The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการสำรวจทรัพยากรป่าไม้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Eve_ Chantarat, 2020-11-17 23:27:02

อุทยานแห่งชาติเขาหลวง

รายงานการสำรวจทรัพยากรป่าไม้

รายงานการสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
อทุ ยานแห่งชาติเขาหลวง

กลุ่มงานวิชาการ สาํ นกั บรหิ ารพนื้ ท่อี นรุ กั ษ์ที่ 5 (นครศรธี รรมราช)
ส่วนสาํ รวจและวเิ คราะหท์ รัพยากรปา่ ไม้ สํานักฟ้นื ฟูและพัฒนาพ้ืนที่อนรุ ักษ์

กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธพ์ุ ืช
พ.ศ. 2557

บทสรุปสาํ หรับผูบ้ รหิ าร

จากสถานการณ์ป่าไม้ในปัจจุบันพบว่า พ้ืนที่ป่าไม้ในประเทศเหลืออยู่เพียงประมาณร้อยละ 33.56
ของพื้นท่ีประเทศ การดําเนินการสํารวจทรัพยากรป่าไม้จึงเป็นอีกทางหน่ึงท่ีทําให้ทราบถึงสถานภาพและศักยภาพ
ของทรัพยากร ตลอดจนปจั จัยทางเศรษฐกจิ และสงั คมที่มีผลต่อการบกุ รกุ ทาํ ลายป่า เพื่อนาํ มาใช้ในการดาํ เนนิ การ
ตามภาระรบั ผดิ ชอบต่อไป ซึง่ กรมอุทยานแห่งชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธพุ์ ชื ไดด้ ําเนนิ การมาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ได้จัดสรรงบประมาณ
การดําเนินงานและกําหนดจุดสํารวจเป้าหมายในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติเขาหลวง ซึ่งมีเนื้อท่ี 356,250 ไร่ หรือ
570 ตารางกโิ ลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ ตําบลท่าดี ตําบลกําโลน ตําบลเขาแก้ว อําเภอลานสกา ตําบลละอาย
อําเภอฉวาง ตาํ บลท่าง้ิว อําเภอเมอื ง ตําบลยางคอ้ ม ตําบลพิปูน ตําบลเขาพระ อําเภอพิปูน ตําบลทอนหงส์
ตําบลบา้ นเกาะ ตาํ บลพรหมโลก อําเภอพรหมคีรี ตําบลช้างกลาง ตาํ บลสวนขัน อาํ เภอช้างกลาง และตําบลกรุงชิง
ตาํ บลนบพติ าํ ตําบลนาเหรง อําเภอนบพติ ํา จังหวัดนครศรีธรรมราช ซ่ึงอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของสํานักบริหาร
พนื้ ท่อี นุรกั ษ์ท่ี 5 (นครศรธี รรมราช) จํานวน 60 แปลง และในปงี บประมาณ พ.ศ. 2557 ได้จดั สรรงบประมาณ
การดาํ เนินงานและกําหนดจุดสํารวจเปา้ หมายเพ่มิ เติมอีก 37 แปลง รวมจุดสาํ รวจเป้าหมายในพืน้ ที่อทุ ยานแห่งชาติ
เขาหลวงทั้งสน้ิ จํานวน 97 แปลง สําหรับการวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ที่มีขนาด
คงท่ี รูปวงกลม 3 วง ซ้อนกัน คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลําดับ และมีวงกลมขนาดรัศมี
0.631 เมตร อย่ตู ามทศิ หลกั ท้ัง 4 ทศิ

ผลการสาํ รวจและวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า มีลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินที่สํารวจพบ 3 ประเภท
ได้แก่ ปา่ ดิบช้นื พชื สวนอืน่ ๆ และสวนยางพารา โดยป่าดบิ ชนื้ พบมากสุด คิดเป็นร้อยละ 91.75 ของพ้ืนที่สํารวจ
รองลงมา คือ พืชสวนอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 5.15 และสวนยางพารา คิดเป็นร้อยละ 3.09 ของพื้นที่สํารวจ
สําหรับพรรณไม้รวมทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน พบท้ังส้ิน 51 วงศ์ มีมากกว่า 255 ชนิด รวมจํานวน
45,253,299 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวมทั้งหมด 16,052,584.46 ลูกบาศก์เมตร มีความหนาแน่นของไม้เฉลี่ย
127.03 ต้นต่อไร่ และมีปรมิ าตรไม้เฉลี่ย 45.06 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ซึ่งเม่ือเรียงลําดับจากจํานวนต้นท่ีพบมาก
สุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก คือ สังเครียดลังสาด (Aglaia tomentosa) ขวาด (Syzygium lineatum)
แหลช่อ (Dehaasia kurzii) แกงเลียงใหญ่ (Psydrax dicocca) หว้าเขา (Cleistocalyx operculatus) ก่อร้ิว
(Castanopsis costata) แดงเขา (Syzygium attenuatum) กระเบา (Hydnocarpus sumatrana) ยางพารา
(Hevea brasiliensis) และ สังกะโต้ง (Aglaia lawii) ตามลําดับ เม่ือเรียงลําดับตามปริมาตรจากมากสุดไปหา
น้อยสุด 10 อนั ดบั แรก คือ สังเครียดลังสาด (Aglaia tomentosa) เคียนทราย(Shorea gratissima) แดงเขา
(Syzygium attenuatum) ก่อร้ิว (Castanopsis costata) แหลช่อ (Dehaasia kurzii) หวา้ เขา (Cleistocalyx
operculatus) กาแซะ (Callerya atropurpurea) ขวาด (Syzygium lineatum) สาย (Pometia ridleyi)
และสงั กะโตง้ (Aglaia lawii) ตามลาํ ดบั ไมย้ นื ตน้ พบมากสดุ ในปา่ ดบิ ชื้น รองลงมา คือ พชื สวนอ่นื ๆ

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นท่อี ทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง

กลา้ ไม้ (Seedling) ทีพ่ บในแปลงสํารวจมมี ากกวา่ 89 ชนดิ รวมจํานวนทงั้ หมด 1,203,463,918 ตน้
เม่อื เรยี งลําดับจากจาํ นวนตน้ ท่ีพบมากสุดไปหานอ้ ยสดุ 10 อันดับแรก ได้แก่ ยายกล้ัง (Justicia lignostachya)
เข็มขาว (Pavetta humilis) เข็มป่า (Ixora cibdela) เตยหนู (Pandanus humilis) สังเครียดลังสาด (Aglaia
tomentosa) แดงเขา (Syzygium attenuatum) พลับดง (Diospyros bejaudii) สังหยูขาว (Polyalthia
hypoleuca) ข่อยนํ้า (Streblus taxoides) และเฉียงพร้านางแอ (Carallia brachiata) ตามลําดบั ป่าที่สํารวจพบ
จาํ นวนกลา้ ไม้มากทีส่ ุด คือ ป่าดิบชื้น รองลงมา คือ สวนยางพารา

ลกู ไม้ (Sapling) ทีพ่ บในแปลงสาํ รวจมีมากกว่า 114 ชนิด รวมจํานวนท้ังหมด 191,567,010 ต้น
ซึ่งเมือ่ เรยี งลําดับจากจํานวนต้นท่ีพบมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ยายกลั้ง (Justicia lignostachya)
สังเครียดลังสาด (Aglaia tomentosa) เข็มขาว (Pavetta humilis) ขวาด (Syzygium lineatum) ช้าสามแก้ว
(Saurauia pentapetala) สังหยูขาว (Polyalthia hypoleuca) มะเม่าขน (Antidesma montanum) ราชครูดํา
(Goniothalamus macrophyllus) ชมพู่นํ้า (Syzygium siamense) และแดงเขา (Syzygium attenuatum)
ตามลําดบั ปา่ ทีส่ ํารวจพบจํานวนลูกไมม้ ากท่ีสุด คอื ปา่ ดิบช้ืน รองลงมาคือสวนยางพารา

ชนิดและปริมาณของไมไ้ ผ่ หวาย และไมก้ อ ในพ้นื ทอ่ี ุทยานแห่งชาตเิ ขาหลวง พบว่ามไี ผ่อยู่ 4 ชนิด
มีจํานวนรวมท้ังสิน้ 2,444,536 กอ (17,123,505 ลาํ ) ได้แก่ ไผผ่ ากมัน (Gigantochloa hasskarliana) ไผ่คลาน
(Dinochloa malayana) ไผเ่ กรยี บ (Gigantochloa apus) พบได้ในป่าดิบช้ืน และไผ่ตง (Dendrocalamus
asper) พบได้ในพืชสวนอื่นๆ ในส่วนของหวาย (ต้น) พบ 2 ชนิด ได้แก่ หวายพนขนหนอน (Daemonorops sabut)
และหวายพวน (Daemonorops elongates) มจี ํานวนรวมทง้ั สน้ิ 105,774 กอ (270,310 ลํา) สําหรับไม้กอพบ
11 ชนดิ มจี ํานวนรวมท้ังสนิ้ 1,786,394 กอ (3,561,033 ต้น) โดยกล้วยป่า (Musa acuminate) เป็นชนิดพันธ์ุท่ี
มีปริมาณมากท่ีสุด รองลงมา ได้แก่ มหาสดํา (Cyathea podophylla) เต่าร้าง (Caryota bacsonensis)
หมาก (Areca catechu) เจ้าเมอื งตรัง (Licuala peltata) และตาว (Arenga pinnata) ตามลาํ ดบั

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช พบว่าชนิดไม้ท่ีมีความถี่ (Frequency) มากท่ีสุด คือ สังเครียดลังสาด
(Aglaia tomentosa) ชนิดไม้ที่มีความหนาแน่นของพืชพรรณ (Density) มากท่ีสุด คือสังเครียดลังสาด (Aglaia
tomentosa) รองลงมา คือ ขวาด (Syzygium lineatum) ชนิดไม้ที่มีความเด่น (Dominance) มากที่สุด คือ
สังเครียดลังสาด (Aglaia tomentosa) รองลงมา คือ เคียนทราย (Shorea gratissima) ชนิดไม้ที่มีความถ่ีสัมพัทธ์
(Relative Frequency) มากทีส่ ดุ คือ สังเครียดลังสาด (Aglaia tomentosa) รองลงมา คือ หว้าเขา (Cleistocalyx
operculatus) แหลชอ่ (Dehaasia kurzii) และก่อริ้ว (Castanopsis costata) ชนิดไม้ที่มีความหนาแน่นสัมพัทธ์
(Relative Density) มากที่สุดคือ สังเครียดลังสาด (Aglaia tomentosa) รองลงมา คือ ขวาด (Syzygium lineatum)
ชนิดไม้ท่ีมีความเด่นสัมพัทธ์ (Relative Dominance) มากท่ีสุด คือ สังเครียดลังสาด (Aglaia tomentosa)
รองลงมาคือ เคียนทราย (Shorea gratissima) ชนิดไม้ที่มีค่าความสําคัญทางนิเวศวิทยา (Importance Value
Index : IVI) มากท่ีสุด คือ สังเครียดลังสาด (Aglaia tomentosa) รองลงมา คือ แหลช่อ (Dehaasia kurzii)
และข้อมูลเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินท่ีมีความหลากหลายของ
ชนดิ พันธุไ์ ม้ (Species Diversity) มากทสี่ ดุ คอื ป่าดิบชน้ื รองลงมา คอื พืชสวนอ่นื ๆ ซึง่ ลกั ษณะการใช้ประโยชน์

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พน้ื ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติเขาหลวง

ท่ีดินท่ีมคี วามมากมายของชนิดพนั ธ์ไุ ม้ (Species Richness) มากทสี่ ดุ คือ ปา่ ดิบชน้ื รองลงมา คอื สวนยางพารา
และลักษณะการใช้ประโยชน์ทด่ี ินทมี่ คี วามสมํ่าเสมอของชนิดพันธ์ุไม้ (Species Evenness) มากที่สุด คือ ป่าดิบชื้น
รองลงมา คือ พืชสวนอน่ื ๆ

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลโครงสร้างป่าในทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน พบว่า มีไม้ยืนต้นขนาด
เสน้ รอบวงเพียงอก (GBH) ระหว่าง 15-45 เซนติเมตร จํานวน 30,568,454 ต้น คิดเป็นร้อยละ 67.55 ของไม้
ท้งั หมด ไมย้ ืนตน้ ขนาดเสน้ รอบวงเพียงอก (GBH) อยู่ระหว่าง >45-100 เซนติเมตร มีจํานวน 10,859,381 ต้น
คิดเป็นร้อยละ 24.00 ของไม้ท้ังหมด และไม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่า 100 เซนติเมตร
ขึ้นไป จาํ นวน 3,825,464 ตน้ คดิ เป็นรอ้ ยละ 8.45 ของไมท้ ้ังหมด

จากผลการดําเนินงานดังกล่าว ทําให้ทราบข้อมูลพ้ืนฐานเก่ียวกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้าน
กําลังผลิตและความหลากหลายของพันธุ์พืชในพ้ืนที่ต่างๆ ของอุทยานแห่งชาติเขาหลวง อีกทั้งยังเป็นแนวทาง
ในการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ เก่ียวกับรูปแบบ วิธีการสํารวจ และการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบและแบบ
แผนเพอื่ เป็นแนวทางในการตดิ ตามการเปลีย่ นแปลงของทรพั ยากรป่าไม้ในพืน้ ท่ีอุทยานแห่งชาตเิ ขาหลวงตอ่ ไป

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ท่อี ทุ ยานแห่งชาตเิ ขาหลวง

i

สารบญั หน้า
i
สารบญั iii
สารบญั ตาราง iv
สารบญั ภาพ 1
คาํ นาํ 2
วัตถปุ ระสงค์ 2
เป้าหมายการดาํ เนนิ งาน 3
ขอ้ มลู ทว่ั ไปอทุ ยานแห่งชาติเขาหลวง 3
3
ประวัตคิ วามเปน็ มา 4
ทต่ี ้งั และอาณาเขต 5
การเดนิ ทางและเส้นทางคมนาคม 5
ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ 7
ลกั ษณะภมู ิอากาศ
จดุ เด่นท่ีนา่ สนใจ 13
รูปแบบและวธิ กี ารสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้ 13
การสุ่มตัวอยา่ ง (Sampling Design) 14
รูปรา่ งและขนาดของแปลงตัวอยา่ ง (Plot Design) 15
ขนาดของแปลงตวั อยา่ งและขอ้ มลู ทีท่ าํ การสาํ รวจ 16
การวิเคราะหข์ อ้ มลู การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้ 21
ผลการสาํ รวจและวเิ คราะหข์ อ้ มูลทรพั ยากรปา่ ไม้ 21
1. การวางแปลงตวั อยา่ ง 22
2. พน้ื ทีป่ า่ ไม้ 27
3. ปริมาณไม้ 31
4. ชนดิ พนั ธุ์ไม้ 44
5. ข้อมลู สังคมพชื 50
6. ข้อมูลเกี่ยวกับความหลากหลายทางชวี ภาพ 51
สรปุ ผลการสาํ รวจและวิเคราะหข์ ้อมลู 51
1. ลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ ิน 51
2. ชนดิ พนั ธ์ุและปรมิ าณไม้ยนื ตน้ (Trees) 52
3. ชนดิ พนั ธุ์และปรมิ าณกลา้ ไม้ (Seedling) และลกู ไม้ (Sapling)) 52
4. ชนดิ พันธุ์และปรมิ าณของไม้ไผ่ หวาย และไม้กอ
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้นื ที่อทุ ยานแห่งชาติเขาหลวง

สารบญั (ตอ่ ) ii

5. ค่าดัชนคี วามสาํ คญั ทางนิเวศวทิ ยา หน้า
6. ความหลากหลายทางชีวภาพ 53
7. ขนาดความโตของต้นไม้ในป่า 53
8. ปัจจยั ทมี่ ีผลกระทบตอ่ พื้นทปี่ ่า 53
วจิ ารณผ์ ลการศึกษา 54
ปัญหาและอปุ สรรค 54
ขอ้ เสนอแนะ 55
ภาคผนวก 55
56

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนทีอ่ ทุ ยานแห่งชาตเิ ขาหลวง

iii

สารบญั ตาราง

ตารางที่ หน้า
1 ขนาดของแปลงตัวอย่างและข้อมลู ทด่ี ําเนนิ การสาํ รวจ 15
2 พื้นทป่ี ่าไม้จาํ แนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ทด่ี ินในอทุ ยานแหง่ ชาติเขาหลวง 23
(Area by Landuse Type)
3 ปริมาณไมท้ ้ังหมดจาํ แนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ี่ดนิ ในอุทยานแห่งชาติเขาหลวง 27
(Volume by Landuse Type)
4 ความหนาแนน่ และปริมาตรไมต้ อ่ หน่วยพืน้ ทจี่ ําแนกตามลักษณะการใช้ประโยชนท์ ด่ี ิน 29
ในอุทยานแหง่ ชาติเขาหลวง (Density and Volume per Area by Landuse Type)
5 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ้ังหมดในอุทยานแห่งชาติเขาหลวง 30
6 ปริมาณไมท้ ัง้ หมดของอุทยานแห่งชาติเขาหลวง (30 ชนดิ แรกท่ีมปี รมิ าตรไม้สงู สุด) 34
7 ปริมาณไม้ในปา่ ดบิ ช้ืนของอทุ ยานแห่งชาตเิ ขาหลวง (30 ชนิดแรกท่ีมีปริมาตรไม้สูงสดุ ) 35
8 ปริมาณไม้ในสวนยางพาราของอทุ ยานแหง่ ชาติเขาหลวง 36
9 ปริมาณไมใ้ นพน้ื ท่ีพืชสวนของอทุ ยานแห่งชาติเขาหลวง 36
10 ชนดิ และปริมาณของไม้ไผ่ หวาย* และไมก้ อ ที่พบในอุทยานแหง่ ชาติเขาหลวง 37
11 ชนดิ และปริมาณของกล้าไม้ (Seedling) ทีพ่ บในอุทยานแหง่ ชาติเขาหลวง 38
(30 ชนดิ แรกทมี่ ปี ริมาณสูงสดุ )
12 ชนดิ และปริมาณของกล้าไม้ (Seedling) ในป่าดิบชน้ื ของอุทยานแหง่ ชาติเขาหลวง 39
(30 ชนิดแรกทม่ี ปี รมิ าณสงู สดุ )
13 ชนิดและปริมาณของกล้าไม้ (Seedling) ในสวนยางพาราของอทุ ยานแห่งชาตเิ ขาหลวง 40
14 ชนดิ และปรมิ าณของกลา้ ไม้ (Seedling) ในพ้ืนท่พี ชื สวนอ่ืนๆ ของอุทยานแหง่ ชาติเขาหลวง 40
15 ชนิดและปรมิ าณของลูกไม้ (Sapling) ทพี่ บในอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง 41
16 ชนิดและปริมาณของลกู ไม้ (Sapling) ในปา่ ดบิ ชืน้ ของอุทยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง 42
17 ชนิดและปรมิ าณของลูกไม้ (Sapling) ในสวนยางพาราของอุทยานแห่งชาตเิ ขาหลวง 43
18 ชนิดและปริมาณของลูกไม้ (Sapling) ในพืชสวนอื่นๆ ของอุทยานแหง่ ชาติเขาหลวง 43
19 ด้านดัชนีความสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ ดบิ ชืน้ ใน 47
อุทยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง (20 อนั ดับแรก)
20 ดัชนีความสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของสวนยางพารา 48
ในอทุ ยานแหง่ ชาติเขาหลวง
21 ดชั นคี วามสาํ คัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของพืชสวนอ่นื ๆ 49
ในอทุ ยานแห่งชาติเขาหลวง
22 ความหลากหลายทางชวี ภาพของชนดิ พนั ธุ์ไมอ้ ทุ ยานแหง่ ชาติเขาหลวง 50

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ทีอ่ ุทยานแหง่ ชาติเขาหลวง

iv

สารบญั ภาพ หนา้
4
ภาพท่ี 5
1 แสดงทต่ี ้ังและอาณาเขตของอทุ ยานแหง่ ชาติเขาหลวง 6
2 ลักษณะภมู ปิ ระเทศของอทุ ยานแหง่ ชาติเขาหลวง 7
3 ลักษณะภมู ิอากาศของพ้นื ที่จะมีความชื้นและหมอกปกคลมุ 8
4 บริเวณแหล่งทอ่ งเทีย่ วน้ําตกกะโรม 9
5 บรเิ วณแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วนา้ํ ตกพรหมโลก 10
6 บริเวณแหล่งทอ่ งเทีย่ วนา้ํ ตกอา้ ยเขียว 11
7 บรเิ วณแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วนาํ้ ตกกรงุ ชิง 11
8 บรเิ วณแหล่งทอ่ งเที่ยวยอดเขาหลวง 12
9 บรเิ วณแหล่งทอ่ งเทีย่ วผาเหยียบเมฆ 13
10 พนั ธไ์ุ มท้ ี่นา่ สนใจและหายากในอุทยานแห่งชาติเขาหลวง 14
11 ลักษณะและขนาดของแปลงตัวอย่าง 21
12 ลักษณะรปู แบบของการวางแปลงตวั อยา่ ง 22
13 แผนที่ภาพถ่ายดาวเทียมแสดงพ้นื ทข่ี องอุทยานแหง่ ชาติเขาหลวง 23
14 แปลงตวั อย่างที่ดาํ เนนิ การสํารวจภาคสนามในอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง 24
15 พ้ืนท่ปี า่ ไม้จําแนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชน์ท่ดี ินในอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง 25
16 ลักษณะท่วั ไปของป่าดบิ ช้นื ในพื้นท่ีอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง 26
17 ลักษณะทัว่ ไปของพชื สวนอ่ืนๆ 28
18 ลกั ษณะทว่ั ไปของสวนยางพารา 28
19 ปรมิ าณต้นไม้ทง้ั หมดท่พี บในพืน้ ท่อี ทุ ยานแห่งชาตเิ ขาหลวง 29
20 ปริมาตรไมท้ ้งั หมดทพ่ี บในพน้ื ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติเขาหลวง 30
21 ความหนาแน่นของตน้ ไมใ้ นพนื้ ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง 30
22 ปรมิ าตรไม้ตอ่ หน่วยพื้นที่ในอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง
23 การกระจายขนาดความโตของปรมิ าณไม้ท้งั หมด (ต้น) ในพ้นื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาติเขาหลวง

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง

1

คํานํา

ปจั จุบนั ประเทศไทยมีพืน้ ทีป่ า่ ไม้เหลืออยู่ประมาณร้อยละ 33.56 ของพื้นท่ีประเทศ (ที่มา : หนังสือ
ขอ้ มลู สถิติอุทยานแห่งชาติ สัตวป์ า่ และพันธพ์ุ ืช, 2552) เพอ่ื ให้การดําเนนิ งานของกรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตว์ป่า
และพันธุ์พชื ท่ีจะตอ้ งดําเนินการอนุรักษ์ สงวน และฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพ มีการพัฒนาการใช้ทรัพยากร
ปา่ ไม้อยา่ งย่ังยนื จงึ จําเปน็ ทจี่ ะต้องทราบถึงสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากร โดยเฉพาะทรัพยากรป่าไม้
รวมท้ังความหลากหลายทางชีวภาพท่มี อี ยู่ในพืน้ ทป่ี า่ ไม้ ตลอดจนปจั จัยทางเศรษฐกิจและสังคม ท่มี ีผลตอ่ การ
บุกรุกทําลายปา่ เพอ่ื นาํ มาใชใ้ นการดําเนินการตามภาระรับผิดชอบต่อไป ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากร
ปา่ ไม้ สํานกั ฟื้นฟูและพฒั นาพ้นื ที่อนุรกั ษ์ กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้มอบหมายให้หน่วยงาน
ทตี่ ัง้ อยูต่ ามภมู ภิ าคตา่ งๆ ออกสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้ในพ้นื ที่ป่าอนรุ ักษ์ทร่ี ับผิดชอบ ซงึ่ สํานักบรหิ ารพืน้ ท่ีอนรุ ักษ์
ท่ี 5 (นครศรธี รรมราช) ไดด้ าํ เนินการสํารวจทรพั ยากรป่าไม้ในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติเขาหลวง ในปีงบประมาณ
2556 ถึงปีงบประมาณ 2557

อุทยานแห่งชาติเขาหลวงในปัจจุบัน ยังเป็นผืนป่าขนาดใหญ่ที่คงความอุดมสมบูรณ์อยู่มาก
มีความหลากหลายทางชีวภาพของส่งิ มีชวี ติ ไมว่ า่ จะเป็นสงั คมพืชหรอื สังคมสตั ว์ ซึ่งอยู่ร่วมกันพึ่งพาอาศัยกันได้
เป็นอยา่ งดี และยังเป็นแหล่งตน้ นาํ้ ลําธารของจงั หวดั นครศรีธรรมราชและจังหวัดใกล้เคียงอีกด้วย ดังนั้น จึงมี
ความจาํ เปน็ อย่างย่งิ ท่จี ะต้องสํารวจทรัพยากรป่าไม้ เพ่ือใช้ในการประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากร
ป่าไม้และทรัพยากรอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง และนําไปพัฒนาการอนุรักษ์ หรือใช้เป็นต้นแบบในการดําเนินการใน
พน้ื ทอี่ ่นื ๆ ตอ่ ไป

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้เพ่ือประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้ และเพ่ือติดต้ัง
ระบบตดิ ตามความเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรป่าไม้ รวมท้งั ทรัพยากรอืน่ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง โดยมวี ตั ถุประสงค์เพื่อทราบ
ข้อมูลพื้นฐานเก่ียวกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้านกําลังผลิตและความหลากหลายของพืชพันธ์ุในพ้ืนที่ป่า
อนรุ กั ษ์ สาํ หรับรปู แบบและวธิ ีการสํารวจจะใช้วิธีการวางแปลงสุม่ ตัวอย่างแบบสมํ่าเสมอ (Systematic Sampling)
ในพน้ื ทภ่ี าพถ่ายดาวเทียมที่มกี ารแปลสภาพว่าเปน็ ป่า โดยใหแ้ ตล่ ะกลุม่ แปลงตวั อยา่ งมรี ะยะหา่ งเทา่ ๆ กัน บน
เสน้ กรดิ แผนที่ (Grid) ขนาด 2.5x2.5 กโิ ลเมตร และพ้ืนทีท่ ี่ได้รับการส่มุ โดยใช้ระบบ Datum เป็น WGS 84 คอื
ตัง้ แตป่ ีงบประมาณ 2555 เปน็ ต้นไป

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นทอ่ี ทุ ยานแห่งชาติเขาหลวง

2

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพ่ือให้ทราบข้อมูลพ้ืนฐานเกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้านกําลังผลิต และความ
หลากหลายของพชื พันธุใ์ นพนื้ ท่อี นุรักษต์ า่ งๆ ของประเทศไทย

2. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ เกี่ยวกับรูปแบบ วิธีการสํารวจ และการ
วิเคราะหข์ ้อมลู อยา่ งเป็นระบบและแบบแผน

3. เพ่ือเป็นแนวทางในการวางระบบตดิ ตามการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรป่าไมใ้ นพน้ื ที่
4. เพ่อื พัฒนาระบบฐานขอ้ มลู ทรัพยากรป่าไมใ้ นแต่ละพื้นที่

เปา้ หมายการดําเนินงาน

ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2556 สว่ นสาํ รวจและวเิ คราะหท์ รัพยากรปา่ ไม้ สาํ นักฟื้นฟูและพัฒนาพ้ืนที่
อนุรักษ์ กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั ว์ป่า และพันธุ์พืช ได้จัดสรรงบประมาณการดําเนินงานและกําหนดพื้นท่ีสํารวจ
เป้าหมายในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติเขาหลวง จํานวน 60 แปลง และในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 จํานวน 39 แปลง
รวมทั้งสนิ้ 97 แปลง

การสํารวจใช้การวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ที่มีขนาดคงที่ รูปวงกลม
3 วง ซอ้ นกนั คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลาํ ดับ และมีวงกลมขนาดรศั มี 0.631 เมตร อยู่ตาม
ทิศหลักทั้ง 4 ทิศ โดยจุดศูนย์กลางของวงกลมท้ัง 4 ทิศ จะอยู่บนเส้นรอบวงกลมของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร
จาํ นวนท้ังสิ้น 97 แปลง และทาํ การเก็บขอ้ มลู การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้ต่างๆ อาทิ เช่น ชนิดไม้ ขนาดความโต
ความสงู จํานวนกล้าไมแ้ ละลกู ไม้ ชนิดป่า ลกั ษณะต่างๆ ของพื้นที่ท่ีต้นไม้ขึ้นอยู่ ข้อมูลลักษณะภูมิประเทศ เช่น
ระดบั ความสูง ความลาดชนั เป็นตน้ ตลอดจนการเก็บข้อมูลองค์ประกอบร่วมของป่า เช่น ไม้ไผ่ หวาย ไม้พุ่ม เถาวัลย์
และพืชช้นั ลา่ ง แลว้ นํามาวเิ คราะห์และประมวลผลเพอื่ ใหท้ ราบเนอื้ ทป่ี ่าไม้ ลักษณะการใชป้ ระโยชน์ที่ดิน ชนิดไม้
ปริมาณ และความหนาแนน่ ของหมู่ไม้ กําลงั ผลติ ของปา่ ตลอดจนการสืบพนั ธุ์ตามธรรมชาตขิ องหมู่ไมใ้ นป่าน้ัน

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ท่อี ทุ ยานแห่งชาตเิ ขาหลวง

3

ขอ้ มลู ท่วั ไปของอุทยานแห่งชาตเิ ขาหลวง

ประวตั ิความเปน็ มา

ณ บริเวณดนิ แดนคาบสมุทรทางภาคใต้ของประเทศไทย ในจังหวัดนครศรีธรรมราช มีเทือกเขาสูง
สลับซับซ้อนทอดตัวเป็นแนวยาว ในบริเวณน้ีส่วนท่ีเป็น “เทือกเขานครศรีธรรมราช” มี “อุทยานแห่งชาติเขาหลวง”
เป็นมรดกทางธรรมชาติที่สําคัญที่สุด ประกอบด้วย “ยอดเขาหลวง” เป็นยอดเขาท่ีสูงท่ีสุดในภาคใต้ มีสภาพ
ธรรมชาติที่สมบูรณ์และสวยงามที่สุดแห่งหน่ึงของภูมิภาคน้ี เป็นพ้ืนที่ต้นนํ้าลําธารหลายสายท่ีไหลหล่อเล้ียงผืน
แผน่ ดนิ ภาคใต้ตอนกลาง มสี ถานท่ีรนื่ รมย์สําหรับการพักผ่อนหย่อนใจ เช่น น้ําตก ภูเขา ยอดเขา ทิวทัศน์ และ
ที่สาํ คัญมคี ุณคา่ อันแทจ้ รงิ ทจ่ี ะอาํ นวยประโยชน์ตอ่ มนุษยชาติ คอื มคี วามหลากหลายทางชวี ภาพท่ีสูงย่งิ

ความเปน็ พน้ื ที่ที่มปี ระวตั แิ ห่งการตอ่ สูด้ ้านความคิดการปกครองในพ้ืนที่ผืนป่า “กรุงชิง” ถูกปกครอง
โดยพรรคคอมมวิ นิสต์แห่งประเทศไทย ต้งั แต่ปี พ.ศ. 2517 ตอ่ มาฝ่ายรัฐบาลสามารถยึดพื้นที่ได้ ป่ากรุงชิงแตก
ในปี 2524 ปัจจุบันยังคงทงิ้ ร่องรอยหลงเหลอื ใหไ้ ด้เข้าไปศึกษาหาความรู้อีกด้วย ความสําคัญอีกประการหนึ่ง
คือ “นํ้าตกหนานฝนแสนห่า” มีเอกลักษณ์แห่งความสวยงามจนเป็นท่ีปรากฏอยู่ในธนบัตรใบละ 1,000 บาท
ด้วยศักยภาพทั้งทางชีวภาพและกายภาพดังกล่าว อุทยานแห่งชาติเขาหลวงได้รับการขนานนามว่า “หลังคาสี
เขียวแห่งภาคใต้” “ขุนนํ้าแห่งแดนใต้ตอนกลาง” “ขุนผามหาสดํา” และ “กรุงชิงร่องรอยแห่งประวัติการต่อสู้
ด้านความคิดการปกครอง” เป็นตน้

อุทยานแห่งชาตเิ ขาหลวง ได้รับรางวัล “ยอดเยี่ยม (กินรีทอง)” ประเภท “แหล่งท่องเท่ียวทาง
ธรรมชาต”ิ จากการท่องเทยี่ วแห่งประเทศไทย ในการประกวดรางวัลอตุ สาหกรรมท่องเท่ยี วประจําปี พ.ศ. 2541
อทุ ยานแหง่ ชาติเขาหลวงมีพื้นที่ครอบคลุมอยู่ในท้องที่อําเภอลานสกา อําเภอฉวาง อําเภอเมือง อําเภอพิปูน
อําเภอพรหมคีรี อําเภอช้างกลาง และอําเภอนบพิตํา จังหวัดนครศรีธรรมราช มีเน้ือท่ีประมาณ 356,250 ไร่
หรือ 570 ตารางกิโลเมตร ประกาศไว้ในพระราชกิจจานุเบกษา เล่ม 91 ตอนท่ี 216 ลงวันท่ี 18 ธันวาคม 2517
เป็นอุทยานแหง่ ชาติลาํ ดบั ท่ี 9 ของประเทศ

ที่ตง้ั และอาณาเขต
อุทยานแห่งชาติเขาหลวง ต้ังอยู่ที่ หมู่ 4 บ้านร่อน ตําบลเขาแก้ว อําเภอลานสกา จังหวัด

นครศรีธรรมราช 80230 โทรศัพท์ : 0 7539 1240, 0 7539 1218 มีพ้ืนที่ครอบคลุมอยู่ในท้องท่ีตําบลท่าดี
ตาํ บลกําโลน ตําบลเขาแกว้ อาํ เภอลานสกา ตําบลละอาย อําเภอฉวาง ตําบลท่าง้ิว อําเภอเมือง ตําบลยางค้อม
ตาํ บลพิปูน ตําบลเขาพระ อําเภอพิปูน ตําบลทอนหงส์ ตาํ บลบา้ นเกราะ ตําบลพรหมโลก อําเภอพรหมคีรี
ตําบลช้างกลาง ตําบลสวนขัน อําเภอช้างกลาง และตําบลกรุงชิง ตําบลนบพิตํา ตําบลนาเหรง อําเภอนบพิตํา
จังหวัดนครศรีธรรมราช มีเน้ือที่ประมาณ 356,250 ไร่ หรือ 570 ตารางกิโลเมตร โดยมีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้

ทศิ เหนอื จดพ้ืนที่การปกครอง อาํ เภอนบพติ าํ จังหวัดนครศรธี รรมราช
ทศิ ใต้ จดพ้นื ทีก่ ารปกครอง อาํ เภอลานสกา และอาํ เภอช้างกลาง จงั หวดั นครศรธี รรมราช

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนที่อทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง

4

ทิศตะวันออก จดพื้นท่กี ารปกครอง อาํ เภอทา่ ศาลา อาํ เภอพรหมคีรี และอาํ เภอเมือง
จงั หวัดนครศรีธรรมราช

ทิศตะวันตก จดพน้ื ทก่ี ารปกครอง อําเภอพิปูน และอาํ เภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช

ภาพที่ 1 แสดงที่ตงั้ และอาณาเขตของอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง
การเดินทางและเสน้ ทางคมนาคม

จากกรุงเทพมหานคร ถึงตัวเมืองนครศรีธรรมราช ระยะทาง ประมาณ 800 กิโลเมตร สามารถ
เดินทางได้ทั้งทางเคร่ืองบิน รถไฟ และรถยนต์ ส่วนการเดินทางไปอุทยานแห่งชาติเขาหลวงน้ันเริ่มจากตัวเมือง
นครศรีธรรมราช ใช้เส้นทางหลวงจังหวัดหมายเลข 4015 ไปทางอําเภอลานสกา ประมาณ 20 กิโลเมตร จะมีป้าย
ขนาดใหญ่ “อทุ ยานแห่งชาติเขาหลวง” ทางขวามือ เดินทางต่อไปอีกประมาณ 1 กิโลเมตรเศษก็จะถึงที่ทําการ
อุทยานแห่งชาติ (น้ําตกกะโรม) หมู่ 4 บ้านร่อน ตําบลเขาแก้ว อําเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช
80230

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง

5

ลักษณะภูมปิ ระเทศ
อุทยานแห่งชาติเขาหลวง มีพื้นที่ครอบคลุมอยู่ในท้องท่ีตําบลท่าดี ตําบลกําโลน ตําบลเขาแก้ว

อําเภอลานสกา ตําบลละอาย อําเภอฉวาง ตําบลท่างิ้ว อําเภอเมือง ตําบลยางค้อม ตําบลพิปูน ตําบลเขาพระ
อําเภอพิปูน ตําบลทอนหงส์ ตําบลบ้านเกราะ ตําบลพรหมโลก อําเภอพรหมคีรี ตําบลช้างกลาง ตําบลสวนขัน
กิ่งอําเภอช้างกลาง และตําบลกรุงชิง ตําบลนบพิตํา ตําบลนาเหรง ก่ิงอําเภอนบพิตํา จังหวัดนครศรีธรรมราช
หรือระหว่างเส้นรุ้งที่ 08 องศา 22 ลิบดา - 08 องศา 45 ลิบดา เหนือ และอยู่ระหว่างเส้นแวงที่ 99 องศา 37
ลิบดา - 99 องศา 51 ลิบดา ตะวันออก พื้นท่ีอุทยานแห่งชาติครอบคลุมเทือกเขานครศรีธรรมราชตอนกลาง
ประกอบด้วยเทอื กเขาสูงสลับซับซ้อนทอดยาวเหนือจรดใต้ขนานไปกับชายฝ่ังทะเลด้านตะวันออก มีท่ีราบตาม
หุบเขาเล็กน้อย ดินบนภเู ขาเป็นดนิ ที่เกดิ จากการผสุ ลายของหินแกรนิต มียอดเขาสูงสุดคือ ยอดเขาหลวง สูงจาก
ระดบั น้าํ ทะเล 1,835 เมตร เปน็ ต้นกาํ เนดิ ของตน้ นาํ้ ลาํ ธารหลายสาย เชน่ แมน่ าํ้ ตาปี แมน่ ้ําปากพนงั คลองกรุงชิง
คลองเขาแก้ว คลองท่าแพ คลองระแนะ และคลองละอาย อันเป็นแหล่งน้ําที่สําคัญของพื้นท่ีโดยรอบอุทยาน
แหง่ ชาตเิ ขาหลวง เป็นต้น

ภาพท่ี 2 ลักษณะภูมปิ ระเทศของอุทยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง
ลกั ษณะภมู ิอากาศ

อุทยานแห่งชาติเขาหลวงแห่งนี้ต้ังอยู่บนคาบสมุทร จึงได้รับลมมรสุมท่ีพัดผ่านทะเลทั้งสองด้าน
ทําใหฝ้ นตกเกอื บตลอดปีและมอี ากาศคอ่ นขา้ งเยน็ มีเมฆปกคลมุ ทาํ ให้เกิดฤดกู าลเพียง 2 ฤดู คือ ฤดูฝนจะเริ่ม
ตง้ั แตเ่ ดอื นพฤษภาคมถึงเดอื นมกราคม และฤดูแล้งเริ่มตั้งแตเ่ ดือนกุมภาพันธถ์ ึงเดอื นเมษายน อุณหภูมิโดยเฉล่ีย
ของพื้นท่ีในแต่ละช่วงปีเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก โดยอุณหภูมิเฉลี่ยรายเดือน มีค่าเปลี่ยนแปลงจาก 25.8 องศา

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง

6

เซลเซียส ในเดือนพฤศจิกายน และเดือนมกราคม จนถึง 28.5 องศาเซลเซียส ในเดือนเมษายนและค่าเฉลี่ย
ตลอดปเี ทา่ กับ 27.3 องศาเซลเซียส อุณหภูมสิ ูงสดุ เฉล่ยี รายเดือนเทา่ กบั 33.8 องสาเซลเซยี ส ในเดอื นมกราคม
และเดอื นกมุ ภาพนั ธ์

ความชื้นสมั พัทธ์ ของสถานตี รวจวัดอากาศ จังหวดั นครศรธี รรมราช พบว่าค่าเฉล่ียรายเดือนมีแนวโน้ม
ทีม่ ีค่าสูง แสดงให้เหน็ ถึงปรมิ าณไอนาํ้ ในอากาศท่ีมอี ยูใ่ นปรมิ าณมาก และค่าความชื้นสัมพัทธ์เฉล่ียรายเดือนจะ
มคี า่ ความแปรผนั ไม่มากนัก โดยคา่ ความชน้ื สมั พัทธ์มคี ่าต้งั แต่รอ้ ยละ 86 ในเดือนพฤศจกิ ายน จนถงึ รอ้ ยละ 70
ในเดือนกรกฎาคมและสิงหาคม และค่าเฉลี่ยความชื้นสัมพัทธ์ตลอดปีเท่ากับร้อยละ 79 สําหรับความชื้นสัมพัทธ์
สงู สุดเฉลี่ยรายเดอื นเท่ากับรอ้ ยละ 96 และคา่ ความชืน้ สัมพัทธ์ ตํา่ สุดเฉลย่ี เท่ากับร้อยละ 57

ปริมาณฝนรายเดือน ในช่วงสถิติข้อมูล 30 ปี พอสรุปได้ว่า ปริมาณนํ้าฝนของพื้นที่อยู่ในเกณฑ์สูง
คือ ค่าปริมาณน้าํ ฝนเฉลยี่ รายปีมีคา่ เทา่ กับ 2,381.3 มิลลเิ มตร ทั้งน้ีจากการท่ีมีพ้ืนที่อยู่ใกล้ทะเลอันเป็นแหล่ง
ไอนํ้า โดยปริมาณน้ําฝนเฉล่ียรายเดือนมากที่สุด มีค่าเท่ากับ 643.1 มิลลิเมตร ในเดือนพฤศจิกายน และเป็น
เดือนท่ีมีปริมาณฝนเฉลี่ยช่วง 24 ช่ัวโมงมากที่สุด คือ 447.8 มิลลิเมตร และมีจํานวนวันที่มีฝนตกอยู่สูงสุดถึง
22 วนั

ภาพที่ 3 ลกั ษณะภมู อิ ากาศของพนื้ ท่มี คี วามชืน้ และหมอกปกคลุม

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ท่อี ุทยานแหง่ ชาติเขาหลวง

7

จุดเดน่ ทน่ี า่ สนใจ
อุทยานแห่งชาตเิ ขาหลวงมีจดุ เด่นที่น่าสนใจในพืน้ ที่ ดงั นี้
1. นาํ้ ตกกะโรม เป็นทตี่ ้งั ของท่ีทาํ การอทุ ยานแห่งชาติ อยใู่ นท้องที่ หมู่ 4 ตําบลเขาแก้ว อําเภอ

ลานสกา เปน็ แหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติทส่ี วยงามอีกแหง่ หนึ่ง น้ําตกกะโรมมีช้ันนํ้าตกท้ังหมด 19 ช้ัน เปิดบริการ
ใหท้ ่องเท่ยี วชมความหลากหลายของธรรมชาติ เพ่อื การพักผ่อนหย่อนใจและรืน่ รมยเ์ พียง 7 ชั้น คือ หนานทุเรียน
หนานชอ่ งไทร หนานไผ่ หนานนาํ้ ราง หนานผึ้ง หนานเตยและหนานดาดฟ้าซึ่งเป็นช้ันที่สวยงามท่ีสุด แลเห็นสายน้ํา
ไหลพร่ังพรูลงจากหน้าผาสูงและลาดชัน 45 องศา ลดหลั่นลงมาตามโขดหินกว้าง จนถึงแอ่งนํ้าใหญ่เบื้องล่าง
ท่ีสามารถลงเล่นน้ําได้ ตามปกติสายนํ้าจะไหลแยกเป็น 2 สาย พอถึงช่วงหน้าฝนสายนํ้าจะไหลหลากแผ่เต็ม
หน้าผาน่าชมมาก ในปี พ.ศ. 2450 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 5 พร้อมด้วยสมเด็จ
พระเจ้าลูกเธอ 4 พระองค์ ได้เสด็จประทับทอดพระเนตรพื้นท่ีหนานดาดฟ้า ในปี พ.ศ. 2460 พระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 6 ได้เสด็จประทับทอดพระเนตรและทรงจารึกพระปรมาภิไธยย่อ “ว.ป.ร.
2460” ท่ีหน้าผาหนานดาดฟ้า

ภาพท่ี 4 บรเิ วณแหล่งท่องเท่ียวนา้ํ ตกกะโรม

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติเขาหลวง

8

2. น้ําตกพรหมโลก อยใู่ นทอ้ งท่หี มู่ 5 ตําบลพรหมโลก อําเภอพรหมคีรี สามารถเดินทางไปตาม
ทางหลวงจงั หวดั หมายเลข 4016 (นครศรธี รรมราช-พรหมครี ี) ประมาณ 18 กิโลเมตร แล้วแยกซ้ายไปตามทางหลวง
จังหวดั หมายเลข 4132 (พรหมคีร-ี พรหมโลก) อีกประมาณ 4 กิโลเมตร นํ้าตกพรหมโลกเป็นน้ําตกขนาดใหญ่
ทส่ี วยงาม มชี น้ั น้าํ ตกประมาณ 50 ชน้ั เปดิ บริการใหท้ ่องเทยี่ วไดเ้ พยี ง 4 ชน้ั คอื หนานวังนํ้าวน หนานวังไม้ปัก
หนานวงั หวั บวั และหนานวงั อา้ ยแล ในปี พ.ศ. 2502 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวภมู พิ ลอดุลยเดชและสมเด็จ
พระนางเจ้าสิรกิ ิต์ิพระบรมราชนิ นี าถ ได้เสด็จประพาสน้ําตกแห่งนี้ และทรงจารึกพระปรมาภิไธยย่อ “ภ.ป.ร.”
และ “ส.ก.” ไว้ที่หนา้ ผานา้ํ ตกชน้ั ที่ 1 (หนานวงั นา้ํ วน)

ภาพที่ 5 บริเวณแหล่งท่องเท่ยี วนาํ้ ตกพรหมโลก
3. นา้ํ ตกอา้ ยเขยี ว น้าํ ตกอ้ายเขยี ว หรอื เรยี กอชี อื่ หนึง่ ว่า น้ําตกในเขียว ต้ังอยู่เส้นทางเดียวกับ
ทางไปนา้ํ ตกพรหมโลก ในท้องที่หมู่ท่ี 5 ตําบลทอนหงส์ อําเภอพรหมคีรี นํ้าตกอ้ายเขียวมีที่มาจากทุเรียนบ้าน
ในละแวกน้นั ทม่ี ีช่อื ว่า “อ้ายเขยี ว” ชาวบา้ นจงึ ให้ชอื่ นํ้าตกแหง่ นวี้ า่ “นํ้าตกอ้ายเขียว” เป็นน้ําตกขนาดใหญ่ท่ีมี
ธรรมชาติงดงาม เกิดจากคลองในเขียวซึ่งมีความยาวของลํานํ้าประมาณ 35 กิโลเมตร มีช้ันนํ้าตกไหลลดหลั่น
กนั ประมาณ 100 ช้นั ไหลลงมาจากหน้าผาสูงลดระดับตามความลาดเอียงของภูเขา โดยทางอุทยานแห่งชาติ
อนุญาตให้ท่องเที่ยวได้เพียง 9 ชั้น หนานช่องไทร หนานบังใบ หนานไม้ไผ่ หนานเสือผ่าน หนานบุปผาสวรรค์
หนานหินกอง หนานหัวช้าง หนานไทรกวาดลาน และหนานฝาแฝด

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาติเขาหลวง

9

ภาพท่ี 6 บรเิ วณแหล่งท่องเท่ยี วนาํ้ ตกอา้ ยเขยี ว
4. นํ้าตกกรงุ ชิง “กรุงชงิ ” เป็นชื่อสถานทแ่ี ห่งหนง่ึ ในจังหวัดนครศรีธรรมราช เช่ือกันว่าเคยเป็น
ชุมชนมาแต่สมัยโบราณ เป็นพน้ื ทท่ี ม่ี ปี ระวัติการต่อสู้อันเกิดจากความขัดแย้งในด้านความคิด ในการปกครอง
พื้นท่ีผืนป่ากรุงชิง โดยพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ต้ังแต่ปี 2517 ต่อมาฝ่ายรัฐบาลสามารถยึดพื้นที่ได้
ทําให้พรรคคอมมิวนิสต์ที่กรุงชิงแตกในปี 2524 คําว่า “ชิง” เป็นช่ือของ ต้นชิง ซึ่งเป็นพันธ์ุไม้ในตระกูลปาล์ม
ชนดิ หนงึ่ ทีม่ ีมากในเขตนี้ ป่ากรุงชิงอยู่ในทอ้ งท่ีตาํ บลกรุงชงิ กงิ่ อาํ เภอนบพติ าํ ห่างจากตัวเมืองนครศรีธรรมราช
ไปตามทางหลวงจังหวัดหมายเลข 4016 แล้วเขา้ ทางหลวงจังหวัดหมายเลข 4186 จนถึงบ้านห้วยพานจึงเลี้ยว
ซ้ายเข้าสู่ทางหลวงจงั หวดั หมายเลข 4188 (หว้ ยพาน-กรุงชงิ ) รวมระยะทางประมาณ 62 กิโลเมตร จะพบทางแยก
ซา้ ยมือเข้าสู่หน่วยพิทกั ษอ์ ุทยานแห่งชาตทิ ่ี ขล.4 (นา้ํ ตกกรงุ ชิง) เขา้ ไปอกี 8 กโิ ลเมตร
สภาพพื้นท่ีของกรุงชิงเป็นพ้ืนที่ราบสูงและมีภูเขาล้อมรอบ ซ่ึงชาวบ้านเรียกกันว่า “อ่าวกรุงชิง”
น้ําตกกรงุ ชิงเป็นน้ําตกขนาดใหญ่ เกิดจากคลองกรุงชิงซึ่งไหลตัดผ่านหุบผาหินแกรนิต ลดระดับตามความลาดเอียง
ของภเู ขา กอ่ เกิดเปน็ ช้ันนา้ํ ตกอนั งดงาม น้าํ ตกกรุงชงิ เปดิ ใหเ้ ทย่ี วชมจํานวน 7 ช้ัน คือ หนานมัดแพ หนานปลิว
หนานจน หนานโจน หนานต้นตอ หนานวังเรือบนิ และหนานฝนเสน่หา ซึ่งเป็นช้ันที่งดงามท่ีสุด นอกจากการ
เที่ยวชมนา้ํ ตกและศกึ ษาประวัตศิ าสตรแ์ ล้ว นํ้าตกกรุงชิงยังมีแหล่งธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ
ทส่ี วยงาม มเี สน้ ทางเดนิ ปา่ ศึกษาธรรมชาติ เขา้ คา่ ยอนรุ ักษ์ธรรมชาติ ศกึ ษาพนั ธ์ไุ ม้ และชมนกอีกด้วย

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ทีอ่ ุทยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง

10

ภาพที่ 7 บรเิ วณแหล่งทอ่ งเท่ยี วนา้ํ ตกกรงุ ชงิ
5. จุดชมทวิ ทัศนย์ อดเขาหลวง เปน็ ยอดเขาทส่ี ูงที่สุดของภาคใต้ คือ สูงประมาณ 1,835 เมตร
อยู่ในท้องที่บ้านคีรีวง ตําบลกําโลน อําเภอลานสกา ห่างจากตัวเมืองนครศรีธรรมราช (ไปตามเส้นทางเดียวกับ
นํ้าตกกะโรมแต่ถึงก่อน) ประมาณ 20 กิโลเมตร มีแยกขวามือเข้าหมู่บ้านคีรีวงระยะทางประมาณ 9 กิโลเมตร
ใช้เวลาเดินข้ึนถึงยอดเขาไปกลับ 3 วัน กับ 2 คืน บนยอดเขาหลวงปกคลุมด้วยป่าดิบเขาแน่นทึบจนได้รับการ
ขนานนามว่าเป็น หลังคาสเี ขยี วแห่งภาคใต้ ผนื ปา่ ทม่ี ีความชุม่ ชืน้ จงึ ทาํ ให้พบมอส เฟิน และไลเคนนานาชนิด
ปกคลุมท่ัวไปตามตน้ ไม้ ก้อนหิน และพืน้ ป่า ยอดเขาหลวงเปน็ แหล่งรวมของพันธ์ุพชื บนท่ีสูง เชน่ ก่อชนิดต่างๆ
กหุ ลาบปา่ แดงเขา โดยเฉพาะพชื หายาก เช่น บัวแฉก ซึ่งเป็นเฟินที่หายากมาก รวมทั้งกล้วยไม้หลากหลายชนิด
ยอดเขาหลวงจึงจัดเปน็ บรเิ วณทีม่ ีความเปราะบาง ต้องอยใู่ นความควบคมุ ดแู ลของเจา้ หน้าทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติ

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ท่อี ทุ ยานแห่งชาติเขาหลวง

11

ภาพที่ 8 บรเิ วณแหล่งทอ่ งเทีย่ วยอดเขาหลวง
6. ผาเหยียบเมฆ ตั้งอยู่ในท้องที่ หมู่ท่ี 6 ตําบลทอนหงส์ อําเภอพรหมคีรี การเดินทางสู่ผาเหยียบเมฆ
สามารถเดนิ ทางจากเมืองนครศรีธรรมราช ใช้เส้นทางหลวงจังหวัดหมายเลข 4016 (นครศรีธรรมราช-พรหมคีรี)
ระยะทางประมาณ 35 กโิ ลเมตรที่ 40 เลย้ี วซ้ายสีแ่ ยกบ้านดอนคาเข้าสูท่ างหลวงจังหวัดหมายเลข 4141 (บ้านวังลุง)
ถงึ น้ําตกสองรัก จากนนั้ เดินเทา้ ประมาณ 2 ชั่วโมง ถึงผาเหยยี บเมฆ ความสงู ประมาณ 1,200 เมตรจากระดับ
นา้ํ ทะเล บริเวณหนา้ ผาเป็นสนั แหลมสามารถมองเห็นทิวทศั นไ์ ด้ทัง้ 2 ดา้ น ดูดวงอาทติ ยข์ นึ้ ปลายแหลมตะลมุ พกุ
ชมพนั ธพุ์ ชื ที่หายาก เชน่ ก้ามกุ้ง กุหลาบเขาหลวง เฟนิ และปาลม์

ภาพท่ี 9 บรเิ วณแหล่งท่องเท่ยี วผาเหยยี บเมฆ

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พน้ื ที่อทุ ยานแห่งชาตเิ ขาหลวง

12

7. พันธพ์ุ ชื หายาก อทุ ยานแหง่ ชาติเขาหลวงเป็นแหลง่ รวมของพนั ธ์พุ ืชบนท่ีสูง เช่น ไมก้ ่อชนิดต่างๆ
กุหลาบป่าแดงเขา โดยเฉพาะพืชหายาก เช่น บัวแฉกบัวเฉก ( Dipteris conjugata) เปน็ เฟินโบราณชนิดหนึ่ง
ทพ่ี บขน้ึ เป็นกลุม่ บรเิ วณทเ่ี ปดิ โล่งใกล้ยอดเขาหลวง รูปทรงของแฉกใบท่ีงดงามและสเี ขียวสด สรา้ งความชะอมุ่
ชุ่มชน้ื ใหก้ ับผืนปา่ เป็นพชื พรรณท่พี บไดเ้ ฉพาะบนยอดเขาสงู ๆ ทางภาคใตไ้ ม่กี่แห่งเท่านน้ั เตา่ รา้ งยกั ษ์ (Caryota
obtuse) กูดตน้ หรอื มหาสดํา (Cyathea borneensis) รวมท้งั กล้วยไม้หลากหลายชนิด

ภาพท่ี 10 พันธไุ์ มท้ น่ี า่ สนใจและหายากในอทุ ยานแห่งชาตเิ ขาหลวง

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พนื้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง

13

รปู แบบและวิธกี ารสํารวจทรัพยากรป่าไม้

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ในแต่ละจังหวัดท่ัวประเทศไทย ดําเนินการโดยกลุ่มสํารวจทรัพยากร
ป่าไม้ ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟื้นฟูและพัฒนาพ้ืนที่อนุรักษ์ และสํานักบริหารพื้นท่ี
อนรุ ักษต์ ่างๆ ในสงั กดั กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พชื
การสุ่มตวั อยา่ ง (Sampling Design)

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบสมํ่าเสมอ (Systematic Sampling) ในพ้ืนท่ีท่ี
ภาพถ่ายดาวเทียมแปลว่ามีสภาพเป็นป่า โดยให้แต่ละแปลงตัวอย่าง (Sample plot) มีระยะห่างเท่าๆ กัน
โดยกาํ หนดให้แตล่ ะแปลงหา่ งกัน 2.5x2.5 กโิ ลเมตร เริ่มจากการสุ่มกําหนดแปลงตัวอย่างแรกบนเส้นกริดแผนท่ี
(Grid) ลงบนขอบเขตแผนที่ประเทศไทย มาตราส่วน 1:50,000 ให้มีระยะห่างระหว่างเส้นกริดทั้งแนวตั้งและ
แนวนอนเทา่ กับ 2.5x2.5 กโิ ลเมตร คือ ระยะช่องกรดิ ในแผนทีเ่ ท่ากบั 10 ชอ่ ง จดุ ตัดของเส้นกริดทั้งสองแนว
ก็จะเป็นตําแหน่งที่ต้ังของแปลงตัวอย่างแต่ละแปลง เมื่อดําเนินการเสร็จส้ินแล้วจะทราบจํานวนหน่วยตัวอย่าง
และตําแหนง่ ทีต่ ั้งของหนว่ ยตัวอยา่ ง โดยลกั ษณะของแปลงตัวอย่างดังภาพที่ 11 และรูปแบบของการวางแปลง
ตวั อย่างดังภาพที่ 12 ตามลาํ ดับ

ภาพท่ี 11 ลกั ษณะและขนาดของแปลงตวั อย่าง

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ทอี่ ุทยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง

14

ภาพที่ 12 ลกั ษณะรปู แบบของการวางแปลงตัวอยา่ ง
รูปร่างและขนาดของแปลงตวั อยา่ ง (Plot Design)

แปลงตัวอย่าง (Sample Plot) ที่ใช้ในการสํารวจมีท้ังแปลงตัวอย่างถาวรและแปลงตัวอย่าง
ชัว่ คราว เป็นแปลงทม่ี ขี นาดคงที่ (Fixed – Area Plot) และมีรูปรา่ ง 2 ลกั ษณะดว้ ยกัน คือ

1. ลกั ษณะรปู วงกลม (Circular Plot)
1.1 รูปวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางร่วมกัน รัศมีแตกต่างกัน จํานวน 3 วง คือ วงกลมรัศมี 3.99,

12.62 และ 17.84 เมตร ตามลาํ ดบั
1.2 รูปวงกลมที่มีรัศมีเท่ากัน จุดศูนย์กลางต่างกัน จํานวน 4 วง รัศมี 0.631 เมตร เท่ากัน

โดยจดุ ศูนยก์ ลางของวงกลมอยบู่ นเส้นรอบวงของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร ตามทศิ หลกั ท้ัง 4 ทศิ
2. ลักษณะแบบแนวเส้นตรง (Intersect Line) จํานวน 2 เส้น ความยาวเส้นละ 17.84 เมตร

โดยมีจุดเริ่มต้นร่วมกัน ณ จุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่างทํามุมฉากซึ่งกันและกัน ซึ่งตัวมุม Azimuth ของเส้นที่ 1
ได้จากการส่มุ ตวั อย่าง

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พ้นื ทอี่ ุทยานแหง่ ชาติเขาหลวง

15

ขนาดของแปลงตัวอย่างและข้อมูลท่ที าํ การสาํ รวจ
ขนาดของแปลงตัวอยา่ ง และข้อมลู ทที่ ําการสํารวจแสดงรายละเอยี ดไวใ้ นตารางที่ 1

ตารางท่ี 1 ขนาดของแปลงตวั อยา่ งและข้อมูลท่ีดาํ เนนิ การสํารวจ

รศั มขี องวงกลม หรอื ความยาว จํานวน พื้นที่หรอื ความยาว ขอ้ มลู ท่สี ํารวจ
(เมตร)
กล้าไม้
0.631 4 วง 0.0005 เฮกตาร์ ลูกไม้และการปกคลุมพื้นท่ีของกล้าไม้
3.99 1 วง 0.0050 เฮกตาร์ และลูกไม้
ไม้ไผ่ หวายท่ียงั ไม่เลอื้ ย และตอไม้
12.62 1 วง 0.0500 เฮกตาร์ ตน้ ไม้ และตรวจสอบปัจจยั ทรี่ บกวน
17.84 1 วง 0.1000 เฮกตาร์ พ้ืนทปี่ า่
Coarse Woody Debris (CWD)
17.84 (เส้นตรง) 2 เส้น 17.84 เมตร หวายเล้ือย และไม้เถา ท่พี าดผ่าน

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนทอ่ี ุทยานแห่งชาตเิ ขาหลวง

16

การวเิ คราะหข์ ้อมลู การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้

1. การคาํ นวณเนอ้ื ทีป่ ่าและปริมาณไม้ทง้ั หมดของแตล่ ะพนื้ ท่อี นรุ กั ษ์
1.1 ใช้ขอ้ มูลพน้ื ท่อี นุรกั ษ์จากแผนทแี่ นบทา้ ยกฤษฎีกาของแตล่ ะพ้ืนท่อี นรุ กั ษ์
1.2 ใชส้ ัดส่วนจาํ นวนแปลงตวั อย่างที่พบในแตล่ ะชนดิ ป่า เปรยี บเทียบกับจํานวนแปลงตวั อยา่ งที่

วางแปลงทัง้ หมดในแตล่ ะพ้ืนท่ีอนุรักษ์ ทีอ่ าจจะไดข้ ้อมลู จากภาคสนาม หรอื การดจู ากภาพถา่ ยดาวเทียมหรอื
ภาพถ่ายทางอากาศ มาคํานวณเป็นเนือ้ ที่ป่าแต่ละชนดิ โดยนาํ แปลงตวั อย่างทวี่ างแผนไวม้ าคาํ นวณทกุ แปลง

1.3 แปลงตัวอยา่ งท่ีไมส่ ามารถดําเนินการได้ ก็ตอ้ งนํามาคํานวณดว้ ย โดยทําการประเมนิ
ลกั ษณะพ้ืนทว่ี า่ เป็น หน้าผา น้ําตก หรอื พน้ื ทอี่ ื่นๆ เพือ่ ประกอบลกั ษณะการใช้ประโยชน์ทด่ี ิน

1.4 ปรมิ าณไมท้ ั้งหมดของพน้ื ท่อี นรุ กั ษ์ เป็นการคาํ นวณโดยใชข้ อ้ มลู เนื้อที่อนรุ กั ษ์จากแผนที่
แนบท้ายกฤษฎกี าของแต่ละพ้ืนทอี่ นุรกั ษ์ ซงึ่ บางพื้นทีอ่ นุรกั ษ์มีข้อมลู เน้ือทค่ี ลาดเคล่ือนจากขอ้ เทจ็ จรงิ และ
สง่ ผลต่อการคาํ นวณปรมิ าณไมท้ ง้ั หมด ทาํ ใหก้ ารคาํ นวณปรมิ าณไม้เปน็ การประมาณเบอ้ื งต้น
2. การคํานวณปรมิ าตรไม้

สมการปรมิ าตรไม้ทใ่ี ช้ในการประเมินการกักเก็บธาตคุ าร์บอนในพืน้ ทปี่ า่ ไม้ แบบวิธี Volume
based approach โดยแบ่งกลุ่มของชนิดไม้เปน็ จํานวน 7 กลมุ่ ดังน้ี

2.1 กลมุ่ ที่ 1 ไดแ้ ก่ ยาง เตง็ รัง เหียง พลวง กระบาก เคยี่ ม ตะเคียน สยา ไขเ่ ขียว พะยอม
จันทน์กะพ้อ สนสองใบ

สมการทไ่ี ด้ ln V = 2.372083 + 2.443847 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 188

2.2 กลมุ่ ท่ี 2 ไดแ้ ก่ กระพี้จัน่ กระพเ้ี ขาควาย เก็ดดาํ เกด็ แดง เกด็ ขาว เถาวลั ยเ์ ปรียง พะยูง
ชิงชัน กระพี้ ถอ่ น แดง ขะเจ๊าะ แคทราย แคฝอย และสกลุ มะเกลอื

สมการที่ได้ ln V = 2.134494 + 2.363034 ln (DBH/100)
R2 = 0.91, sample size = 135

2.3 กลมุ่ ท่ี 3 ไดแ้ ก่ รกฟา้ สมอพเิ ภก สมอไทย หูกวาง หกู ระจง ตีนนก ขี้อ้าย กระบก ตะครา้ํ
ตะครอ้ ตาเสือ คา้ งคาว สะเดา ยมหอม ยมหิน กระท้อน เลยี่ น มะฮอกกานี ขอี้ ้าย ตะบูน ตะบัน รกั ตว้ิ
สะแกแสง ปูเ่ จา้ และไมส้ กุลสา้ น เสลา อนิ ทนลิ ตะแบก ชะมวง สารภี บนุ นาค

สมการทไ่ี ด้ ln V = 1.880578 + 2.053321 ln (DBH/100)
R2 = 0.89, sample size = 186

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้นื ท่อี ุทยานแห่งชาติเขาหลวง

17

2.4 กล่มุ ที่ 4 ไดแ้ ก่ กางข้มี อด คนู พฤกษ์ มะค่าโมง นนทรี กระถินพมิ าน มะขามป่า หลุมพอ
และสกลุ ข้เี หลก็

สมการทไี่ ด้ ln V = 1.789563 + 2.025666 ln (DBH/100)
R2 = 0.90, sample size = 36

2.5 กลมุ่ ที่ 5 ไดแ้ ก่ สกลุ ประดู่ เตมิ

สมการทไ่ี ด้ ln V = 2.037096 + 2.299618 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 99

2.6 กล่มุ ที่ 6 ไดแ้ ก่ สัก ตนี นก ผ่าเสี้ยน หมากเลก็ หมากนอ้ ย ไข่เนา่ กระจบั เขา กาสามปกี สวอง

สมการทไี่ ด้ ln V = 2.119907 + 2.296511 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 186

2.7 กลมุ่ ที่ 7 ได้แก่ ไมช้ นดิ อ่นื ๆ เช่น กุ๊ก ขว้าว ง้ิวป่า ทองหลางป่า มะมว่ งป่า ซอ้ โมกมนั
แสมสาร และไมใ้ นสกลุ ปอ กอ่ เปลา้ เป็นต้น

สมการทไ่ี ด้ ln V = 2.250111 + 2.414209 ln (DBH/100)
R2 = 0.93, sample size = 138

โดยท่ี V คือ ปรมิ าตรสว่ นลาํ ต้นเมือ่ ตัดโค่นท่คี วามสงู เหนือดิน (โคน) 10 เซนตเิ มตร
3. ขอ้ มูลท่ัวไป ถงึ กิ่งแรกท่ีทาํ เป็นสินคา้ ได้ มหี นว่ ยเปน็ ลูกบาศกเ์ มตร

DBH มีหน่วยเปน็ เซนตเิ มตร
Ln = natural logarithm

ขอ้ มลู ทั่วไปท่นี าํ ไปใชใ้ นการวเิ คราะห์ ได้แก่ ท่ีต้ัง ตาํ แหน่ง ชว่ งเวลาทเ่ี กบ็ ข้อมูล ผู้ทที่ ําการเก็บ
ข้อมูล ความสงู จากระดบั น้ําทะเล และลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ่ีดนิ เปน็ ตน้ โดยข้อมลู เหล่านี้จะใช้ประกอบใน
การวเิ คราะหป์ ระเมนิ ผลรว่ มกบั ขอ้ มลู ด้านอนื่ ๆ เพ่ือตดิ ตามความเปลีย่ นแปลงของพืน้ ท่ใี นการสาํ รวจทรัพยากร
ป่าไม้คร้ังตอ่ ไป

4. การวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหมู่ไม้

4.1 ความหนาแนน่
4.2 ปรมิ าตร

5. การวิเคราะหข์ ้อมูลชนิดและปริมาณของลกู ไม้ (Sapling) และกล้าไม้ (Seedling)

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นทีอ่ ุทยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง

18

6. การวเิ คราะหข์ อ้ มูลชนดิ และปรมิ าณของไม้ไผ่ หวาย
6.1 ความหนาแนน่ ของไม้ไผ่ (จํานวนกอ และ จํานวนลํา)
6.2 ความหนาแนน่ ของหวายเส้นต้ัง (จํานวนต้น)

7. การวเิ คราะหข์ อ้ มูลสงั คมพืช

โดยมรี ายละเอียดการวิเคราะหข์ ้อมลู ดังน้ี

7.1 ความหนาแน่นของพรรณพืช (Density : D) คือ จํานวนต้นไม้ท้ังหมดของชนิดพันธุ์ท่ีศึกษาท่ี
ปรากฏในแปลงตวั อย่างต่อหน่วยพืน้ ที่ทท่ี ําการสํารวจ

D= จาํ นวนตน้ ของไม้ชนิดนัน้ ทั้งหมด
.

พื้นท่ีแปลงตวั อยา่ งท้ังหมดท่ีทาํ การสาํ รวจ

7.2 ความถี่ (Frequency : F) คือ อัตราร้อยละของจํานวนแปลงตัวอย่างที่ปรากฏพันธ์ุไม้ชนิดนั้น
ต่อจาํ นวนแปลงทท่ี ําการสํารวจ

F = จาํ นวนแปลงตัวอยา่ งทพ่ี บไมช้ นดิ ทก่ี าํ หนด X 100
จาํ นวนแปลงตวั อย่างทงั้ หมดทที่ าํ การสาํ รวจ

7.3 ความเด่น (Dominance : Do) ใช้ความเด่นด้านพ้ืนที่หน้าตัด (Basal Area : BA) หมายถึง
พื้นท่หี นา้ ตดั ของลาํ ตน้ ของตน้ ไมท้ ่ีวัดระดบั อก (1.30 เมตร) ตอ่ พ้นื ท่ที ีท่ ําการสาํ รวจ

Do = พืน้ ท่หี นา้ ตดั ท้ังหมดของไม้ชนิดที่กําหนด X 100
พน้ื ทแ่ี ปลงตวั อย่างทที่ ําการสํารวจ

7.4 คา่ ความหนาแน่นสมั พัทธ์ (Relative Density : RD) คอื ค่าความสมั พทั ธข์ องความหนาแนน่ ของ
ไม้ท่ตี อ้ งการต่อคา่ ความหนาแนน่ ของไม้ทุกชนิดในแปลงตวั อย่าง คิดเป็นร้อยละ

RD = ความหนาแนน่ ของไม้ชนดิ นัน้ X 100
ความหนาแน่นรวมของไมท้ ุกชนิด

7.5 ค่าความถี่สัมพัทธ์ (Relative Frequency : RF) คือ ค่าความสัมพทั ธ์ของความถ่ีของชนิดไม้ที่
ตอ้ งการตอ่ ค่าความถีท่ ้ังหมดของไมท้ กุ ชนิดในแปลงตัวอย่าง คดิ เปน็ รอ้ ยละ

RF = ความถข่ี องไม้ชนิดนน้ั X 100
ความถี่รวมของไม้ทกุ ชนิด

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนท่อี ทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง

19

7.6 คา่ ความเดน่ สมั พัทธ์ (Relative Dominance : RDo) คอื คา่ ความสัมพันธข์ องความเดน่
ในรปู พ้ืนท่ีหนา้ ตดั ของไม้ชนดิ ท่ีกาํ หนดตอ่ ความเด่นรวมของไมท้ กุ ชนดิ ในแปลงตวั อย่าง คิดเปน็ ร้อยละ

RDo = ความเดน่ ของไม้ชนิดน้นั X 100
ความเด่นรวมของไม้ทกุ ชนิด

7.7 ค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) คือ ผลรวมของค่าความ
สัมพัทธต์ ่างๆ ของชนิดไมใ้ นสงั คม ไดแ้ ก่ คา่ ความสมั พัทธด์ ้านความหนาแน่น ค่าความสัมพัทธ์ด้านความถี่ และ
ค่าความสมั พทั ธด์ ้านความเดน่

IVI = RD + RF + RDo

8. วเิ คราะหข์ ้อมลู ความหลากหลายทางชวี ภาพ

โดยทาํ การวิเคราะห์ค่าต่างๆ ดังนี้

8.1 ความหลากหลายของชนิดพันธ์ุ (Species Diversity) วัดจากจํานวนชนิดพันธ์ุที่ปรากฏใน
สังคมและจํานวนต้นท่ีมีในแต่ละชนิดพันธ์ุ โดยใช้ดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener Index of
diversity ตามวธิ ีการของ Kreb (1972) ซ่ึงมสี ูตรการคํานวณดงั ต่อไปน้ี

s

H = ∑ (pi)(ln pi)

i=1

โดย H คือ คา่ ดัชนคี วามหลากชนดิ ของชนิดพันธ์ุไม้
pi คือ สดั สว่ นระหว่างจํานวนต้นไมช้ นดิ ที่ i ตอ่ จาํ นวนตน้ ไม้ทงั้ หมด
S คือ จํานวนชนิดพนั ธ์ไุ มท้ ้ังหมด

8.2 ความรํ่ารวยของชนิดพันธุ์ (Richness Indices) อาศัยความสัมพันธ์ระหว่างจํานวนชนิดกับ
จํานวนต้นทั้งหมดที่ทําการสํารวจ ซึ่งจะเพ่ิมข้ึนเมื่อเพ่ิมพื้นที่แปลงตัวอย่าง และดัชนีความร่ํารวย ที่นิยมใช้กัน
คือ วิธีของ Margalef index และ Menhinick index (Margalef 1958, Menhinick 1964) โดยมีสูตรการ
คาํ นวณดงั น้ี

1) Margalef index (R1)
R1 = (S-1)/ln(n)

2) Menhinick index (R2)
R2 = S/

เมือ่ S คอื จาํ นวนชนิดทัง้ หมดในสงั คม
n คอื จาํ นวนตน้ ทง้ั หมดท่สี าํ รวจพบ

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พนื้ ท่ีอุทยานแห่งชาตเิ ขาหลวง

20

8.3 ความสมํ่าเสมอของชนิดพันธ์ุ (Evenness Indices) เป็นดัชนีท่ีตั้งอยู่บนสมมติฐานที่ว่า ดัชนี
ความสมํา่ เสมอจะมีค่ามากทส่ี ดุ เมอ่ื ทกุ ชนดิ ในสังคมมีจํานวนต้นเท่ากันทั้งหมด ซึ่งวิธีการท่ีนิยมใช้กันมากในหมู่
นกั นิเวศวทิ ยา คอื วธิ ขี อง Pielou (1975) ซึง่ มีสูตรการคาํ นวณดังนี้

E = H/ ln(S) = ln (N1)/ln (N0)
เมือ่ H คอื ค่าดชั นคี วามหลากหลายของ Shannon-Wiener

S คือ จาํ นวนชนดิ ทงั้ หมด (N0)
N1 คือ eH

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พน้ื ทอี่ ุทยานแห่งชาติเขาหลวง

21

ผลการสาํ รวจและวิเคราะห์ขอ้ มลู ทรพั ยากรปา่ ไม้

1. การวางแปลงตวั อยา่ ง
จากผลการดําเนินการวางแปลงสํารวจ เพื่อประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้

ในพ้นื ที่อุทยานแห่งชาตเิ ขาหลวง โดยได้ดําเนินการวางแปลงสํารวจในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 จํานวน 60 แปลง
และไดด้ าํ เนนิ การสํารวจต่อเนอื่ งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 จาํ นวน 37 แปลง รวมการวางแปลงสํารวจในพ้ืนที่
อทุ ยานแหง่ ชาติเขาหลวงจํานวน 97 แปลง ดังภาพที่ 13 และ 14

ภาพที่ 13 แผนที่ภาพถ่ายดาวเทยี มแสดงพนื้ ทข่ี องอุทยานแห่งชาตเิ ขาหลวง

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติเขาหลวง

22

ภาพท่ี 14 แปลงตวั อยา่ งทด่ี ําเนนิ การสํารวจภาคสนามในอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง
2. พน้ื ทปี่ า่ ไม้

จากการสํารวจ พบว่า มีพ้ืนท่ีป่าไม้จําแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินได้ 3 ประเภท
ไดแ้ ก่ ปา่ ดิบชน้ื สวนยางพารา และพืชสวนอ่ีนๆ โดยป่าดิบชื้นพบมากท่ีสุด มีพ้ืนท่ี 522.99 ตารางกิโลเมตร
(326,868.56 ไร)่ คดิ เป็นร้อยละ 91.75 ของพ้นื ที่ทัง้ หมด รองลงมา คอื พืชสวนอ่ืนๆ มพี น้ื ที่ 29.38 ตารางกโิ ลเมตร
(18,363.40 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 5.15 ของพ้ืนท่ีทั้งหมด และ สวนยางพารา มีพื้นท่ี 17.63 ตารางกิโลเมตร
(11,018.04 ไร)่ คิดเปน็ ร้อยละ 3.09 ของพนื้ ท่ที งั้ หมด รายละเอียดดังตารางที่ 2

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พนื้ ท่ีอทุ ยานแห่งชาติเขาหลวง

23

ตารางท่ี 2 พืน้ ทปี่ า่ ไม้จําแนกแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ นิ ในอุทยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง

(Area by Landuse Type)

ลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ทดี่ นิ พืน้ ท่ี ร้อยละ

(Landuse Type) ตร.กม. เฮกตาร์ ไร่ ของพืน้ ทีท่ ง้ั หมด

ป่าดิบช้ืน 522.99 52,298.97 326,868.56 91.75

(Tropical Evergreen Forest)

สวนยางพารา 17.63 1,762.89 11,018.04 3.09

(Rubber)

พชื สวนอ่นื ๆ 29.38 2,938.14 18,363.40 5.15

(Others)

รวม (Total) 570.00 57,000.00 356,250.00 100.00

หมายเหตุ : - การคํานวณพื้นทปี่ ่าไมต้ ามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ดี ินแต่ละชนิดใชส้ ดั ส่วนของข้อมลู ทพี่ บ
จากการสํารวจภาคสนาม

- รอ้ ยละของพืน้ ท่สี าํ รวจคํานวณจากข้อมลู แปลงท่สี าํ รวจพบ ซง่ึ มีพ้นื ที่ดังตารางที่ 1

- รอ้ ยละของพื้นทท่ี ้งั หมดคาํ นวณจากพน้ื ทีแ่ นบท้ายกฤษฎกี าของอุทยานแหง่ ชาติเขาหลวง ซึ่งมี

พ้นื ท่เี ทา่ กับ 570 ตารางกโิ ลเมตร หรือ 356,250 ไร่

ภาพที่ 15 พน้ื ที่ปา่ ไม้จาํ แนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ่ดี นิ ในอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอี่ ุทยานแห่งชาติเขาหลวง

24

ภาพที่ 16 ลกั ษณะทัว่ ไปของป่าดิบชนื้ ในพนื้ ทอี่ ุทยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ที่อทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง

25

ภาพท่ี 17 ลกั ษณะทว่ั ไปของพชื สวนอนื่ ๆ

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติเขาหลวง

26

ภาพท่ี 18 ลกั ษณะท่ัวไปของสวนยางพารา

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาติเขาหลวง

27

3. ปรมิ าณไม้

จากการวิเคราะห์เกี่ยวกับชนิดไม้ ปริมาณ ปริมาตร และความหนาแน่นของต้นไม้ในป่า โดยการ
สาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้ในแปลงตัวอย่างถาวร ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ จํานวนทั้งสิ้น 97 แปลง พบว่า ลักษณะ
การใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ที่สาํ รวจพบทั้ง 3 ประเภท ไดแ้ ก่ ป่าดิบชืน้ สวนยางพารา และพชื สวนอื่นๆ พบไม้ยืนต้นที่
มีความสูงมากกวา่ 1.30 เมตร และมีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่าหรือเท่ากับ 15 เซนติเมตรขึ้นไป
มีมากกว่า 255 ชนิด รวมทั้งหมด 45,253,299 ต้น ปริมาตรไม้รวมท้ังหมด 16,052,584.46 ลูกบาศก์เมตร
ปรมิ าตรไมเ้ ฉลีย่ 45.06 ลูกบาศกเ์ มตรตอ่ ไร่ มคี วามหนาแน่นของต้นไม้เฉลี่ย 127.03 ต้นต่อไร่ พบปริมาณไม้
มากสุดในป่าดิบชื้น จํานวน 43,513,918 ต้น รองลงมา ในพืชสวนอื่นๆ พบจํานวน 1,034,227 ต้น สําหรับ
ปริมาตรไม้พบมากสุดในป่าดิบชื้น จํานวน 15,661,192.54 ลูกบาศก์เมตร รองลงมา คือ พืชสวนอ่ืนๆ จํานวน
200,379.27 ลกู บาศก์เมตร รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 3 และ 4 ตามลําดับ

ตารางท่ี 3 ปรมิ าณไมท้ ัง้ หมดจาํ แนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ ในอุทยานแห่งชาตเิ ขาหลวง

(Volume by Landuse Type)

ลักษณะการใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ ปริมาณไมท้ ้ังหมด

(Landuse Type) จาํ นวน (ตน้ ) ปรมิ าตร (ลบ.ม.)

ปา่ ดบิ ชนื้ 43,513,918 15,661,192.54

(Tropical Evergreen Forest)

สวนยางพารา 705,155 191,012.65

(Rubber)

พชื สวนอืน่ ๆ 1,034,227 200,379.27

(Others)

รวม (Total) 45,253,299 16,052,584.46

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ทอี่ ทุ ยานแห่งชาติเขาหลวง

28

ภาพท่ี 19 ปริมาณต้นไมท้ งั้ หมดทพี่ บในพน้ื ท่อี ุทยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง

ภาพที่ 20 ปริมาตรไมท้ ัง้ หมดที่พบในพน้ื ทอี่ ุทยานแห่งชาตเิ ขาหลวง

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาติเขาหลวง

29

ตารางท่ี 4 ความหนาแน่นและปรมิ าตรไมต้ อ่ หน่วยพนื้ ทจี่ ําแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ีดนิ

ในอุทยานแห่งชาติเขาหลวง (Density and Volume per Area by Landuse Type)

ลกั ษณะการใช้ประโยชน์ท่ดี นิ ความหนาแน่น ปริมาตร

(Landuse Type) ตน้ /ไร่ ต้น/เฮกตาร์ ลบ.ม./ไร่ ลบ.ม./เฮกตาร์

ปา่ ดบิ ชื้น 133.12 832.02 47.91 299.46

(Tropical Evergreen Forest)

สวนยางพารา 64.00 400.00 17.34 108.35

(Rubber)

พืชสวนอื่นๆ 56.32 352.00 10.91 68.20

(Others)

รวม (Total) 127.03 793.92 45.06 281.62

ภาพที่ 21 ความหนาแนน่ ของต้นไม้ในพนื้ ท่ีอุทยานแหง่ ชาติเขาหลวง

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนท่อี ทุ ยานแห่งชาติเขาหลวง

30

ภาพที่ 22 ปริมาตรไมต้ อ่ หนว่ ยพน้ื ท่ใี นอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง

ตารางท่ี 5 การกระจายขนาดความโตของไม้ทัง้ หมดในอทุ ยานแห่งชาตเิ ขาหลวง

ขนาดความโต (GBH) ปรมิ าณไม้ทั้งหมด (ต้น) ร้อยละ (%)

15 – 45 ซม. 30,568,454 67.55
24.00
>45 – 100 ซม. 10,859,381 8.45
100.00
>100 ซม. 3,825,464

รวม 45,253,299

การกระจายขนาดความโตของปริมาณไมท้ ัง้ หมดในอทุ ยานแหง่ ชาติเขาหลวง (ต้น)

3,825,464

10,859,381 15 – 45 ซม.
>45 – 100 ซม.
>100 ซม.

30,568,454

ภาพท่ี 23 การกระจายขนาดความโตของปรมิ าณไม้ทง้ั หมด (ตน้ ) ในพน้ื ทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาติเขาหลวง

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ที่อทุ ยานแห่งชาตเิ ขาหลวง

31

4. ชนิดพนั ธ์ไุ ม้

ชนิดพันธุ์ไม้ที่สํารวจพบในภาคสนาม จําแนกโดยใช้เจ้าหน้าที่ผู้เช่ียวชาญทางด้านพันธุ์ไม้ช่วย
จําแนกชนิดพนั ธ์ไุ มท้ ถี่ ูกต้อง และบางครงั้ จาํ เป็นตอ้ งใช้ราษฎรในพ้ืนท่ีซึ่งมีความรู้ในชนิดพันธุ์ไม้ประจําถ่ินช่วย
ในการเก็บข้อมูลและเก็บตัวอย่างชนิดพันธุ์ไม้ท่ีไม่ทราบชนิดมาอัดแห้ง แล้วนํามาให้เจ้าหน้าท่ีที่เชี่ยวชาญด้าน
พันธุ์ไม้ของสวนพฤกศาสตร์สากลภาคใต้ (ทุ่งค่าย) สํานักหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช
ช่วยจาํ แนกชือ่ ทางการและชอ่ื วิทยาศาสตรท์ ถ่ี ูกตอ้ งอกี คร้งั หนึ่ง และชนิดพันธ์ไุ มส้ ว่ นใหญท่ ี่พบมกั จะเปน็ พนั ธุไ์ มท้ ี่
รู้จักและคุ้นเคยสําหรับเจ้าหน้าท่ีท่ีทําการสํารวจอยู่แล้ว โดยชนิดพันธ์ุไม้ท่ีพบท้ังหมดในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
เขาหลวง มี 51 วงศ์ มากกวา่ 255 ชนดิ มปี รมิ าณไมร้ วม 45,253,299 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 16,052,584.46
ลกู บาศก์เมตร มีค่าความหนาแนน่ เฉลย่ี 127.03 ตน้ ต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 45.06 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้
ทีม่ ีปริมาตรไมม้ ากทีส่ ุด 10 อันดบั แรก ได้แก่ สังเครยี ดลงั สาด (Aglaia tomentosa) เคียนทราย (Shorea gratissima)
แดงเขา (Syzygium attenuatum) ก่อร้ิว (Castanopsis costata) แหลช่อ (Dehaasia kurzii) หว้าเขา (Cleistocalyx
operculatus) กาแซะ (Callerya atropurpurea) ขวาด (Syzygium lineatum) สาย (Pometia ridleyi)
สงั กะโตง้ (Aglaia lawii) รายละเอยี ดดังตารางท่ี 6

ในปา่ ดบิ ช้นื มปี ริมาณไมร้ วม 43,513,918 ตน้ คดิ เปน็ ปริมาตรไมร้ วม 15,661,192.54 ลูกบาศก์เมตร
มคี า่ ความหนาแน่นเฉลย่ี 133.12 ตน้ ต่อไร่ มีปรมิ าตรไม้เฉลีย่ 47.91 ลูกบาศก์เมตรตอ่ ไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาตรไม้
มากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ สังเครียดลังสาด (Aglaia tomentosa) เคียนทราย (Shorea gratissima)
แดงเขา (Syzygium attenuatum) ก่อริ้ว (Castanopsis costata) แหลช่อ (Dehaasia kurzii) หว้าเขา
(Cleistocalyx operculatus) ขวาด (Syzygium lineatum) กาแซะ (Callerya atropurpurea) สาย (Pometia
ridleyi) สงั กะโตง้ (Aglaia lawii) รายละเอียดดงั ตารางที่ 7

ในสวนยางพารา มีปริมาณไม้รวม 705,155 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 191,012.65 ลกู บาศก์เมตร
มีค่าความหนาแน่นเฉลี่ย 64 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉล่ีย 17.34 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาตรไม้
มากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ยางพารา (Hevea brasiliensis) เคียนทราย (Shorea gratissima) กาแซะ
(Callerya atropurpurea) สะตอ (Parkia speciosa) พันจํา (Vatica odorata) เพกา (Oroxylum indicum)
ลางสาด (Lansium domesticum) สัตตบรรณ (Alstonia scholaris) ชะเนียง (Archidendron jiringa) และ
ทุเรียน (Durio zibethinus) รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 8

ในพ้นื ท่พี ืชสวนอืน่ ๆ มปี ริมาณไม้รวม 1,034,227 ต้น คดิ เป็นปริมาตรไมร้ วม 200,379.27 ลกู บาศกเ์ มตร
มีค่าความหนาแน่นเฉลี่ย 56.32 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉล่ีย 10.91 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาตรไม้
มากที่สุด อันดับแรก ได้แก่ ทุเรียน (Durio zibethinus) สะตอ (Parkia speciosa) มังคุด (Garcinia mangostana)
ลางสาด (Lansium domesticum) ยางพารา (Hevea brasiliensis) ชะเนียง (Archidendron jiringa) โพบาย
(Balakata baccata) มะมุด (Mangifera foetida) เชียด (Cinnamomum iners) และ กาแซะ (Callerya
atropurpurea) ดังรายละเอยี ดในตารางท่ี 9

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนทีอ่ ุทยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง

32

ชนดิ และปริมาณของไม้ไผ่ หวาย และไม้กอ ในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติเขาหลวง พบว่ามีไผ่อยู่ 4 ชนิด
มีจํานวนรวมทงั้ สนิ้ 552,371 กอ (13,292,165 ลํา) ไดแ้ ก่ ไผ่ผากมัน (Gigantochloa hasskarliana) ไผค่ ลาน
(Dinochloa malayana) ไผ่เกรียบ (Gigantochloa apus) พบได้ในป่าดิบช้ืน และไผ่ตง (Dendrocalamus asper)
พบได้ในพืชสวนอื่นๆ ในส่วนของหวาย (ต้น) พบ 2 ชนิด ได้แก่ หวายพนขนหนอน (Daemonorops sabut)
และหวายพวน (Daemonorops elongates) มีจาํ นวนรวมทงั้ สิ้น 105,774 กอ (270,310 ลํา) สําหรับไม้กอพบ
11 ชนดิ มจี ํานวนรวมทั้งส้ิน 1,786,394 กอ (3,561,033 ต้น) โดยกล้วยป่า (Musa acuminate) เป็นชนิดพันธุ์
ท่ีมีปริมาณมากท่ีสุด รองลงมา ได้แก่ มหาสดํา (Cyathea podophylla) เต่าร้าง (Caryota bacsonensis)
หมาก (Areca catechu) เจ้าเมืองตรัง (Licuala peltata) และตาว (Arenga pinnata) ดังรายละเอียดใน
ตารางที่ 10

ชนิดและปริมาณของกล้าไม้ ท่ีพบในอุทยานแห่งชาติเขาหลวง มีมากกว่า 89 ชนิด รวมท้ังสิ้น
1,203,463,918 ตน้ มีความหนาแน่นของกล้าไม้ 3,378.14 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไม้ที่มีปริมาณมากท่ีสุด 10 อันดับแรก
ไดแ้ ก่ ยายกลั้ง (Justicia lignostachya) เขม็ ขาว (Pavetta humilis) เขม็ ป่า (Ixora cibdela) เตยหนู (Pandanus
humilis) สังเครียดลังสาด (Aglaia tomentosa) แดงเขา (Syzygium attenuatum) พลับดง (Diospyros
bejaudii) สังหยขู าว (Polyalthia hypoleuca) ข่อยนา้ํ (Streblus taxoides) และ เฉยี งพรา้ นางแอ (Carallia
brachiata) รายละเอียดดังตารางท่ี 11

ในป่าดิบชื้น มีปริมาณกล้าไม้รวม 1,165,855,670 ต้น มีค่าความหนาแน่นเฉลี่ย 3,566.74
ตน้ ต่อไร่ ชนิดไมท้ ่มี ีปรมิ าณกล้าไมม้ ากท่สี ดุ 10 อันดบั แรก ได้แก่ เข็มขาว (Pavetta humilis) ยายกล้ัง (Justicia
lignostachya) เข็มป่า (Ixora cibdela) สังเครียดลังสาด (Aglaia tomentosa) เตยหนู (Pandanus humilis)
แดงเขา (Syzygium attenuatum) สงั หยขู าว (Polyalthia hypoleuca) พลับดง (Diospyros bejaudii) ขอ่ ยนา้ํ
(Streblus taxoides) ขวาด (Syzygium lineatum) รายละเอยี ดดังตารางท่ี 12

ในสวนยางพารา มปี ริมาณกล้าไม้รวม 21,154,639 ต้น มคี า่ ความหนาแน่นเฉล่ีย 1,920 ต้นต่อไร่
ชนิดไมท้ ี่มปี ริมาณกล้าไมจ้ าํ นวน 7 ชนดิ ไดแ้ ก่ พลบั ดง (Diospyros bejaudii) เฉียงพร้านางแอ (Carallia brachiate)
กลว้ ยค่าง (Orophea enterocarpa) เตยหนู (Pandanus humilis) โคลงเคลงขนตอ่ ม (Clidemia hirta) เดอื่ ดนิ
(Ficus scortechinii) กาแซะ (Callerya atropurpurea) รายละเอยี ดดังตารางท่ี 13

ในพื้นท่ีพืชสวนอ่ืนๆมีปริมาณกล้าไม้รวม 16,453,608 ต้น มีค่าความหนาแน่นเฉล่ีย 896.00 ต้นต่อไร่
ชนดิ ไม้ทม่ี ีปรมิ าณกล้าไมม้ ากทส่ี ุด อนั ดบั แรก ได้แก่ยายกลั้ง (Justicia lignostachya) รองลงมา ได้แก่ ยางพารา
(Hevea brasiliensis) ยางมันหมู (Dipterocarpus kerrii) มะเด่ือปล้อง (Ficus hispida) กล้วยค่าง (Orophea
enterocarpa) เตยหนู (Pandanus humilis) ดังรายละเอยี ดในตารางท่ี 14

ชนิดและปริมาณของลูกไม้ที่พบในอุทยานแห่งชาติเขาหลวง มีมากกว่า 114 ชนิด รวมทั้งสิ้น
191,567,010 ตน้ มีความหนาแน่นของลูกไม้ 537.73 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไม้ท่ีมีปริมาณมากท่ีสุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ ยายกล้ัง (Justicia lignostachya) สังเครียดลังสาด (Aglaia tomentosa) เข็มขาว (Pavetta humilis) ขวาด

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พน้ื ทีอ่ ุทยานแห่งชาตเิ ขาหลวง

33

(Syzygium lineatum) ช้าสามแก้ว (Saurauia pentapetala) สังหยูขาว (Polyalthia hypoleuca) มะเม่าขน
(Antidesma montanum) ราชครูดาํ (Goniothalamus macrophyllus) ชมพู่นํ้า (Syzygium siamense)
แดงเขา (Syzygium attenuatum) รายละเอียดดังตารางที่ 15

ในป่าดิบชื้น มีปริมาณลูกไม้รวม 184,985,567 ต้น มีค่าความหนาแน่นเฉลี่ย 565.93 ต้นต่อไร่
ชนดิ ไม้ทม่ี ปี รมิ าณลกู ไม้มากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ไดแ้ ก่ ยายกลงั้ (Justicia lignostachya) สงั เครยี ดลงั สาด
(Aglaia tomentosa) เข็มขาว (Pavetta humilis) ขวาด (Syzygium lineatum) ช้าสามแก้ว (Saurauia
pentapetala) สงั หยขู าว (Polyalthia hypoleuca) ราชครูดํา (Goniothalamus macrophyllus) หว้าเขา
(Cleistocalyx operculatus) มะเม่าขน (Antidesma montanum) ตับหลาม (Glyptopetalum quadrangulare)
รายละเอียดดังตารางท่ี 16

ในสวนยางพารา มปี ริมาณลกู ไม้รวม 3,055,670 ต้น ความหนาแน่นเฉลี่ย 277.33 ต้นต่อไร่ ชนดิ ไม้
ท่มี ีปรมิ าณลูกไมจ้ ํานวน 6 ชนิด ได้แก่ โคลงเคลงขนต่อม (Clidemia hirta) กลว้ ยค่าง (Orophea enterocarpa)
กาแซะ (Callerya atropurpurea) เดื่อดิน (Ficus scortechinii) ปอหู (Hibiscus macrophyllus) มะเม่าขน
(Antidesma montanum) รายละเอียดดังตารางท่ี 17

ในพนื้ ท่พี ชื สวนอืน่ ๆมีปรมิ าณลูกไม้รวม 3,525,773 ตน้ มีค่าความหนาแนน่ เฉลีย่ 192.00 ต้นต่อไร่
ชนิดไม้ทีม่ ปี รมิ าณลูกไมจ้ ํานวน 7 ชนิด ได้แก่ กล้วยค่าง (Orophea enterocarpa) มะเดื่อปล้อง (Ficus hispida)
โคลงเคลงขนต่อม (Clidemia hirta) ยางพารา (Hevea brasiliensis) กะตังใบ (Leea indica) กะทังใบใหญ่
(Litsea grandis) มะมดุ (Mangifera foetida) ดังรายละเอียดในตารางท่ี 18

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นทีอ่ ุทยานแห่งชาตเิ ขาหลวง

34

ตารางท่ี 6 ปริมาณไม้ท้งั หมดของอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง (30 ชนดิ แรกทม่ี ีปรมิ าตรไม้สูงสดุ )

ลําดบั ชนดิ พันธ์ไุ ม้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแนน่ ปริมาตร

1 สงั เครียดลังสาด Aglaia tomentosa (ตน้ ) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่
2,274,124 1,671,832.98 6.38 4.69
2 เคยี นทราย Shorea gratissima 1.58 2.40
564,124 855,890.19 3.17 1.86
3 แดงเขา Syzygium attenuatum 1,128,247 663,935.11 3.84 1.61
1,369,175 571,823.19 4.96 1.54
4 กอ่ ริว้ Castanopsis costata 1,768,763 549,283.97 4.14 1.49
1,474,948 531,377.97 1.19 1.19
5 แหลชอ่ Dehaasia kurzii 424,614.40 5.26 1.15
423,093 410,871.15 0.69 1.08
6 หวา้ เขา Cleistocalyx operculatus 1,874,536 385,410.08 2.00 1.00
357,994.52 0.45 0.78
7 กาแซะ Callerya atropurpurea 246,804 277,833.65 0.49 0.72
711,031 255,726.93 0.81 0.61
8 ขวาด Syzygium lineatum 158,660 216,480.84 1.44 0.60
176,289 214,177.97 0.31 0.59
9 สาย Pometia ridleyi 287,938 208,409.31 0.66 0.56
511,237 200,756.14 2.28 0.53
10 สังกะโตง้ Aglaia lawii 111,649 190,112.38 0.96 0.53
235,052 187,649.27 4.52 0.50
11 ตาเสอื Aphanamixis polystachya 810,928 176,348.96 0.12 0.44
340,825 157,518.18 0.20 0.43
12 ไทร Ficus subcordata 1,610,103 152,582.79 0.25 0.42
41,134 150,565.28 0.48 0.39
13 เงาะป่า Nephelium cuspidatum 70,515 139,805.64 0.45 0.38
88,144 134,805.73 2.56 0.35
14 สะทิบ Phoebe paniculata 170,412 125,160.35 0.59 0.33
158,660 117,211.07 0.05 0.28
15 กรวย Horsfieldia irya 910,825 98,554.75 0.35 0.28
211,546 98,303.14 0.30 0.28
16 โพบาย Balakata baccata 17,629 98,139.14 0.30 0.27
123,402 97,607.53 76.27 17.77
17 ยางพารา Hevea brasiliensis 105,773 6,331,801.85 45.06
105,773 16,052,584.46 127.03
18 ไข่เขียว Parashorea stellata 27,171,959
45,253,299
19 แกงเลยี งใหญ่ Psydrax dicocca

20 หลุมพอ Intsia palembanica

21 จิกนม Palaquium gutta

22 ตะพง Endospermum diadenum

23 สีเสียดชอ่ Heritiera sumatrana

24 ยางเสียน Dipterocarpus gracilis

25 กระเบา Hydnocarpus sumatrana

26 อบเชย Cinnamomum bejolghota

27 กระบาก Anisoptera costata

28 แหลบุก Phoebe lanceolata

29 กอ่ หมู Castanopsis javanica

30 กอ่ ขร้ี ว้ิ Lithocarpus falconeri

31 อืน่ ๆ Others

รวม (Total)

หมายเหตุ : มีชนิดพนั ธุ์ไมท้ ีส่ ํารวจพบทง้ั หมด 255 ชนดิ

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นที่อุทยานแห่งชาตเิ ขาหลวง

35

ตารางที่ 7 ปริมาณไมใ้ นป่าดบิ ชื้นของอทุ ยานแห่งชาติเขาหลวง (30 ชนิดแรกทมี่ ปี ริมาตรไมส้ ูงสดุ )

ลาํ ดับ ชนดิ พันธุไ์ ม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแน่น ปริมาตร

1 สังเครยี ดลงั สาด Aglaia tomentosa (ตน้ ) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร่) (ลบ.ม./ไร่)

2 เคียนทราย Shorea gratissima 2,274,124 1,671,832.98 6.96 5.11
558,247 831,776.77 1.71 2.54
3 แดงเขา Syzygium attenuatum 663,935.11 3.45 2.03
1,128,247 571,823.19 4.19 1.75
4 ก่อรวิ้ Castanopsis costata 1,369,175 549,283.97 5.41 1.68
1,768,763 531,377.97 4.51 1.63
5 แหลชอ่ Dehaasia kurzii 1,474,948 410,871.15 5.73 1.26
1,874,536 406,677.61 1.26 1.24
6 หวา้ เขา Cleistocalyx operculatus 385,410.08 0.76 1.18
411,340 357,994.52 2.18 1.1
7 ขวาด Syzygium lineatum 246,804 277,833.65 0.49 0.85
711,031 255,726.93 0.54 0.78
8 กาแซะ Callerya atropurpurea 158,660 216,480.84 0.88 0.66
176,289 214,177.97 1.56 0.66
9 สาย Pometia ridleyi 287,938 208,409.31 0.34 0.64
511,237 197,265.22 0.7 0.6
10 สังกะโตง้ Aglaia lawii 111,649 187,649.27 1.04 0.57
229,175 176,348.96 4.93 0.54
11 ตาเสอื Aphanamixis polystachya 340,825 157,518.18 0.13 0.48
1,610,103 152,582.79 0.22 0.47
12 ไทร Ficus subcordata 41,134 150,565.28 0.27 0.46
70,515 139,805.64 0.52 0.43
13 เงาะปา่ Nephelium cuspidatum 88,144 134,805.73 0.49 0.41
170,412 125,160.35 2.79 0.38
14 สะทบิ Phoebe paniculata 158,660 117,211.07 0.65 0.36
910,825 98,554.75 0.05 0.3
15 กรวย Horsfieldia irya 211,546 98,303.14 0.38 0.3
17,629 98,139.14 0.32 0.3
16 โพบาย Balakata baccata 123,402 97,607.53 0.32 0.3
105,773 93,215.77 1.67 0.29
17 ไขเ่ ขยี ว Parashorea stellata 105,773 78.69 18.61
546,495 6,082,847.65 133.12 47.91
18 แกงเลยี งใหญ่ Psydrax dicocca 25,720,515 15,661,192.54
43,513,918
19 หลมุ พอ Intsia palembanica

20 จิกนม Palaquium gutta

21 ตะพง Endospermum diadenum

22 สีเสยี ดชอ่ Heritiera sumatrana

23 ยางเสียน Dipterocarpus gracilis

24 กระเบา Hydnocarpus sumatrana

25 อบเชย Cinnamomum bejolghota

26 กระบาก Anisoptera costata

27 แหลบกุ Phoebe lanceolata

28 กอ่ หมู Castanopsis javanica

29 ก่อข้รี วิ้ Lithocarpus falconeri

30 คอแลน Nephelium melliferum

31 อ่นื ๆ Others

รวม (Total)

หมายเหตุ : มีชนิดพันธุไ์ ม้ทีส่ ํารวจพบทงั้ หมด 251 ชนิด

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ที่อุทยานแห่งชาตเิ ขาหลวง

36

ตารางที่ 8 ปริมาณไมใ้ นสวนยางพาราของอุทยานแห่งชาตเิ ขาหลวง

ลาํ ดับ ชนิดพนั ธไ์ุ ม้ ช่ือวิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแนน่ ปริมาตร
(ต้น) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร่)
1 ยางพารา Hevea brasiliensis 44.27
2 เคยี นทราย Shorea gratissima 487,732 125,042.52 0.53 11.35
3 กาแซะ Callerya atropurpurea 5,876 24,113.41 0.53 2.19
4 สะตอ Parkia speciosa 5,876 17,850.79 4.27 1.62
5 พันจาํ Vatica odorata 47,010 8,842.23 1.07 0.8
6 เพกา Oroxylum indicum 11,753 5,539.68 1.6 0.5
7 ลางสาด Lansium domesticum 17,629 4,389.57 6.4 0.4
8 สตั บรรณ Alstonia scholaris 70,515 1,989.10 0.53 0.18
9 ชะเนียง Archidendron jiringa 5,876 1,491.49 0.53 0.14
10 ทุเรียน Durio zibethinus 5,876 1.6 0.05
11 เปล้าใหญ่ Mallotus macrostachyus 17,629 533.76 1.6 0.05
12 ตบั หลาม Glyptopetalum quadrangulare 17,629 502.78 0.53 0.03
13 มะเมา่ ขน Antidesma montanum 5,876 320.05 0.53 0.02
5,876 250.87 64 0.01
146.38 17.34

รวม (Total) 705,155 191,012.65

หมายเหตุ : มชี นดิ พนั ธไ์ุ ม้ทส่ี าํ รวจพบทง้ั หมด 13 ชนิด

ตารางท่ี 9 ปริมาณไม้ในพ้ืนที่พืชสวนอนื่ ๆของอุทยานแหง่ ชาติเขาหลวง

ลําดบั ชนิดพันธ์ุไม้ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแนน่ ปริมาตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร่) (ลบ.ม./ไร่

1 ทุเรียน Durio zibethinus 152,784 92,100.32 8.32 5.02
7.04 2.74
2 สะตอ Parkia speciosa 129,278 50,254.93 18.24 1.59
7.04 0.66
3 มังคดุ Garcinia mangostana 334,948 29,258.22 10.56 0.33
2.56 0.25
4 ลางสาด Lansium domesticum 129,278 12,056.01 0.32 0.19
0.96 0.1
5 ยางพารา Hevea brasiliensis 193,918 6,109.60 0.32 0.03
0.32
6 ชะเนียง Archidendron jiringa 47,010 4,619.36 0.32 0
0.32 0
7 โพบาย Balakata baccata 5,876 3,490.92 0
- -
8 มะมุด Mangifera foetida 17,629 1,805.39 56.32 10.91

9 เชียด Cinnamomum iners 5,876 492.53

10 กาแซะ Callerya atropurpurea 5,876 85.99

11 ขนนุ Artocarpus heterophyllus 5,876 60.61

12 จาํ ปาดะ Artocarpus integer 5,876 45.39

13 เงาะ Nephelium lappaceum --

รวม (Total) 1,034,227 200,379.27

หมายเหตุ : มีชนิดพันธไ์ุ ม้ที่สาํ รวจพบท้งั หมด 13 ชนดิ สาํ หรบั ต้นเงาะ พบเป็นตน้ ตาย 1 ต้น

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พนื้ ท่อี ทุ ยานแหง่ ชาติเขาหลวง

37

ตารางที่ 10 ชนิดและปริมาณของไม้ไผ่ หวาย* และไม้กอ ทีพ่ บในอทุ ยานแห่งชาติเขาหลวง

ลําดับ ชนิดพนั ธุไ์ ผ่ หวาย* ช่อื วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ไผ่ หวายและไม้กอ ทั้งหมด

และไม้กอ จาํ นวนกอ จาํ นวนลาํ

ไผ่ Gigantochloa hasskarliana 470,103 12,492,990
1 ไผ่ผากมัน Dinochloa malayana 47,010 552,371
2 ไผค่ ลาน Dendrocalamus asper 11,753 223,299
3 ไผต่ ง Gigantochloa apus 23,505 23,505
4 ไผเ่ กรยี บ รวมไผ่ (Total) 552,371
13,292,165

หวาย* Daemonorops sabut 94,021 258,557
1 หวายพนขนหนอน Daemonorops elongatus 11,753 11,753
2 หวายพวน

รวมหวาย (Total) 105,774 270,310

ไม้กอ Musa acuminata 528,866 1,962,680
1 กล้วยป่า Cyathea podophylla 599,381 622,887
2 มหาสดํา Caryota bacsonensis 141,031 317,320
3 เตา่ ร้าง Areca catechu 176,289 176,289
4 หมาก Licuala peltata 117,526 152,784
5 เจา้ เมืองตรงั Arenga pinnata 94,021 94,021
6 ตาว Salacca wallichiana 35,258 70,515
7 ระกํา Oncosperma tigillarium 35,258 58,763
8 หลาวชะโอน Pandanus humilis 35,258 35,258
9 เตยหนู Borassodendron machadonis 11,753 11,753
10 ชา้ งไห้ F.PALMAE 11,753 58,763
11 F.PALMAE

รวมไมก้ อ (Total) 1,786,394 3,561,033

หมายเหตุ : * เฉพาะหวายท่ีมลี ําตน้ ตั้งตรง ไม่รวมชนดิ พันธ์หุ วายทม่ี ีลาํ ต้นเล้อื ยทอดยาวไปตามพ้นื ดนิ

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นท่อี ุทยานแหง่ ชาติเขาหลวง

38

ตารางที่ 11 ชนิดและปรมิ าณของกล้าไม้ (Seedling) ทพ่ี บในอทุ ยานแหง่ ชาติเขาหลวง

(30 ชนิดแรกทีม่ ีปริมาณสงู สุด)

ลําดับ ชนิดพนั ธไ์ุ ม้ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ความหนาแนน่
(ตน้ ) (ตน้ /ไร)่

1 ยายกล้งั Justicia lignostachya 105,773,196 296.91

2 เขม็ ขาว Pavetta humilis 103,422,680 290.31

3 เข็มปา่ Ixora cibdela 92,845,361 260.62

4 เตยหนู Pandanus humilis 63,463,918 178.14

5 สังเครยี ดลงั สาด Aglaia tomentosa 61,113,402 171.55

6 แดงเขา Syzygium attenuatum 57,587,629 161.65

7 พลับดง Diospyros bejaudii 41,134,021 115.46

8 สังหยขู าว Polyalthia hypoleuca 34,082,474 95.67

9 ขอ่ ยนาํ้ Streblus taxoides 30,556,701 85.77

10 เฉยี งพร้านางแอ Carallia brachiata 30,556,701 85.77

11 ขวาด Syzygium lineatum 29,381,443 82.47

12 หว้าเขา Cleistocalyx operculatus 28,206,182 79.18

13 เคียนทราย Shorea gratissima 25,855,670 72.58

14 ช้าสามแกว้ Saurauia pentapetala 25,855,670 72.58

15 โคลงเคลงขนต่อม Clidemia hirta 23,505,155 65.98

16 ตังหน Calophyllum calaba 22,329,897 62.68

17 ตับหลาม Glyptopetalum quadrangulare 21,154,639 59.38

18 กล้วยค่าง Orophea enterocarpa 19,979,381 56.08

19 เชียด Cinnamomum iners 17,628,866 49.48

20 นวลเสี้ยน Aporosa octandra 17,628,866 49.48

21 ราชครูดํา Goniothalamus macrophyllus 15,278,351 42.89

22 จกิ เขา Palaquium maingayi 14,103,093 39.59

23 ชมพู่นา้ํ Syzygium siamense 14,103,093 39.59

24 แหลช่อ Dehaasia kurzii 14,103,093 39.59

25 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii 11,752,577 32.99

26 มะจา้ํ ก้อง Ardisia colorata 11,752,577 32.99

27 กอ่ ร้วิ Castanopsis costata 10,577,320 29.69

28 มะเม่าขน Antidesma montanum 9,402,062 26.39

29 สะตอ Parkia speciosa 9,402,062 26.39

30 หยู าน Xanthophyllum excelsum 9,402,062 26.39

31 อ่ืนๆ Others 231,525,773 649.90

รวม (Total) 1,203,463,918 3378.14

หมายเหตุ : มชี นิดพันธ์กุ ล้าไม้ทส่ี ํารวจพบทัง้ หมด 89 ชนดิ

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ที่อุทยานแหง่ ชาติเขาหลวง

39

ตารางที่ 12 ชนดิ และปริมาณของกล้าไม้ (Seedling) ในปา่ ดบิ ช้นื ของอทุ ยานแห่งชาตเิ ขาหลวง

(30 ชนิดแรกทีม่ ีปริมาณสูงสุด)

ลําดับ ชนดิ พันธุ์ไม้ ชอื่ วิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ความหนาแน่น
(ตน้ ) (ต้น/ไร)่
1 เข็มขาว Pavetta humilis 103,422,680 316.40
101,072,165 309.21
2 ยายกลงั้ Justicia lignostachya 92,845,361 284.04
61,113,402 186.97
3 เขม็ ป่า Ixora cibdela 59,938,144 183.37
57,587,629 176.18
4 สงั เครยี ดลังสาด Aglaia tomentosa 34,082,474 104.27
32,907,217 100.67
5 เตยหนู Pandanus humilis 30,556,701 93.48
29,381,443 89.89
6 แดงเขา Syzygium attenuatum 28,206,186 86.29
27,030,928 82.70
7 สงั หยูขาว Polyalthia hypoleuca 25,855,670 79.10
25,855,670 79.10
8 พลับดง Diospyros bejaudii 22,329,897 68.31
21,154,639 64.72
9 ข่อยนา้ํ Streblus taxoides 21,154,639 64.72
17,628,866 53.93
10 ขวาด Syzygium lineatum 17,628,866 53.93
15,278,351 46.74
11 หว้าเขา Cleistocalyx operculatus 15,278,351 46.74
14,103,093 43.15
12 เฉียงพรา้ นางแอ Carallia brachiata 14,103,093 43.15
14,103,093 43.15
13 เคียนทราย Shorea gratissima 11,752,577 35.96
11,752,577 35.96
14 ช้าสามแกว้ Saurauia pentapetala 10,577,320 32.36
9,402,062 28.76
15 ตงั หน Calophyllum calaba 9,402,062 28.76
9,402,062 28.76
16 โคลงเคลงขนต่อม Clidemia hirta 220,948,454 675.96
3,566.74
17 ตับหลาม Glyptopetalum quadrangulare 1,165,855,670

18 เชยี ด Cinnamomum iners

19 นวลเส้ียน Aporosa octandra

20 กล้วยค่าง Orophea enterocarpa

21 ราชครดู ํา Goniothalamus macrophyllus

22 จกิ เขา Palaquium maingayi

23 ชมพ่นู ้าํ Syzygium siamense

24 แหลชอ่ Dehaasia kurzii

25 เปลา้ ใหญ่ Croton roxburghii

26 มะจา้ํ ก้อง Ardisia colorata

27 กอ่ รวิ้ Castanopsis costata

28 มะเมา่ ขน Antidesma montanum

29 สะตอ Parkia speciosa

30 หยู าน Xanthophyllum excelsum

31 อ่นื ๆ Others

รวม (Total)

หมายเหตุ : มีชนดิ พนั ธ์ุกลา้ ไม้ทีส่ าํ รวจพบทั้งหมด 87 ชนดิ

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติเขาหลวง

40

ตารางท่ี 13 ชนิดและปรมิ าณของกลา้ ไม้ (Seedling) ในสวนยางพาราของอุทยานแห่งชาติเขาหลวง

ลําดับ ชนดิ พันธ์ไุ ม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ความหนาแน่น
(ตน้ ) (ต้น/ไร)่
1 พลับดง Diospyros bejaudii 8,226,804 746.67
2 เฉยี งพรา้ นางแอ Carallia brachiata 3,525,773 320.00
3 กลว้ ยค่าง Orophea enterocarpa 2,350,516 213.33
4 เตยหนู Pandanus humilis 2,350,516 213.33
5 โคลงเคลงขนตอ่ ม Clidemia hirta 2,350,516 213.33
6 เดอ่ื ดนิ Ficus scortechinii 1,175,258 106.67
7 กาแซะ Callerya atropurpurea 1,175,258 106.67

รวม (Total) 21,154,639 1,920.00

ตารางที่ 14 ชนิดและปริมาณของกล้าไม้ (Seedling) ในพน้ื ท่ีพชื สวนอื่นๆของอุทยานแห่งชาติเขาหลวง

ลําดับ ชนดิ พนั ธไ์ุ ม้ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ความหนาแนน่

(ตน้ ) (ตน้ /ไร่)

1 ยายกลง้ั Justicia lignostachya 4,701,031 256.00

2 ยางพารา Hevea brasiliensis 3,525,773 192.00

3 ยางมนั หมู Dipterocarpus kerrii 2,350,516 128.00

4 มะเด่ือปล้อง Ficus hispida 2,350,516 128.00

5 กลว้ ยคา่ ง Orophea enterocarpa 2,350,516 128.00

6 เตยหนู Pandanus humilis 1,175,258 64.00

รวม (Total) 16,453,608 896.00

หมายเหตุ : มีชนดิ พนั ธุก์ ลา้ ไม้ทส่ี าํ รวจพบทง้ั หมด 6 ชนิด

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาติเขาหลวง

41

ตารางท่ี 15 ชนิดและปริมาณของลกู ไม้ (Sapling) ท่ีพบในอุทยานแห่งชาตเิ ขาหลวง

ลาํ ดับ ชนิดพนั ธไ์ุ ม้ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ทงั้ หมด ความหนาแน่น
(ต้น) (ต้น/ไร)่

1 ยายกลง้ั Justicia lignostachya 22,329,897 62.68

2 สังเครียดลังสาด Aglaia tomentosa 13,868,041 38.93

3 เข็มขาว Pavetta humilis 9,754,639 27.38

4 ขวาด Syzygium lineatum 8,226,804 23.09

5 ช้าสามแก้ว Saurauia pentapetala 7,286,598 20.45

6 สงั หยขู าว Polyalthia hypoleuca 6,581,443 18.47

7 มะเมา่ ขน Antidesma montanum 4,583,505 12.87

8 ราชครดู าํ Goniothalamus macrophyllus 4,583,505 12.87

9 ชมพ่นู า้ํ Syzygium siamense 4,465,979 12.54

10 แดงเขา Syzygium attenuatum 4,465,979 12.54

11 ตับหลาม Glyptopetalum quadrangulare 4,465,979 12.54

12 หว้าเขา Cleistocalyx operculatus 4,465,979 12.54

13 เขม็ ป่า Ixora cibdela 4,348,454 12.21

14 กลว้ ยค่าง Orophea enterocarpa 4,113,402 11.55

15 จกิ เขา Palaquium maingayi 3,878,351 10.89

16 แหลช่อ Dehaasia kurzii 3,878,351 10.89

17 โคลงเคลงขนตอ่ ม Clidemia hirta 3,408,247 9.57

18 กะตังใบ Leea indica 3,173,196 8.91

19 รามใหญ่ Ardisia elliptica 3,055,670 8.58

20 เคยี นทราย Shorea gratissima 2,585,567 7.26

21 แกงเลียงใหญ่ Psydrax dicocca 2,350,515 6.60

22 อาศัย Ixonanthes icosandra 2,350,515 6.60

23 ข่อยนํา้ Streblus taxoides 2,115,464 5.94

24 เนียน Diospyros pyrrhocarpa 2,115,464 5.94

25 กาแซะ Callerya atropurpurea 1,997,938 5.61

26 เด่ือฉ่ิง Ficus botryocarpa 1,997,938 5.61

27 ดูกไก่ Prismatomeris griffithii 1,880,412 5.28

28 สนั โสก Clausena excavata 1,762,887 4.95

29 กระดกู คา่ ง Aporosa aurea 1,645,361 4.62

30 กอ่ ร้ิว Castanopsis costata 1,645,361 4.62

31 อน่ื ๆ Others 48,185,567 135.26

รวม (Total) 191,567,010 537.73

หมายเหตุ : มีชนดิ พนั ธ์ุลูกไมท้ ี่สํารวจพบทง้ั หมด 114 ชนดิ

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทีอ่ ทุ ยานแห่งชาตเิ ขาหลวง


Click to View FlipBook Version