวมท้ังให้มี
การฝึกอบรมด้านการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้มีความเข้าใจในการสํารวจภาคสนามและการ
วิเคราะห์ข้อมูลการจัดแสดง และเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการจากข้อมูลท่ีได้จากสํารวจท่ีผ่าน
การประมวลผลแลว้ เพอื่ เสริมสรา้ งความร้ใู หแ้ ก่ประชาชนโดยทัว่ ไป

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาติศรีสชั นาลยั


Click to View FlipBook Version