รายงานการสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
อทุ ยานแห่งชาติลานสาง
จังหวัดตาก
กลุ่มงานวิชาการ สํานกั บรหิ ารพืน้ ทอ่ี นรุ กั ษ์ ท่ี 14 (ตาก)
ส่วนสาํ รวจและวิเคราะหท์ รพั ยากรป่าไม้ สํานกั ฟื้นฟแู ละพฒั นาพนื้ ทอ่ี นุรักษ์
กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ปา่ และพันธพุ์ ืช
พ.ศ. 2556
บทสรปุ สาํ หรับผบู้ ริหาร
จากสถานการณป์ ่าไมใ้ นปัจจบุ ันพบว่าพ้นื ทปี่ า่ ไมใ้ นประเทศเหลืออยู่เพียงประมาณร้อยละ 33.56
ของพ้นื ท่ีประเทศ การดาํ เนนิ การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้จึงเป็นอีกทางหนงึ่ ท่ที ําให้ทราบถึงสถานภาพและศักยภาพ
ของทรพั ยากร ตลอดจนปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมที่มีผลต่อการบุกรุกทําลายป่าได้อย่างรวดเร็ว เพ่ือนํามาใช้
ในการดาํ เนนิ การตามภาระรบั ผดิ ชอบต่อไป ซ่ึงกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้ดําเนินการมาอย่าง
ต่อเนื่อง
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ได้จัดสรรงบประมาณ
การดําเนินงานและกําหนดจุดสํารวจเป้าหมาย ในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติลานสาง ซ่ึงมีเน้ือที่ 65,000 ไร่ หรือ
ประมาณ 104.00 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ในท้องที่บ้านลานสาง ตําบลแม่ท้อ อําเภอเมือง จังหวัดตาก มีอาณาเขต
ด้านทศิ เหนือ จรดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (ตาก-แม่สอด) และอุทยานแห่งชาติตากสินมหาราช ทิศใต้
จรดป่าสงวนแหง่ ชาตลิ านสาง ป่าสงวนแห่งชาตปิ ระดาง-วงั เจา้ ทิศตะวันออกจดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1108
และทิศตะวันตก จรดแนวสันเขาถนนธงชัยและอุทยานแห่งชาตินํ้าตกพาเจริญ จํานวนทั้งส้ิน 18 แปลงตัวอย่าง มี
พ้ืนทท่ี ี่ไมส่ ามารถดําเนนิ การสํารวจไดเ้ นือ่ งจากสภาพพ้นื ทเ่ี ป็นแนวหน้าผาสูงชัน จํานวน 1 แปลง
ผลการสํารวจและวิเคราะห์ข้อมูล พบว่ามีชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินที่สํารวจพบ
ทั้งหมด 4 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา ป่าเบญจพรรณ และสวนป่าประเภทอ่นื ๆ โดยป่าเบญจพรรณ
พบมากท่ีสุดคิดเป็นร้อยละ 72.22 ของพ้ืนท่ีทั้งหมดรองลงมา คือ ป่าดิบเขา คิดเป็นร้อยละ 16.67 ของพ้ืนท่ี
ท้ังหมด ป่าดิบแล้ง และสวนป่าประเภทอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 5.56 ของพ้ืนท่ีทั้งหมด สําหรับพรรณไม้ท่ีสํารวจ
พบทง้ั สิ้น 49 วงศ์ มีมากกว่า 151 ชนิด รวมจาํ นวน 6,465,333 ตน้ คดิ เป็นปริมาตรทั้งหมด 1,347,849.20
ลกู บาศก์เมตร มีความหนาแนน่ ของไม้เฉลี่ย 99.47 ต้นตอ่ ไร่ และมีปริมาตรไม้เฉลี่ย 20.74 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่
เมื่อเรียงลําดับชนิดพันธ์ุไม้ที่พบจํานวนมากที่สุดไปหาน้อยท่ีสุด 10 อันดับแรก คือ ปอแก่นเทา (Grewia eriocarpa)
สาธร (Millettia leucantha) แดง (Xylia xylocarpa) สัก (Tectona grandis) กระพ้ีจ่ัน (Millettia brandisiana)
ก่อ (Lithocarpus collettii) กุ๊ก (Lannea coromandelica) กระทุ่ม (Anthocephalus chinensis) ไคร้มด
(Glochidion acuminatum) และผ่าเสี้ยน (Vitex canescens) ตามลําดับ เมื่อเรียงลําดับชนิดพันธ์ุไม้ตาม
ปริมาตรจากมากท่ีสุดไปหาน้อยท่ีสุด 10 อันดับแรก คือ ลําพูป่า (Duabanga grandiflora) สาธร (Millettia
leucantha) กระทุ่ม (Anthocephalus chinensis) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana)
รัง (Shorea siamensis) ข้าวสาร (Phyllanthus columnaris) กระพ้ีจั่น (Millettia brandisiana) แดง (Xylia
xylocarpa) ทองหลางปา่ (Erythrina subumbrans) และสัก (Tectona grandis) ตามลําดับ เมื่อเรียงลําดับ
ชนิดปา่ หรือลกั ษณะการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ ท่พี บจาํ นวนไมย้ ืนต้นมากท่ีสุด คือ ป่าเบญจพรรณ สวนป่าประเภทอื่นๆ
ป่าดิบเขา และป่าดบิ แล้ง ตามลําดบั
กลา้ ไม้ (Seedling) ท่ีพบในแปลงสํารวจมีมากกว่า 43 ชนิด รวมจํานวนทั้งหมด 403,288,889 ต้น
เมื่อเรียงลําดับชนิดพันธุ์ไม้จากจํานวนต้นที่พบมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ คาง (Albizia
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พนื้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาตลิ านสาง
lebbeckoides) ปอพราน (Colona auriculata) เคด (Catunaregam spathulifolia) สวอง (Vitex limonifolia)
ปอตีนเต่า (Colona winitii) ปอปิด (Helicteres isora) ข้ีตุ่น (Helicteres angustifolia) ตะแบก (Lagerstroemia
cuspidata) มะขามป้อม (Phyllanthus emblica) และโมกมัน (Wrightia arborea) ตามลําดับ เมื่อเรียงลําดับ
ชนดิ ปา่ หรอื ลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ที่ดินที่พบจํานวนกล้าไม้มากท่ีสุด คือ ป่าเบญจพรรณ สวนป่าประเภทอื่นๆ
ปา่ ดบิ เขา และป่าดิบแล้ง ตามลาํ ดบั
ลกู ไม้ (Sapling) ท่พี บในแปลงสํารวจมีมากกวา่ 14 ชนดิ รวมจาํ นวนทง้ั หมด 6,471,111 ตน้ เมอื่
เรยี งลําดับชนิดพันธุ์ไม้จากจํานวนต้นที่พบมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ สัก (Tectona grandis)
มะขามป้อม (Phyllanthus emblica) กระเจาะ (Millettia kangensis) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia
duperreana) ตะขบป่า (Flacourtia indica) เปล้า (Croton argyratus) แดง (Xylia xylocarpa) เคด
(Catunaregam spathulifolia) ไคร้มด (Glochidion acuminatum) และพันตา (Cleistanthus denudatus)
ตามลาํ ดับ เม่ือเรียงลาํ ดับชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินท่ีสาํ รวจพบจํานวนลูกไม้มากที่สุด คือ
ป่าเบญจพรรณ สวนป่าประเภทอื่นๆ และปา่ ดิบเขา ตามลําดับ
ไผ่ (Bamboo) ท่พี บในแปลงสาํ รวจ มจี าํ นวน 5 ชนดิ มจี าํ นวน 1,190,222 กอ รวมท้ังสนิ้ จํานวน
25,040,889 ลํา ได้แก่ ซางดอย (Bambusa membranacea) หก (Dendrocalamus hamiltonii) ไผ่รวก
(Thyrsostachys siamensis) ไผ่บง (Bambusa nutans) และไผ่ป่า (Bambusa bambos) ซึ่งพบได้ใน
ปา่ ดบิ แล้ง ป่าดิบเขา และปา่ เบญจพรรณ
ตอไม้ท่ีสาํ รวจพบ มีมากกว่า 8 ชนิด รวมจํานวนท้ังส้ิน 392,889 ตอ มีค่าความหนาแน่นของตอไม้
เฉลี่ย 6.04 ตอต่อไร่ เมื่อเรียงลาํ ดับชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินที่พบจํานวนตอมากที่สุด คือ
ปา่ เบญจพรรณ รองลงมาคือ สวนป่าประเภทอน่ื ๆ
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช พบว่า ชนิดพันธ์ุไม้ท่ีมีความถ่ี (Frequency) มากที่สุด คือ สาธร
(Millettia leucantha) ชนิดพันธไุ์ มท้ ีม่ คี วามหนาแน่น (Density) มากท่ีสดุ คอื ปอแกน่ เทา (Grewia eriocarpa)
รองลงมา คือ ปอแก่นเทา (Grewia eriocarpa) ชนิดพันธ์ุไม้ท่ีมีความเด่น (Dominance) มากที่สุด คือ สาธร
(Millettia leucantha) รองลงมา คือ ปอแก่นเทา (Grewia eriocarpa) ชนิดพันธ์ุไม้ที่มีความถี่สัมพัทธ์ (Relative
Frequency) มากที่สุด คือ สาธร (Millettia leucantha) สัก (Tectona grandis) และก่อ (Lithocarpus
collettii) ชนดิ พันธ์ไุ ม้ท่มี ีความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Relative Density) มากที่สุด คือ กุ๊ก (Lannea coromandelica)
รองลงมา คือ สาธร (Millettia leucantha) พันธ์ุไม้ท่ีมีความเด่นสัมพัทธ์ (Relative Dominance) มากที่สุด คือ
สาธร (Millettia leucantha) รองลงมา คือ กุ๊ก (Lannea coromandelica) ชนิดไม้ที่มีค่าความสําคัญ
ทางนิเวศวิทยา (Importance Value Index : IVI) มากท่ีสุด คือ สาธร (Millettia leucantha) รองลงมา คือ
กุ๊ก (Lannea coromandelica)
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ชนิดป่าหรือลักษณะการใช้
ประโยชนท์ ีด่ ินท่ีมคี วามหลากหลายของชนิดพันธุ์ไม้ (Species Diversity) มากที่สุด คือ ป่าเบญจพรรณ รองลงมา
คือ ป่าดิบเขา ซ่งึ ชนิดปา่ หรือลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ่ดี นิ ทม่ี คี วามมากมายของชนดิ พันธไ์ุ ม้ (Species Richness)
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นทอ่ี ทุ ยานแห่งชาติลานสาง
มากท่ีสุด คือ ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คือ ป่าดิบเขา และชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินท่ีมีความ
สมาํ่ เสมอของชนดิ พันธไุ์ ม้ (Species Evenness) มากที่สดุ คือ ป่าดบิ เขา รองลงมา คือ ปา่ ดิบแลง้
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลโครงสร้างป่าในทุกชนิดป่าหรือทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน พบว่า มี
ไม้ยนื ต้นขนาดเส้นรอบวงเพยี งอก (GBH) ระหวา่ ง 15-45 เซนตเิ มตร จาํ นวน 4,622,222 ตน้ คดิ เป็นร้อยละ 71.49
ของไม้ทัง้ หมด ไม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) อยู่ระหว่าง >45-100 เซนติเมตร มีจํานวน 1,421,333 ต้น
คิดเป็นร้อยละ 21.98 ของไม้ทั้งหมด และไม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่า 100 เซนติเมตร
ข้นึ ไป มีจาํ นวน 421,778 ตน้ คดิ เป็นร้อยละ 6.52 ของไม้ทง้ั หมด
จากผลการดําเนินงานดังกล่าว ทําให้ทราบข้อมูลพ้ืนฐานเก่ียวกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้าน
กาํ ลงั ผลิตและความหลากหลายของพนั ธพ์ุ ืชในพน้ื ท่ีตา่ งๆ ของอุทยานแห่งชาติลานสาง อีกทงั้ ยังเป็นแนวทางใน
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ เก่ยี วกบั รปู แบบ วิธีการสาํ รวจ และการวเิ คราะหข์ อ้ มูลอย่างเป็นระบบและแบบแผน
เพื่อเป็นแนวทางในการติดตามการเปล่ยี นแปลงของทรัพยากรป่าไม้ในพ้ืนทอี่ ุทยานแหง่ ชาตลิ านสางตอ่ ไป
หมายเหตุ
การใช้ข้อมูลการคาํ นวณปริมาณไม้ทั้งหมดของพ้ืนที่อนุรักษ์ เป็นการคาํ นวณโดยใช้ข้อมูลเนื้อท่ี
อนุรักษจ์ ากแผนทแ่ี นบท้ายกฤษฎีกาของแตล่ ะพืน้ ท่ีอนรุ ักษ์ ซ่ึงบางพื้นทอี่ นุรักษ์มีข้อมูลเนื้อท่ีคลาดเคล่ือนจาก
ข้อเทจ็ จรงิ และส่งผลต่อการคํานวณปรมิ าณไม้ท้ังหมด ทําให้การคํานวณปริมาณไม้เป็นการประมาณการเบื้องต้น
อยา่ งไรก็ตาม ข้อมูลของค่าความหนาแน่นและปริมาตรไม้ต่อหน่วยเนื้อท่ีของแต่ละพ้ืนที่สามารถเป็นตัวแทนของ
พ้ืนที่น้ันๆ ได้ และหากได้ข้อมูลเนื้อที่อนุรักษ์ที่มีความถูกต้องก็สามารถประมาณการปริมาณไม้ได้แม่นยํามาก
ยงิ่ ข้ึน
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นท่อี ุทยานแหง่ ชาตลิ านสาง
สารบญั i
สารบญั หนา้
สารบญั ตาราง i
สารบัญภาพ ii
คาํ นาํ iii
วัตถุประสงค์ 1
เปา้ หมายการดาํ เนนิ งาน 2
ข้อมลู ทั่วไปอทุ ยานแห่งชาตลิ านสาง 2
3
- ประวัตคิ วามเป็นมา 3
- ทตี่ ั้งและอาณาเขต 3
- การเดนิ ทางและเส้นทางคมนาคม 4
- ลักษณะภมู ปิ ระเทศ 5
- ลกั ษณะภูมิอากาศ 5
- ลักษณะทางธรณวี ิทยา 6
- จดุ เดน่ ทน่ี า่ สนใจ 6
รปู แบบและวธิ ีการสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้ 9
- การสุม่ ตวั อย่าง (Sampling Design) 9
- รูปรา่ งและขนาดของแปลงตวั อยา่ ง (Plot Design)
- ขนาดของแปลงตัวอยา่ งและขอ้ มูลท่ที าํ การสาํ รวจ 10
การวเิ คราะหข์ อ้ มลู การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้ 10
ผลการสาํ รวจและวเิ คราะหข์ ้อมูลทรพั ยากรป่าไม้ 11
1. การวางแปลงตัวอยา่ ง 16
2. พ้นื ท่ีป่าไม้ 16
3. ปริมาณไม้ 17
4. ชนิดพันธ์ุไม้ 21
5. ขอ้ มูลสงั คมพชื 25
6. ความหลากหลายทางชวี ภาพ 35
สรปุ ผลการสาํ รวจและวิเคราะห์ข้อมลู ทรพั ยากรปา่ ไม้ 40
ปัญหาและอปุ สรรค 41
ขอ้ เสนอแนะ 45
เอกสารอา้ งองิ 45
ภาคผนวก 46
47
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนที่อทุ ยานแห่งชาตลิ านสาง
สารบญั ภาพ ii
ภาพที่ หน้า
1 แสดงทีต่ ัง้ และอาณาเขต ของอทุ ยานแหง่ ชาตลิ านสาง 4
2 แสดงลกั ษณะภูมปิ ระเทศ ของอทุ ยานแห่งชาติลานสาง 5
3 ลักษณะทางธรณีวิทยา 6
4 นํา้ ตกผาลาด 7
5 น้ําตกลานเลี้ยงมา้ 7
6 นํ้าตกลานสาง 8
7 ลักษณะและขนาดของแปลงตัวอยา่ ง 9
8 แผนทแี่ สดงขอบเขตและลักษณะภมู ปิ ระเทศของอุทยานแหง่ ชาติลานสาง 16
9 แปลงตวั อย่างทไี่ ด้ดาํ เนนิ การสํารวจภาคสนาม ในอทุ ยานแหง่ ชาตลิ านสาง 17
10 พ้ืนทีป่ า่ ไมจ้ าํ แนกตามชนิดป่า ในพื้นที่อทุ ยานแห่งชาติลานสาง 18
11 ลักษณะทว่ั ไปของปา่ ดิบแล้งในพ้ืนที่อุทยานแหง่ ชาตลิ านสาง 19
12 ลักษณะท่ัวไปของปา่ ดบิ เขาในพ้นื ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาติลานสาง 19
13 ลักษณะทัว่ ไปของปา่ เบญจพรรณในพนื้ ทอี่ ทุ ยานแห่งชาติลานสาง 20
14 ลักษณะท่วั ไปของพน้ื ทีป่ า่ สวนป่าประเภทอื่นๆ ในพนื้ ท่อี ุทยานแห่งชาติลานสาง 20
15 ปรมิ าณไมท้ ั้งหมดทีพ่ บในพน้ื ที่อุทยานแหง่ ชาตลิ านสาง 22
16 ปริมาตรไมท้ ัง้ หมดท่ีพบในพนื้ ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาตลิ านสาง 22
17 ความหนาแน่นตน้ ไมข้ องไม้ท้งั หมดในพื้นทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตลิ านสาง 23
18 ปริมาตรไม้ (ลบ.ม./ไร่) ในพน้ื ทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาตลิ านสาง 24
19 การกระจายขนาดความโตของไม้ทั้งหมดในพ้นื ที่อทุ ยานแหง่ ชาติลานสาง 24
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาตลิ านสาง
iii
ตารางท่ี สารบญั ตาราง หน้า
1 10
2 ขนาดของแปลงตัวอย่างและข้อมูลที่ดําเนินการสํารวจ 18
พน้ื ทีป่ า่ ไมจ้ ําแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ นิ ในอทุ ยานแหง่ ชาตลิ านสาง
3 (Area by Landuse Type) 21
ปรมิ าณไมท้ ง้ั หมดจําแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ ในอุทยานแหง่ ชาติลานสาง
4 (Volume by Landuse Type) 23
ความหนาแน่นและปรมิ าตรไมต้ อ่ หน่วยพ้นื ที่จาํ แนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชน์ที่ดนิ
5 ในอุทยานแหง่ ชาติลานสาง (Density and Volume per Area by Landuse Type) 24
6 การกระจายขนาดความโตของไม้ทง้ั หมดในพื้นอุทยานแหง่ ชาตลิ านสาง 27
7 ปรมิ าณไมท้ ง้ั หมดของอุทยานแหง่ ชาตลิ านสาง (30 ชนิดแรกทมี่ ีปริมาตรไมส้ ูงสุด) 28
8 ปรมิ าณไมใ้ นปา่ ดิบแล้งของอุทยานแหง่ ชาติลานสาง 29
9 ปริมาณไม้ในปา่ ดบิ เขาของอุทยานแหง่ ชาติลานสาง (30 ชนดิ แรกท่ีมีปรมิ าตรไมส้ ูงสดุ ) 30
10 ปรมิ าณไมใ้ นปา่ เบญจพรรณ ของอทุ ยานแหง่ ชาตลิ านสาง (30 ชนดิ แรกทมี่ ีปริมาตรไม้สูงสุด) 31
11 ปรมิ าณไมใ้ นพนื้ ทส่ี วนปา่ ประเภทอื่นๆ ของอทุ ยานแหง่ ชาตลิ านสาง 32
12 ชนิดและปรมิ าณของลกู ไม้ (Sapling) ที่พบในอุทยานแห่งชาตลิ านสาง 33
ชนดิ และปริมาณของกล้าไม้ (Seedling) ที่พบในอทุ ยานแหง่ ชาติลานสาง
13 (30 ชนิดแรกทมี่ ีปรมิ าตรไมส้ งู สดุ ) 34
14 ชนดิ และปรมิ าณไมไ้ ผ่ หวาย และไมก้ อ ทพี่ บในอทุ ยานแหง่ ชาติลานสาง 34
15 ชนิด และปรมิ าณของตอไม้ (Stump) ทพี่ บในอทุ ยานแหง่ ชาตลิ านสาง 36
ดชั นีความสําคัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าดิบแลง้
16 ในอทุ ยานแหง่ ชาตลิ านสาง 37
ดชั นีความสําคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าดิบเขา
17 ในอทุ ยานแหง่ ชาตลิ านสาง 38
ดชั นคี วามสําคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ เบญจพรรณ
18 ในอทุ ยานแห่งชาตลิ านสาง 39
ดชั นคี วามสําคัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของสวนป่าประเภทอืน่ ๆ
19 ในอทุ ยานแหง่ ชาตลิ านสาง 40
ความหลากหลายทางชีวภาพของชนดิ พนั ธุ์ไมอ้ ุทยานแหง่ ชาติลานสาง
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นที่อทุ ยานแห่งชาติลานสาง
1
คาํ นํา
ปจั จุบนั ประเทศไทยมีพน้ื ทีป่ า่ ไม้เหลืออยู่ประมาณร้อยละ 33.56 ของพื้นท่ีประเทศ (ที่มา : หนังสือ
ข้อมลู สถิตอิ ทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ปา่ และพันธพุ์ ชื , 2552) เพ่อื ให้การดาํ เนนิ งานของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า
และพันธุ์พชื ทจี่ ะต้องดําเนินการอนุรักษ์ สงวน และฟ้ืนฟูความหลากหลายทางชีวภาพ มีการพัฒนาการใช้ทรัพยากร
ป่าไม้อย่างยั่งยืน จึงจาํ เป็นที่จะต้องทราบถึงสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากร โดยเฉพาะทรัพยากรป่าไม้
รวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพที่มีอยู่ในพ้ืนที่ป่าไม้ ตลอดจนปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมที่มีผลต่อการ
บุกรุกทาํ ลายป่า เพ่ือนํามาใช้ในการดาํ เนินการตามภาระรับผิดชอบต่อไป ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากร
ป่าไม้ สํานกั ฟนื้ ฟแู ละพฒั นาพืน้ ทีอ่ นุรักษ์ จงึ ไดด้ าํ เนินการสํารวจพืน้ ท่ีป่าของจังหวัดตา่ งๆ ทั่วประเทศ เพื่อรวบรวม
เป็นฐานขอ้ มลู ในการดาํ เนินงานในกิจกรรมท่ีมีความเกี่ยวข้องกับความหลากหลายทางชีวภาพ รวมท้ังใช้ในการ
ประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้และทรัพยากรอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือนําไปพัฒนาการอนุรักษ์
หรอื ใชเ้ ปน็ ตน้ แบบในการดําเนนิ การในพนื้ ทอ่ี ื่นๆ ตอ่ ไป
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้เพ่ือประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้ และเพื่อติดตั้ง
ระบบตดิ ตามความเปล่ียนแปลงของทรัพยากรป่าไม้ รวมทั้งทรัพยากรอ่ืนท่ีเกี่ยวข้อง ได้รับการจัดสรรงบประมาณ
ในการดาํ เนินงานและกําหนดจดุ สํารวจเป้าหมาย โดยส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟ้ืนฟูและ
พัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ซึ่งการดําเนินงานดังกล่าวสอดคล้องกับภารกิจ
ของกรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพนั ธุ์พืช ทจี่ ะต้องดาํ เนินการอนุรักษ์ สงวน และฟ้ืนฟูความหลากหลายทาง
ชีวภาพ ให้มีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรป่าไม้อย่างยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือทราบข้อมูลพ้ืนฐานเก่ียวกับ
ทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้านกําลังผลิตและความหลากหลายของพืชพันธุ์ในพื้นที่ต่างๆ ของประเทศไทย
สาํ หรับรูปแบบและวิธีการสํารวจใช้การสาํ รวจแบบกลุม่ แปลงตัวอยา่ ง (Cluster) และวิธสี ุม่ ตัวอย่างแบบสมํ่าเสมอ
(Systematic Sampling) ในพื้นที่ภาพถ่ายดาวเทียมท่ีมีการแปลสภาพว่าเป็นป่า โดยให้แต่ละกลุ่มแปลงตัวอย่าง
มีระยะห่างเท่าๆ กัน บนเส้นกริดแผนท่ี (Grid) 2.5x2.5 กิโลเมตร โดยระบบ Datum ของแผนที่จะใช้ระบบ
Datum เปน็ WGS 84
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาตลิ านสาง
2
วตั ถุประสงค์
1. เพ่อื ใหท้ ราบขอ้ มลู พ้ืนฐานเก่ยี วกบั ทรัพยากรปา่ ไม้ โดยเฉพาะด้านกําลงั ผลิต และความหลากหลาย
ของพชื พันธ์ใุ นพืน้ ทอี่ นุรักษ์ตา่ งๆ ของประเทศไทย
2. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ เกี่ยวกับรูปแบบ วิธีการสํารวจ และการวิเคราะห์
ข้อมลู อยา่ งเปน็ ระบบและแบบแผน
3. เพอื่ เปน็ แนวทางในการวางระบบติดตามการเปล่ยี นแปลงของทรพั ยากรปา่ ไมใ้ นพืน้ ท่ี
4. เพ่ือให้ได้ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับพรรณไม้เด่นและชนิดไม้มาใช้ในการวางแผนเพาะชํากล้าไม้
เพอ่ื ปลูกเสริมปา่ ในแต่ละพื้นที่
เปา้ หมายการดําเนนิ งาน
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟื้นฟูและพัฒนา
พื้นที่อนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้จัดสรรงบประมาณการดําเนินงานและกําหนดพื้นที่
สาํ รวจเป้าหมายในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติลานสางในท้องทีบ่ า้ นลานสาง ตาํ บลแมท่ ้อ อาํ เภอเมือง จงั หวดั ตาก
การสาํ รวจใช้การวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ท่ีมีขนาดคงท่ี รูปวงกลม
3 วง ซ้อนกนั คือ วงกลมรัศมี 3.99,12.62,17.84 เมตร ตามลําดบั และมีวงกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยู่ตาม
ทิศหลักทั้ง 4 ทิศ โดยจุดศูนย์กลางของวงกลมท้ัง 4 ทิศ จะอยู่บนเส้นรอบวงกลมของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร
จาํ นวนทั้งส้ิน 18 แปลง และทําการเก็บข้อมูลการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ต่างๆ อาทิเช่น ชนิดไม้ ขนาดความโต
ความสูง จํานวนกล้าไม้และลูกไม้ ชนิดป่า ลักษณะต่างๆ ของพ้ืนที่ท่ีต้นไม้ขึ้นอยู่ ข้อมูลลักษณะภูมิประเทศ เช่น
ระดับความสูง ความลาดชัน เป็นต้น ตลอดจนการเก็บข้อมูลองค์ประกอบร่วมของป่า เช่น ไม้ไผ่ หวาย ไม้พุ่ม
เถาวัลย์ และพืชช้ันล่าง แล้วนํามาวิเคราะห์และประมวลผลเพ่ือให้ทราบเน้ือท่ีป่าไม้ ชนิดป่า ชนิดไม้ ปริมาณ
และความหนาแนน่ ของหมู่ไม้ กาํ ลงั ผลิตของปา่ ตลอดจนการสบื พนั ธตุ์ ามธรรมชาตขิ องหม่ไู มใ้ นป่าน้นั
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติลานสาง
3
ขอ้ มลู ทัว่ ไปอุทยานแห่งชาตลิ านสาง
ประวตั คิ วามเปน็ มา
อุทยานแห่งชาตลิ านสาง เปน็ อุทยานท่ตี ง้ั อยู่ในดินแดนแห่งประวัติศาสตร์การสงครามในคร้ังอดีต
เมื่อประมาณ 200 กว่าปีท่ีสมเด็จพระเจ้าตากสิน ได้ยกทัพไปตีเชียงใหม่ครั้งท่ี 2 พระองค์ได้ทรงหยุดพักพลที่
บ้านระแหงแขวงเมืองตาก มีพวกมอญหนีพม่าเข้ามาสวามิภักดิ์สมเด็จพระเจ้าตากสินได้ยกทัพเข้าตีขับไล่พม่า
ซึ่งตามมอญเข้ามาในคืนหนึง่ พระองค์ได้พลัดหลงทางออกไปจากกองทัพทําให้ไพร่พลทหารของพระองค์พากัน
ออกติดตามก็ไม่พบ ประจวบกับภูมิประเทศซ่ึงในสมัยน้ันเป็นป่าทึบรกชัฏ ในเวลากลางคืนเดือนมืดทาํ ให้ยาก
แกก่ ารติดตาม ทหารทกุ คนก็ลา้ กาํ ลังลงจงึ พากนั หยุดพัก ขณะทท่ี หารไทยเหลา่ นัน้ พกั อยู่กเ็ กดิ ปาฏิหารยิ ม์ แี สงสว่าง
พงุ่ สทู่ ้องฟา้ พรอ้ มกบั ได้ยินเสียงม้าร้องอื้ออึง ทหารที่พักอยู่นั้นก็พากันรีบตรงไปหาจุดท่ีมีแสงสว่างน้ัน พอไปถึง
จึงเห็นสมเด็จพระเจ้าตากสินประทับม้าพระท่ีนั่งกลางลานน้ัน มีแสงสว่างออกมาจากพระวรกายพรั่งพร้อมไป
ด้วยทหารพม่าประมาณ 50 คน คุกเข่าหมอบกราบสวามิภักดิ์ยอมแพ้อยู่เบื้องหน้า ซึ่งแสงสว่างจากพระองค์น้ี
เกดิ ข้นึ ในเวลาฟา้ สางพอดีต่อมาบริเวณนี้เรียกว่า “ลานสาง”
สําหรับการจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติลานสางนั้น เดิมป่าไม้เขตตาก (นายประดิษฐ์ วนาพิทักษ์)
ได้ร่วมกบั ผวู้ า่ ราชการจงั หวัดตากริเริ่มจัดบริเวณน้ําตกลานสางเป็นวนอุทยาน เพ่ือเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
ของประชาชน ในปี พ.ศ. 2498 ต่อมาไดม้ มี ตคิ ณะรฐั มนตรี เมอื่ วนั ที่ 7 ตุลาคม 2502 ให้กําหนดป่าลานสาง
จังหวัดตากและป่าอื่นๆ รวม 14 ป่าเป็นอุทยานแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2504 กรมป่าไม้ได้ริเริ่มดําเนินการสํารวจ
เบอ้ื งตน้ ป่าลานสาง และในปี พ.ศ. 2505 ในโครงการแผนพฒั นาภาคเหนือไดใ้ ห้ความช่วยเหลืออกี ดว้ ย ในขัน้ แรก
กรมปา่ ไมไ้ ด้ประกาศปา่ ลานสางเป็นป่าสงวนแห่งชาตติ ามกฎกระทรวงฉบับที่ 342 (พ.ศ. 2511) ออกตามความ
ในพระราชบญั ญตั ปิ ่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 ลงวนั ท่ี 25 ตุลาคม 2511 ทง้ั ได้ดําเนนิ การจัดตงั้ ปา่ สงวนแหง่ น้ี
เปน็ อทุ ยานแหง่ ชาติ ซ่งึ อุทยานแห่งชาติลานสาง โดยนายสุรนิ ทร์ อร่ามกลุ ไดร้ ายงานผลการสาํ รวจตามหนังสือ
อุทยานแห่งชาติลานสาง ท่ี กส 0708 (ลส.) พิเศษ ลงวันที่ 16 พฤษภาคม 2517 และ โดยนายสมยศ สุขะพิบูลย์
นักวิชาการป่าไม้ 4 ตามหนังสือ ที่ กษ 0808 (ลว.)/115 ลงวันที่ 5 พฤศจิกายน 2519 ปรากฏว่ามีสภาพป่า
ธรรมชาติที่สวยงาม ท้ังมีน้ําตกหลายแห่งและสัตว์ป่าชุกชุม เหมาะสมจัดต้ังเป็นอุทยานแห่งชาติ ดังน้ัน จึงได้
ดาํ เนินการประกาศจัดต้ังพื้นที่ดังกล่าวเป็นอุทยานแห่งชาติลานสาง ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 96
ตอนที่ 80 ลงวนั ที่ 14 พฤษภาคม 2522 เป็นอทุ ยานแหง่ ชาติลาํ ดบั ท่ี 15 ของประเทศ
ที่ตั้งและอาณาเขต
อทุ ยานแหง่ ชาติลานสางมีพ้ืนที่ประมาณ 104.00 ตารางกิโลเมตรหรือ 65,000 ไร่ ต้ังอยู่ในท้องที่
บ้านลานสาง ตําบลแม่ท้อ อาํ เภอเมืองตาก อยู่ประมาณเส้นรุ้งท่ี 16 องศา 47 ลิปดา 1.80 ฟิลิปดาเหนือ
และเส้นแวงท่ี 99 องศา 1 ลิปดา 1.30 ฟิลิปดาตะวันออก มีอาณาเขตทิศเหนือจดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
12 (ตาก-แม่สอด) และอุทยานแห่งชาติตากสินมหาราช ทิศใต้จดป่าสงวนแห่งชาติลานสางป่าสงวนแห่งชาติ
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พ้นื ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติลานสาง
4
ประดาง-วังเจา้ ทศิ ตะวนั ออกจดทางหลวงจงั หวัดหมายเลข 1108 และทศิ ตะวันตกจดแนวสันเขาถนนธงชัยและ
อุทยานแห่งชาตนิ ้าํ ตกพาเจริญ
ทศิ เหนอื ติดต่อกับอทุ ยานแห่งชาตติ ากสนิ มหาราช
ทศิ ใต้ ติดตอ่ กบั ปา่ สงวนแห่งชาตปิ ่าประดาง–วงั เจ้า
ทิศตะวันออก ติดตอ่ กับป่าสงวนแห่งชาติป่าลานสาง
ทศิ ตะวันตก ติดตอ่ กับอุทยานแหง่ ชาติน้ําตกพาเจรญิ
การเดินทางและเสน้ ทางคมนาคม
อุทยานแห่งชาติลานสางอยู่ห่างจากตัวเมืองตาก ไปตามเส้นทางหลวงหมายเลข 1 และ แยกเข้า
สู่เส้นทางหลวงหมายเลข 12 (ตาก–แม่สอด) เป็นระยะทางประมาณ 19 กิโลเมตร ถึงหลักกิโลเมตร ที่ 74
แยกซ้ายไปตามถนนลาดยางเข้าอุทยานฯ ประมาณ 3 กโิ ลเมตร จะถึงบริเวณที่ทําการอทุ ยานฯ
ภาพที่ 1 แสดงทตี่ ้ังและอาณาเขตของอทุ ยานแห่งชาตลิ านสาง
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พน้ื ที่อทุ ยานแหง่ ชาติลานสาง
5
ลกั ษณะภูมิประเทศ
อทุ ยานแหง่ ชาตลิ านสาง มีลักษณะภมู ิประเทศเป็นเทือกเขาสลับซับซ้อน มีเทือกเขาถนนธงชัยกั้น
เปน็ แนวแบง่ กงึ่ กลางอุทยานฯ ในแนวทศิ ตะวนั ตกเฉียงเหนือและทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีเทือกเขาถนนธงชัยเป็น
ยอดเขาสูงสุด ลักษณะความสูงของพ้ืนที่จะราบตํ่าลงมาทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ซึ่งเป็นที่ตั้งของบริเวณนํ้าตก
ลานสาง
ภาพท่ี 2 แสดงลักษณะภูมปิ ระเทศของอทุ ยานแห่งชาตลิ านสาง
ลักษณะภูมอิ ากาศ
พื้นท่ีอุทยานแห่งชาติลานสาง สภาพพ้ืนที่โดยทั่วไปประกอบด้วย ป่าไม้และเทือกเขาสูง มีพื้นท่ี
ราบนอ้ ย โดยเฉพาะทางตอนกลางของพ้นื ทม่ี เี ทอื กเขาถนนธงชัยอยรู่ ะหวา่ งกลางอทุ ยาน จึงทําให้สภาพภูมิอากาศ
แบ่งเปน็ 2 ส่วน ไดแ้ ก่ ส่วนดา้ นทศิ ตะวนั ตก ซง่ึ เป็นเทือกเขาสูงทําให้อากาศเย็น สว่ นท่ี 2 ทางด้าน ทศิ ตะวนั ออก
เป็นเทือกเขาสงู และลาดลงส่บู ริเวณน้ําตกลานสาง ซง่ึ เป็นบริเวณท่ีต้ังของท่ีทําการอทุ ยานฯ อากาศค่อนข้างอบอุ่น
ปรมิ าณนํา้ ฝนเฉล่ยี 15.23 มลิ ลเิ มตรต่อปี สามารถแบง่ ฤดกู าลได้ 3 ฤดูกาล คือ ฤดฝู นในช่วงเดือนพฤษภาคม -
ตุลาคม ฤดูหนาวในชว่ งเดือนพฤศจิกายน-มกราคม และฤดูร้อนในช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน โดยมีอุณหภูมิ
สงู สดุ 43 องศาเซลเซยี ส และอณุ หภูมติ าํ่ สุด 7 องศาเซลเซียส
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาตลิ านสาง
6
ลกั ษณะทางธรณวี ิทยา
อทุ ยานแห่งชาติลานสาง มธี รณสี ณั ฐานแบบเทือกเขาสูงตดิ ต่อมาจากเทือกเขาตะนาวศรี มีพื้นท่ีที่
เป็นทีร่ าบนอ้ ยมาก มีความลาดชนั ทางด้านทศิ ตะวนั ตกเฉยี งใต้มากกว่าความลาดชันทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
โดยจุดตา่ํ สดุ ทางทศิ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ สงู กว่าระดบั นํ้าทะเลปานกลาง 910 เมตร ในขณะที่จุดตํ่าสุดทางด้านทิศ
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื สูงกว่าระดับนํา้ ทะเลปานกลางเพียง 210 เมตร และบริเวณลาดต่ําทางด้านทิศตะวันออก
เฉยี งเหนือ แผ่กว้างออกไปมากกว่าบริเวณลาดต่ําทางด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ ธรณีสัณฐานเช่นน้ีทําให้เกิดบริเวณ
อับฝน (Rain shadow) ตามแนวทิศตะวนั ออกเฉียงเหนอื ของเขตอุทยานแห่งชาตลิ านสาง
ชดุ หนว่ ยหนิ ในพ้นื ที่อุทยานแหง่ ชาตลิ านสาง ส่วนใหญเ่ ป็นชุดหน่วยหินไนส์ลานสาง ประมาณร้อยละ
52.9 นอกจากนั้นเป็นชดุ หินเขาอมุ ยอม ชุดหินดอยมูเซอ ชุดหินแม่ทอ้ และชุดหนิ อุมยอม ตามลําดับ
ภาพที่ 3 ลักษณะทางธรณีวทิ ยา
จุดเด่นทน่ี า่ สนใจ
ทรพั ยากรท่องเท่ยี วทีส่ าํ คัญของอทุ ยานฯ เป็นแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติประเภทนํ้าตก โดยเฉพาะ
อยา่ งยิ่งนา้ํ ตกในลําหว้ ยลานสาง แหล่งทอ่ งเทยี่ วในลาํ ห้วยลานสาง
นํ้าตกผาลาด เป็นนา้ํ ตกชัน้ แรกที่นกั ท่องเทยี่ วจะพบเมือ่ มาเขา้ เขตอุทยานแห่งชาติลานสาง มีท่ีตั้ง
อยูบ่ ริเวณหนา้ ทีท่ ําการสํานักงานอุทยานแหง่ ชาติลานสาง
นํ้าตกลานเลี้ยงม้า เป็นน้ําตกขนาดเล็กที่ตั้งอยู่บริเวณหน้าท่ีทําการสํานักงานอุทยานแห่งชาติลานสาง
ซงึ่ เป็นจดุ เร่มิ ต้นของเส้นทางเดินศกึ ษาธรรมชาติ
น้ําตกลานสาง เป็นน้าํ ตกที่ได้รบั ความนิยมมากทส่ี ดุ ของอทุ ยานฯ อยูเ่ หนือจากนา้ํ ตกลานเลีย้ งม้า
ประมาณ 2 กิโลเมตร ใกลก้ ับศนู ยบ์ ริการนกั ทอ่ งเท่ยี ว มีแอง่ นํ้าสาหรับเล่นนา้ํ หลายแหง่ มีลานน่งั พกั รอบบรเิ วณ
นาํ้ ตกและมีสภาพภมู ิทัศน์ที่เงียบสงบสวยงาม
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้นื ท่ีอุทยานแห่งชาตลิ านสาง
7
ภาพท่ี 4 นาํ้ ตกผาลาด
ภาพท่ี 5 น้ําตกลานเลย้ี งมา้
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตลิ านสาง
8
ภาพที่ 6 น้ําตกลานสาง
นํา้ ตกผาผงึ้ เป็นนํ้าตกชนั้ เหนือถดั ข้นึ ไปจากน้าํ ตกลานสาง โดยเดินลัดเลาะข้ึนไปตามริมลําน้ํา เป็น
นา้ํ ตกท่มี ีลกั ษณะเอียงลาดไหลผา่ นหนา้ ผาที่ค่อนขา้ งสงู ชนั ประมาณ 30 เมตร แล้วไหลลดหลั่นกันลงมาตามช้ัน
หนิ เล็กๆ แล้วแผก่ ว้างออกเปน็ ผืนนํ้าบางๆ แยกออกเป็น 2 สาย ไหลไปตามลาธารเล็กๆ ละอองน้าํ ตกทาํ ใหบ้ รเิ วณ
รอบๆ เยน็ ช่มุ ช่ืนตลอดเวลา โดยเฉพาะในวนั ที่ทอ้ งฟา้ แจม่ ใสจะยงิ่ เพมิ่ ความงามแก่นํา้ ตกอย่างมาก
นาํ้ ตกผาน้อย เป็นนาํ้ ตกชั้นถัดไปจากนํ้าตกผาผึ้ง ตั้งอยู่เหนือขึ้นไปประมาณ 150 เมตร โดย
การเดนิ ตามเสน้ ทางเดนิ เท้า ลักษณะเป็นนํ้าตกท่ีไหลผ่านหินผาท่ีเป็นช่องแคบๆ มีความสูงประมาณ 10 เมตร
และคอ่ นขา้ งชัน สายนํ้าจะไหลรวมแลว้ พ่งุ ออกจากซอกเขากระจายตัวเทลงส่แู อ่งนา้ํ ด้านลา่ ง
นา้ํ ตกผาเท เป็นนํ้าตกชั้นสูงสุดในเส้นทางเดินเท้าท่ีสามารถเข้าถึงได้ของลาํ ห้วยลานสางและมี
ความสวยงามมาก อยู่เหนือจากนํ้าตกผาผ้ึงข้ึนไปประมาณ 1.2 กิโลเมตร ลักษณะนํ้าตกเป็นสายน้ําที่ไหลพุ่ง
ผ่านหน้าผาสูงชันประมาณ 25 เมตร กระแสนํ้าจะไหลผ่านซอกเขาอย่างรวดเร็วพุ่งลงสู่แอ่งน้ําด้านล่างจนเกิด
เสียงดังไปท่ัวบริเวณ พรรณไม้รอบน้ําตกเป็นผืนป่าดิบแล้งและป่าเบญจพรรณ ทําให้บรรยากาศโดยรอบน้ําตก
ร่มรน่ื เยน็ สบาย บริเวณน้าํ ตกจะมที ีน่ งั่ สาหรับพักผ่อน สามารถเลน่ นาํ้ ในแอ่งนาํ้ ตกและนั่งพักผอ่ นบรเิ วณรอบๆ
แหลง่ ทอ่ งเที่ยวในลาํ หว้ ยทา่ เล่
น้ําตกท่าเล่ ตั้งอยู่ด้านทิศตะวันออกของพื้นที่อุทยานฯ ใกล้กับหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ
ลานสาง ท่ี ลส. 2 (ท่าเล)่ เนอื่ งจากการเดนิ ทางเขา้ ส่นู า้ํ ตกยังไม่สะดวกมากนัก ทําให้นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่เป็น
คนในทอ้ งถนิ่
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตลิ านสาง
9
รูปแบบและวิธกี ารสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้ในแตล่ ะจังหวดั ท่วั ประเทศไทย ดําเนินการโดยกลุ่มสํารวจทรัพยากรป่าไม้
ส่วนสาํ รวจและวเิ คราะหท์ รพั ยากรปา่ ไม้ สํานักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ และสํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษ์ต่างๆ
ในสงั กดั กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตวป์ า่ และพนั ธพ์ุ ืช
การสุ่มตัวอยา่ ง (Sampling Design)
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบสม่าํ เสมอ (Systematic Sampling) ในพื้นที่ท่ี
ภาพถ่ายดาวเทียมแปลว่า มีสภาพเป็นป่า โดยให้แต่ละแปลงตัวอย่าง (Sample plot) มีระยะห่างเท่าๆ กัน
โดยกาํ หนดใหแ้ ต่ละแปลงห่างกัน 2.5x2.5 กิโลเมตร เริ่มจากการสุ่มกําหนดแปลงตัวอย่างแรกบนเส้นกริดแผนที่
(Grid) ลงบนขอบเขตแผนท่ีประเทศไทยมาตราส่วน 1:50,000 ให้มีระยะห่างระหว่างเส้นกริดทั้งแนวตั้งและ
แนวนอนเท่ากบั 2.5x2.5 กโิ ลเมตร คอื ระยะช่องกรดิ ในแผนท่ีเท่ากับ 10 ช่อง จุดตัดของเส้นกริดทั้งสองแนวก็
จะเป็นตาํ แหน่งที่ต้ังของแปลงตัวอย่างแต่ละแปลง เมื่อดาํ เนินการเสร็จส้ินแล้วจะทราบจาํ นวนหน่วยตัวอย่าง
และตําแหน่งที่ต้งั ของหน่วยตวั อย่างโดยลกั ษณะของแปลงตวั อย่าง ดงั ภาพท่ี 7
ภาพท่ี 7 ลักษณะและขนาดของแปลงตัวอยา่ ง
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นที่อทุ ยานแหง่ ชาติลานสาง
10
รปู ร่างและขนาดของแปลงตวั อยา่ ง (Plot Design)
แปลงตวั อย่าง (Sample Plot) ท่ใี ชใ้ นการสํารวจมที ัง้ แปลงตัวอย่างถาวรและแปลงตัวอย่างชั่วคราว
เปน็ แปลงที่มขี นาดคงท่ี (Fixed–Area Plot) และมรี ูปรา่ ง 2 ลักษณะด้วยกนั คือ
1. ลกั ษณะรปู วงกลม (Circular Plot)
1.1 รปู วงกลมทีม่ ีจุดศนู ย์กลางร่วมกัน รศั มแี ตกต่างกันจํานวน 3 วง คอื วงกลมรศั มี 3.99, 12.62
และ 17.84 เมตร ตามลาํ ดับ
1.2 รปู วงกลมที่มีรัศมีเท่ากันจุดศูนย์กลางต่างกันจํานวน 4 วง รัศมี 0.631 เมตร เท่ากัน โดย
จดุ ศนู ยก์ ลางของวงกลมอยู่บนเส้นรอบวงของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร ตามทิศหลกั ทั้ง 4 ทิศ
2. ลักษณะแบบแนวเส้นตรง (Intersect Line) จํานวน 2 เส้น ความยาวเส้นละ 17.84 เมตร
โดยมจี ดุ เร่ิมต้นร่วมกัน ณ จุดศนู ย์กลางแปลงตัวอยา่ งทํามมุ ฉากซงึ่ กันและกัน ซึ่งตัวมุม Azimuth ของเส้นที่ 1
ได้จากการสมุ่ ตัวอยา่ ง
ขนาดของแปลงตวั อยา่ งและข้อมูลท่ที าํ การสาํ รวจ
ขนาดของแปลงตวั อย่าง และขอ้ มลู ทีท่ าํ การสํารวจแสดงรายละเอียดไวใ้ นตารางท่ี 1
ตารางท่ี 1 ขนาดของแปลงตัวอยา่ งและขอ้ มูลท่ดี าํ เนนิ การสาํ รวจ
รศั มขี องวงกลม หรอื จาํ นวน พน้ื ท่ี หรือ ความยาว ขอ้ มูลที่สาํ รวจ
ความยาว (เมตร)
กล้าไม้
0.631 4 วง 0.0005 เฮกตาร์ ลกู ไม้และการปกคลุมพ้ืนทีข่ องกล้าไม้ และ
ลูกไม้
3.99 1 วง 0.0050 เฮกตาร์ ไม้ไผ่ หวายที่ยงั ไม่เลื้อย และตอไม้
ตน้ ไม้และตรวจสอบปจั จัยท่ีรบกวนพืน้ ที่ปา่
12.62 1 วง 0.0500 เฮกตาร์ Coarse Woody Debris (CWD) หวายเล้ือย
17.84 1 วง 0.1000 เฮกตาร์ และไมเ้ ถาท่ีพาดผ่าน
17.84 (เส้นตรง) 2 เสน้
17.84 เมตร
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นที่อุทยานแหง่ ชาติลานสาง
11
การวิเคราะห์ขอ้ มลู การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
1. การคํานวณเน้ือที่ป่าและปริมาณไม้ทั้งหมดของแต่ละพน้ื ทอี่ นุรักษ์
1.1 ใช้ขอ้ มลู พน้ื ที่อนรุ กั ษ์จากแผนทแ่ี นบทา้ ยกฤษฎีกาของแตล่ ะพื้นทอี่ นุรักษ์
1.2 ใช้สัดส่วนจํานวนแปลงตัวอย่างท่ีพบในแต่ละลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน เปรียบเทียบกับ
จาํ นวนแปลงตัวอย่างท่ีวางแปลงทั้งหมดในแต่ละพ้ืนที่อนุรักษ์ ท่ีอาจจะได้ข้อมูลจากภาคสนาม หรือการดูจาก
ภาพถ่ายดาวเทยี มหรอื ภาพถา่ ยทางอากาศ มาคํานวณเปน็ เน้ือทปี่ ่าแตล่ ะชนิดโดยนําแปลงตัวอย่างท่ีวางแผนไว้
มาคํานวณทกุ แปลง
1.3 แปลงตัวอยา่ งที่ไมส่ ามารถดําเนินการได้ กต็ ้องนํามาคํานวณด้วย โดยทําการประเมินลักษณะ
พ้นื ท่ีวา่ เปน็ หน้าผา นํ้าตก หรือพืน้ ที่อ่ืนๆ เพ่ือประกอบลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ดี ิน
1.4 ปริมาณไมท้ ั้งหมดของพื้นทีอ่ นุรักษ์ เปน็ การคาํ นวณโดยใช้ข้อมูลเนือ้ ทอ่ี นุรักษ์จากแผนท่ีแนบ
ท้ายกฤษฎกี าของแต่ละพ้นื ทีอ่ นรุ กั ษ์ ซ่งึ บางพืน้ ท่อี นุรักษ์มีข้อมูลเนอื้ ท่ีคลาดเคล่ือนจากข้อเท็จจริงและส่งผลต่อ
การคํานวณปรมิ าณไม้ทั้งหมด ทําให้การคํานวณปริมาณไมเ้ ป็นการประมาณเบื้องต้น
2. การคาํ นวณปรมิ าตรไม้
สมการปริมาตรไม้ท่ีใช้ในการประเมินการกักเก็บธาตุคาร์บอนในพื้นที่ป่าไม้ แบบวิธี Volume
based approach โดยแบ่งกลุม่ ของชนิดไมเ้ ปน็ จํานวน 7 กลมุ่ ดังน้ี
2.1 กลมุ่ ท่ี 1 ได้แก่ ยาง เตง็ รัง เหียง พลวง กระบาก เคี่ยม ตะเคียน สยา ไข่เขียว พะยอม จันทน์กะพ้อ
สนสองใบ
สมการทไ่ี ด้ ln V = 2.372083 + 2.443847 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 188
2.2 กลมุ่ ที่ 2 ได้แก่ กระพี้จัน่ กระพ้ีเขาควาย เก็ดดํา เก็ดแดง เก็ดขาว เถาวัลย์เปรียง พะยูง ชิงชัน
กระพี้ ถอ่ น แดง ขะเจ๊าะ แคทราย แคฝอย และสกลุ มะเกลอื
สมการทีไ่ ด้ ln V = 2.134494 + 2.363034 ln (DBH/100)
R2 = 0.91, sample size = 135
2.3 กลุ่มท่ี 3 ได้แก่ รกฟ้า สมอพิเภก สมอไทย หูกวาง หูกระจง ตีนนก ขี้อ้าย กระบก ตะครํ้า
ตะคร้อ ตาเสือ ค้างคาว สะเดา ยมหอม ยมหิน กระท้อน เลี่ยน มะฮอกกานี ขี้อ้าย ตะบูน ตะบัน รัก ติ้ว
สะแกแสง ปเู่ จา้ และไมส้ กุลส้าน เสลา อินทนลิ ตะแบก ชะมวง สารภี บนุ นาค
สมการทีไ่ ด้ ln V = 1.880578 + 2.053321 ln (DBH/100)
R2 = 0.89, sample size = 186
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติลานสาง
12
2.4 กลุ่มที่ 4 ได้แก่ กางขี้มอด คูน พฤกษ์ มะค่าโมง นนทรี กระถินพิมาน มะขามป่า หลุมพอ
และสกลุ ขีเ้ หลก็
สมการทไี่ ด้ ln V = 1.789563 + 2.025666 ln (DBH/100)
R2 = 0.90, sample size = 36
2.5 กลมุ่ ที่ 5 ได้แก่ สกลุ ประดู่ เติม
สมการท่ไี ด้ ln V = 2.037096 + 2.299618 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 99
2.6 กลมุ่ ที่ 6 ไดแ้ ก่ สกั ตีนนก ผ่าเสี้ยน หมากเลก็ หมากน้อย ไขเ่ น่า กระจับเขา กาสามปกี สวอง
สมการที่ได้ ln V = 2.119907 + 2.296511 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 186
2.7 กลุม่ ท่ี 7 ไดแ้ ก่ ไม้ชนิดอื่นๆ เช่น กุ๊ก ขว้าว งิ้วป่า ทองหลางป่า มะม่วงป่า ซ้อ โมกมัน แสมสาร
และไมใ้ นสกลุ ปอ ก่อ เปลา้ เปน็ ตน้
สมการทีไ่ ด้ ln V = 2.250111 + 2.414209 ln (DBH/100)
R2 = 0.93, sample size = 138
โดยท่ี V คือ ปรมิ าตรสว่ นลําตน้ เม่อื ตัดโค่นท่คี วามสูงเหนอื ดนิ (โคน) 10 เซนตเิ มตร
ถึงกง่ิ แรกทท่ี าํ เป็นสนิ คา้ ได้ มหี นว่ ยเปน็ ลกู บาศกเ์ มตร
DBH
Ln มีหน่วยเป็นเซนติเมตร
= natural logarithm
3. ขอ้ มลู ทั่วไป
ขอ้ มูลทั่วไปทน่ี ําไปใชใ้ นการวิเคราะห์ ไดแ้ ก่ ท่ตี งั้ ตาํ แหนง่ ชว่ งเวลาท่เี กบ็ ขอ้ มูล ผู้ที่ทาํ การเก็บข้อมูล
ความสูงจากระดับน้ําทะเล และลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน เป็นต้น โดยข้อมูลเหล่าน้ีจะใช้ประกอบในการ
วเิ คราะหป์ ระเมนิ ผลร่วมกบั ขอ้ มลู ด้านอ่นื ๆ เพื่อติดตามความเปล่ียนแปลงของพ้ืนที่ในการสํารวจทรัพยากรป่าไม้
ครง้ั ต่อไป
4. การวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหมู่ไม้
4.1 ความหนาแนน่
4.2 ปรมิ าตร
5. การวิเคราะห์ขอ้ มูลชนิดและปรมิ าณของลูกไม้ (Sapling) และกลา้ ไม้ (Seedling)
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาติลานสาง
13
6. การวเิ คราะหข์ ้อมลู ชนดิ และปรมิ าณของไม้ไผ่ หวาย
6.1 ความหนาแน่นของไมไ้ ผ่ (จาํ นวนกอ และ จํานวนลํา)
6.2 ความหนาแน่นของหวายเสน้ ตัง้ (จํานวนต้น)
7. การวิเคราะหข์ อ้ มูลสังคมพืช
โดยมีรายละเอยี ดการวิเคราะห์ข้อมลู ดงั นี้
7.1 ความหนาแน่นของพรรณพืช (Density : D) คือ จํานวนต้นไม้ทั้งหมดของชนิดพันธ์ุท่ีศึกษา
ทปี่ รากฏในแปลงตัวอย่างตอ่ หน่วยพื้นทีท่ ีท่ าํ การสํารวจ
D= จาํ นวนตน้ ของไม้ชนดิ น้ันท้ังหมด
.
พ้นื ท่ีแปลงตวั อยา่ งทง้ั หมดท่ีทาํ การสาํ รวจ
7.2 ความถ่ี (Frequency : F) คือ อัตราร้อยละของจํานวนแปลงตัวอย่างที่ปรากฏพันธ์ุไม้ชนิดน้ัน
ต่อจํานวนแปลงที่ทาํ การสํารวจ
F = จาํ นวนแปลงตัวอยา่ งท่ีพบไม้ชนดิ ที่กาํ หนด X 100
จาํ นวนแปลงตวั อย่างท้ังหมดที่ทําการสํารวจ
7.3 ความเด่น (Dominance : Do) ใช้ความเด่นด้านพื้นที่หน้าตัด (Basal Area : BA) หมายถึง
พื้นทห่ี น้าตดั ของลาํ ต้นของต้นไมท้ ่วี ดั ระดับอก (1.30 เมตร) ตอ่ พื้นท่ที ่ีทําการสาํ รวจ
Do = พน้ื ที่หน้าตดั ทง้ั หมดของไม้ชนดิ ที่กาํ หนด X 100
พื้นที่แปลงตัวอย่างทท่ี าํ การสํารวจ
7.4 ค่าความหนาแนน่ สมั พทั ธ์ (Relative Density : RD) คอื คา่ ความสมั พทั ธ์ของความหนาแน่นของ
ไม้ที่ต้องการต่อค่าความหนาแนน่ ของไม้ทุกชนดิ ในแปลงตัวอยา่ ง คดิ เป็นรอ้ ยละ
RD = ความหนาแน่นของไมช้ นดิ นน้ั X 100
ความหนาแนน่ รวมของไมท้ กุ ชนดิ
7.5 ค่าความถ่ีสมั พัทธ์ (Relative Frequency : RF) คือ คา่ ความสัมพทั ธ์ของความถีข่ องชนิดไม้ที่
ต้องการต่อค่าความถท่ี ง้ั หมดของไมท้ ุกชนดิ ในแปลงตวั อยา่ ง คิดเปน็ รอ้ ยละ
RF = ความถีข่ องไม้ชนิดนัน้ X 100
ความถีร่ วมของไม้ทกุ ชนิด
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอี่ ุทยานแห่งชาตลิ านสาง
14
7.6 ค่าความเด่นสัมพัทธ์ (Relative Dominance : RDo) คือ ค่าความสัมพันธ์ของความเด่นใน
รปู พ้ืนท่หี น้าตัดของไม้ชนิดทก่ี ําหนดตอ่ ความเดน่ รวมของไม้ทุกชนิดในแปลงตัวอยา่ ง คดิ เป็นรอ้ ยละ
RDo = ความเดน่ ของไม้ชนดิ นั้น X 100
ความเด่นรวมของไม้ทกุ ชนิด
7.7 ค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) คือ ผลรวมของค่าความ
สัมพทั ธต์ า่ งๆ ของชนดิ ไม้ในสงั คม ไดแ้ ก่ คา่ ความสมั พัทธ์ดา้ นความหนาแน่น ค่าความสัมพัทธ์ด้านความถ่ี และ
คา่ ความสัมพทั ธด์ ้านความเด่น
IVI = RD + RF + RDo
8. วิเคราะหข์ อ้ มลู ความหลากหลายทางชวี ภาพ
โดยทําการวเิ คราะหค์ ่าต่างๆ ดงั น้ี
8.1 ความหลากหลายของชนิดพนั ธุ์ (Species Diversity) วัดจากจํานวนชนิดพนั ธ์ุที่ปรากฏในสังคม
และจํานวนตน้ ทมี่ ีในแต่ละชนดิ พันธ์ุ โดยใช้ดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener Index of Diversity
ตามวธิ กี ารของ Kreb (1972) ซง่ึ มีสตู รการคาํ นวณดงั ตอ่ ไปนี้
s
H = ∑ (pi)(ln pi)
i=1
โดย H คอื คา่ ดัชนีความหลากชนดิ ของชนดิ พันธไุ์ ม้
pi คือ สัดสว่ นระหว่างจาํ นวนต้นไม้ชนดิ ท่ี i ตอ่ จํานวนตน้ ไม้ทัง้ หมด
S คือ จาํ นวนชนดิ พันธุ์ไม้ทงั้ หมด
8.2 ความร่าํ รวยของชนิดพันธ์ุ (Richness Indices) อาศัยความสัมพันธ์ระหว่างจํานวนชนิดกับ
จํานวนต้นท้ังหมดที่ทาํ การสาํ รวจ ซ่ึงจะเพ่ิมข้ึนเม่ือเพ่ิมพ้ืนท่ีแปลงตัวอย่าง และดัชนีความร่าํ รวย ที่นิยมใช้กัน
คือ วิธขี อง Margalef index และMenhinick index (Margalef 1958, Menhinick 1964) โดยมสี ตู รการคาํ นวณดังนี้
1) Margalef index (R1)
R1 = (S-1)/ln(n)
2) Menhinick index (R2)
R2 = S/
เม่อื S คือ จาํ นวนชนดิ ทง้ั หมดในสงั คม
n คือ จาํ นวนต้นท้งั หมดทสี่ ํารวจพบ
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ทอ่ี ุทยานแห่งชาตลิ านสาง
15
8.3 ความสมํ่าเสมอของชนิดพันธ์ุ (Evenness Indices) เป็นดัชนีท่ีตั้งอยู่บนสมมติฐานท่ีว่า ดัชนี
ความสมํ่าเสมอจะมีค่ามากที่สุด เม่ือทุกชนิดในสังคมมีจํานวนต้นเท่ากันทั้งหมด ซึ่งวิธีการที่นิยมใช้กันมากในหมู่
นกั นิเวศวิทยา คอื วธิ ขี อง Pielou (1975) ซ่งึ มสี ตู รการคํานวณดังน้ี
E = H/ ln(S) = ln (N1)/ln (N0)
เมอ่ื H คือ คา่ ดชั นีความหลากหลายของ Shannon-Wiener
S คอื จํานวนชนดิ ทัง้ หมด (N0)
N1 คอื eH
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นทีอ่ ทุ ยานแห่งชาตลิ านสาง
16
ผลการสาํ รวจและวเิ คราะหข์ ้อมูลทรพั ยากรปา่ ไม้
1. การวางแปลงตวั อย่าง
จากผลการดําเนินการวางแปลงสํารวจ เพ่ือประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้
ในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติลานสาง โดยแบ่งพ้ืนที่ดําเนินการวางแปลงสํารวจตามพื้นที่รับผิดชอบของสํานักบริหาร
พ้ืนที่อนรุ ักษ์ กล่าวคอื สาํ นักบริหารพื้นท่ีอนรุ ักษ์ที่ 14 (ตาก) รับผิดชอบดําเนินการสํารวจพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
ลานสาง ในสว่ นของอําเภอเมือง จงั หวัดตาก จํานวน 18 แปลง ดงั ภาพที่ 8-9
ภาพที่ 8 แผนท่แี สดงขอบเขตและลักษณะภูมปิ ระเทศของอทุ ยานแหง่ ชาตลิ านสาง
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พน้ื ท่ีอทุ ยานแห่งชาตลิ านสาง
17
ภาพท่ี 9 แปลงตัวอย่างที่ไดด้ าํ เนนิ การสํารวจภาคสนามในอุทยานแหง่ ชาตลิ านสาง
2. พ้นื ทปี่ ่าไม้
จากการสํารวจ พบว่า มีพ้ืนที่ป่าไม้จําแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินได้ 4 ประเภท ได้แก่
ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา ป่าเบญจพรรณและสวนป่าประเภทอ่ืนๆ โดยป่าเบญจพรรณพบมากสุด มีพื้นที่ 75.11
ตารางกโิ ลเมตร (46,944.44 ไร่) คดิ เป็นร้อยละ 72.22 ของพื้นที่ทัง้ หมด รองลงมา คือ ป่าดิบเขามีพื้นท่ี 17.33
ตารางกิโลเมตร (10,833.33 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 16.67 ของพื้นท่ีท้ังหมด ป่าดิบแล้งมีพื้นที่ 5.78 ตารางกิโลเมตร
(3,611.11 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 5.56 ของพ้ืนที่ท้ังหมด และสวนป่าประเภทอ่ืนๆ มีพื้นท่ี 5.78 ตารางกิโลเมตร
(3,611.11 ไร)่ คิดเป็นรอ้ ยละ 5.56 ของพน้ื ท่ที ้งั หมด รายละเอียดดงั ตารางที่ 2 และภาพท่ี 10-14
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พนื้ ทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาตลิ านสาง
18
ตารางท่ี 2 พน้ื ท่ปี า่ ไมจ้ าํ แนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ่ีดนิ ในอทุ ยานแห่งชาตลิ านสาง
(Area by Landuse Type)
ลกั ษณะการใช้ประโยชน์ท่ดี นิ พืน้ ที่ ร้อยละ
(Landuse Type) ตร.กม. ไร่ เฮคแตร์ ของพนื้ ที่ท้งั หมด
ป่าดิบแล้ง 5.78 3,611.11 577.78 5.56
(Mixed Deciduous Forest)
ป่าดิบเขา 17.33 10,833.33 1,733.33 16.67
(Hill Evergreen Forest)
ปา่ เบญจพรรณ 75.11 46,944.44 7,511.11 72.22
(Dry Evergreen Forest)
สวนป่าประเภทอ่นื ๆ 5.78 3,611.11 577.78 5.56
(Others)
รวม 104.00 65,000.00 10,400.00 100.00
หมายเหตุ:
- การคาํ นวณพื้นท่ปี า่ ไมข้ องลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ่ีดนิ แต่ละชนิดใช้สัดสว่ นของขอ้ มลู ทพ่ี บ
จากการสํารวจภาคสนาม
- รอ้ ยละของพน้ื ท่ีสํารวจคํานวณจากข้อมลู แปลงท่ีสาํ รวจพบ ซงึ่ มีพื้นทีด่ งั ตารางที่ 1
- รอ้ ยละของพืน้ ทท่ี ง้ั หมดคํานวณจากพื้นทีแ่ นบทา้ ยกฤษฎกี าของอุทยานแห่งชาตลิ านสาง ซึ่งมพี ้นื ท่ี
เท่ากบั 104.00 ตารางกิโลเมตร หรือ 65,000.00 ไร่
ภาพที่ 10 พืน้ ทีป่ า่ ไมจ้ ําแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ นิ ในพื้นทอ่ี ุทยานแห่งชาตลิ านสาง
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้นื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตลิ านสาง
19
ภาพที่ 11 ลักษณะท่วั ไปของป่าดบิ แลง้ ในพน้ื ท่ีอทุ ยานแห่งชาตลิ านสาง
ภาพท่ี 12 ลกั ษณะทั่วไปของป่าดบิ เขาในพนื้ ทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาติลานสาง
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นท่ีอุทยานแห่งชาติลานสาง
20
ภาพที่ 13 ลักษณะท่วั ไปของปา่ เบญจพรรณในพนื้ ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาติลานสาง
ภาพท่ี 14 ลกั ษณะทวั่ ไปของพ้ืนทส่ี วนป่าประเภทอน่ื ๆ ในพน้ื ที่อทุ ยานแห่งชาตลิ านสาง
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตลิ านสาง
21
3. ปรมิ าณไม้
จากการวิเคราะห์เกี่ยวกับ ชนิดไม้ ปริมาณ ปริมาตร และความหนาแน่นของต้นไม้ในแต่ละลักษณะ
การใช้ประโยชน์ที่ดิน โดยการสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้ในแปลงตัวอย่างถาวร ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติลานสาง
จํานวนทั้งสิ้น 18 แปลง พบว่า ชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินที่สํารวจพบทั้ง 4 ประเภท ได้แก่
ปา่ ดบิ แลง้ ป่าดบิ เขา ป่าเบญจพรรณ และสวนป่าประเภทอื่นๆ พบไม้ยนื ตน้ ท่ีมีความสูงมากกว่า 1.30 เมตร และ
มีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่าหรือเท่ากับ 15 เซนติเมตรขึ้นไป มีมากกว่า 151 ชนิด รวมทั้งหมด
6,465,333 ต้น ปรมิ าตรไม้รวมทั้งหมด 1,347,849.20 ลกู บาศกเ์ มตร ปรมิ าตรไม้เฉลีย่ 20.74 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่
มีความหนาแนน่ ของต้นไมเ้ ฉล่ีย 99.47 ต้นต่อไร่ พบปริมาณไม้มากสุดในป่าเบญจพรรณ จํานวน 4,732,000 ต้น
รองลงมา ในสวนป่าประเภทอ่ืนๆ พบจาํ นวน 959,111 ต้น สําหรับปริมาตรไม้ พบมากที่สุดในป่าเบญจพรรณ
จาํ นวน 787,806.04 ลูกบาศก์เมตร รองลงมา คอื ปา่ ดิบแล้ง จํานวน 310,067.56 ลูกบาศก์เมตร รายละเอียด
ดังตารางท่ี 3-5 และภาพที่ 15-19 ตามลําดับ
ตารางที่ 3 ปรมิ าณไม้ทัง้ หมดจําแนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ ในอทุ ยานแห่งชาตลิ านสาง
(Volume by Landuse Type)
ลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ี่ดนิ ปรมิ าณไมท้ งั้ หมด
(Landuse Type) จํานวน (ตน้ ) ปรมิ าตร (ลบ.ม.)
ปา่ ดิบแล้ง 127,111 310,067.56
(Dry Evergreen Forest)
ปา่ ดิบเขา 647,111 204,776.77
(Hill Evergreen Forest)
ป่าเบญจพรรณ 4,732,000 787,806.04
(Mixed Deciduous Forest)
สวนป่าประเภทอืน่ ๆ 959,111 45,198.82
(Others)
รวม 6,465,333 1,347,849.20
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนที่อทุ ยานแห่งชาตลิ านสาง
22
ภาพท่ี 15 ปริมาณไม้ท้ังหมดท่ีพบในพน้ื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติลานสาง
ภาพที่ 16 ปรมิ าตรไม้ทัง้ หมดทพี่ บในพน้ื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาตลิ านสาง
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ที่อุทยานแห่งชาติลานสาง
23
ตารางที่ 4 ความหนาแนน่ และปรมิ าตรไม้ตอ่ หนว่ ยพน้ื ทีจ่ ําแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์
ในอทุ ยานแหง่ ชาตลิ านสาง (Density and Volume per Area by Landuse Type)
ลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ทด่ี ิน ความหนาแนน่ ปรมิ าตร
(Landuse Type) ตน้ /ไร่ ต้น/เฮคแตร์ ลบ.ม./ไร่ ลบ.ม./เฮคแตร์
ป่าดิบแล้ง 35.20 220.00 85.86 536.66
(Dry Evergreen Forest)
ปา่ ดบิ เขา 59.73 373.33 18.90 118.14
(Hill Evergreen Forest)
ปา่ เบญจพรรณ 100.80 630.00 16.78 104.89
(Mixed Deciduous Forest)
สวนปา่ ประเภทอ่ืนๆ 265.60 1,660.00 12.52 78.23
(Others)
99.47 621.67 20.74 129.60
เฉลี่ย
ภาพท่ี 17 ความหนาแน่นตน้ ไม้ของไมท้ ้งั หมดในพนื้ ที่อทุ ยานแห่งชาติลานสาง
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนทอี่ ทุ ยานแห่งชาตลิ านสาง
24
ภาพที่ 18 ปรมิ าตรไม้ (ลบ.ม./ไร่) ในพน้ื ที่อุทยานแหง่ ชาติลานสาง
ตารางที่ 5 การกระจายขนาดความโตของไม้ท้ังหมดในอุทยานแหง่ ชาติลานสาง
ขนาดความโต (GBH) ปริมาณไมท้ ้ังหมด (ต้น) ร้อยละ (%)
71.49
15 - 45 ซม. 4,622,222 21.98
6.52
>45 - 100 ซม. 1,421,333 100.00
>100 ซม. 421,778
รวม 6,465,333
ภาพที่ 19 การกระจายขนาดความโตของปรมิ าณไม้ทง้ั หมดในพื้นทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติลานสาง
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ท่อี ทุ ยานแห่งชาตลิ านสาง
25
4. ชนดิ พนั ธุไ์ ม้
ชนดิ พนั ธไ์ุ มท้ ีส่ าํ รวจพบในภาคสนาม จําแนกโดยใชเ้ จ้าหนา้ ท่ผี เู้ ช่ยี วชาญทางดา้ นพนั ธไ์ุ มช้ ว่ ยจาํ แนก
ชนิดพันธุ์ไมท้ ่ีถกู ต้อง และบางคร้งั จาํ เปน็ ตอ้ งใช้ราษฎรในพื้นท่ีซ่ึงมีความรู้ในชนิดพันธ์ุไม้ประจําถิ่นช่วยในการเก็บ
ขอ้ มลู และเก็บตวั อยา่ งชนิดพนั ธุ์ไม้ เพือ่ นํามาให้ผู้เช่ยี วชาญด้านพนั ธไ์ุ ม้ในสาํ นกั บริหารพื้นทีอ่ นุรักษ์ท่ี 14 (ตาก)
เจา้ หนา้ ที่จากส่วนกลาง และสาํ นกั หอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ช่วยจําแนกช่ือทางการ
และชอ่ื วิทยาศาสตรท์ ่ีถูกตอ้ งอีกครัง้ หนึ่ง และชนิดพนั ธุไ์ ม้สว่ นใหญ่ท่พี บมกั จะเป็นพันธ์ุไม้ที่รู้จักและคุ้นเคยสําหรับ
เจา้ หน้าทที่ ่ีทําการสาํ รวจอยู่แล้ว โดยชนิดพนั ธ์ุไมท้ ี่พบทั้งหมดในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติลานสางมี 49 วงศ์ มากกว่า
151 ชนิด รวมจํานวน 6,465,333 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวมทั้งหมด 1,347,849.20 ลูกบาศก์เมตร มีความ
หนาแน่นของไม้เฉล่ีย 99.47 ต้นต่อไร่ และมีปริมาตรไม้เฉล่ีย 20.74 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาณไม้
มากที่สุด 10 อันดับแรก คือ ลําพูป่า (Duabanga grandiflora) สาธร (Millettia leucantha) กระทุ่ม
(Anthocephalus chinensis) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) รัง (Shorea siamensis)
ข้าวสาร (Phyllanthus columnaris) กระพี้จ่ัน (Millettia brandisiana) แดง (Xylia xylocarpa) ทองหลางป่า
(Erythrina subumbrans) และสัก (Tectona grandis) รายละเอียดดงั ตารางท่ี 6
ป่าดิบแล้ง มีปริมาณไม้รวม 127,111 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 310,067.56 ลูกบาศก์เมตร
มีค่าความหนาแนน่ เฉลีย่ 35.20 ต้นตอ่ ไร่ มปี รมิ าตรไมเ้ ฉลย่ี 85.86 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาณไม้มาก
ที่สดุ 10 อนั ดบั แรก ไดแ้ ก่ ลาํ พูปา่ (Duabanga grandiflora) กา้ นเหลือง (Nauclea orientalis) มะพร้าวนกกก
(Horsfieldia glabra) มะคาํ ดีควาย (Sapindus rarak) พันจาํ (Vatica odorata) ตองลาด (Actinodaphne
henryi) เฉียงพร้านางแอ (Carallia brachiata) ยางโดน (Polyalthia asteriella) มะคังดง (Ostodes paniculata)
และมักล้ินอาง,ปอขนนุ (Sterculia balanghas) รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 7
ป่าดิบเขา มีปริมาณไม้รวม 647,111 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 204,776.77 ลูกบาศก์เมตร
มีค่าความหนาแน่นเฉล่ีย 59.73 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 18.90 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาณไม้
มากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ตะเคียนทอง (Hopea odorata) ปอกระสา (Broussonetia papyrifera)
มะเด่ืออุทุมพร (Ficus racemosa) ทองหลางป่า (Erythrina subumbrans) มะคังดง (Ostodes paniculata)
ยางปาย (Dipterocarpus costatus) ส้านหิ่ง (Dillenia parviflora) ลําพูป่า (Duabanga grandiflora)
กาสามปกี (Vitex peduncularis) และกอ่ (Lithocarpus collettii) รายละเอียดดังตารางท่ี 8
ป่าเบญจพรรณ มีปริมาณไม้รวม 4,732,000 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 787,806.04 ลูกบาศก์เมตร
มีค่าความหนาแน่นเฉลี่ย 100.80 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 16.78 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ โดยชนิดไม้ที่มี
ปรมิ าณไมม้ ากทีส่ ุด 10 อนั ดับแรก ได้แก่ สาธร (Millettia leucantha) กระทุม่ (Anthocephalus chinensis)
ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) รัง (Shorea siamensis) ข้าวสาร (Phyllanthus columnaris)
แดง (Xylia xylocarpa) กระพ้ีจ่ัน (Millettia brandisiana) ปอตู๊บหูช้าง (Sterculia villosa) ง้ิวป่า (Bombax
anceps) และสกั (Tectona grandis) รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 9
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นทอ่ี ุทยานแห่งชาตลิ านสาง
26
พื้นที่สวนป่าประเภทอื่นๆ มีปริมาณไม้รวม 959,111 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 45,198.82
ลูกบาศก์เมตร มีค่าความหนาแน่นเฉล่ีย 265.60 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉล่ีย 12.52 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้
ที่มีปริมาณไม้มาก 10 อันดับแรก ได้แก่ ก่อ (Lithocarpus collettii) ไคร้มด (Glochidion acuminatum) สัก
(Tectona grandis) ปอฝ้าย (Firmiana colorata) พลับพลา (Microcos tomentosa) หมีเหม็น (Litsea
glutinosa) ต้ิวเกลี้ยง (Cratoxylum cochinchinense) มะเด่ืออุทุมพร (Ficus racemosa) โมกมัน (Wrightia
arborea) และขา้ วสาร (Phyllanthus columnaris) ดงั รายละเอียดในตารางที่ 10
ชนิดและปริมาณของลูกไม้ที่พบในอุทยานแห่งชาติลานสาง มีมากกว่า 14 ชนิด รวมทั้งสิ้น
6,471,111 ตน้ มคี วามหนาแนน่ ของลกู ไม้ 99.56 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไม้ที่มีปริมาณมากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
สกั (Tectona grandis) มะขามปอ้ ม (Phyllanthus emblica) กระเจาะ (Millettia kangensis) ตะแบกเปลือกบาง
(Lagerstroemia duperreana) ตะขบป่า (Flacourtia indica) เปล้า (Croton argyratus) แดง (Xylia xylocarpa)
เคด (Catunaregam spathulifolia) ไคร้มด (Glochidion acuminatum) และ พันตา (Cleistanthus
denudatus) รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 11
ชนิดและปริมาณของกล้าไม้ที่พบในอุทยานแห่งชาติลานสาง มีมากกว่า 43 ชนิด รวมทั้งสิ้น
403,288,889 ต้น มีความหนาแน่นของกลา้ ไม้ 6,204.44 ตน้ ตอ่ ไร่ โดยชนิดไม้ท่ีมีปรมิ าณมากท่ีสุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ คาง (Albizia lebbeckoides) ปอพราน (Colona auriculata) เคด (Catunaregam spathulifolia)
สวอง (Vitex limonifolia) ปอตีนเต่า (Colona winitii) ปอบิด (Helicteres isora) ข้ีตุ่น (Helicteres angustifolia)
ตะแบก (Lagerstroemia cuspidata) มะขามป้อม (Phyllanthus emblica) และโมกมัน (Wrightia arborea)
รายละเอียดดังตารางท่ี 12
ชนิดไม้ไผ่ท่ีสํารวจพบในพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติลานสาง มี 5 ชนิด ได้แก่ ไผ่ซางดอย (Bambusa
membranacea) ไผ่หก (Dendrocalamus hamiltonii) ไผ่รวก (Thyrsostachys siamensis) ไผ่บง
(Bambusa nutans) และไผ่ป่า (Bambusa bambos) มีปริมาณไม้ไผ่จํานวน 1,190,222 กอ รวมทั้งสิ้น
25,040,889 ลํา ดงั รายละเอยี ดในตารางที่ 13
ชนิดและปริมาณของตอไม้ที่พบในอุทยานแห่งชาติลานสาง มีมากกว่า 8 ชนิด รวมทั้งส้ิน 392,889 ตอ
มคี วามหนาแน่นของตอไม้ 6.04 ตอตอ่ ไร่ โดยชนดิ ไม้ท่ีมปี รมิ าณตอมากที่สดุ 10 อันดบั แรก ได้แก่ รงั (Shorea
siamensis) ไคร้มด (Glochidion acuminatum) กระทุ่ม (Anthocephalus chinensis) แครกฟ้า (Heterophragma
sulfureum) ปอแก่นเทา (Grewia eriocarpa) สวอง (Vitex limonifolia) แดง (Xylia xylocarpa) และ
ตะเคยี นหนู (Anogeissus acuminata) รายละเอยี ดดังตารางที่ 14
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นที่อทุ ยานแหง่ ชาติลานสาง
27
ตารางท่ี 6 ปรมิ าณไม้ท้งั หมดของอทุ ยานแห่งชาตลิ านสาง (30 ชนดิ แรกทีม่ ปี ริมาตรไม้สงู สุด)
ลําดบั ชนิดพันธุไ์ ม้ ช่ือวทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแน่น ปริมาตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่
1 ลาํ พปู ่า Duabanga grandiflora 11,556 257,677.03 0.18
381,333 5.87 3.96
2 สาธร Millettia leucantha 184,889 59,172.52 2.84 0.91
86,667 54,083.04 1.33 0.83
3 กระทมุ่ Anthocephalus chinensis 144,444 53,945.60 2.22 0.83
86,667 44,853.56 1.33 0.69
4 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 225,333 39,172.85 3.47 0.60
300,444 33,408.36 4.62 0.51
5 รงั Shorea siamensis 46,222 31,886.68 0.71 0.49
242,667 28,145.20 3.73 0.43
6 ขา้ วสาร Phyllanthus columnaris 5,778 26,277.46 0.09 0.40
23,111 25,358.35 0.36 0.39
7 กระพ้ีจ่นั Millettia brandisiana 92,444 24,207.08 1.42 0.37
161,778 24,202.44 2.49 0.37
8 แดง Xylia xylocarpa 132,889 22,966.51 2.04 0.35
11,556 22,443.85 0.18 0.35
9 ทองหลางปา่ Erythrina subumbrans 387,111 22,075.33 5.96 0.34
202,222 21,430.32 3.11 0.33
10 สกั Tectona grandis 28,889 20,778.02 0.44 0.32
17,333 20,730.00 0.27 0.32
11 ตะเคียนทอง Hopea odorata 17,333 20,079.16 0.27 0.31
46,222 20,053.29 0.71 0.31
12 ปอตบู๊ หชู ้าง Sterculia villosa 184,889 19,215.16 2.84 0.30
40,444 17,452.92 0.62 0.27
13 งวิ้ ปา่ Bombax anceps 69,333 15,979.51 1.07 0.25
23,111 13,737.98 0.36 0.21
14 ผ่าเสีย้ น Vitex canescens 196,444 13,673.79 3.02 0.21
52,000 13,651.69 0.80 0.21
15 สวอง Vitex limonifolia 46,222 13,533.95 0.71 0.21
57,778 13,144.60 0.89 0.20
16 เสลาขาว Lagerstroemia tomentosa 2,958,222 12,909.70 45.51 0.20
341,603.23 99.47 5.26
17 ปอแกน่ เทา Grewia eriocarpa 6,465,333 1,347,849.20 20.74
18 กอ่ Lithocarpus collettii
19 สําโรง Sterculia foetida
20 กา้ นเหลอื ง Nauclea orientalis
21 ปอกระสา Broussonetia papyrifera
22 มะเด่ืออุทมุ พร Ficus racemosa
23 ไคร้มด Glochidion acuminatum
24 พฤกษ์ Albizia lebbeck
25 กางข้ีมอด Albizia odoratissima
26 มะคังดง Ostodes paniculata
27 กกุ๊ Lannea coromandelica
28 มะพรา้ วนกกก Horsfieldia glabra
29 มะกอก Spondias pinnata
30 ปอเลียงฝ้าย Eriolaena candollei
31 อน่ื ๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มชี นดิ พันธไ์ุ มท้ สี่ าํ รวจพบท้ังหมด 151 ชนิด
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พนื้ ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาตลิ านสาง
28
ตารางท่ี 7 ปรมิ าณไมใ้ นปา่ ดบิ แลง้ ของอทุ ยานแหง่ ชาตลิ านสาง
ลาํ ดับ ชนิดพันธุ์ไม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแน่น ปริมาตร
(ต้น) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่
1 ลาํ พูป่า Duabanga grandiflora 5,778 251,041.66 1.60
17,333 20,079.16 4.80 69.52
2 กา้ นเหลือง Nauclea orientalis 28,889 12,844.76 8.00 5.56
5,778 12,097.39 1.60 3.56
3 มะพรา้ วนกกก Horsfieldia glabra 5,778 1.60 3.35
5,778 4,947.24 1.60 1.37
4 มะคาํ ดคี วาย Sapindus rarak 5,778 2,017.38 1.60 0.56
5,778 1,726.31 1.60 0.48
5 พันจํา Vatica odorata 5,778 1,411.55 1.60 0.39
11,556 1,267.91 3.20 0.35
6 ตองลาด Actinodaphne henryi 5,778 1,061.91 1.60 0.29
5,778 1.60 0.19
7 เฉยี งพรา้ นางแอ Carallia brachiata 11,556 680.40 3.20 0.10
5,778 378.48 1.60 0.09
8 ยางโดน Polyalthia asteriella 308.88 35.20 0.06
204.54 85.86
9 มะคังดง Ostodes paniculata 310,067.56
10 มักลิน้ อาง, ปอขนนุ Sterculia balanghas
11 มะไฟ Baccaurea ramiflora
12 ลําไยปา่ Paranephelium xestophyllum
13 มหาพรม Mitrephora keithii
14 กะเจียน Polyalthia cerasoides
รวม 127,111
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พนื้ ท่อี ทุ ยานแหง่ ชาติลานสาง
29
ตารางที่ 8 ปรมิ าณไม้ในปา่ ดิบเขาของอุทยานแห่งชาตลิ านสาง (30 ชนิดแรกทม่ี ีปริมาตรไมส้ งู สุด)
ลําดบั ชนดิ พนั ธ์ุไม้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแนน่ ปรมิ าตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร่) (ลบ.ม./ไร)่
1 ตะเคยี นทอง Hopea odorata 5,778 25,358.35 0.53
17,333 20,053.29 1.60 2.34
2 ปอกระสา Broussonetia papyrifera 23,111 17,726.86 2.13 1.85
34,667 14,565.04 3.20 1.64
3 มะเดือ่ อทุ มุ พร Ficus racemosa 17,333 12,405.88 1.60 1.34
5,778 12,271.96 0.53 1.15
4 ทองหลางปา่ Erythrina subumbrans 11,556 10,778.45 1.07 1.13
5,778 0.53 0.99
5 มะคงั ดง Ostodes paniculata 5,778 6,635.37 0.53 0.61
5,778 6,513.75 0.53 0.60
6 ยางปาย Dipterocarpus costatus 5,778 5,925.28 0.53 0.55
5,778 5,811.49 0.53 0.54
7 สา้ นห่ิง Dillenia parviflora 46,222 5,643.22 4.27 0.52
11,556 5,399.22 1.07 0.50
8 ลาํ พปู า่ Duabanga grandiflora 5,778 4,424.63 0.53 0.41
11,556 4,257.00 1.07 0.39
9 กาสามปกี Vitex peduncularis 11,556 4,222.26 1.07 0.39
34,667 4,161.92 3.20 0.38
10 ก่อ Lithocarpus collettii 17,333 4,038.39 1.60 0.37
34,667 3,426.65 3.20 0.32
11 ขนนุ Artocarpus heterophyllus 5,778 3,194.76 0.53 0.29
11,556 3,054.70 1.07 0.28
12 แดงน้ํา Pometia pinnata 11,556 2,943.94 1.07 0.27
5,778 2,231.21 0.53 0.21
13 ปอเลยี งฝ้าย Eriolaena candollei 17,333 1,726.31 1.60 0.16
5,778 1,604.35 0.53 0.15
14 หมนั ดง Cordia dichotoma 5,778 1,564.30 0.53 0.14
11,556 1,411.55 1.07 0.13
15 รัก Gluta elegans 11,556 1.07 0.09
5,778 999.15 0.53 0.08
16 ไครม้ ด Glochidion acuminatum 236,889 840.70 21.87 0.07
647,111 791.59 59.73 1.00
17 หว้าเขา Cleistocalyx operculatus 10,795.22 18.90
204,776.77
18 กระพี้จั่น Millettia brandisiana
19 เหมือดวอน Aporosa wallichii
20 กระพนี้ างนวล Dalbergia cana
21 ตนี เป็ดป่า Ardisia murtonii
22 มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum
23 มะห้า Syzygium albiflorum
24 มะเม่าควาย Antidesma velutinosum
25 หว้า Syzygium cumini
26 คอเห้ยี Artemisia indica
27 กอ่ แพะ Quercus kerrii
28 สม้ กบ Hymenodictyon orixense
29 ตองลาด Actinodaphne henryi
30 ชะเนียง Archidendron jiringa
31 อนื่ ๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มีชนิดพันธไุ์ มท้ สี่ ํารวจพบทงั้ หมด 53 ชนดิ
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาติลานสาง
30
ตารางท่ี 9 ปรมิ าณไม้ในปา่ เบญจพรรณของอุทยานแห่งชาตลิ านสาง (30 ชนิดแรกทม่ี ปี รมิ าตรไม้สงู สดุ )
ลําดบั ชนิดพนั ธไ์ุ ม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแนน่ ปรมิ าตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่
1 สาธร Millettia leucantha 381,333 59,172.52 8.12
184,889 54,083.04 3.94 1.26
2 กระท่มุ Anthocephalus chinensis 80,889 53,681.05 1.72 1.15
144,444 44,853.56 3.08 1.14
3 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 52,000 38,502.16 1.11 0.96
300,444 31,886.68 6.40 0.82
4 รงั Shorea siamensis 190,667 29,369.96 4.06 0.68
23,111 24,207.08 0.49 0.63
5 ขา้ วสาร Phyllanthus columnaris 75,111 23,943.20 1.60 0.52
115,556 23,085.93 2.46 0.51
6 แดง Xylia xylocarpa 161,778 22,966.51 3.45 0.49
132,889 22,443.85 2.83 0.49
7 กระพี้จ่นั Millettia brandisiana 11,556 22,075.33 0.25 0.48
387,111 21,430.32 8.25 0.47
8 ปอต๊บู หชู า้ ง Sterculia villosa 28,889 20,730.00 0.62 0.46
40,444 15,979.51 0.86 0.44
9 งิ้วปา่ Bombax anceps 196,444 13,651.69 4.18 0.34
11,556 13,580.15 0.25 0.29
10 สัก Tectona grandis 63,556 13,479.73 1.35 0.29
46,222 13,144.60 0.98 0.29
11 ผา่ เส้ียน Vitex canescens 34,667 12,512.33 0.74 0.28
34,667 11,411.96 0.74 0.27
12 สวอง Vitex limonifolia 17,333 10,995.06 0.37 0.24
23,111 10,092.65 0.49 0.23
13 เสลาขาว Lagerstroemia tomentosa 52,000 1.11 0.21
92,444 9,754.36 1.97 0.21
14 ปอแกน่ เทา Grewia eriocarpa 92,444 9,632.26 1.97 0.21
46,222 9,339.04 0.98 0.20
15 สําโรง Sterculia foetida 5,778 8,535.21 0.12 0.18
11,556 8,478.60 0.25 0.18
16 พฤกษ์ Albizia lebbeck 1,692,889 7,510.48 36.06 0.16
127,277.20 100.80 2.71
17 กุ๊ก Lannea coromandelica 4,732,000 787,806.04 16.78
18 ทองหลางปา่ Erythrina subumbrans
19 กางขีม้ อด Albizia odoratissima
20 มะกอก Spondias pinnata
21 กระพ้ี Dalbergia suthepensis
22 มะเกลือเลอื ด Terminalia mucronata
23 สกณุ ี Terminalia calamansanai
24 แครกฟา้ Heterophragma sulfureum
25 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus
26 เต็ง Shorea obtusa
27 ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata
28 ยมหนิ Chukrasia tabularis
29 ขหี้ นอน Schoepfia fragrans
30 ปอเลยี งฝา้ ย Eriolaena candollei
31 อืน่ ๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มชี นดิ พันธ์ุไม้ท่สี ํารวจพบทง้ั หมด 94 ชนดิ
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตลิ านสาง
31
ตารางที่ 10 ปริมาณไมใ้ นพื้นทส่ี วนปา่ ประเภทอน่ื ๆ ของอทุ ยานแห่งชาตลิ านสาง
ลาํ ดบั ชนิดพันธไุ์ ม้ ช่ือวิทยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแนน่ ปริมาตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร่)
1 ก่อ Lithocarpus collettii 196,444 14,852.74 54.40
173,333 13,230.66 48.00 4.11
2 ไครม้ ด Glochidion acuminatum 127,111 3,191.54 35.20 3.66
11,556 2,629.58 3.20 0.88
3 สัก Tectona grandis 150,222 2,247.44 41.60 0.73
23,111 1,912.31 6.40 0.62
4 ปอฝา้ ย Firmiana colorata 80,889 1,633.36 22.40 0.53
23,111 1,488.30 6.40 0.45
5 พลับพลา Microcos tomentosa 23,111 6.40 0.41
34,667 676.64 9.60 0.19
6 หมีเหมน็ Litsea glutinosa 11,556 670.69 3.20 0.19
11,556 548.36 3.20 0.15
7 ติว้ เกล้ยี ง Cratoxylum cochinchinense 23,111 441.68 6.40 0.12
11,556 430.08 3.20 0.12
8 มะเดอ่ื อุทมุ พร Ficus racemosa 23,111 293.07 6.40 0.08
11,556 269.88 3.20 0.07
9 โมกมนั Wrightia arborea 11,556 220.54 3.20 0.06
11,556 142.01 3.20 0.04
10 ข้าวสาร Phyllanthus columnaris 319.96 0.09
12.52
11 กอกกนั Rhus javanica
12 ลาํ บิดดง Diospyros filipendula
13 คอแลน Nephelium hypoleucum
14 ตองแตบ Macaranga denticulata
15 มนั ปลา Adinandra laotica
16 คนู Colocasia gigantea
17 พิกลุ ปา่ Adinandra integerrima
18 F.STERCULIACEAE F.STERCULIACEAE
รวม 959,111 45,198.82 265.60
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ที่อุทยานแห่งชาตลิ านสาง
32
ตารางท่ี 11 ชนิดและปรมิ าณของลกู ไม้ (Sapling) ที่พบในอุทยานแห่งชาติลานสาง
ลาํ ดบั ท่ี ชนดิ พนั ธ์ไุ ม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ ปรมิ าณลกู ไม้ทัง้ หมด
จาํ นวน (ตน้ ) ความหนาแนน่ (ตน้ /ไร่)
1 สกั Tectona grandis 2,080,000 32.00
2 มะขามป้อม Phyllanthus emblica 924,444 14.22
3 กระเจาะ Millettia kangensis 577,778 8.89
4 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 577,778 8.89
5 ตะขบป่า Flacourtia indica 462,222 7.11
6 เปล้า Croton argyratus 346,667 5.33
7 แดง Xylia xylocarpa 346,667 5.33
8 เคด Catunaregam spathulifolia 231,111 3.56
9 ไคร้มด Glochidion acuminatum 231,111 3.56
10 พนั ตา Cleistanthus denudatus 231,111 3.56
11 โมกมนั Wrightia arborea 115,556 1.78
12 กระทุ่มเนิน Mitragyna rotundifolia 115,556 1.78
13 มะดูก Siphonodon celastrineus 115,556 1.78
14 สาธร Millettia leucantha 115,556 1.78
รวม 6,471,111 99.56
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้นื ท่ีอุทยานแหง่ ชาตลิ านสาง
33
ตารางที่ 12 ชนดิ และปรมิ าณของกลา้ ไม้ (Seedling) ทีพ่ บในอุทยานแหง่ ชาตลิ านสาง
(30 ชนดิ แรกทม่ี ีปรมิ าณสงู สดุ )
ลําดบั ท่ี ชนิดพันธุไ์ ม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ ปรมิ าณลกู ไม้ทงั้ หมด
จาํ นวน (ต้น) ความหนาแนน่ (ตน้ /ไร)่
1 คาง Albizia lebbeckoides 35,822,222 551.11
35,822,222 551.11
2 ปอพราน Colona auriculata 34,666,667 533.33
27,733,333 426.67
3 เคด Catunaregam spathulifolia 26,577,778 408.89
25,422,222 391.11
4 สวอง Vitex limonifolia 19,644,444 302.22
19,644,444 302.22
5 ปอตนี เตา่ Colona winitii 16,177,778 248.89
12,711,111 195.56
6 ปอปดิ Helicteres isora 11,555,556 177.78
11,555,556 177.78
7 ข้ตี ุน่ Helicteres angustifolia 9,244,444 142.22
9,244,444 142.22
8 ตะแบก Lagerstroemia cuspidata 6,933,333 106.67
6,933,333 106.67
9 มะขามปอ้ ม Phyllanthus emblica 6,933,333 106.67
5,777,778 88.89
10 โมกมนั Wrightia arborea 5,777,778 88.89
5,777,778 88.89
11 เปล้า Croton argyratus 5,777,778 88.89
4,622,222 71.11
12 แคฝอย Stereospermum cylindricum 4,622,222 71.11
4,622,222 71.11
13 กระพ้ีจัน่ Millettia brandisiana 3,466,667 53.33
3,466,667 53.33
14 ปอแก่นเทา Grewia eriocarpa 2,311,111 35.56
2,311,111 35.56
15 เกล็ดปลาชอ่ น Phyllodium pulchellum 2,311,111 35.56
2,311,111 35.56
16 แดง Xylia xylocarpa 33,511,111 515.56
17 กางขีม้ อด Derris kerrii
18 เข็มปา่ Ixora cibdela
19 กระพน้ี างนวล Dalbergia cana
20 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana
21 นางแย้มปา่ Clerodendrum viscosum
22 มนั ปลา Adinandra laotica
23 สกั Tectona grandis
24 สีฟนั Arytera littoris
25 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii
26 สกุณี Terminalia calamansanai
27 กระพ้เี ขาควาย Dalbergia cultrata
28 กวาวเครือ Millettia extensa
29 ตะขบปา่ Flacourtia indica
30 มกั ลิ้นอาง, ปอขนนุ Sterculia balanghas
31 อื่นๆ Others
รวม 403,288,889 6,204.44
หมายเหตุ : มชี นดิ พนั ธุก์ ล้าไม้ท่ีสํารวจพบทง้ั หมด 43 ชนิด
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนท่ีอทุ ยานแห่งชาตลิ านสาง
34
ตารางที่ 13 ชนดิ และปรมิ าณไมไ้ ผ่ หวาย และไม้กอ ที่พบในอุทยานแห่งชาตลิ านสาง
ลําดบั ชนดิ ไผ่ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ไผท่ ัง้ หมด
จํานวนกอ จํานวนลาํ
1 ซางดอย Bambusa membranacea 832,000 17,992,000
2 หก Dendrocalamus hamiltonii 173,333 3,316,444
3 ไผร่ วก Thyrsostachys siamensis 115,556 2,103,111
4 ไผ่บง Bambusa nutans 57,778 1,282,667
5 ไผ่ป่า Bambusa bambos 11,556
346,667
รวม 1,190,222 25,040,889
หมายเหตุ : ไมพ่ บหวายและไม้กอ
ตารางท่ี 14 ชนดิ และปรมิ าณของตอไม้ (Stump) ท่ีพบในอทุ ยานแห่งชาตลิ านสาง
ลาํ ดบั ชนิดพันธ์ไุ ม้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณตอไม้ทั้งหมด
จาํ นวน (ตอ) ความหนาแน่น (ตอ/ไร)่
1 รงั Shorea siamensis 254,222 3.91
2 ไครม้ ด Glochidion acuminatum 23,111 0.36
3 กระทุม่ Anthocephalus chinensis 23,111 0.36
4 แครกฟา้ Heterophragma sulfureum 23,111 0.36
5 ปอแก่นเทา Grewia eriocarpa 23,111 0.36
6 สวอง Vitex limonifolia 23,111 0.36
7 แดง Xylia xylocarpa 11,556 0.18
8 ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata 11,556 0.18
392,889 6.04
รวม
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาติลานสาง
35
5. ข้อมูลสงั คมพชื
จากผลการสาํ รวจเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืชในอุทยานแห่งชาติลานสาง พบว่ามีสังคมพืช
4 ประเภท คือ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา ป่าเบญจพรรณ และสวนป่าประเภทอื่นๆ และจากวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช
พบความหนาแน่นของพรรณพืช (Density) ความถี่ (Frequency) ความเด่น (Dominance) และดัชนีความสําคัญ
ของพรรณไม้ (IVI) ดังนี้
ในพ้ืนท่ีป่าดิบแล้ง มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
ลําพูป่า (Duabanga grandiflora) มะพร้าวนกกก (Horsfieldia glabra) ก้านเหลือง (Nauclea orientalis)
มะคําดีควาย (Sapindus rarak) มักลิ้นอาง,ปอขนุน (Sterculia balanghas) มหาพรม (Mitrephora keithii)
พันจาํ (Vatica odorata) ตองลาด (Actinodaphne henryi) เฉียงพร้านางแอ (Carallia brachiata) และ
ยางโดน (Polyalthia asteriella) ดังรายละเอียดในตารางท่ี 15
ในพ้ืนท่ีป่าดิบเขา มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
ทองหลางป่า (Erythrina subumbrans) ปอกระสา (Broussonetia papyrifera) มะเดื่ออุทุมพร (Ficus racemosa)
ปอเลียงฝ้าย (Eriolaena candollei) ตะเคียนทอง (Hopea odorata) กระพ้ีนางนวล (Dalbergia cana)
ส้านห่ิง (Dillenia parviflora) กระพี้จ่ัน (Millettia brandisiana) มะคังดง (Ostodes paniculata) และ
เหมอื ดวอน (Aporosa wallichii) ดังรายละเอียดในตารางที่ 16
ในพน้ื ทีป่ า่ เบญจพรรณ มชี นดิ ไม้ท่ีมีค่าดชั นคี วามสําคัญของชนดิ ไม้ (IVI) สงู สดุ 10 อนั ดบั แรก ไดแ้ ก่
สาธร (Millettia leucantha) ปอแก่นเทา (Grewia eriocarpa) แดง (Xylia xylocarpa) กระทุ่ม (Anthocephalus
chinensis) กระพ้ีจ่ัน (Millettia brandisiana) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) กุ๊ก (Lannea
coromandelica) รัง (Shorea siamensis) ผ่าเสี้ยน (Vitex canescens) และสวอง (Vitex limonifolia)
ดงั รายละเอยี ดในตารางท่ี 17
ในพืน้ ทส่ี วนป่าประเภทอ่ืนๆ มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ ก่อ (Lithocarpus collettii) ไคร้มด (Glochidion acuminatum) พลับพลา (Microcos tomentosa)
สัก (Tectona grandis) ติ้วเกล้ียง (Cratoxylum cochinchinense) หมีเหม็น (Litsea glutinosa) ปอฝ้าย
(Firmiana colorata) มะเดอ่ื อทุ ุมพร (Ficus racemosa) ข้าวสาร (Phyllanthus columnaris) และโมกมัน
(Wrightia arborea) ดังรายละเอียดในตารางที่ 18
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอี่ ทุ ยานแห่งชาติลานสาง
ตารางท่ี 15 ดัชนีความสาํ คญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่
ลาํ ดบั ชนิดพันธุไ์ ม้ ช่ือวทิ ยาศาสตร์ จํานวน ความหนาแนน่ แปลง ควา
(ต้น) (ตน้ /เฮคแตร)์ พบ
1 ลาํ พปู า่ Duabanga grandiflora 1 10.00 1 10
5 50.00 1 10
2 มะพร้าวนกกก Horsfieldia glabra 3 30.00 1 10
1 10.00 1 10
3 ก้านเหลอื ง Nauclea orientalis 2 20.00 1 10
4 มะคาํ ดคี วาย Sapindus rarak 2 20.00. 1 10
1 10.00 1 10
5 มักลิน้ อาง, Sterculia 1 10.00 1 10
1 10.00 1 10
ปอขนนุ balanghas 1 10.00 1 10
1 10.00 1 10
6 มหาพรม Mitrephora keithii 1 10.00 1 10
1 10.00 1 10
7 พันจํา Vatica odorata
1 10.00 1 10
8 ตองลาด Actinodaphne henryi
9 เฉียงพรา้ นางแอ Carallia brachiata
10 ยางโดน Polyalthia asteriella
11 มะคงั ดง Ostodes paniculata
12 มะไฟ Baccaurea ramiflora
13 ลําไยปา่ Paranephelium
xestophyllum
14 กะเจยี น Polyalthia cerasoides
รวม 22 220.00 1,40
าดิบแลง้ ในอุทยานแหง่ ชาติลานสาง RFrequency RDominance IVI
ามถ่ี พืน้ ทห่ี นา้ ตัด ความเดน่ RDensity 7.14 68.77 80.46
(ตร.ม.) 7.14 6.64 36.51
7.14 10.07 30.85
00.00 2.77 0.69 4.55 7.14 5.58 17.26
00.00 0.27 0.07 22.73 7.14 0.80 17.03
00.00 0.41 0.10 13.64
00.00 0.22 0.06 4.55
00.00 0.03 0.01 9.09
00.00 0.01 0.00 9.09 7.14 0.29 16.53
00.00 0.11 0.03 4.55 7.14 2.66 14.35
00.00 0.05 0.01 4.55 7.14 1.26 12.95
00.00 0.04 0.01 4.55 7.14 1.11 12.80
00.00 0.04 0.01 4.55 7.14 0.94 12.63
00.00 0.03 0.01 4.55 7.14 0.86 12.55
00.00 0.02 0.01 4.55 7.14 0.51 12.20
00.00 0.01 0.00 4.55 7.14 0.32 12.00
00.00 0.01 0.00 4.55 7.14 0.19 11.88
00.00 4.03 1.00 100.00 100.00 100.00 300.00
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ท่อี ทุ ยานแห่งชาตลิ านสาง
ตารางที่ 16 ดชั นีความสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่า
ลาํ ดบั ชนิดพันธไุ์ ม้ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ จํานวน ความหนาแนน่ แปลงพบ
(ตน้ ) (ต้น/เฮคแตร)์
1 ทองหลางปา่ Erythrina subumbrans 6 20.00 2
3 10.00 2
2 ปอกระสา Broussonetia papyrifera 4 13.33 1
8 26.67 1
3 มะเด่ืออทุ มุ พร Ficus racemosa 1 3.33 1
6 20.00 2
4 ปอเลียงฝ้าย Eriolaena candollei 2 6.67 2
6 20.00 1
5 ตะเคยี นทอง Hopea odorata 3 10.00 1
3 10.00 2
6 กระพน้ี างนวล Dalbergia cana 1 3.33 1
3 10.00 2
7 ส้านหิ่ง Dillenia parviflora 3 10.00 2
2 6.67 1
8 กระพ้ีจั่น Millettia brandisiana 4 13.33 1
2 6.67 1
9 มะคังดง Ostodes paniculata 2 6.67 1
1 3.33 1
10 เหมอื ดวอน Aporosa wallichii 1 3.33 1
3 10.00 1
11 ยางปาย Dipterocarpus costatus 48 160.00 33
12 เปลา้ Croton argyratus
13 งวิ้ ป่า Bombax anceps
14 หมนั ดง Cordia dichotoma
15 มะพรา้ วนกกก Horsfieldia glabra
16 ไคร้มด Glochidion acuminatum
17 หวา้ เขา Cleistocalyx operculatus
18 ลําพปู า่ Duabanga grandiflora
19 กาสามปีก Vitex peduncularis
20 หว้า Syzygium cumini
21 อื่นๆ Others
รวม 112 373.33
าดบิ เขา ในอุทยานแห่งชาตลิ านสาง
ความถ่ี พ้นื ท่หี น้าตัด ความเด่น RDensity RFrequency RDominance IVI
(ตร.ม.)
3.33 7.27 15.96
66.67 0.33 0.07 5.36 3.33 8.41 14.42
66.67 1.67 8.40 13.64
33.33 0.38 0.08 2.68 1.67 3.40 12.21
33.33 1.67 8.42 10.98
33.33 0.38 0.08 3.57 3.33 2.23 10.93
66.67 3.33 5.23 10.35
66.67 0.15 0.03 7.14 1.67 2.68 9.70
33.33 1.67 5.32 9.66
33.33 0.38 0.08 0.89 3.33 2.11 8.12
66.67 1.67 5.06 7.62
33.33 0.10 0.02 5.36 3.33 0.25 6.26
66.67 3.33 0.25 6.26
66.67 0.23 0.05 1.79 1.67 2.39 5.84
33.33 1.67 0.58 5.82
33.33 0.12 0.03 5.36 1.67 2.35 5.81
33.33 1.67 2.33 5.78
33.33 0.24 0.05 2.68 1.67 3.04 5.60
33.33 1.67 2.99 5.55
33.33 0.09 0.02 2.68 1.67 1.13 5.47
33.33 55.01 26.18 124.04
1,100.00 0.23 0.05 0.89 100.00 100.00 300.00
0.01 0.00 2.68
0.01 0.00 2.68
0.11 0.02 1.79
0.03 0.01 3.57
0.11 0.02 1.79
0.10 0.02 1.79
0.14 0.03 0.89
0.13 0.03 0.89
0.05 0.01 2.68
1.18 0.26 42.86
2,000.00 4.49 1.00 100.00
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พน้ื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติลานสาง
ตารางที่ 17 ดัชนคี วามสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่
ลําดับ ชนิดพนั ธุ์ไม้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ จํานวน ความหนาแนน่ แปลง ควา
(ต้น) (ต้น/เฮคแตร)์ พบ
1 สาธร Millettia leucantha 66 50.77 10 7
67 51.54 6 4
2 ปอแกน่ เทา Grewia eriocarpa 46 35.38 6 4
32 24.62 5 3
3 แดง Xylia xylocarpa 33 25.38 6 4
14 10.77 7 5
4 กระท่มุ Anthocephalu chinensis
34
5 กระพ้ีจนั่ Millettia brandisiana 25
28
6 ตะแบก Lagerstroemia duperreana 23
13
เปลือกบาง 9
20
7 ก๊กุ Lannea coromandelica 16 26.15 75
11 19.23 43
8 รัง Shorea siamensis 20 21.54 64
9 17.69 43
9 ผา่ เสยี้ น Vitex canescens 4 10.00 53
9 6.92 32
10 สวอง Vitex limonifolia 8 15.38 1
332 12.31 53
11 ง้ิวปา่ Bombax anceps 819 8.46 43
15.38 32
12 ข้าวสาร Phyllanthus columnaris 6.92 53
3.08 32
13 สัก Tectona grandis 6.92 53
6.15 32
14 ตะเคยี นหนู Anogeissus acuminata 255.39 103 79
630.00
15 กางขมี้ อด Albizia odoratissima 1,54
16 สม้ กบ Hymenodictyon orixense
17 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus
18 ปอตูบ๊ หชู า้ ง Sterculia villosa
19 โมกมัน Wrightia arborea
20 มะกอก Spondias pinnata
21 อื่นๆ Others
รวม
าเบญจพรรณ ในอุทยานแห่งชาตลิ านสาง
ามถี่ พน้ื ทหี่ น้าตัด ความเด่น RDensity RFrequency RDominance IVI
(ตร.ม.)
4.98 7.76 20.80
76.92 1.46 0.08 8.06 2.99 3.67 14.84
3.48 4.49 14.33
46.15 0.69 0.04 8.18 2.49 5.51 11.91
2.99 4.40 11.42
46.15 0.76 0.04 6.35 3.48 6.12 11.32
38.46 1.04 0.06 3.91 9.82
9.67
46.15 0.83 0.04 4.03 9.56
7.63
53.85 1.15 0.06 1.71 6.90
6.15
53.85 0.41 0.02 4.15 3.48 2.19 5.97
4.62 5.79
30.77 0.87 0.05 3.05 1.99 3.16 5.03
2.83 4.99
46.15 0.59 0.03 3.42 2.99 2.83 4.95
3.56 4.57
30.77 0.53 0.03 2.81 1.99 3.03 4.08
1.35 4.08
38.46 0.53 0.03 1.59 2.49 1.69 126.22
1.05 300.00
23.08 0.67 0.04 1.10 1.49 1.36
2.59
7.69 0.57 0.03 2.44 0.50 0.50
1.61
38.46 0.25 0.01 1.95 2.49 35.66
100.00
30.77 0.32 0.02 1.34 1.99
23.08 0.20 0.01 2.44 1.49
38.46 0.26 0.01 1.10 2.49
23.08 0.49 0.03 0.49 1.49
38.46 0.09 0.00 1.10 2.49
23.08 0.03 0.02 0.98 1.49
92.39 6.79 0.36 39.80 50.77
46.15 18.81 1.00 100.00 100.00
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นที่อทุ ยานแห่งชาติลานสาง
ตารางที่ 18 ดัชนีความสาํ คญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของสว
ลําดบั ชนดิ พันธุ์ไม้ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ จํานวน ความหนาแน่น แปลง
(ตน้ ) (ตน้ /เฮคแตร)์ พบ
1 กอ่ Lithocarpus collettii 34 340.00 1
30 300.00 1
2 ไครม้ ด Glochidion acuminatum 26 260.00 1
22 220.00 1
3 พลบั พลา Microcos tomentosa 14 140.00 1
4 สัก Tectona grandis 4 40.00 1
2 20.00 1
5 ติ้วเกลี้ยง Cratoxylum 4 40.00 1
6 60.00 1
cochinchinense 4 40.00 1
4 40.00 1
6 หมเี หม็น Litsea glutinosa 4 40.00 1
2 20.00 1
7 ปอฝา้ ย Firmiana colorata 2 20.00 1
2 20.00 1
8 มะเดอื่ อทุ ุมพร Ficus racemosa 2 20.00 1
2 20.00 1
9 ข้าวสาร Phyllanthus columnaris 2 20.00 1
10 โมกมัน Wrightia arborea
11 คอแลน Nephelium hypoleucum
12 มันปลา Adinandra laotica
13 กอกกัน Rhus javanica
14 ลําบิดดง Diospyros filipendula
15 ตองแตบ Macaranga denticulata
16 คูน Colocasia gigantea
17 พิกุลป่า Adinandra integerrima
18 F.STERCULIACEAE F.STERCULIACEAE
รวม 166 1,660.00