The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการสำรวจทรัพยากรป่าไม้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Eve_ Chantarat, 2020-11-22 23:01:26

เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าลุ่มน้ำปาย

รายงานการสำรวจทรัพยากรป่าไม้

รายงานการสํารวจทรัพยากรป่ าไม้
เขตรักษาพนั ธ์ุสัตว์ป่ าลุ่มนํา้ ปาย จงั หวดั แม่ฮ่องสอน

กล่มุ งานวชิ าการ สํานักบริหารพนื้ ทอี่ นุรักษ์ที่ 16 (สาขาแม่สะเรียง)
ส่วนสํารวจและวเิ คราะห์ทรัพยากรป่ าไม้ สํานักฟื้ นฟูและพฒั นาพนื้ ทอี่ นุรักษ์

กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตว์ป่ า และพนั ธ์ุพชื
พ.ศ. 2558

รายงานการสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
เขตรกั ษาพันธสุ์ ัตวป์ า่ ลุ่มนํา้ ปาย จงั หวัดแม่ฮอ่ งสอน

กล่มุ งานวิชาการ สาํ นักบรหิ ารพื้นที่อนุรกั ษท์ ี่ 16 (สาขาแม่สะเรยี ง)
สว่ นสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานกั ฟ้นื ฟูและพฒั นาพ้ืนทอ่ี นรุ กั ษ์

กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั ว์ป่า และพันธ์พุ ืช
พ.ศ. 2558

บทสรปุ สําหรบั ผูบ้ ริหาร

จากสถานการณ์ป่าไม้ในปัจจุบัน พบว่า พ้ืนที่ป่าไม้ในประเทศเหลืออยู่เพียงประมาณร้อยละ 31.57
ของพื้นที่ประเทศ การดําเนินการสํารวจทรัพยากรป่าไม้จึงเป็นอีกทางหน่ึงท่ีทําให้ทราบถึงสถานภาพ และศักยภาพ
ของทรัพยากร ตลอดจนปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคม ที่มีผลต่อการบุกรุกทําลายป่าเพ่ือนํามาใช้ในการดําเนินการ
ตามภาระรับผิดชอบต่อไป ซ่ึงกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ได้ดําเนินการมาอย่างต่อเน่ือง ในปี
งบประมาณ พ.ศ. 2556-2558 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้จัดสรรงบประมาณการดําเนินงาน
และกําหนดจุดสํารวจเป้าหมายในพ้ืนท่ีเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าลุ่มน้ําปาย ซึ่งมีเน้ือท่ีประมาณ 738,085 ไร่ หรือ
1,180.94 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมอยู่ในเขตอําเภอเมืองแม่ฮ่องสอน อําเภอปางมะผ้า และอําเภอปาย
จังหวัดแม่ฮ่องสอน ซึ่งอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 16 (สาขาแม่สะเรียง) จํานวน
191 แปลง สําหรับการวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ที่มีขนาดคงท่ี รูปวงกลม 3 วง
ซอ้ นกัน คอื วงกลมรศั มี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลําดับ และมีวงกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยู่ตาม
ทิศหลักท้ัง 4 ทิศ ผลการสํารวจและวิเคราะห์ข้อมูล พบว่ามีชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินที่สํารวจ
4 ประเภท ได้แก่ ป่าเบญจพรรณ ปา่ เต็งรั ป่าดิบเขา และพ้ืนที่อ่ืนๆ โดยที่ป่าเบญจพรรณพบมากท่ีสุด คิดเป็น
ร้อยละ 46.60 ของพน้ื ท่ีสาํ รวจ รองลงมา คอื ป่าเต็งรัง ป่าดิบเขา และพื้นที่อ่ืนๆ คิดเป็นร้อยละ 29.32, 16.23
และ 7.85 ของพน้ื ทสี่ ํารวจ ตามลําดบั

สําหรับพรรณไม้รวมทุกชนิดป่าที่สํารวจพบทั้งสิ้น 56 วงศ์ 236 ชนิด จํานวน 3,286,421 ต้น
ปริมาตรไม้รวมทั้งหมด 1,119,208.30 ลูกบาศก์เมตร มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 21.43 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มีความ
หนาแน่นของตน้ ไมเ้ ฉลี่ย 74.98 ต้นตอ่ ไร่ ซงึ่ เมอ่ื เรยี งลําดบั ชนดิ ไม้ท่มี ปี ริมาณไม้มากทีส่ ดุ 10 อันดับแรก ไดแ้ ก่
รัง (Shorea siamensis) แดง (Xylia xylocarpa) เต็ง (Shorea obtusa) พลวง (Dipterocarpus tuberculatus)
โลด (Aporosa villosa) สกั (Tectona grandis) กอ่ ตาควาย (Quercus brandisiana) ปอแก่นเทา (Grewia
eriocarpa) กระพี้เขาควาย (Dalbergia cultrata) และ เปล้าใหญ่ (Croton persimilis) ตามลําดับ โดย
ปริมาณไมต้ ้นทพ่ี บมากทสี่ ุด พบในปา่ เต็งรัง รองลงมา คอื ป่าเบญจพรรณ

ปริมาณกล้าไม้ (Seedling) ท่ีพบในแปลงสํารวจมี 90 ชนิด จัดอยู่ใน 35 วงศ์ จํานวนรวมทั้งสิ้น
1,892,777,978 ตน้ ซึ่งเมอ่ื เรยี งลําดบั ชนดิ ไม้ท่มี ีปริมาณมากทส่ี ดุ 10 อันดับแรก ได้แก่ แดง (Xylia xylocarpa)
เต็ง (Shorea obtusa) หนาดใหญ่ (Blumea balsamifera) กระพ้ีเขาควาย (Dalbergia cultrata) แข้งกวาง
(Wendlandia tinctoria) รัง (Shorea siamensis) เก็ดขาว (Dalbergia ovata) เสี้ยวดอกขาว (Bauhinia
variegata) พลวง (Dipterocarpus tuberculatus) และ มะขามปอ้ ม (Phyllanthus emblica) ตามลําดับ
โดยสํารวจพบปริมาณกล้าไม้มากที่สุดในพ้ืนท่ีป่าเบญจพรรณ รองลงมา พบในพื้นท่ีป่าเต็งรัง และป่าดิบเขา
ตามลาํ ดับ

ลกู ไม้ (Sapling) ทพ่ี บในแปลงสํารวจมี 95 ชนิด 32 วงศ์ จํานวนท้ังสิ้น 66,816,116 ต้น ซ่ึงเมื่อ
เรียงลําดับชนิดไม้ ท่ีมีปริมาณมากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ แดง (Xylia xylocarpa) ปอแก่นเทา (Grewia

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ที่เขตรกั ษาพันธสุ์ ัตวป์ า่ ลุม่ นาํ้ ปาย

eriocarpa) ปอมืน (Colona floribunda) ต้ิวขน (Cratoxylum formosum) รกฟ้า (Terminalia alata)
สัก (Tectona grandis) มะไฟแรด (Scleropyrum pentandrum) โมกใหญ่ (Holarrhena pubescens)
โลด (Aporosa villosa) เสลาเปลืกหนา (Lagerstroemia villosa) ตามลําดับ โดยสํารวจพบปริมาณลูกไม้
มากท่ีสุดในป่าเบญจพรรณ รองลงมา คือ ป่าเต็งรัง และป่าดิบเขา และจากการสํารวจชนิดไม้ไผ่ พบว่า มีไผ่
7 ชนิด ไดแ้ ก่ ไผซ่ างดอย (Bambusa membranacea) ไผ่บงดํา (Bambusa tulda) ไผ่หอบ (Bambusa
oliveriana) ไผ่หก (Dendrocalamus hamiltonii) ไผ่เป๊าะ (Dendrocalamus giganteus) ไผ่ข้าวหลาม
(Cephalostachyum pergracile) และ ไผ่ไร่ (Gigantochloa albociliata) ซ่ึงสํารวจพบในป่าเบญจพรรณ
ป่าเตง็ รงั และปา่ ดบิ เขา ส่วนผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู สงั คมพชื พบว่า ชนิดไม้ท่ีมีค่าความสําคัญทางนิเวศวิทยา
(Importance Value Index : IVI) มากที่สุด คือ รัง (Shorea siamensis) แดง (Xylia xylocarpa) และเต็ง
(Shorea obtusa) สว่ นการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ชนิดป่าหรือลักษณะ
การใช้ประโยชนท์ ่ดี นิ ทีม่ คี วามหลากหลายของชนิดพันธ์ุไม้ (Species Diversity) มากที่สุด คือ ป่าเบญจพรรณ
รองลงมา คอื ป่าดิบเขา ชนดิ ป่าหรอื ลักษณะการใช้ประโยชนท์ ่ีดนิ ทมี่ ีความมากมายของชนิดพันธ์ุไม้ (Species
Richness) มากที่สุด คอื ปา่ เบญจพรรณ รองลงมา คือ ป่าดบิ เขา และชนิดปา่ หรอื ลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี ิน
ที่มีความสมํ่าเสมอของชนิดพันธุ์ไม้ (Species Evenness) มากท่ีสุด คือ ป่าดิบเขา รองลงมา คือ ป่าเบญจพรรณ
และป่าเต็งรัง ตามลําดับ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลโครงสร้างป่าในทุกชนิดป่าหรือทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดิน
พบวา่ มีไม้ต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) ระหว่าง 15-45 เซนติเมตร จํานวน 31,644,423 ต้น ต้นไม้ท่ีมี
ขนาดเส้นรอบวงเพยี งอก (GBH) อยู่ระหวา่ ง >45-100 เซนติเมตร จํานวน 17,776,195 ต้น และขนาดเส้นรอบวง
เพยี งอก (GBH) มากกว่า 100 เซนตเิ มตรขน้ึ ไป จํานวน 5,920,219 ตน้

จากผลการดาํ เนนิ งานดงั กล่าว ทําให้ทราบขอ้ มูลพน้ื ฐานเกย่ี วกบั ทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้าน
กําลังผลิตและความหลากหลายของพันธุ์พืชในพ้ืนที่ต่างๆ ของเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าลุ่มน้ําปาย อีกท้ัง ยังเป็น
แนวทางในการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ เก่ียวกับรูปแบบวิธีการสํารวจและการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ
และแบบแผน เพ่ือเป็นแนวทางในการติดตามการเปล่ยี นแปลงของทรพั ยากรป่าไม้ ในพน้ื ทเ่ี ขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่า
ลุ่มน้าํ ปายตอ่ ไป

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พนื้ ที่เขตรกั ษาพันธสุ์ ัตวป์ า่ ล่มุ น้าํ ปาย

สารบญั i

สารบญั หนา้
สารบัญตาราง i
สารบัญภาพ iii
คาํ นาํ iv
วตั ถุประสงค์ 1
เป้าหมายการดาํ เนนิ งาน 2
ขอ้ มลู ทวั่ ไปเขตรกั ษาพันธุ์สัตว์ปา่ ล่มุ นํา้ ปาย 2
3
ประวัติความเป็นมา 3
ที่ต้ังและพื้นท่ีตดิ ต่อ 3
ลกั ษณะภูมิประเทศ 3
ทรัพยากรป่าไม้ 4
ทรัพยากรสัตวป์ า่ 4
รูปแบบและวิธกี ารสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้ 5
การสมุ่ ตัวอย่าง (Sampling Design) 5
รูปรา่ งและขนาดของแปลงตวั อย่าง (Plot Design) 6
ขนาดของแปลงตัวอย่างและข้อมลู ทท่ี ําการสํารวจ 6
การวิเคราะหข์ อ้ มลู การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้ 7
1. การคาํ นวณเน้ือทีป่ ่าและปรมิ าณไม้ท้ังหมดของแต่ละพ้นื ท่อี นุรกั ษ์ 7
2. การคํานวณปริมาตรไม้ 7
3. ข้อมลู ทว่ั ไป 8
4. การวเิ คราะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหมไู่ ม้ 8
5. การวิเคราะห์ข้อมลู ชนิดและปรมิ าณของลูกไม้ (Sapling) และกลา้ ไม้ (Seeding) 8
6. การวิเคราะหข์ ้อมูลชนดิ และปริมาณของไมไ้ ผ่ หวาย 8
7. การวเิ คราะห์ข้อมลู สังคมพชื 9
8. วิเคราะห์ขอ้ มลู ความหลากหลายทางชีวภาพ
ผลการสํารวจและวิเคราะหข์ ้อมูลทรพั ยากรป่าไม้ 10
1. การวางแปลงตัวอยา่ ง 11
2. พ้ืนท่ปี ่าไม้ 11
3. ปริมาณไม้ 12
4. ชนิดพนั ธุ์ไม้ 14
5. สังคมพืช 23
6. ความหลากหลายทางชวี ภาพ 32
39

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้นื ทเ่ี ขตรักษาพันธสุ์ ตั ว์ปา่ ลมุ่ นาํ้ ปาย

สารบญั (ตอ่ ) ii

สรุปผลการสาํ รวจและวิเคราะหข์ ้อมลู ทรพั ยากรปา่ ไม้ หน้า
ปัญหาและอปุ สรรค 40
ข้อเสนอแนะ 43
เอกสารอา้ งองิ 43
ภาคผนวก 44
45

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทเี่ ขตรักษาพันธุ์สตั ว์ปา่ ลมุ่ นํา้ ปาย

iii

สารบญั ตาราง

ตารางท่ี ขนาดของแปลงตวั อยา่ งและข้อมูลทด่ี าํ เนินการสาํ รวจ หนา้
1 พืน้ ท่ปี า่ ไม้จาํ แนกตามลักษณะการใช้ประโยชนท์ ่ีดินในเขตรกั ษาพันธ์ุสตั ว์ปา่ ล่มุ นา้ํ ปาย 6
2 (Area by Landuse Type) 13
ปรมิ าณไมท้ ัง้ หมดจาํ แนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ่ีดินในเน้อื ที่เขตรกั ษาพนั ธ์ุสตั วป์ า่ ลุม่ น้าํ ปาย
3 (Volume by Landuse Type) 14
ความหนาแน่นและปริมาตรไมต้ อ่ หน่วยพน้ื ทจ่ี าํ แนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ีดิน
4 ในพน้ื ทีเ่ ขตรักษาพนั ธุส์ ัตว์ป่าลุม่ นํา้ ปาย (Density and Volume per Area by Landuse Type) 20
การกระจายขนาดความโตของไม้ทง้ั หมดในเขตรักษาพนั ธส์ุ ัตวป์ า่ ลุ่มน้ําปาย
5 ปรมิ าณไม้ทงั้ หมดของเขตรักษาพันธ์สุ ัตว์ป่าลมุ่ น้าํ ปาย (30 ชนดิ แรกท่ีมปี ริมาตรไม้สงู สุด) 22
6 ปรมิ าณไมใ้ นป่าเบญจพรรณของเขตรักษาพนั ธุส์ ตั วป์ ่าลุ่มน้ําปาย (30 ชนิดแรกท่ีมีปรมิ าตรไม้สงู สดุ ) 25
7 ปรมิ าณไม้ในปา่ เต็งรงั ของเขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ป่าลุม่ นาํ้ ปาย (30 ชนดิ แรกทมี่ ีปริมาตรไม้สงู สุด) 26
8 ปรมิ าณไมใ้ นปา่ ดบิ เขาของเขตรักษาพันธส์ุ ัตวป์ า่ ลมุ่ นาํ้ ปาย (30 ชนิดแรกท่ีมีปรมิ าตรไมส้ งู สดุ ) 27
9 ปรมิ าณไมใ้ นพ้ืนท่อี ่ืนๆ ของเขตรักษาพันธ์สุ ตั ว์ปา่ ลุ่มนํ้าปาย 28
10 ชนดิ และปริมาณของลูกไม้ (Sapling) ทพี่ บในเขตรักษาพันธสุ์ ตั วป์ า่ ลมุ่ นํ้าปาย 29
11 (30 ชนดิ แรกทมี่ ีปรมิ าณลูกไมส้ งู สดุ ) 30
ชนิดและปริมาณของกลา้ ไม้ (Seedling) ท่พี บในเขตรักษาพนั ธุส์ ัตว์ปา่ ลุ่มนา้ํ ปาย
12 (30 ชนิดแรกท่มี ีปริมาณกลา้ ไมส้ ูงสดุ ) 31
ชนิดและปรมิ าณไม้ไผท่ พ่ี บในเขตรักษาพนั ธ์ุสตั ว์ป่าลมุ่ นํา้ ปาย
13 ชนิดพนั ธุไ์ มจ้ ากการวเิ คราะห์ข้อมูลสงั คมพชื ด้านดัชนคี วามสําคัญของชนดิ ไม้ 32
14 (Importance Value Index : IVI) ในเขตรกั ษาพันธ์ุสตั วป์ ่าลมุ่ นาํ้ ปาย 34
ชนดิ พันธ์ไุ มจ้ ากการวิเคราะหข์ อ้ มูลสังคมพชื ด้านดัชนีความสําคัญของชนดิ ไม้ (Importance Value
15 Index : IVI) ของป่าเบญจพรรณ ในเขตรักษาพันธ์ุสตั ว์ป่าล่มุ น้ําปาย (20 อนั ดบั แรก) 35
ชนดิ พนั ธ์ไุ ม้จากการวิเคราะหข์ อ้ มลู สังคมพชื ดา้ นดชั นคี วามสาํ คัญของชนดิ ไม้ (Importance Value
16 Index : IVI) ของปา่ เตง็ รงั ในเขตรักษาพนั ธุส์ ัตว์ป่าล่มุ นา้ํ ปาย (20 อันดบั แรก) 36
ชนดิ พนั ธไุ์ มจ้ ากการวเิ คราะหข์ อ้ มลู สงั คมพชื ด้านดัชนคี วามสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value
17 Index : IVI) ของป่าดิบเขา ในเขตรกั ษาพนั ธส์ุ ัตว์ป่าล่มุ น้าํ ปาย (20 อนั ดบั แรก) 37
ชนดิ พันธุ์ไม้จากการวเิ คราะหข์ อ้ มูลสงั คมพืชดา้ นดชั นคี วามสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value
18 Index : IVI) ของพน้ื ทอี่ นื่ ๆ ในเขตรกั ษาพนั ธุ์สตั ว์ปา่ ลุ่มน้าํ ปาย 38
ความหลากหลายทางชวี ภาพของชนดิ พันธ์ไุ มเ้ ขตรักษาพันธส์ุ ตั วป์ ่าลมุ่ น้ําปาย
19 39

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ที่เขตรักษาพันธส์ุ ัตวป์ ่าลมุ่ นํา้ ปาย

สารบญั ภาพ iv

ภาพที่ หนา้
1 ลักษณะและขนาดของแปลงตวั อย่าง 5
2 แผนทีแ่ สดงขอบเขตและลักษณะภูมิประเทศของเขตรกั ษาพันธสุ์ ัตวป์ ่าล่มุ นาํ้ ปาย 11
3 แปลงตวั อยา่ งท่ีได้ดาํ เนนิ การสํารวจภาคสนามในเขตรกั ษาพันธ์ุสัตว์ป่าลุ่มนา้ํ ปาย 12
4 พนื้ ทีป่ า่ ไม้จําแนกตามลักษณะการใช้ประโยชนท์ ี่ดินในเขตรักษาพนั ธส์ุ ตั วป์ า่ ลมุ่ นํา้ ปาย 13
5 ลกั ษณะทว่ั ไปของปา่ เบญจพรรณในเขตรกั ษาพันธ์ุสตั ว์ปา่ ลุ่มนํา้ ปาย 15
6 ลกั ษณะทัว่ ไปของปา่ เต็งรงั ในเขตรักษาพนั ธุ์สตั ว์ป่าลุ่มนํา้ ปาย 16
7 ลกั ษณะทั่วไปของปา่ ดบิ เขาในเขตรักษาพนั ธ์ุสัตว์ปา่ ลุ่มน้าํ ปาย 17
8 ลักษณะทวั่ ไปของพื้นท่อี ื่นๆ ในเขตรกั ษาพนั ธสุ์ ตั ว์ป่าลุ่มน้ําปาย 18
9 ปรมิ าณไม้ท้งั หมดทพ่ี บในเขตรกั ษาพนั ธส์ุ ัตว์ป่าลุ่มนาํ้ ปาย 19
10 ปริมาตรไม้ทง้ั หมดที่พบในเขตรกั ษาพันธุส์ ตั วป์ ่าล่มุ นาํ้ ปาย 19
11 ความหนาแน่นของไม้ทง้ั หมดในเขตรักษาพนั ธส์ุ ตั วป์ า่ ลมุ่ นํ้าปาย 21
12 ปริมาตรไม้ (ลบ.ม./ไร่) ของพน้ื ที่แต่ละประเภทในเขตรักษาพันธุ์สัตวป์ า่ ลมุ่ น้าํ ปาย 21
13 การกระจายขนาดความโตของปริมาณไมท้ งั้ หมดในเขตรักษาพันธุ์สัตวป์ า่ ลุ่มน้ําปาย 22

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นที่เขตรกั ษาพันธ์ุสตั ว์ปา่ ลุม่ นาํ้ ปาย

1

คํานาํ

ปจั จบุ ันประเทศไทยมพี ้นื ที่ป่าไม้เหลอื อยปู่ ระมาณรอ้ ยละ 31.57 หรือ คิดเป็นพื้นที่102,119,539.55 ไร่
จากพน้ื ทีร่ วมทง้ั ประเทศ 323,518,861.06 ไร่ ซ่ึงพืน้ ท่ีดงั กล่าว สว่ นใหญ่อยใู่ นความรบั ผิดชอบของกรมอุทยาน
แห่งชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธุพ์ ืช ท่จี ะตอ้ งดําเนนิ การอนุรักษ์ สงวน และฟ้ืนฟูทรัพยากรป่าไม้ ให้สามารถตอบสนอง
ความต้องการของประชาชนในประเทศได้อย่างยั่งยืน จึงจําเป็นที่จะต้องทราบถึงสถานภาพและศักยภาพของ
ทรัพยากร โดยเฉพาะทรัพยากรป่าไม้ รวมท้ังความหลากหลายทางชีวภาพท่ีมีอยู่ในพ้ืนที่ป่าไม้ เพ่ือนําข้อมูล
มาใช้ประกอบการพจิ ารณาในการดาํ เนนิ การตามภาระรบั ผดิ ชอบ

ดังน้ันส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพ้ืนที่อนุรักษ์ ร่วมกับกลุ่ม
งานวิชาการ สาํ นกั บรหิ ารพื้นที่อนรุ กั ที่ 16 (สาขาแมส่ ะเรียง) ดาํ เนินการสํารวจพ้นื ทปี่ ่าอนุรักษ์ในความผิดชอบ
จาํ นวน 1 แห่ง ไดแ้ ก่ เขตรักษาพันธ์สุ ัตวป์ า่ ลุ่มนาํ้ ปาย จงั หวัดแม่ฮอ่ งสอน เพ่ือเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐาน
ด้านทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่อนุรักษ์ ซ่ึงข้อมูลท่ีสามารถนําไปใช้ในการประเมินมูลค่าท้ังทางด้านเศรษฐกิจและ
สิง่ แวดล้อม ในการดําเนินการในกิจกรรมที่มีความเกี่ยวข้องกับความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งใช้ในการ
ประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้และทรัพยากรอื่นๆ ที่เก่ียวข้อง เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานใน
การดาํ เนนิ การในภารกิจต่างๆ ของกรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพนั ธุพ์ ืชต่อไป

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้นื ทีเ่ ขตรกั ษาพันธส์ุ ัตว์ปา่ ลมุ่ นํา้ ปาย

2

วัตถุประสงค์

1. เพื่อใหท้ ราบข้อมลู พ้ืนฐานเก่ียวกับทรพั ยากรป่าไม้โดยเฉพาะด้านกําลังผลิตและความหลากหลาย
ของพชื พนั ธใ์ุ นพนื้ ทเ่ี ขตรกั ษาพนั ธสุ์ ตั ว์ป่าลุม่ นา้ํ ปาย

2. เพือ่ ใชเ้ ปน็ แนวทางในการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ เกี่ยวกับรูปแบบวิธีการสํารวจและการวิเคราะห์
ข้อมูลอยา่ งเป็นระบบและแบบแผน

3. เพอื่ เป็นแนวทางในการวางระบบตดิ ตามการเปลยี่ นแปลงของทรพั ยากรป่าไม้ในพน้ื ท่ี
4. เพ่ือทราบข้อมลู การกระจายของพรรณไมใ้ นพื้นที่ ชึ่งจะได้นาํ ข้อมูลดังกล่าว วางแผนการปลูก
ฟืน้ ฟสู ภาพปา่ ไดเ้ หมาะสมกับสภาพพนื้ ท่ี

เปา้ หมายการดําเนนิ งาน

ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2556–2558 ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนา
พน้ื ที่อนรุ ักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตวป์ ่า และพันธ์พุ ืช ได้จัดสรรงบประมาณการดําเนินงานและกําหนดพ้ืนท่ี
สํารวจเป้าหมายในพ้ืนทเ่ี ขตรกั ษาพันธุส์ ัตวป์ ่าลมุ่ นํ้าปาย อาํ เภอปาย อําเภอปางมะผ้า และอําเมืองแม่ฮ่องสอน
จังหวัดแม่ฮ่องสอน ซ่ึงอยู่ในความรับผิดชอบของสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 16 (สาขาแม่สะเรียง) จํานวน
191 แปลง

การสํารวจใช้การวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ที่มีขนาดคงท่ีรูปวงกลม
3 วง ซ้อนกัน คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลําดับ และมีวงกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยู่
ตามทิศหลกั ทัง้ 4 ทิศ โดยจดุ ศูนย์กลางของวงกลมทงั้ 4 ทิศ จะอย่บู นเสน้ รอบวงกลมของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร
จาํ นวนท้งั ส้นิ 191 แปลง และทําการเกบ็ ข้อมูลการสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้ตา่ งๆ อาทิ เช่น ชนิดไม้ ขนาดความโต
ความสูง จํานวนกล้าไม้ และลูกไม้ ชนิดป่าลักษณะต่างๆ ของพ้ืนที่ที่ต้นไม้ขึ้นอยู่ ข้อมูลลักษณะภูมิประเทศ
เช่น ระดับความสูง ความลาดชัน เป็นต้น ตลอดจนการเก็บข้อมูลองค์ประกอบร่วมของป่า เช่น ไม้ไผ่ หวาย
ไม้พุ่ม เถาวัลย์ และพืชช้ันล่าง แล้วนํามาวิเคราะห์และประมวลผล เพื่อให้ทราบเนื้อท่ีป่าไม้ ชนิดป่า ชนิดไม้
ปริมาณ และความหนาแนน่ ของหมูไ่ ม้ กําลงั ผลติ ของป่า ตลอดจนการสืบพนั ธต์ุ ามธรรมชาติของหม่ไู ม้ในป่าน้นั

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พนื้ ทีเ่ ขตรักษาพันธุ์สัตว์ปา่ ลมุ่ นาํ้ ปาย

3

ข้อมูลทัว่ ไปของเขตรกั ษาพนั ธส์ุ ัตวป์ า่ ลุม่ นํ้าปาย

ประวัตคิ วามเปน็ มา

เขตรักษาพันธ์สุ ัตว์ป่าลุม่ นาํ้ ปาย จดั ต้งั ใหเ้ ปน็ เขตรกั ษาพนั ธ์ุสัตวป์ า่ โดยประกาศคณะปฏิวัติฉบับ
ที่ 341 เม่ือวนั ที่ 13 ธันวาคม 2515 มเี น้อื ทปี่ ระมาณ 746,250 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่ในท้องท่ี อําเภอเมืองแม่ฮ่องสอน
อาํ เภอปางมะผา้ และอําเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ต่อมามีการเพิกถอนพนื้ ทบ่ี างส่วนออกไปจากเขตรักษาพันธ์ุ
สัตว์ป่าลุม่ น้ําปาย รวม 2 ครงั้ คือ เม่อื วนั ที่ 7 สิงหาคม 2529 เพกิ ถอนตามโครงการเพ่ือความมั่นคง เพื่อจัดที่ดิน
ทํากินใหแ้ ก่ราษฎร และเพ่อื ใช้ท่ีดินเป็นท่ที ําการเกษตรของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ชาวเขา พรอ้ มกบั กนั เขตแนว
ทางหลวงจงั หวดั หมายเลข 1095 สายแม่ฮ่องสอน–อําเภอปาย ท่ีตัดผ่านพ้ืนท่ีเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าลุ่มน้ําปาย
รวมพืน้ ทีท่ เี่ พิกถอน 8,055 ไร่ และเม่ือวันที่ 24 ธันวาคม 2547 เพิกถอนพ้ืนท่ีบริเวณศูนย์ราชการอําเภอปางมะผ้า
รวม 110 ไร่ จงึ เหลอื พืน้ ทีเ่ ขตรักษาพันธ์สุ ัตว์ป่าลมุ่ น้าํ ปาย จาํ นวน 738,085 ไร่

ทต่ี ง้ั และพ้ืนที่ตดิ ตอ่

ท่ีทําการเขตรกั ษาพนั ธ์สุ ตั วป์ า่ ลมุ่ นํ้าปาย ต้ังอยู่ เลขท่ี 43 หมู่ท่ี 8 ตําบลแม่นาเติง อําเภอปาย
จังหวัดแม่ฮ่องสอน ครอบคลุมท้องที่อําเภอเมืองแม่ฮ่องสอน อําเภอปางมะผ้า และอําเภอปาย เขตรักษาพันธุ์
สตั วป์ า่ ลมุ่ น้ําปายบางส่วน มกี ารกาํ หนดขอบเขตของพ้ืนท่ี โดยใช้ลักษณะภูมิประเทศ ได้แก่ แนวสันเขา ลําห้วย
ลาํ น้าํ แนวทางหลวง ดังน้ี

ทศิ เหนอื จดพ้นื ทีเ่ ขตรกั ษาพันธส์ุ ตั ว์ป่าสนั ปันแดนบางสว่ น หมบู่ า้ นไม้ฮงุ หมู่บ้านแมล่ ะนา
และหมบู่ ้านเมอื งแพม

ทศิ ใต้ จดลําน้าํ ปายตลอดแนว อุทยานแห่งชาตินาํ้ ตกแมส่ รุ ินทรบ์ างสว่ น เขตรกั ษาพันธุ์
สตั วป์ า่ ปา่ แมเ่ ลา-แม่แสะบางสว่ น และป่าสงวนแหง่ ชาติปา่ แม่ปายฝ่งั ซา้ ยตอนลา่ ง

ทศิ ตะวันออก จดอุทยานแห่งชาติห้วยน้ําดังบางส่วน ลาํ นา้ํ ของบางส่วน อําเภอปาย
และป่าสงวนแหง่ ชาตปิ า่ แม่ปายฝง่ั ซ้าย

ทิศตะวนั ตก จดบ้านแม่สะงา ลาํ นา้ํ แม่สะงี บางส่วนของแนวถนนหมายเลข 1095
และอาํ เภอเมอื งแมฮ่ ่องสอน

ลักษณะภมู ปิ ระเทศ

พ้ืนท่ีส่วนใหญ่ของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าลุ่มน้ําปาย เป็นภูเขาสูงชันสลับซับซ้อน มีที่ราบน้อยมาก
ส่วนใหญ่เป็นที่ราบตามลุ่มลําห้วย ระดับความสูงของพ้ืนท่ีเฉล่ียต้ังแต่ 250–1,972 เมตร จากระดับน้ําทะเล
ปานกลาง โดยมียอดเขาสูงท่ีสุด คือ ดอยแม่ยาน ซึ่งมีความสูง 1,972 เมตร และยังมียอดเขาท่ีสําคัญ ได้แก่
ดอยจิกจ้อง ดอยอ้น ดอยก้างบอกไฟและดอยเขยี ว เปน็ ตน้ จึงเป็นแหลง่ ตน้ นา้ํ ทีส่ าํ คัญหลายสาย ได้แก่ แมน่ ้ําปาย
ห้วยน้าํ ของ หว้ ยน้ําของนอ้ ย หว้ ยนาํ้ ลาง ห้วยนาํ้ โปง่ ห้วยปางไมแ้ ดง ห้วยแม่อูมอง ห้วยนํ้าริน ห้วยแม่ยาน
ห้วยโปง่ กลางปาย ห้วยน้าํ เตงิ หว้ ยม่วงสร้อย หว้ ยมว่ งก๋อน และหว้ ยแพมบก เปน็ ต้น

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ทเ่ี ขตรกั ษาพันธุส์ ัตว์ป่าลุม่ นํา้ ปาย

4

ทรัพยากรป่าไม้
ลักษณะภมู ปิ ระเทศของพืน้ ที่ท่ีมีความแตกต่างกัน จึงทาํ ให้มที รัพยากรป่าไม้มีความหลากหลายตาม

ระบบนิเวศในแตล่ ะสภาพพืน้ ทีด่ ้วย ซง่ึ ประกอบด้วยสภาพปา่ แต่ละประเภท ได้แก่
1. ป่าเบญจพรรณ พบขน้ึ กระจายทว่ั ไปทางตอนกลางของพ้ืนทตี่ ามลาํ ห้วยต่าง ๆ พรรณไม้ที่สําคัญ

ได้แก่ สกั แดง ประดูป่ ่า รกฟา้ ตะแบกแดง เสลาเปลือกหนา และตะแบก เปน็ ตน้
2. ป่าเต็งรัง พบท่ัวไปเป็นบริเวณกว้างทางด้านตะวันตกและทางทิศใต้ของพ้ืนที่ พรรณไม้ท่ีพบ

ได้แก่ เตง็ รงั เหียง พลวง เหมือดหอม เหมอื ดโลด รักใหญ่ ตูมกาขาว เปน็ ตน้
3. ป่าดิบเขา พบขึ้นปกคลุมพ้ืนท่ีตามสันเขา รวมทั้งหุบห้วยต่างๆ ในระดับความสูงและอากาศเย็น

พรรณไมท้ ่ีพบ ไดแ้ ก่ กอ่ เดอื ย กอ่ แปน้ กอ่ พลวง ก่อด่าง ทะโล้ สนสองใบ สนสามใบ เป็นต้น
4. ป่าดิบแล้ง พบทั่วไปตามลําห้วย หุบห้วยในระดับต่ํา อากาศชื้น พรรณไม้ท่ีพบ ได้แก่ ยางแดง

จําปปี ่า จาํ ปีหลวง ตาเสือ สตั บรรณ มณฑาปา่ เปน็ ตน้
ทรัพยากรสตั วป์ า่

สตั ว์ป่าทส่ี าํ รวจพบ ในพ้ืนท่เี ขตรักษาพนั ธุ์สัตวป์ า่ ลุ่มนาํ้ ปาย แยกเป็นประเภท ดังต่อไปน้ี
1. สัตว์เล้ียงลูกด้วยนม มีจํานวน 56 ชนิด ได้แก่ เสือโคร่ง หมีควายเลียงผา นางอาย กวางผา
กวาง เก้ง และหมูปา่ เป็นตน้
2. นก มจี ํานวน 164 ชนิด ได้แก่ นกยูง ไก่ฟ้าหลังขาว นกแซงแซวหางบว่ งใหญ่ นกพญาไฟพนั ธ์ุเหนือ
นกปรอดหัวโขน และนกเอี้ยงสาลิกา เป็นต้น
3. สตั วส์ ะเทิน้ นาํ้ สะเทนิ้ บก มีจาํ นวน 25 ชนิด ไดแ้ ก่ คางคกบ้าน กบบัว กบเขาท้องลาย เขียดหลังปุ่ม
และอ่ึงปากขวด เปน็ ต้น
4. สัตว์เลือ้ ยคลาน มีจํานวน 33 ชนิด ได้แก่ งูเหลือม งเู หา่ เต่าปลู ู ตะกวด แลน จง้ิ จกหางเรียบ
และจ้งิ เหลน เปน็ ต้น
5. ปลา ยงั ไม่มีการสาํ รวจขอ้ มลู เปน็ ทางการ เทา่ ท่สี าํ รวจพบปลาท่ีสาํ คัญ มดี ังน้ี ปลาค้อตาบอด
ปลามุง ปลาสะแงะ ปลากงั ปลาผเี ส้ือถา้ํ (ปลาจ้งิ จกถ้ํา) เปน็ ตน้

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ท่ีเขตรกั ษาพันธุส์ ัตวป์ ่าล่มุ นํ้าปาย

5

รปู แบบและวธิ ีการสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไมใ้ นแตล่ ะจังหวัดทั่วประเทศไทย ดําเนนิ การโดยกลุ่มสํารวจทรัพยากรป่าไม้
ส่วนสาํ รวจและวิเคราะหท์ รพั ยากรป่าไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ และสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ต่างๆ
ในสังกัดกรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตวป์ า่ และพนั ธุ์พืช
การสมุ่ ตัวอยา่ ง (Sampling Design)

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้ ใช้วธิ ีสุ่มตวั อย่างแบบสมาํ่ เสมอ (Systematic Sampling) ในพน้ื ท่ีปา่
อนุรักษ์ โดยให้แตล่ ะแปลงตัวอย่าง (Sample plot) มีระยะห่างเท่าๆ กัน โดยกําหนดให้ แต่ละแปลงห่างกัน
2.5x2.5 กิโลเมตร เริ่มจากการสุ่มกาํ หนดแปลงตัวอย่างแรกบนเส้นกริดแผนที่ (Grid) ลงบนขอบเขตแผนที่
ประเทศไทย มาตราส่วน 1:50,000 ให้มีระยะห่างระหว่างเส้นกริดทั้งแนวต้ังและแนวนอนเท่ากับ 2.5x2.5 กิโลเมตร
คือ ระยะชอ่ งกริดในแผนท่ีเท่ากับ 10 ช่อง จุดตัดของเส้นกรดิ ทง้ั สองแนวก็จะเปน็ ตาํ แหนง่ ทตี่ ง้ั ของแปลงตัวอย่าง
แต่ละแปลง เมื่อดําเนินการเสร็จสิ้นแล้ว จะทราบจํานวนหน่วยตัวอย่างและตําแหน่งท่ีต้ังของหน่วยตัวอย่าง
โดยลกั ษณะและขนาดของแปลงตวั อยา่ งดงั ภาพท่ี 1

ภาพท่ี 1 ลกั ษณะและขนาดของแปลงตัวอย่าง

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ทเ่ี ขตรกั ษาพันธุ์สตั ว์ป่าลมุ่ นาํ้ ปาย

6

รปู รา่ งและขนาดของแปลงตวั อยา่ ง (Plot Design)

แปลงตัวอยา่ ง (Sample Plot) ทใ่ี ช้ในการสาํ รวจ มที ง้ั แปลงตัวอยา่ งถาวรและแปลงตัวอย่างช่ัวคราว
เป็นแปลงทมี่ ีขนาดคงท่ี (Fixed–Area Plot) และมรี ปู ร่าง 2 ลักษณะด้วยกนั คือ

1. ลักษณะรูปวงกลม (Circular Plot)
1.1 รูปวงกลมท่ีมีจุดศูนย์กลางร่วมกันรัศมีแตกต่างกันจํานวน 3 วง คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62
และ 17.84 เมตร ตามลําดบั
1.2 รปู วงกลมท่ีมรี ศั มเี ทา่ กนั จดุ ศนู ย์กลางตา่ งกันจํานวน 4 วง รัศมี 0.631 เมตร เท่ากัน โดยจุด
ศนู ยก์ ลางของวงกลมอย่บู นเสน้ รอบวงของวงกลมรศั มี 3.99 เมตร ตามทศิ หลกั ท้ัง 4 ทิศ
2. ลักษณะแบบแนวเส้นตรง (Intersect Line) จํานวน 2 เส้น ความยาวเส้นละ 17.84 เมตร โดย
มจี ุดเร่มิ ตน้ ร่วมกัน ณ จุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่าง ทํามุมฉากซึ่งกันและกัน ซึ่งตัวมุม Azimuth ของเส้นที่ 1 ได้
จากการส่มุ ตวั อยา่ ง

ขนาดของแปลงตวั อย่างและขอ้ มูลทที่ าํ การสาํ รวจ

ขนาดของแปลงตัวอยา่ งและข้อมลู ท่ที ําการสํารวจแสดงรายละเอียดไว้ในตารางที่ 1

ตารางที่ 1 ขนาดของแปลงตวั อยา่ งและข้อมูลที่ดาํ เนนิ การสาํ รวจ

รศั มขี องวงกลม หรือ จาํ นวน พืน้ ท่ี หรือ ความยาว ข้อมลู ท่ีสํารวจ
ความยาว (เมตร)

0.631 4 วง 0.0005 เฮกตาร์ กล้าไม้

3.99 1 วง 0.0050 เฮกตาร์ ลกู ไม้และการปกคลุมพื้นท่ขี องกล้าไม้ และลูกไม้

12.62 1 วง 0.0500 เฮกตาร์ ไม้ไผ่ หวายทีย่ งั ไม่เล้ือย และตอไม้

17.84 1 วง 0.1000 เฮกตาร์ ตน้ ไม้ และตรวจสอบปจั จยั ทร่ี บกวนพนื้ ทป่ี า่

17.84 (เส้นตรง) 2 เสน้ 17.84 เมตร Coarse Woody Debris (CWD) หวายเล้ือย

และไมเ้ ถา ท่ีพาดผา่ น

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้นื ทีเ่ ขตรกั ษาพันธุส์ ัตวป์ ่าลุ่มนา้ํ ปาย

7

การวเิ คราะห์ขอ้ มูลการสํารวจทรพั ยากรป่าไม้

1. การคํานวณเนือ้ ท่ปี ่าและปริมาณไมท้ ง้ั หมดของแต่ละพน้ื ทอี่ นรุ ักษ์

1.1 ใช้ข้อมลู พ้นื ที่อนรุ กั ษ์จากแผนท่แี นบท้ายกฤษฎีกาของแต่ละพืน้ ท่ีอนุรักษ์
1.2 ใช้สดั ส่วนจํานวนแปลงตัวอย่างท่ีพบในแต่ละชนิดป่า เปรียบเทียบกับจํานวนแปลงตัวอย่างที่
วางแปลงทั้งหมดในแต่ละพื้นท่อี นุรักษ์ ทอ่ี าจจะไดข้ ้อมลู จากภาคสนาม หรือการดูจากภาพถ่ายดาวเทียมหรือ
ภาพถา่ ยทางอากาศ มาคาํ นวณเปน็ เนือ้ ทป่ี า่ แตล่ ะชนิดโดยนาํ แปลงตวั อยา่ งท่ีวางแผนไว้มาคาํ นวณทุกแปลง
1.3 แปลงตัวอย่างท่ีไม่สามารถดําเนินการได้ ก็ต้องนํามาคํานวณด้วย โดยทําการประเมินลักษณะ
พืน้ ทว่ี ่าเปน็ หนา้ ผา น้ําตก หรอื พ้ืนท่อี ่ืนๆ เพอื่ ประกอบลักษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ีดิน
1.4 ปริมาณไม้ท้ังหมดของพื้นที่อนุรักษ์ เป็นการคํานวณโดยใช้ข้อมูลเนื้อที่อนุรักษ์จากแผนท่ี
แนบท้ายกฤษฎีกาของแต่ละพื้นที่อนุรักษ์ ซึ่งบางพ้ืนที่อนุรักษ์มีข้อมูลเน้ือท่ีคลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริงและ
สง่ ผลตอ่ การคํานวณปริมาณไมท้ งั้ หมด ทาํ ให้การคํานวณปรมิ าณไม้เปน็ การประมาณเบือ้ งตน้

2. การคาํ นวณปรมิ าตรไม้

สมการปรมิ าตรไม้ทใี่ ช้ในการประเมินการกักเก็บธาตคุ าร์บอนในพืน้ ทปี่ ่าไม้ แบบวิธี Volume
based approach โดยแบ่งกลุ่มของชนิดไม้เปน็ จํานวน 7 กลมุ่ ดงั นี้

2.1 กลุ่มท่ี 1 ได้แก่ ยาง เต็ง รัง เหียง พลวง กระบาก เค่ียม ตะเคียน สยา ไข่เขียว พะยอม
จนั ทน์กะพ้อ สนสองใบ

สมการท่ีได้ ln V = 2.372083 + 2.443847 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 188

2.2 กลมุ่ ท่ี 2 ได้แก่ กระพจ้ี น่ั กระพเ้ี ขาควาย เกด็ ดาํ เก็ดแดง เกด็ ขาว เถาวัลย์เปรยี ง พะยูง
ชงิ ชนั กระพี้ ถอ่ น แดง ขะเจา๊ ะ แคทราย แคฝอย และสกลุ มะเกลือ

สมการท่ไี ด้ ln V = 2.134494 + 2.363034 ln (DBH/100)
R2 = 0.91, sample size = 135

2.3 กลมุ่ ที่ 3 ไดแ้ ก่ รกฟา้ สมอพิเภก สมอไทย หกู วาง หกู ระจง ตนี นก ขอ้ี า้ ย กระบก ตะคร้ํา
ตะคร้อ ตาเสอื คา้ งคาว สะเดา ยมหอม ยมหนิ กระทอ้ น เลี่ยน มะฮอกกานี ขอ้ี ้าย ตะบูน ตะบนั รัก ต้วิ
สะแกแสง ปูเ่ จา้ และไมส้ กลุ สา้ น เสลา อนิ ทนลิ ตะแบก ชะมวง สารภี บุนนาค

สมการที่ได้ ln V = 1.880578 + 2.053321 ln (DBH/100)
R2 = 0.89, sample size = 186

2.4 กลุม่ ที่ 4 ได้แก่ กางขี้มอด คนู พฤกษ์ มะคา่ โมง นนทรี กระถินพิมาน มะขามป่า หลมุ พอ
และสกลุ ขเ้ี หลก็

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พน้ื ท่เี ขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ ลุ่มนาํ้ ปาย

8

สมการทีไ่ ด้ ln V = 1.789563 + 2.025666 ln (DBH/100)
R2 = 0.90, sample size = 36

2.5 กลุ่มท่ี 5 ไดแ้ ก่ สกลุ ประดู่ เติม

สมการทไ่ี ด้ ln V = 2.037096 + 2.299618 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 99

2.6 กลุม่ ที่ 6 ไดแ้ ก่ สัก ตีนนก ผ่าเสี้ยน หมากเล็กหมากนอ้ ย ไขเ่ นา่ กระจับเขา กาสามปกี สวอง

สมการท่ีได้ ln V = 2.119907 + 2.296511 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 186

2.7 กลมุ่ ที่ 7 ได้แก่ ไมช้ นดิ อน่ื ๆ เชน่ กกุ๊ ขว้าว งว้ิ ป่า ทองหลางป่า มะม่วงป่า ซอ้ โมกมนั
แสมสาร และไม้ในสกลุ ปอ กอ่ เปล้า เป็นต้น

สมการท่ไี ด้ ln V = 2.250111 + 2.414209 ln (DBH/100)
R2 = 0.93, sample size = 138

โดยที่ V คือ ปริมาตรสว่ นลาํ ตน้ เมอื่ ตัดโคน่ ทคี่ วามสงู เหนอื ดนิ (โคน) 10 เซนติเมตร
ถงึ กิ่งแรกทท่ี าํ เป็นสินคา้ ได้ มหี น่วยเปน็ ลกู บาศกเ์ มตร

DBH มหี นว่ ยเปน็ เซนตเิ มตร
Ln = natural logarithm

3. ข้อมูลทว่ั ไป

ข้อมลู ท่ัวไปท่ีนาํ ไปใชใ้ นการวิเคราะห์ ไดแ้ ก่ ท่ตี ั้ง ตาํ แหนง่ ชว่ งเวลาทเ่ี กบ็ ขอ้ มลู ผทู้ ่ที าํ การเก็บข้อมลู
ความสูงจากระดับนา้ํ ทะเล และลกั ษณะการใช้ประโยชน์ทด่ี ิน เปน็ ตน้ โดยข้อมลู เหล่าน้ี จะใช้ประกอบในการ
วิเคราะห์ประเมินผลร่วมกับข้อมลู ด้านอื่นๆ เพือ่ ติดตามความเปลีย่ นแปลงของพื้นท่ีในการสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
ครั้งตอ่ ไป

4. การวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหมู่ไม้
4.1 ความหนาแน่น
4.2 ปรมิ าตร

5. การวเิ คราะหข์ ้อมลู ชนดิ และปริมาณของลกู ไม้ (Sapling) และกลา้ ไม้ (Seedling)

6. การวเิ คราะห์ข้อมลู ชนิดและปริมาณของไม้ไผ่ หวาย
6.1 ความหนาแน่นของไมไ้ ผ่ (จํานวนกอ และ จํานวนลํา)
6.2 ความหนาแนน่ ของหวายเส้นตัง้ (จาํ นวนต้น)

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พน้ื ทีเ่ ขตรกั ษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ ล่มุ นํา้ ปาย

9

7. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลสังคมพชื

โดยมีรายละเอียดการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ดังน้ี

7.1 ความหนาแน่นของพรรณพชื (Density : D) คอื จํานวนตน้ ไมท้ ้ังหมดของชนดิ พันธ์ทุ ่ศี ึกษาที่
ปรากฏในแปลงตัวอยา่ งตอ่ หนว่ ยพื้นทที่ ท่ี ําการสํารวจ

D= จํานวนต้นของไมช้ นิดนน้ั ทงั้ หมด
.

พื้นท่แี ปลงตัวอย่างทัง้ หมดท่ีทําการสํารวจ

7.2 ความถี่ (Frequency : F) คือ อตั รารอ้ ยละของจาํ นวนแปลงตวั อย่าง ที่ปรากฏพันธ์ไุ ม้ชนดิ นั้น
ตอ่ จํานวนแปลงทที่ ําการสาํ รวจ

F = จาํ นวนแปลงตวั อยา่ งท่พี บไมช้ นิดทีก่ าํ หนด X 100
จาํ นวนแปลงตวั อยา่ งทัง้ หมดท่ที าํ การสาํ รวจ

7.3 ความเด่น (Dominance : Do) ใชค้ วามเด่นด้านพื้นที่หน้าตดั (Basal Area : BA) หมายถึง
พ้ืนท่หี นา้ ตดั ของลําตน้ ของต้นไม้ที่วัดระดบั อก (1.30 เมตร) ต่อพนื้ ท่ที ่ที าํ การสาํ รวจ

Do = พื้นทหี่ นา้ ตัดทงั้ หมดของไมช้ นิดที่กําหนด X 100
พน้ื ท่ีแปลงตัวอยา่ งที่ทาํ การสํารวจ

7.4 ค่าความหนาแน่นสมั พัทธ์ (Relative Density : RD) คือ ค่าความสมั พทั ธ์ของความหนาแนน่
ของไม้ที่ตอ้ งการต่อคา่ ความหนาแนน่ ของไม้ทุกชนดิ ในแปลงตัวอย่าง คิดเป็นรอ้ ยละ

RD = ความหนาแน่นของไมช้ นดิ นน้ั X 100
ความหนาแน่นรวมของไม้ทุกชนิด

7.5 คา่ ความถส่ี มั พัทธ์ (Relative Frequency : RF) คอื คา่ ความสมั พัทธข์ องความถขี่ องชนิดไม้
ทตี่ ้องการตอ่ ค่าความถ่ที ั้งหมดของไม้ทุกชนดิ ในแปลงตัวอย่าง คดิ เป็นรอ้ ยละ

RF = ความถี่ของไม้ชนิดน้นั X 100
ความถี่รวมของไมท้ ุกชนดิ

7.6 ค่าความเด่นสัมพัทธ์ (Relative Dominance : RDo) คือ ค่าความสัมพันธ์ของความเด่น
ในรูปพน้ื ทห่ี นา้ ตัดของไมช้ นิดที่กําหนดตอ่ ความเดน่ รวมของไมท้ กุ ชนดิ ในแปลงตัวอย่าง คิดเปน็ รอ้ ยละ

RDo = ความเดน่ ของไม้ชนดิ นัน้ X 100
ความเดน่ รวมของไมท้ กุ ชนดิ

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พนื้ ทีเ่ ขตรักษาพันธุ์สตั ว์ปา่ ลุ่มนาํ้ ปาย

10

7.7 ค่าดัชนีความสาํ คัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) คือ ผลรวมของค่า
ความสัมพัทธต์ ่างๆ ของชนิดไม้ในสงั คม ไดแ้ ก่ คา่ ความสมั พทั ธ์ด้านความหนาแน่น คา่ ความสัมพทั ธ์ด้านความถ่ี
และคา่ ความสมั พทั ธด์ ้านความเดน่

IVI = RD + RF + RDo

8. วิเคราะหข์ อ้ มูลความหลากหลายทางชวี ภาพ

โดยทาํ การวิเคราะห์คา่ ตา่ งๆ ดงั นี้

8.1 ความหลากหลายของชนิดพนั ธุ์ (Species Diversity) วดั จากจํานวนชนิดพันธท์ุ ป่ี รากฏในสงั คม
และจํานวนตน้ ทีม่ ใี นแต่ละชนิดพันธ์ุ โดยใชด้ ัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener Index of diversity
ตามวิธีการของ Kreb (1972) ซึง่ มสี ตู รการคาํ นวณดงั ต่อไปนี้

s

H = ∑ (pi)(ln pi)

i=1

โดย H คือ ค่าดชั นคี วามหลากชนดิ ของชนิดพันธไุ์ ม้
pi คือ สดั ส่วนระหวา่ งจาํ นวนตน้ ไม้ชนดิ ที่ i ตอ่ จาํ นวนต้นไม้ท้งั หมด
S คอื จํานวนชนดิ พันธไุ์ มท้ ้ังหมด

8.2 ความรํ่ารวยของชนิดพันธ์ุ (Richness Indices) อาศัยความสัมพันธ์ระหว่างจํานวนชนิดกับ
จํานวนต้นทั้งหมดท่ีทําการสํารวจ ซ่ึงจะเพิ่มข้ึนเม่ือเพ่ิมพื้นท่ีแปลงตัวอย่าง และดัชนีความรํ่ารวย ที่นิยมใช้กัน
คือ วิธีของ Margalef Index และ Menhinick Index (Margalef 1958, Menhinick 1964) โดยมีสูตรการ
คํานวณดงั น้ี

1) Margalef Index (R1)
R1 = (S-1)/ln(n)

2) Menhinick Index (R2)
R2 = S/

เม่อื S คือ จาํ นวนชนิดท้ังหมดในสังคม
n คอื จาํ นวนตน้ ทัง้ หมดทีส่ ํารวจพบ

8.3 ความสม่ําเสมอของชนิดพันธ์ุ (Evenness Indices) เป็นดัชนีที่ต้ังอยู่บนสมมติฐานที่ว่า ดัชนี
ความสม่ําเสมอจะมคี ่ามากทสี่ ุดเมอื่ ทุกชนดิ ในสังคมมีจํานวนต้นเท่ากันทั้งหมด ซึ่งวิธีการท่ีนิยมใช้กันมากในหมู่
นักนิเวศวทิ ยา คือ วธิ ขี อง Pielou (1975) ซ่งึ มสี ูตรการคาํ นวณดงั น้ี

E = H/ ln(S) = ln (N1)/ln (N0)
เมอ่ื H คือ ค่าดชั นีความหลากหลายของ Shannon-Wiener

S คอื จํานวนชนดิ ท้ังหมด (N0)
N1 คอื eH

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ทีเ่ ขตรักษาพันธุ์สตั ว์ปา่ ลมุ่ นํ้าปาย

11

ผลการสาํ รวจและวิเคราะหข์ ้อมลู ทรัพยากรปา่ ไม้

1. การวางแปลงตวั อยา่ ง
จากผลการดําเนินการสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้ ในพ้ืนท่ีเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าลุ่มน้ําปาย ดําเนินการ

วางแปลงสาํ รวจตามพน้ื ที่รับผดิ ชอบของสํานกั บริหารพน้ื ทอ่ี นุรกั ษท์ ่ี 16 (สาขาแม่สะเรียง) จํานวน 191 แปลง
ดงั ภาพท่ี 2 และ 3 ตามลาํ ดบั

ภาพท่ี 2 แผนทแี่ สดงขอบเขตและลกั ษณะภมู ิประเทศของเขตรักษาพนั ธส์ุ ัตวป์ า่ ลุ่มนา้ํ ปาย

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ที่เขตรกั ษาพันธสุ์ ตั วป์ า่ ลมุ่ น้าํ ปาย

12

ภาพท่ี 3 แปลงตัวอย่างที่ไดด้ าํ เนนิ การสาํ รวจภาคสนามในเขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั วป์ า่ ลมุ่ น้ําปาย
2. พ้นื ทปี่ ่าไม้

จากการสํารวจ พบวา่ มีพื้นที่ป่าไม้จําแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินได้ 4 ประเภท ได้แก่
ปา่ เบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าดิบเขา และพ้ืนท่ีอ่ืนๆ โดยป่าเบญจพรรณพบมากท่ีสุด มีพื้นท่ี 550.28 ตารางกิโลเมตร
(343,924.42 ไร่) คิดเปน็ ร้อยละ 46.60 ของพ้ืนที่ทั้งหมด รองลงมา คือ ป่าเต็งรงั มีพนื้ ที่ 352.43 ตารางกโิ ลเมตร
(220,266.20 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 29.84 ของพื้นที่ทั้งหมด ส่วนป่าดิบเขา มีพื้นที่ 197.85 ตารางกิโลเมตร
(123,658.22 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 16.75 ของพ้ืนที่ทั้งหมด และพ้ืนท่ีอื่นๆ มีพ้ืนท่ี 80.38 ตารางกิโลเมตร
(50,236.15 ไร)่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 6.81 ของพื้นทที่ ง้ั หมด รายละเอยี ดดังตารางท่ี 2 และ ภาพท่ี 4

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ทีเ่ ขตรกั ษาพันธส์ุ ตั ว์ป่าลุ่มนํ้าปาย

13

ตารางที่ 2 พน้ื ทป่ี ่าไม้จาํ แนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ ในเขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั วป์ ่าลุ่มน้ําปาย

(Area by Landuse Type)

ลกั ษณะการใช้ประโยชน์ทด่ี ิน พ้ืนที่ รอ้ ยละ

(Landuse Type) ตร.กม. เฮคแตร์ ไร่ ของพ้นื ท่ีทง้ั หมด

ป่าดบิ เขา 197.85 19,785.32 123,658.22 16.75

(Hill Evergreen Forest)

ปา่ เบญจพรรณ 550.28 55,027.91 343,924.42 46.60

(Mixed Deciduous Forest)

ปา่ เต็งรงั 352.43 35,242.59 220,266.20 29.84

(Dry Dipterocarp Forest)

พนื้ ทอ่ี น่ื ๆ 80.38 8,037.78 50,236.15 6.81

(Other)

รวม (Total) 1,180.94 118,093.60 738,085.00 100.00

หมายเหตุ :- การคาํ นวณพ้ืนท่ีปา่ ไม้ของชนดิ ป่าแตล่ ะชนิด ใช้สดั สว่ นของข้อมูลที่พบจากการสาํ รวจภาคสนาม

- ร้อยละของพื้นทส่ี าํ รวจ คาํ นวณจากขอ้ มูลแปลงท่ีสํารวจพบ ซง่ึ มพี ื้นทด่ี งั ตารางที่ 1

- ร้อยละของพ้ืนทที่ งั้ หมด คํานวณจากพ้ืนทแ่ี นบท้ายกฤษฎีกาของเขตรกั ษาพันธุ์สัตวป์ ่าลมุ่ นํา้ ปาย ซงึ่ มีพืน้ ที่

ประมาณ 1,180.94 ตารางกโิ ลเมตร หรือ 738,085 ไร่

พนื้ ท่ีปา่ ไม้จําแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ทีด่ ิน
ในเขตรกั ษาพนั ธสุ์ ัตว์ปา่ ลุ่มน้าํ ปาย (ตร.กม.)

80.38 197.85

352.43 ปา่ ดิบเขา
ป่าเบญจพรรณ
ปา่ เตง็ รงั
พื้นท่อี ่นื ๆ

550.28

ภาพท่ี 4 พ้นื ท่ปี า่ ไม้จําแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ดี นิ ในเขตรกั ษาพันธุส์ ัตวป์ า่ ล่มุ นาํ้ ปาย

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พนื้ ที่เขตรักษาพันธส์ุ ัตว์ป่าลมุ่ นาํ้ ปาย

14

3. ปริมาณไม้

จากการวิเคราะห์เกย่ี วกับชนิดไม้ ปริมาณ ปริมาตร และความหนาแน่น ของต้นไม้ในป่า โดยการ
สํารวจทรัพยากรป่าไม้ในแปลงตัวอย่างถาวร ในพื้นท่ีเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าลุ่มน้ําปาย จํานวนทั้งส้ิน 191 แปลง
พบว่า มีชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินที่สํารวจพบ 4 ประเภท ได้แก่ ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง
ป่าดิบเขา และพื้นท่ีอื่นๆ พบไม้ต้นที่มีความสูงมากกว่า 1.30 เมตร และมีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH)
มากกวา่ หรือเทา่ กับ 15 เซนติเมตร ขน้ึ ไป มีมากกว่า 236 ชนดิ รวมทั้งหมด 55,340,836 ต้น ปริมาตรไม้รวม
ทั้งหมด 15,818,320.88 ลูกบาศก์เมตร ปริมาตรไม้เฉล่ีย 21.43 ลูกบาศกเ์ มตรต่อไร่ และมีความหนาแน่นของ
ต้นไมเ้ ฉลย่ี 74.98 ต้นตอ่ ไร่ พบปริมาณไมม้ ากท่สี ดุ ในปา่ เต็งรัง โดยพบจาํ นวน 23,676,615 ต้น รองลงมาใน
ปา่ เบญจพรรณ จาํ นวน 19,900,504 ต้น สาํ หรับปรมิ าตรไมพ้ บมากทส่ี ุดในป่าเบญจพรรณจาํ นวน 7,256,289.15
ลูกบาศก์เมตร รองลงมา คือ ป่าเต็งรัง จํานวน 5,231,284.70 ลูกบาศก์เมตร รายละเอียดแสดงตารางที่ 3-4
และภาพท่ี 5-10 ตามลาํ ดับ

ตารางที่ 3 ปรมิ าณไมท้ ง้ั หมดจาํ แนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ด่ี นิ ในพื้นท่ี

เขตรักษาพนั ธสุ์ ตั ว์ป่าลมุ่ นํ้าปาย (Volume by Landuse Type)

ลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ี่ดิน ปรมิ าณไม้ทั้งหมด

(Landuse Type) จํานวน (ตน้ ) ปรมิ าตร (ลบ.ม.)

ปา่ ดิบเขา 13,238,175 3,631,096.47

(Hill Evergreen Forest)

ปา่ เบญจพรรณ 19,900,504 7,256,289.15

(Mixed Deciduous Forest)

ปา่ เตง็ รัง 23,676,615 5,231,284.70

(Dry Dipterocarp Forest)

พื้นทอ่ี นื่ ๆ 340,060 102,050.72

(Other)

รวม (Total) 55,340,836 15,818,320.88

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พนื้ ที่เขตรักษาพันธุส์ ัตว์ปา่ ลุ่มนํา้ ปาย

15

ภาพที่ 5 ลักษณะทวั่ ไปของป่าเบญจพรรณในเขตรักษาพันธส์ุ ัตวป์ า่ ลมุ่ น้ําปาย

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้นื ทีเ่ ขตรักษาพันธ์ุสตั วป์ ่าล่มุ นาํ้ ปาย

16

ภาพที่ 6 ลักษณะทั่วไปของป่าเต็งรังในเขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั วป์ ่าลมุ่ นํา้ ปาย

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ท่เี ขตรกั ษาพันธุ์สตั วป์ ่าลุ่มนํา้ ปาย

17

ภาพที่ 7 ลักษณะทั่วไปของปา่ ดิบเขาในเขตรกั ษาพนั ธส์ุ ัตวป์ ่าลมุ่ นา้ํ ปาย

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ทีเ่ ขตรกั ษาพันธุส์ ตั วป์ ่าลุ่มน้ําปาย

18

ภาพที่ 8 ลกั ษณะทัว่ ไปของพ้ืนที่อน่ื ๆ ในเขตรักษาพนั ธส์ุ ตั วป์ า่ ลมุ่ นํ้าปาย

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พนื้ ท่ีเขตรกั ษาพันธส์ุ ัตวป์ า่ ลมุ่ นํ้าปาย

19

ภาพท่ี 9 ปรมิ าณไม้ทงั้ หมดทีพ่ บในเขตรกั ษาพนั ธส์ุ ัตวป์ า่ ลุ่มนาํ้ ปาย

ภาพท่ี 10 ปรมิ าตรไม้ทงั้ หมดท่พี บในเขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั ว์ป่าลุม่ นาํ้ ปาย

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทเี่ ขตรักษาพันธุ์สัตว์ปา่ ลุ่มนํ้าปาย

20

ตารางที่ 4 ความหนาแนน่ และปริมาตรไมต้ อ่ หน่วยพน้ื ทจี่ าํ แนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ นิ ในพื้นท่ี

เขตรักษาพนั ธส์ุ ตั ว์ปา่ ล่มุ นํ้าปาย (Density and Volume per Area by Landuse Type)

ลกั ษณะการใช้ประโยชน์ทีด่ ิน ความหนาแน่น ปรมิ าตร

(Landuse Type) ตน้ /ไร่ ต้น/เฮคแตร์ ลบ.ม./ไร่ ลบ.ม./เฮคแตร์

ปา่ ดบิ เขา 107.05 669.09 29.36 183.52

(Hill Evergreen Forest)

ป่าเบญจพรรณ 57.86 361.64 21.10 131.87

(Mixed Deciduous Forest)

ปา่ เต็งรงั 107.49 671.82 23.75 148.44

(Dry Dipterocarp Forest)

พื้นท่ีอืน่ ๆ 6.77 42.31 2.03 12.70

(Other)

เฉลยี่ (Average) 74.98 468.62 21.43 133.95

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนทเ่ี ขตรกั ษาพันธ์สุ ตั วป์ ่าล่มุ นํา้ ปาย

21

ภาพที่ 11 ความหนาแนน่ ของไม้ท้งั หมดในเขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั วป์ ่าลุ่มนาํ้ ปาย

ภาพท่ี 12 ปริมาตรไม้ (ลบ.ม./ไร)่ ของพนื้ ท่ีแต่ละประเภทในเขตรกั ษาพนั ธสุ์ ตั วป์ ่าลุ่มนํ้าปาย

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พนื้ ที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าลมุ่ นา้ํ ปาย

22

ตารางท่ี 5 การกระจายขนาดความโตของไม้ทัง้ หมดในเขตรักษาพนั ธสุ์ ตั ว์ปา่ ล่มุ นาํ้ ปาย

ขนาดความโต (GBH) ปรมิ าณไม้ทั้งหมด (ต้น) ร้อยละ (%)

15 – 45 ซม. 31,644,423 57.18
32.12
>45 – 100 ซม. 17,776,195 10.70
100.00
>100 ซม. 5,920,219

รวม 55,340,836

ภาพท่ี 13 การกระจายขนาดความโตของปริมาณไม้ทงั้ หมดในเขตรกั ษาพนั ธสุ์ ตั วป์ า่ ลุ่มนาํ้ ปาย

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พนื้ ทเ่ี ขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ ลมุ่ นํา้ ปาย

23

4. ชนดิ พันธุ์ไม้

ชนิดพนั ธุไ์ มท้ ่ีสาํ รวจพบในพนื้ ท่เี ขตรักษาพันธส์ุ ตั ว์ปา่ ลมุ่ นาํ้ ปาย มมี ากกวา่ 236 ชนิด รวมจํานวน
55,340,836 ต้น คดิ เปน็ ปรมิ าตรไม้รวม 15,818,320.88 ลกู บาศก์เมตร มีคา่ ความหนาแนน่ เฉลย่ี 74.98 ตน้ ตอ่ ไร่
มีปริมาตรไมเ้ ฉลย่ี 21.43 ลูกบาศก์เมตรตอ่ ไร่ ชนดิ ไมท้ ี่มีปริมาณไม้มากที่สุด10 อันดับแรก ได้แก่ รัง (Shorea
siamensis) แดง (Xylia xylocarpa) เต็ง (Shorea obtusa) พลวง (Dipterocarpus tuberculatus) โลด
(Aporosa villosa) สัก (Tectona grandis) ก่อตาควาย (Quercus brandisiana) ปอแก่นเทา (Grewia
eriocarpa) กระพี้เขาควาย (Dalbergia cultrata) และ เปล้าใหญ่ (Croton persimilis) รายละเอียดดัง
ตารางท่ี 6

ในป่าเบญจพรรณ มีปรมิ าณไมร้ วม 19,900,504 ตน้ คิดเป็นปรมิ าตรไม้รวม 7,256,289.15 ลกู บาศกเ์ มตร
มคี า่ ความหนาแนน่ เฉล่ีย 57.86 ต้นตอ่ ไร่ มปี รมิ าตรไม้เฉล่ีย 21.10 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาณไม้
มากทส่ี ดุ 10 อันดบั แรก ไดแ้ ก่ แดง (Xylia xylocarpa) สัก (Tectona grandis) เปล้าใหญ่ (Croton persimilis)
กระพี้เขาควาย (Dalbergia cultrata) กุ๊ก (Lannea coromandelica) ปอตู๊บหูช้าง (Sterculia villosa)
ผ่าเส้ียน (Vitex canescens) รกฟ้า (Terminalia alata) ทองเดือนห้า (Erythrina stricta) และมะกอกเกลื้อน
(Canarium subulatum) รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 7

ในป่าเต็งรังมีปริมาณไม้รวม 23,676,615 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 5,231,284.70 ลูกบาศก์เมตร
มีคา่ ความหนาแน่นเฉลย่ี 107.49 ตน้ ต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลย่ี 23.75 ลกู บาศก์เมตรตอ่ ไร่ ชนิดไมท้ ม่ี ปี รมิ าณไม้
มากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ รัง (Shorea siamensis) พลวง (Dipterocarpus tuberculatus) เต็ง (Shorea
obtusa) รักใหญ่ (Gluta usitata) โลด (Aporosa villosa) ปอแก่นเทา (Grewia eriocarpa) รกฟ้า (Terminalia
alata) แดง (Xylia xylocarpa) กระพ้ีเขาควาย (Dalbergia cultrata) และ มะม่วงหัวแมงวัน (Buchanania
lanzan) รายละเอียดดงั ตารางท่ี 8

ในดิบเขามีปริมาณไม้รวม 13,238,175 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 3,631,096.47 ลูกบาศก์เมตร
มคี า่ ความหนาแนน่ เฉลีย่ 32.26 ต้นตอ่ ไร่ มปี ริมาตรไมเ้ ฉลีย่ 29.36 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาณไม้
มากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ก่อตาควาย (Quercus brandisiana) โลด (Aporosa villosa) เปล้า (Croton sp.)
แคหิน (Stereospermum tetragonum) ก้าว (Tristaniopsis burmanica) รัง (Shorea siamensis) สนสามใบ
(Pinus kesiya) ก่อข้ีหมู (Quercus helferiana) กระพ้ีเขาควาย (Dalbergia cultrata) และ ส้านใบเล็ก
(Dillenia ovata) รายละเอยี ดดังตารางท่ี 9

พ้ืนท่ีอ่ืนๆ มีปริมาณไม้รวม 340,060 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 102,050.72 ลูกบาศก์เมตร มี
คา่ ความหนาแนน่ เฉล่ยี 6.77 ตน้ ตอ่ ไร่ มีปรมิ าตรไม้เฉล่ีย 2.03 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาณไม้มาก
ที่สุด คือ ปอกระสา (Broussonetia papyrifera) พระเจ้าร้อยท่า (Heteropanax fragrans) มะส้าน
(Dillenia aurea) สักหิน (Cordia globifera) สัตตบรรณ (Alstonia scholaris) ซ้อ (Gmelina arborea)

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ที่เขตรักษาพันธสุ์ ตั ว์ปา่ ลมุ่ นํ้าปาย

24

มะเดื่ออุทุมพร (Ficus racemosa) ประดู่ป่า (Pterocarpus macrocarpus) ส้มกบ (Hymenodictyon
orixense) และ ปอตู๊บหชู า้ ง (Sterculia villosa) เปน็ ตน้ รายละเอียดดังตารางที่ 10

ชนดิ และปรมิ าณของลูกไม้ (sapling) ทส่ี ํารวจพบมีมากกว่า 96 ชนิด รวมทั้งสิ้น 66,816,116 ต้น
มีความหนาแน่นของลูกไม้ 93.89 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไม้ที่มีปริมาณมากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ แดง (Xylia
xylocarpa) เคด (Catunaregam spathulifolia) ปอแก่นเทา (Grewia eriocarpa) ปอมืน (Colona
floribunda) ติ้วขน (Cratoxylum formosum) รกฟ้า (Terminalia alata) สัก (Tectona grandis) มะไฟแรด
(Scleropyrum pentandrum) โมกใหญ่ (Holarrhena pubescens) โลด (Aporosa villosa) รายละเอียด
ดงั ตารางท่ี 11

ชนิดและปริมาณของกล้าไม้ (seedling) ที่สํารวจพบมีมากกว่า 91 ชนิด รวมท้ังส้ิน 1,892,777,978 ต้น
มีความหนาแน่นของกล้าไม้ 2,575.56 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไม้ท่ีมีปริมาณมากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ แดง
(Xylia xylocarpa) เตง็ (Shorea obtusa) หนาดใหญ่ (Blumea balsamifera) กระพ้ีเขาควาย (Dalbergia
cultrata) แข้งกวาง (Wendlandia tinctoria) รัง (Shorea siamensis) เก็ดขาว (Dalbergia ovata)
เสีย้ วดอกขาว (Bauhinia variegata) พลวง (Dipterocarpus tuberculatus) และ มะขามปอ้ ม (Phyllanthus
emblica) ตามลําดับ รายละเอียดดงั ตารางท่ี 12

สําหรับชนิดไผ่ท่ีสํารวจพบในพื้นท่ีเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าลุ่มน้ําปายมี 7 ชนิด โดยมีปริมาณไม้ไผ่
จํานวน 9,672,428 กอ รวมทั้งส้ิน 135,498,347 ลํา ได้แก่ ไผ่ซางดอย (Bambusa membranacea) ไผ่บงดํา
(Bambusa tulda) ไผ่หอบ (Bambusa oliveriana) ไผ่หก (Dendrocalamus hamiltonii) ไผ่เป๊าะ
(Dendrocalamus giganteus) ไผข่ ้าวหลาม (Cephalostachyum pergracile) และ ไผ่ไร่ (Gigantochloa
albociliata) รายละเอียดดังตารางที่ 13

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พนื้ ทเี่ ขตรกั ษาพันธ์สุ ัตว์ป่าลมุ่ นา้ํ ปาย

25

ตารางท่ี 6 ปริมาณไมท้ ัง้ หมดของเขตรกั ษาพนั ธุ์สัตวป์ ่าลมุ่ นาํ้ ปาย (30 ชนดิ แรกท่ีมีปริมาตรไม้สูงสุด)

ลําดับ ชนิดพนั ธ์ุไม้ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปรมิ าตร ความหนาแนน่ ปรมิ าตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร่)
1 รัง Shorea siamensis 5,889,141 1,881,798.88 7.98
3,418,499 1,199,118.64 4.63 2.55
2 แดง Xylia xylocarpa 3,162,112 750,043.85 4.28 1.62
3,278,651 746,280.28 4.44 1.02
3 พลวง Dipterocarpus tuberculatus 1,165,397 653,857.60 1.58 1.01
77,693 332,592.14 0.11 0.89
4 เตง็ Shorea obtusa 1,134,320 310,952.16 1.54 0.45
784,701 309,052.88 1.06 0.42
5 สัก Tectona grandis 326,311 294,446.80 0.44 0.42
310,773 266,616.77 0.42 0.40
6 มะม่วงปา่ Mangifera caloneura 15,539 258,398.04 0.02 0.36
629,315 248,185.68 0.85 0.35
7 กอ่ ตาควาย Quercus brandisiana 714,777 235,823.75 0.97 0.34
893,471 231,839.09 1.21 0.32
8 รกฟา้ Terminalia alata 256,387 229,456.38 0.35 0.31
132,078 222,403.44 0.18 0.31
9 สนสามใบ Pinus kesiya 240,849 209,227.39 0.33 0.30
753,624 192,677.68 1.02 0.28
10 ประดู่ป่า Pterocarpus macrocarpus 132,078 191,215.72 0.18 0.26
1,025,550 182,665.25 1.39 0.26
11 ยางแดง Dipterocarpus turbinatus 590,468 164,446.17 0.80 0.25
551,621 161,659.08 0.75 0.22
12 มะเกลือเลอื ด Terminalia mucronata 388,466 161,528.97 0.53 0.22
31,077 161,008.52 0.04 0.22
13 ปอตู๊บหูช้าง Sterculia villosa 38,847 149,559.76 0.05 0.22
303,003 149,485.91 0.41 0.20
14 รกั ใหญ่ Gluta usitata 427,312 145,171.91 0.58 0.20
582,699 145,147.65 0.79 0.20
15 มังตาน Schima wallichii 139,848 139,804.21 0.19 0.20
233,079 137,444.78 0.32 0.19
16 สนสองใบ Pinus merkusii 5,356,411.47 37.55 0.19
27,713,149 15,818,320.88 7.26
17 มะแฟน Protium serratum 55,340,836 74.98
21.43
18 มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum

19 พะยอม Shorea roxburghii

20 กระพ้เี ขาควาย Dalbergia cultrata

21 ทองเดอื นหา้ Erythrina stricta

22 แคหนิ Stereospermum tetragonum

23 ตะคร้อ Schleichera oleosa

24 โพบาย Balakata baccata

25 ลําพปู ่า Duabanga grandiflora

26 สา้ นใบเล็ก Dillenia ovata

27 ก่อแพะ Quercus kerrii

28 กา้ ว Tristaniopsis burmanica

29 ฮักน้อย Gluta obovata

30 ก่อขห้ี มู Quercus helferiana

31 อ่นื ๆ Others

รวม (Total)

เฉลยี่ (Average)

หมายเหตุ : มีชนิดพันธุไ์ ม้ทีส่ าํ รวจพบท้ังหมด 236 ชนดิ

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ที่เขตรักษาพันธุส์ ัตวป์ า่ ลุ่มนาํ้ ปาย

26

ตารางที่ 7 ปรมิ าณไม้ในป่าเบญจพรรณของเขตรกั ษาพนั ธสุ์ ตั วป์ า่ ลุ่มน้ําปาย

(30 ชนดิ แรกทม่ี ปี รมิ าตรไม้สูงสุด)

ลาํ ดับ ชนดิ พันธไ์ุ ม้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตร ความหนาแน่น ปรมิ าตรไม้
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร่) (ลบ.ม./ไร่)

1 แดง Xylia xylocarpa 2,826,776 1,104,550.07 8.22 3.21
1,017,639 607,883.43 2.96 1.77
2 สัก Tectona grandis 318,693.98 0.18 0.93
60,305 250,707.07 0.04 0.73
3 มะม่วงป่า Mangifera caloneura 15,076 197,830.43 0.48 0.58
165,838 174,899.40 0.94 0.51
4 ยางแดง Dipterocarpus turbinatus 324,137 172,435.12 0.42 0.50
143,223 167,013.08 1.05 0.49
5 ประดู่ป่า Pterocarpus macrocarpus 361,827 155,271.37 1.12 0.45
384,442 152,500.36 0.77 0.44
6 มะเกลือเลอื ด Terminalia mucronata 263,832 145,108.25 0.11 0.42
37,690 124,618.00 0.48 0.36
7 มะแฟน Protium serratum 165,838 118,692.55 1.05 0.35
361,827 117,104.61 0.96 0.34
8 รกฟ้า Terminalia alata 331,675 116,797.53 0.55 0.34
188,452 104,928.10 0.02 0.31
9 ปอตู๊บหูช้าง Sterculia villosa 7,538 99,071.67 1.27 0.29
437,208 93,671.29 1.10 0.27
10 รัง Shorea siamensis 376,903 92,527.45 0.50 0.27
173,376 92,468.17 0.33 0.27
11 ลาํ พูป่า Duabanga grandiflora 113,071 92,217.74 0.50 0.27
173,376 87,331.06 0.50 0.25
12 ตะครอ้ Schleichera oleosa 173,376 80,687.08 0.83 0.23
286,447 79,266.66 0.20 0.23
13 ทองเดือนห้า Erythrina stricta 67,843 72,876.11 0.02 0.21
7,538 68,641.42 0.24 0.20
14 มะกอกเกล้ือน Canarium subulatum 82,919 67,371.76 1.36 0.20
467,360 60,094.87 0.75 0.17
15 เตง็ Shorea obtusa 256,294 54,299.42 1.67 0.16
572,893 50,663.37 0.28 0.15
16 สมพง Tetrameles nudiflora 97,995 28.95 6.21
9,957,790 2,136,067.74
17 กุ๊ก Lannea coromandelica 21.10

18 ผา่ เส้ยี น Vitex canescens

19 มะกอก Spondias pinnata

20 กาแซะ Callerya atropurpurea

21 คําดีควาย Diospyros undulata

22 ปอตาน Sterculia urena

23 ซอ้ Gmelina arborea

24 ง้ิวป่า Bombax anceps

25 โพบาย Balakata baccata

26 สา้ นใบเล็ก Dillenia ovata

27 กระพเี้ ขาควาย Dalbergia cultrata

28 เสี้ยวดอกขาว Bauhinia variegata

29 เปลา้ ใหญ่ Croton persimilis

30 ขมี้ อด Dalbergia sp.

31 อน่ื ๆ Others

รวม (Total) 19,900,504 7,256,289.15

เฉลย่ี (Average) 57.86

หมายเหตุ : มีชนดิ พนั ธ์ไุ ม้ที่สาํ รวจพบท้ังหมด 178 ชนดิ

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้นื ทเี่ ขตรกั ษาพันธส์ุ ตั ว์ปา่ ลมุ่ นํา้ ปาย

27

ตารางที่ 8 ปรมิ าณไม้ในป่าเตง็ รงั ของเขตรักษาพันธุ์สตั วป์ ่าลุ่มน้าํ ปาย (30 ชนิดแรกทมี่ ปี ริมาตรไมส้ งู สดุ )

ลาํ ดับ ชนดิ พนั ธไุ์ ม้ ช่ือวิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแนน่ ปริมาตร
(ต้น) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่
1 รงั Shorea siamensis 5,558,718 25.24
3,187,853 1,718,139.18 14.47 7.80
2 พลวง Dipterocarpus tuberculatus 3,083,727 761,694.84 14.00 3.46
136,165 641,379.83 0.62 2.91
3 เต็ง Shorea obtusa 865,045 229,284.08 3.93 1.04
424,513 180,081.96 1.93 0.82
4 สนสองใบ Pinus merkusii 304,368 141,152.20 1.38 0.64
136,165 117,301.62 0.62 0.53
5 รกั ใหญ่ Gluta usitata 248,300 96,525.92 1.13 0.44
376,455 85,605.27 1.71 0.39
6 รกฟ้า Terminalia alata 304,368 76,614.54 1.38 0.35
280,339 70,022.19 1.27 0.32
7 กอ่ แพะ Quercus kerrii 344,416 69,802.70 1.56 0.32
136,165 67,358.94 0.62 0.31
8 สนสามใบ Pinus kesiya 240,290 64,432.85 1.09 0.29
408,494 62,715.39 1.85 0.28
9 กา้ ว Tristaniopsis burmanica 240,290 53,261.49 1.09 0.24
376,455 45,106.45 1.71 0.20
10 กระพี้เขาควาย Dalbergia cultrata 320,387 36,359.66 1.45 0.17
40,048 30,150.66 0.18 0.14
11 มะเกลือเลอื ด Terminalia mucronata 120,145 30,073.24 0.55 0.14
488,590 28,171.47 2.22 0.13
12 ปอตบู๊ หชู า้ ง Sterculia villosa 480,581 27,928.46 2.18 0.13
40,048 26,913.37 0.18 0.12
13 สมอไทย Terminalia chebula 128,155 23,871.25 0.58 0.11
208,252 22,369.78 0.95 0.10
14 ประดู่ป่า Pterocarpus macrocarpus 320,387 19,608.27 1.45 0.09
112,136 18,425.90 0.51 0.08
15 กอ่ ตาควาย Quercus brandisiana 144,174 15,946.02 0.65 0.07
272,329 15,706.65 1.24 0.07
16 แดง Xylia xylocarpa 4,349,256 14,998.12 19.75 0.07
440,282.38 2.00
17 ก่อแดง Quercus kingiana 23,676,615 107.49
5,231,284.70 23.75
18 มะมว่ งหัวแมงวัน Buchanania lanzan

19 มะกอกเกล้ือน Canarium subulatum

20 มังตาน Schima wallichii

21 สกั Tectona grandis

22 โลด Aporosa villosa

23 ปอแกน่ เทา Grewia eriocarpa

24 ตะขบป่า Flacourtia indica

25 งว้ิ ป่าดอกแดง Bombax insigne

26 ตะครอ้ Schleichera oleosa

27 กุ๊ก Lannea coromandelica

28 กาสามปีก Vitex peduncularis

29 กาํ ลังชา้ งเผือก Hiptage benghalensis

30 เสี้ยวดอกขาว Bauhinia variegata

31 อื่นๆ Others

รวม (Total)

เฉลีย่ (Average)

หมายเหตุ : มีชนิดพันธ์ไุ มท้ ีส่ ํารวจพบท้งั หมด 131 ชนิด

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ท่ีเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าลมุ่ นํา้ ปาย

28

ตารางที่ 9 ปริมาณไมใ้ นป่าดิบเขาของเขตรักษาพนั ธ์ุสัตว์ป่าลุ่มนาํ้ ปาย (30 ชนิดแรกที่มีปริมาตรไม้สูงสุด)

ลาํ ดบั ชนิดพันธ์ุไม้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแน่น ปรมิ าตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร่)

1 กอ่ ตาควาย Quercus brandisiana 1,034,232 288,676.17 8.36 2.33
224,833 232,455.15 1.82 1.88
2 สนสามใบ Pinus kesiya 161,880 225,755.50 1.31 1.83
107,920 170,503.84 0.87 1.38
3 มังตาน Schima wallichii 422,686 131,921.01 3.42 1.07
224,833 129,384.03 1.82 1.05
4 พะยอม Shorea roxburghii 134,900 121,512.84 1.09 0.98
26,980 99,429.30 0.22 0.8
5 แคหนิ Stereospermum tetragonum 98,927 93,430.29 0.8 0.76
197,853 80,071.72 1.6 0.65
6 กอ่ ข้หี มู Quercus helferiana 71,947 80,068.71 0.58 0.65
395,706 71,896.60 3.2 0.58
7 กอ่ แป้น Castanopsis diversifolia 260,806 67,185.14 2.11 0.54
179,867 49,793.15 1.45 0.4
8 โพบาย Balakata baccata 116,913 49,467.39 0.95 0.4
206,846 45,041.57 1.67 0.36
9 ฮกั น้อย Gluta obovata 152,887 41,527.67 1.24 0.34
161,880 41,276.15 1.31 0.33
10 ส้านใบเลก็ Dillenia ovata

11 คา่ หด Engelhardtia spicata

12 กา้ ว Tristaniopsis burmanica

13 รัง Shorea siamensis

14 ลาํ ไยป่า Dimocarpus longan

15 มะกอกเกล้ือน Canarium subulatum

16 กระพเ้ี ขาควาย Dalbergia cultrata

17 สารภีป่า Anneslea fragrans

18 ทองเดือนหา้ Erythrina stricta

19 มะคาํ ดีควาย Sapindus rarak 35,973 33,543.09 0.29 0.27
20 มะดกู Siphonodon celastrineus 35,973 31,757.77 0.29 0.26
21 มะแฟน Protium serratum 26,980 27,860.21 0.22 0.23
22 เปลา้ ใหญ่ Croton persimilis 458,660 27,247.80 3.71 0.22
23 โลด Aporosa villosa 503,626 27,240.13 4.07 0.22
24 กอ่ แพะ Quercus kerrii 134,900 26,959.95 1.09 0.22
25 ยางโอน Monoon viride 53,960 25,157.00 0.44 0.2
26 กอ่ แดง Quercus kingiana 53,960 20,484.48 0.44 0.17
27 ก่อใบเลอ่ื ม Castanopsis tribuloides 80,940 19,546.89 0.65 0.16
28 แคหัวหมู Markhamia stipulata 71,947 17,933.28 0.58 0.15

29 ตะคร้อ Schleichera oleosa 17,987 16,284.56 0.15 0.13

30 แหลบุก Phoebe lanceolata 53,960 15,992.41 0.44 0.13

31 อื่นๆ Others 7,527,413 1,321,692.68 60.87 10.69

รวม (Total) 13,238,175 3,631,096.47

เฉลย่ี (Average) 107.05 29.36

หมายเหตุ : มีชนิดพนั ธ์ไุ มท้ ่ีสาํ รวจพบทั้งหมด 155 ชนดิ

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ที่เขตรกั ษาพันธ์สุ ัตว์ปา่ ลุม่ นาํ้ ปาย

29

ตารางที่ 10 ปริมาณไม้ในพื้นทอี่ ่นื ๆ ของเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ปา่ ล่มุ นา้ํ ปาย

ลาํ ดับ ชนิดพันธ์ไุ ม้ ช่ือวทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปรมิ าณไม้ ความหนาแนน่ ปรมิ าตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่
0.12
1 สกั หิน Cordia globifera 6,183 16,188.77 0.12 0.32
6,183 7,048.41 3.94 0.14
2 สัตบรรณ Alstonia scholaris 197,853 6,566.57 0.12 0.13
6,183 1,931.71 0.12 0.04
3 ปอกระสา Broussonetia papyrifera 6,183 0.25 0.01
12,366 697.47 0.25 0.01
4 ซ้อ Gmelina arborea 12,366 597.17 0.12 0.01
6,183 337.29 0.12 0.00
5 มะเดอื่ อุทุมพร Ficus racemosa 6,183 173.65 0.12 0.00
6,183 147.17 0.12 0.00
6 พระเจา้ ร้อยทา่ Heteropanax fragrans 6,183 109.86 0.12 0.00
6,183 80.65 0.12 0.00
7 มะสา้ น Dillenia aurea 6,183 59.71 1.11 1.35
55,646 67,770.82 0.01
8 ประดปู่ ่า Pterocarpus macrocarpus 341.46 6.77
2.03
9 ส้มกบ Hymenodictyon orixense

10 ปอตบู๊ หูชา้ ง Sterculia villosa

11 เพกา Oroxylum indicum

12 มะเดอ่ื ปล้อง Ficus hispida

13 หว้า Syzygium sp.

14 Unknown Unknown

รวม (Total) 340,060 102,050.72

เฉลยี่ (Average)

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ท่ีเขตรกั ษาพันธส์ุ ัตวป์ า่ ลุม่ น้ําปาย

30

ตารางท่ี 11 ชนดิ และปริมาณของลูกไม้ (Sapling) ท่ีพบในเขตรักษาพันธส์ุ ัตวป์ ่าล่มุ นํา้ ปาย

(30 ชนดิ แรกที่มปี รมิ าณลกู ไมส้ งู สดุ )

ลําดบั ชนดิ พันธ์ุไม้ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ความหนาแนน่
(ตน้ ) (ตน้ /ไร)่

1 แดง Xylia xylocarpa 4,506,203 6.11
2 ปอแกน่ เทา Grewia eriocarpa 2,175,408 2.95
3 ปอมืน Colona floribunda 2,175,408 2.95
4 ติ้วขน Cratoxylum formosum 2,020,022 2.74
5 รกฟ้า Terminalia alata 2,020,022 2.74
6 สัก Tectona grandis 1,864,636 2.53
7 มะไฟแรด Scleropyrum pentandrum 1,553,863 2.11
8 โมกใหญ่ Holarrhena pubescens 1,553,863 2.11
9 โลด Aporosa villosa 1,553,863 2.11
10 เสลาเปลอื กหนา Lagerstroemia villosa 1,553,863 2.11
11 ขางปอย Acalypha kerrii 1,398,477 1.89
12 แขง้ กวาง Wendlandia tinctoria 1,398,477 1.89
13 พลวง Dipterocarpus tuberculatus 1,398,477 1.89
14 เม่าสรอ้ ย Antidesma acidum 1,398,477 1.89
15 เสยี้ วดอกขาว Bauhinia variegata 1,398,477 1.89
16 รัง Shorea siamensis 1,243,091 1.68
17 ตะเคยี นหนู Anogeissus acuminata 1,087,704 1.47
18 โมกมนั Wrightia arborea 1,087,704 1.47
19 ตะคร้อ Schleichera oleosa 1.26
20 เต็ง Shorea obtusa 932,318 1.26
21 เปล้าใหญ่ Croton persimilis 932,318 1.26
22 สม้ กบ Hymenodictyon orixense 932,318 1.26
23 กาสามปกี Vitex peduncularis 932,318 1.05
24 กกุ๊ Lannea coromandelica 776,932 1.05
25 ข้าวสาร Phyllanthus columnaris 776,932 1.05
26 ปอตู๊บหชู ้าง Sterculia villosa 776,932 1.05
27 มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum 776,932 1.05
28 มะเกลือเลอื ด Terminalia mucronata 776,932 1.05
29 ล่าํ ตาควาย Diospyros coaetanea 776,932 1.05
30 กระพเี้ ขาควาย Dalbergia cultrata 776,932 0.84
31 อน่ื ๆ Others 621,545 37.89
28,124,921

รวม (Total) 69,302,297 93.89

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พนื้ ที่เขตรักษาพันธ์ุสตั ว์ป่าลมุ่ นา้ํ ปาย

31

ตารางท่ี 12 ชนดิ และปรมิ าณของกล้าไม้ (Seedling) ทพ่ี บในเขตรกั ษาพนั ธ์ุสตั ว์ปา่ ล่มุ นํา้ ปาย

(30 ชนดิ แรกที่มีปรมิ าณกล้าไมส้ ูงสดุ )

ลาํ ดบั ชนิดพันธุ์ไม้ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ความหนาแน่น
(ต้น) (ตน้ /ไร)่

1 แดง Xylia xylocarpa 164,018,889 222.22
2 เต็ง Shorea obtusa 114,813,222 155.56
3 หนาดใหญ่ Blumea balsamifera 108,252,467 146.67
4 กระพ้เี ขาควาย Dalbergia cultrata 78,729,067 106.67
5 แขง้ กวาง Wendlandia tinctoria 67,247,744 91.11
6 รัง Shorea siamensis 63,967,367 86.67
7 เก็ดขาว Dalbergia ovata 60,686,989 82.22
8 เสยี้ วดอกขาว Bauhinia variegata 57,406,611 77.78
9 พลวง Dipterocarpus tuberculatus 54,126,233 73.33
10 มะขามปอ้ ม Phyllanthus emblica 47,565,478 64.44
11 หนามขวากชา้ ง Meyna velutina 45,925,289 62.22
12 ปอแก่นเทา Grewia eriocarpa 42,644,911 57.78
13 เปลา้ ใหญ่ Croton persimilis 42,644,911 57.78
14 ก่อแพะ Quercus kerrii 41,004,722 55.56
15 ขางปอย Acalypha kerrii 41,004,722 55.56
16 ตะคร้อ Schleichera oleosa 39,364,533 53.33
17 รกั ใหญ่ Gluta usitata 39,364,533 53.33
18 เม่าสรอ้ ย Antidesma acidum 36,084,156 48.89
19 ตาฉ่ีเคย Craibiodendron stellatum 31,163,589 42.22
20 ปอขนุน Sterculia parviflora 31,163,589 42.22
21 ปอมนื Colona floribunda 29,523,400 40.00
22 รกฟา้ Terminalia alata 29,523,400 40.00
23 กอ่ ตาควาย Quercus brandisiana 24,602,833 33.33
24 ก้าว Tristaniopsis burmanica 24,602,833 33.33
25 กาสามปีก Vitex peduncularis 22,962,644 31.11
26 ข้าวสาร Phyllanthus columnaris 22,962,644 31.11
27 โมกใหญ่ Holarrhena pubescens 22,962,644 31.11
28 สัก Tectona grandis 16,401,889 22.22
29 เสลาเปลอื กหนา Lagerstroemia villosa 16,401,889 22.22
30 ราชพฤกษ์ Cassia fistula 14,761,700 20.00
31 อน่ื ๆ Others 469,094,024 635.57

รวม (Total) 1,892,777,978 2,575.56

หมายเหตุ : มีชนิดพันธไ์ุ มท้ ี่สํารวจพบทงั้ หมด 92 ชนดิ

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ทเ่ี ขตรักษาพันธส์ุ ตั วป์ ่าลุ่มน้าํ ปาย

32

ตารางที่ 13 ชนิดและปริมาณไมไ้ ผ่ที่พบในเขตรกั ษาพันธสุ์ ัตวป์ า่ ลุ่มนํ้าปาย

ลําดบั ชนดิ พันธ์ุไผ่ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไมไ้ ผ่

จํานวนกอ จาํ นวนลาํ

1 ไผซ่ างดอย Bambusa membranacea 7,479,261 97,511,573

2 ไผ่บงดํา Bambusa tulda 899,761 17,067,337

3 ไผห่ อบ Bambusa oliveriana 534,233 13,777,587

4 ไผไ่ ร่ Gigantochloa albociliata 365,528 3,655,278

5 ไผห่ ก Dendrocalamus hamiltonii 112,470 1,771,404

6 ไผ่ขา้ วหลาม Cephalostachyum pergracile 140,588 1,096,583

7 ไผเ่ ป๊าะ Dendrocalamus giganteus 140,588 618,586

รวม (Total) 9,672,428 135,498,347

5. สังคมพชื

จากผลการสํารวจ เก็บและวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืชในเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าลุ่มน้ําปาย พบว่า มี
สังคมพืช 4 ประเภท คือ ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าดิบเขา และพื้นท่ีอ่ืนๆ และจากวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช
ความหนาแน่นของพรรณพืช (Density) ความถ่ี (Frequency) ความเด่น (Dominance) และดัชนีความสําคัญ
ของพรรณไม้ (IVI) ดังนี้

ในเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าลุ่มนํ้าปาย มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10
อันดบั แรก ไดแ้ ก่ รงั (Shorea siamensis) แดง (Xylia xylocarpa) เตง็ (Shorea obtusa) พลวง (Dipterocarpus
tuberculatus) สัก (Tectona grandis) กระพี้เขาควาย (Dalbergia cultrata) โลด (Aporosa villosa)
ปอแก่นเทา (Grewia eriocarpa) ก่อตาควาย (Quercus brandisiana) และ รกฟ้า (Terminalia alata)
ดังรายละเอยี ดในตารางท่ี 14

ในพื้นท่ีป่าเบญจพรรณ มีชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ แดง (Xylia xylocarpa) สัก (Tectona grandis) กุ๊ก (Lannea coromandelica) ปอแก่นเทา (Grewia
eriocarpa) มะเกลือเลือด (Terminalia mucronata) ปอตู๊บหูช้าง (Sterculia villosa) กระพี้เขาควาย (Dalbergia
cultrata) รกฟา้ (Terminalia alata) ผา่ เสีย้ น (Vitex canescens) มะกอกเกล้ือน (Canarium subulatum)
ดงั รายละเอียดในตารางท่ี 15

ในพ้ืนที่ป่าเต็งรัง ชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
รัง (Shorea siamensis) เต็ง (Shorea obtusa) พลวง (Dipterocarpus tuberculatus) รักใหญ่ (Gluta
usitata) กระพี้เขาควาย (Dalbergia cultrata) รกฟ้า (Terminalia alata) สมอไทย (Terminalia chebula)
มะม่วงหัวแมงวัน (Buchanania lanzan) โลด (Aporosa villosa) ปอแก่นเทา (Grewia eriocarpa) ดัง
รายละเอียดในตารางที่ 16

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ท่เี ขตรักษาพันธุ์สัตวป์ า่ ลมุ่ นาํ้ ปาย

33

ในพื้นท่ีป่าดิบเขา ชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
กอ่ ตาควาย (Quercus brandisiana) แคหิน (Stereospermum tetragonum) สนสามใบ (Pinus kesiya)
โลด (Aporosa villosa) มังตาน (Schima wallichii) กา้ ว (Tristaniopsis burmanica) มะขามป้อม (Phyllanthus
emblica) ส้านใบเล็ก (Dillenia ovata) ก่อขี้หมู (Quercus helferiana) เปล้าแพะ (Croton acutifolius)
ดังรายละเอียดในตารางที่17

ในพ้นื ที่อน่ื ๆ ชนดิ ไม้ทมี่ คี ่าดชั นีความสาํ คัญของชนิดไม้ (IVI) สงู สุด ได้แก่ ปอกระสา (Broussonetia
papyrifera) สักหิน (Cordia globifera) สัตบรรณ (Alstonia scholaris) พระเจ้าร้อยท่า (Heteropanax
fragrans) ซ้อ (Gmelina arborea) มะส้าน (Dillenia aurea) มะเด่ืออุทุมพร (Ficus racemosa) ประดู่ป่า
(Pterocarpus macrocarpus) ส้มกบ (Hymenodictyon orixense) ปอตู๊บหูช้าง (Sterculia villosa)
ดงั รายละเอยี ดในตารางท่ี 18

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นที่เขตรักษาพันธุ์สตั วป์ ่าล่มุ นา้ํ ปาย

ตารางที่ 14 ดัชนคี วามสาํ คัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ในเขตร

ลําดับ ชนิดพนั ธุไ์ ม้ ช่ือวิทยาศาสตร์ จํานวน ความหนาแน่น แปลงพบ
(ต้น) (ตน้ /เฮคแตร)์

1 รัง Shorea siamensis 758 49.87 49
440 28.95 67
2 แดง Xylia xylocarpa 422 27.76 43
407 26.78 25
3 เตง็ Shorea obtusa 150 9.87 30
132 8.68 57
4 พลวง Dipterocarpus tuberculatus 171 11.25 48
140 9.21 51
5 สกั Tectona grandis 146 9.61 16
101 6.65 31
6 กระพเ้ี ขาควาย Dalbergia cultrata 102 6.71 52
115 7.57 33
7 โลด Aporosa villosa 97 6.38 38
92 6.05 33
8 ปอแก่นเทา Grewia eriocarpa 81 5.33 36
127 8.36 19
9 กอ่ ตาควาย Quercus brandisiana 116 7.63 26
40 2.63 21
10 รกฟา้ Terminalia alata 71 4.67 19
81 5.33 25
11 กุ๊ก Lannea coromandelica 3,334 219.34

12 รกั ใหญ่ Gluta usitata

13 มะกอกเกล้อื น Canarium subulatum

14 ปอตบู๊ หูชา้ ง Sterculia villosa

15 มะเกลอื เลอื ด Terminalia mucronata

16 เปลา้ ใหญ่ Croton persimilis

17 มะขามป้อม Phyllanthus emblica

18 ประดู่ป่า Pterocarpus macrocarpus

19 แคหิน Stereospermum colias

20 เส้ยี วดอกขาว Bauhinia variegata

21 อื่นๆ Others

รวม 7,123 468.62 1

รักษาพันธ์สุ ตั วป์ า่ ลมุ่ นํ้าปาย (20 อันดับแรก)

ความถี่ พนื้ ทหี่ นา้ ตดั ความเดน่ RDensity RFrequency RDominance IVI
(ตร.ม.)
11.65 24.53
32.24 29.51 0.12 10.64 2.24 7.82 17.05
44.08 19.79 0.08 6.18 3.06 4.70 12.59
28.29 11.89 0.05 5.92 1.97 4.56 11.42
16.45 11.55 0.05 5.71 1.14 3.97 7.45
19.74 10.06 0.04 2.11 1.37 1.42 5.88
37.50 3.60 0.01 1.85 2.61 0.88 5.48
31.58 2.24 0.01 2.40 2.19 0.74 5.03
33.55 1.86 0.01 1.97 2.33 2.12 4.90
10.53 5.37 0.02 2.05 0.73 1.97 4.81
20.40 5.00 0.02 1.42 1.42 0.93 4.74
34.21 2.35 0.01 1.43 2.38 1.56 4.69
21.71 3.96 0.02 1.61 1.51 1.32 4.42
25.00 3.35 0.01 1.36 1.74 1.58 4.38
21.71 4.01 0.02 1.29 1.51 1.59 4.38
23.68 4.03 0.02 1.14 1.65 0.71 3.36
12.50 1.79 0.01 1.78 0.87 0.42 3.24
17.11 1.06 0.00 1.63 1.19 1.60 3.12
13.82 4.05 0.02 0.56 0.96 1.12 2.98
12.50 2.83 0.01 1.00 0.87 0.68 2.96
16.45 1.72 0.01 1.14 1.14 48.66 162.61
966.46 123.24 0.48 46.80 67.15 100.00 300.00

1,439.47 253.27 1.00 100.00 100.00

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ทเ่ี ขตรักษาพันธส์ุ ัตว์ปา่ ลุม่ น้ําปาย

ตารางท่ี 15 ดัชนคี วามสาํ คัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่

ลําดบั ชนิดพันธุไ์ ม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ จาํ นวน ความหนาแนน่ แปลงพบ
(ต้น) (ตน้ /เฮคแตร)์

1 แดง Xylia xylocarpa 375 51.37 53
135 18.49 25
2 สกั Tectona grandis 58 7.95 33
69 9.45 32
3 กกุ๊ Lannea coromandelica 43 5.89 21
51 6.99 19
4 ปอแก่นเทา Grewia eriocarpa 62 8.49 25
48 6.58 14
5 มะเกลือเลือด Terminalia mucronata 50 6.85 22
44 6.03 21
6 ปอต๊บู หูช้าง Sterculia villosa 76 10.41 15
54 7.40 19
7 กระพเ้ี ขาควาย Dalbergia cultrata 22 3.01 12
48 6.58 7
8 รกฟา้ Terminalia alata 42 5.75 21
22 3.01 17
9 ผา่ เส้ยี น Vitex canescens 19 2.60 14
35 4.79 10
10 มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum 1.10 7
8 3.15 19
11 เปล้าใหญ่ Croton persimilis 23 185.75
1,356
12 โลด Aporosa villosa

13 ประดู่ป่า Pterocarpus macrocarpus

14 ทองเดือนหา้ Erythrina stricta

15 เสลาเปลือกหนา Lagerstroemia villosa

16 ตะคร้อ Schleichera oleosa

17 มะแฟน Protium serratum

18 รงั Shorea siamensis

19 มะม่วงปา่ Mangifera caloneura

20 มะกอก Spondias pinnata

21 อน่ื ๆ Others

รวม 2,640 361.64

าเบญจพรรณในเขตรักษาพนั ธส์ุ ตั ว์ป่าลุ่มนา้ํ ปาย (20 อันดบั แรก)

ความถี่ พนื้ ท่ีหน้าตัด ความเดน่ RDensity RFrequency RDominance IVI
(ตร.ม.)
34.91
72.60 18.51 0.16 14.21 4.78 15.92 15.61
6.73
34.25 9.57 0.08 5.11 2.26 8.24 6.42
6.03
45.21 1.81 0.02 2.20 2.98 1.55 5.95
5.82
43.84 1.07 0.01 2.61 2.89 0.92 5.45
5.37
28.77 2.91 0.03 1.63 1.90 2.50 5.31
5.28
26.03 2.67 0.02 1.93 1.72 2.30 4.65
4.52
34.25 1.42 0.01 2.35 2.26 1.22 4.28
4.20
19.18 2.75 0.02 1.82 1.26 2.37 4.10
4.03
30.14 1.73 0.02 1.89 1.99 1.49 4.02
3.90
28.77 2.03 0.02 1.67 1.90 1.75 3.87
159.58
20.55 1.22 0.01 2.88 1.35 1.05 300.00

26.03 1.03 0.01 2.05 1.72 0.89

16.44 3.02 0.03 0.83 1.08 2.60

9.59 2.13 0.02 1.82 0.63 1.83

28.77 0.82 0.01 1.59 1.90 0.71

23.29 2.01 0.02 0.83 1.53 1.73

19.18 2.38 0.02 0.72 1.26 2.05

13.70 2.09 0.02 1.33 0.90 1.80

9.59 3.45 0.03 0.30 0.63 2.96

26.03 1.49 0.01 0.87 1.72 1.28

961.66 52.15 0.45 51.37 63.37 44.86

1,517.81 116.25 1.00 100.00 100.00 100.00

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนท่ีเขตรกั ษาพันธุ์สัตว์ป่าล่มุ น้ําปาย

ตารางท่ี 16 ดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่

ลําดบั ชนิดพนั ธไ์ุ ม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ จํานวน ความหนาแนน่ แปลงพบ
(ต้น) (ต้น/เฮคแตร)์

1 รงั Shorea siamensis 694 157.73 35
385 87.50 34
2 เตง็ Shorea obtusa 398 90.46 20
108 24.55 26
3 พลวง Dipterocarpus tuberculatus 47 10.68 25
53 12.05 17
4 รักใหญ่ Gluta usitata 43 9.77 19
47 10.68 20
5 กระพ้เี ขาควาย Dalbergia cultrata 61 13.86 16
60 13.64 16
6 รกฟ้า Terminalia alata 38 8.64 10
38 8.64 15
7 สมอไทย Terminalia chebula 51 11.59 12
17 3.86 6
8 มะมว่ งหัวแมงวนั Buchanania lanzan 40 9.09 17
35 7.96 11
9 โลด Aporosa villosa 31 7.05 8
40 9.09 12
10 ปอแก่นเทา Grewia eriocarpa 30 6.82 9
30 6.82 8
11 กอ่ แพะ Quercus kerrii 710 161.36

12 มะเกลือเลือด Terminalia mucronata

13 แดง Xylia xylocarpa

14 สนสองใบ Pinus merkusii

15 กกุ๊ Lannea coromandelica

16 ปอตบู๊ หูชา้ ง Sterculia villosa

17 ก้าว Tristaniopsis burmanica

18 มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum

19 กอ่ ตาควาย Quercus brandisiana

20 กอ่ แดง Quercus kingiana

21 อื่นๆ Others

รวม 2,956 671.82

าเต็งรังในเขตรกั ษาพนั ธสุ์ ัตวป์ า่ ลุ่มนํ้าปาย (20 อันดบั แรก)

ความถ่ี พน้ื ทห่ี น้าตัด ความเดน่ RDensity RFrequency RDominance IVI
(ตร.ม.)
60.17
79.55 26.62 0.31 23.48 5.30 31.39 30.32
77.27 10.30 0.12 13.02 5.15 12.14 29.87
45.46 11.34 0.13 13.46 3.03 13.38 11.34
59.09 3.17 0.04 3.65 3.94 3.74 7.09
56.82 1.45 0.02 1.59 3.79 1.71 7.02
38.64 2.25 0.03 1.79 2.58 2.65 5.62
43.18 1.09 0.01 1.46 2.88 1.28 5.56
45.46 0.79 0.01 1.59 3.03 0.94 5.23
36.36 0.63 0.01 2.06 2.42 0.74 5.15
36.36 0.59 0.01 2.03 2.42 0.70 4.97
22.73 1.84 0.02 1.29 1.52 2.17 4.89
34.09 1.13 0.01 1.29 2.27 1.33 4.82
27.27 1.09 0.01 1.73 1.82 1.28 4.79
13.64 2.81 0.03 0.58 0.91 3.31 4.44
38.64 0.43 0.01 1.35 2.58 0.51 4.26
25.00 1.20 0.01 1.18 1.67 1.41 3.97
18.18 1.45 0.02 1.05 1.21 1.71 3.92
27.27 0.63 0.01 1.35 1.82 0.75 3.71
20.46 1.13 0.01 1.02 1.36 1.33 3.15
18.18 0.79 0.01 1.02 1.21 0.93 89.74
736.37 14.10 0.16 24.02 49.12 16.63 300.00

1,500.00 84.80 1.00 100.00 100.00 100.00

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พนื้ ทเ่ี ขตรักษาพันธส์ุ ัตวป์ ่าล่มุ น้ําปาย

ตารางที่ 17 ดชั นีความสาํ คัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่า

ลาํ ดับ ชนดิ พันธ์ุไม้ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ จํานวน ความหนาแนน่ แปลงพบ
(ต้น) (ต้น/เฮคแตร)์

1 ก่อตาควาย Quercus brandisiana 115 52.27 6
47 21.36 6
2 แคหนิ Stereospermum tetragonum 25 11.36 5
56 25.45 13
3 สนสามใบ Pinus kesiya 18 8.18 8
44 20.00 5
4 โลด Aporosa villosa 51 23.18 8
22 10.00 8
5 มงั ตาน Schima wallichii 25 11.36 2
51 23.18 4
6 ก้าว Tristaniopsis burmanica 12 5.45 5
15 6.82 6
7 มะขามป้อม Phyllanthus emblica 23 10.45 7
29 13.18 4
8 ส้านใบเลก็ Dillenia ovata 11 5.00 6
39 17.73 4
9 ก่อข้ีหมู Quercus helferiana 20 9.09 5
17 7.73 6
10 เปลา้ แพะ Croton acutifolius 19 8.64 8
13 5.91 5
11 พะยอม Shorea roxburghii 820 372.73

12 กอ่ แปน้ Castanopsis diversifolia

13 กระพ้ีเขาควาย Dalbergia cultrata

14 รงั Shorea siamensis

15 ฮกั นอ้ ย Gluta obovata

16 ไครม้ ด Glochidion eriocarpum

17 ลาํ ไยปา่ Dimocarpus longan

18 สารภีป่า Anneslea fragrans

19 แขง้ กวาง Wendlandia tinctoria

20 มะกอกเกล้ือน Canarium subulatum

21 อ่ืนๆ Others

รวม 1,472 669.09 1

าดิบเขาในเขตรักษาพันธุ์สัตวป์ า่ ลมุ่ น้ําปาย (20 อันดับแรก)

ความถี่ พ้นื ทหี่ น้าตดั ความเดน่ RDensity RFrequency RDominance IVI
(ตร.ม.)
17.67
27.27 4.22 0.08 7.81 1.51 8.35 8.63
27.27 1.99 0.04 3.19 1.51 3.93 8.43
22.73 2.77 0.06 1.70 1.26 5.47 8.21
59.09 0.58 0.01 3.80 3.27 1.14 8.05
36.36 2.44 0.05 1.22 2.01 4.82 6.68
22.73 1.23 0.02 2.99 1.26 2.43 6.05
36.36 0.29 0.01 3.47 2.01 0.58 5.73
36.36 1.13 0.02 1.50 2.01 2.23 5.61
9.09 1.72 0.03 1.70 0.50 3.40 5.60
18.18 0.57 0.01 3.47 1.01 1.13 5.48
22.73 1.73 0.03 0.82 1.26 3.41 5.25
27.27 1.38 0.03 1.02 1.51 2.72 4.78
31.82 0.74 0.02 1.56 1.76 1.46 4.57
18.18 0.80 0.02 1.97 1.01 1.59 4.34
27.27 1.06 0.02 0.75 1.51 2.09 4.12
18.18 0.23 0.01 2.65 1.01 0.46 4.02
22.73 0.71 0.01 1.36 1.26 1.41 3.89
27.27 0.62 0.01 1.16 1.51 1.23 3.87
36.36 0.29 0.01 1.29 2.01 0.57 3.50
22.73 0.69 0.01 0.88 1.26 1.36 175.55
1,259.06 25.42 0.49 55.72 69.60 50.24 300.00

1,809.09 50.58 1.00 100.00 100.00 100.00

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ทีเ่ ขตรกั ษาพันธสุ์ ัตว์ป่าลมุ่ นํ้าปาย

ตารางที่ 18 ดชั นคี วามสาํ คญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของพน้ื

ลําดบั ชนิดพันธ์ไุ ม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ จาํ นวน ความหนาแน่น แปลงพบ
(ตน้ ) (ต้น/เฮคแตร)์

1 ปอกระสา Broussonetia papyrifera 32 24.62 1
2 สักหิน Cordia globifera 1 0.77 1
3 สตั บรรณ Alstonia scholaris 1 0.77 1
4 พระเจา้ รอ้ ยทา่ Heteropanax fragrans 2 1.54 1
5 ซอ้ Gmelina arborea 1 0.77 1
6 มะส้าน Dillenia aurea 2 1.54 1
7 มะเดอ่ื อุทุมพร Ficus racemosa 1 0.77 1
8 ประดู่ป่า Pterocarpus macrocarpus 1 0.77 1
9 สม้ กบ Hymenodictyon orixense 1 0.77 1
10 ปอตูบ๊ หูช้าง Sterculia villosa 1 0.77 1
11 เพกา Oroxylum indicum 1 0.77 1
12 มะเดอ่ื ปล้อง Ficus hispida 1 0.77 1
13 หวา้ Syzygium sp. 1 0.77 1
14 Unknown Unknown 9 6.92 9

รวม 55 42.31


Click to View FlipBook Version