The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการสำรวจทรพยากรป่าไม้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Eve_ Chantarat, 2020-11-17 23:44:01

อุทยานแห่งชาติภูสระดอกบัว

รายงานการสำรวจทรพยากรป่าไม้

รายงานการสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้

อุทยานแห่งชาติภูสระดอกบวั

ศนู ย์สารสนเทศและการส่ือสาร สํานกั บรหิ ารพืน้ ทีอ่ นุรักษท์ ี่ 9 (อบุ ลราชธานี)
สว่ นสาํ รวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานกั ฟนื้ ฟแู ละพฒั นาพื้นที่อนุรักษ์

กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั ว์ปา่ และพนั ธ์พุ ืช
พ.ศ. 2556

บทสรุปสําหรับผบู้ ริหาร

จากสถานการณ์ป่าไม้ในปัจจุบันพบว่า พ้ืนที่ป่าไม้ในประเทศเหลืออยู่เพียงประมาณร้อยละ
33.56 ของพ้ืนท่ีประเทศ การดําเนินการสํารวจทรัพยากรป่าไม้จึงเป็นอีกทางหนึ่งท่ีทําให้ทราบถึงสถานภาพ
และศักยภาพของทรัพยากร ตลอดจนปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมท่ีมีผลต่อการบุกรุกทําลายป่า เพ่ือนํามาใช้
ในการดําเนินการตามภาระรับผิดชอบต่อไป ซ่ึงกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้ดําเนินการมา
อยา่ งต่อเน่อื ง

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ได้จัดสรรงบประมาณ
การดําเนินงานและกําหนดจุดสํารวจเป้าหมาย ในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติภูสระดอกบัว ซ่ึงมีเน้ือท่ี 144,375 ไร่
หรอื ประมาณ 231 ตารางกโิ ลเมตร มีเน้ือท่ีอยู่บนแนวเขตรอยต่อ 3 จังหวัด คือ อําเภอนิคมคําสร้อย อําเภอ
ดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร อําเภอชานุมาน และอําเภอเสนางคนิคม จังหวัด
อาํ นาจเจรญิ รวมจาํ นวน 27 แปลง สาํ หรบั การวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ท่ีมีขนาดคงท่ี
รูปวงกลม 3 วง ซ้อนกัน คือ วงกลมรศั มี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลาํ ดับ และมีวงกลมขนาดรัศมี 0.631
เมตร อยูต่ ามทิศหลักทัง้ 4 ทิศ

ผลการสํารวจและวิเคราะหข์ ้อมูล พบว่า มีชนิดป่าหรอื ลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินที่สํารวจพบ
5 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแลง้ ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ไร่มันสําปะหลัง และสวนยางพารา โดยป่าเบญจพรรณ
พบมากสุด คดิ เปน็ รอ้ ยละ 51.85 ของพ้ืนทท่ี ัง้ หมด รองลงมา คือ ไร่มันสําปะหลัง คิดเป็นร้อยละ 42.78 ของพ้ืนที่
ทั้งหมด ป่าเต็งรังคิดเป็นร้อยละ 14.81 ของพื้นท่ีทั้งหมด ป่าดิบแล้งคิดเป็นร้อยละ 11.11 ของพื้นท่ีท้ังหมด
และลาํ ดบั สดุ ทา้ ยเปน็ สวนยางพารา คิดเปน็ ร้อยละ 3.70 ของพื้นท่ีทั้งหมด สําหรับพรรณไม้รวมทุกชนิดป่าพบ
ทั้งสิ้น 41 วงศ์ มากกว่า 137 ชนดิ รวมจํานวน 10,403,556 ตน้ คดิ เป็นปริมาตรไม้รวมท้ังหมด 1,473,289.21
ลูกบาศกเ์ มตร มีความหนาแนน่ ของต้นไม้เฉลย่ี 72.06 ตน้ ตอ่ ไร่ และมีปรมิ าตรไม้เฉล่ยี 10.20 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่
ซึ่งเม่ือเรียงลําดับจากจํานวนต้นท่ีพบมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก คือ รัง (Shorea siamensis) อะราง
(Peltophorum dasyrachis) แดง (Xylia xylocarpa) เหมือดคน (Helicia robusta) สาธร (Millettia leucantha)
ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) โมกมัน (Wrightia arborea) พลองขี้ควาย (Memecylon
caeruleum) ติ้วขน (Cratoxylum formosum) และหมักม่อ (Rothmannia wittii) ตามลําดับ แต่เมื่อเรียงลําดับตาม
ปริมาตรจากมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก คือ อะราง (Peltophorum dasyrachis) ตะแบก (Lagerstroemia
cuspidate) เต็ง (Shorea obtuse) รัง (Shorea siamensis) กางข้ีมอด (Albizia odoratissima) เหมือดคน
(Helicia robusta) มะค่าแต้ (Sindora siamensis) สาธร (Millettia leucantha) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia
duperreana) และกระบก (Irvingia malayana) ตามลําดับ ไม้ยืนต้นพบมากสุดในป่าเบญจพรรณ รองลงมา
คอื ปา่ เต็งรัง

กลา้ ไม้ (Seedling) ท่พี บในแปลงสาํ รวจ มจี ํานวนมากกว่า 63 ชนิด รวมท้ังส้ิน 1,059,177,778 ต้น
เมื่อเรียงลําดับจากจํานวนต้นท่ีพบมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ หัสคุณ (Micromelum minutum)

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ท่ีอุทยานแหง่ ชาติภสู ระดอกบัว

เต็ง (Shorea obtusa) เหมือดหอม (Symplocos racemosa) มะค่าแต้ (Sindora siamensis) เข็มป่า (Ixora
cibdela) ลําดวน (Melodorum fruticosum) โมรีหรือหลักดํา (Diospyros oblonga) เหมือดคน (Helicia
robusta) พลับพลา (Microcos tomentosa) และข้ีอ้ายหรือแสนคํา (Terminalia triptera) โดยสํารวจพบ
จาํ นวนกลา้ ไม้มากทส่ี ุดในป่าเบญจพรรณ รองลงมา คือ ปา่ เต็งรัง

ลกู ไม้ (Sapling) ทีพ่ บในแปลงสํารวจ มีมากกว่า 58 ชนิด รวมจํานวนทั้งหมด 69,642,222 ต้น
เมอื่ เรียงลําดับจากจาํ นวนตน้ ที่พบมากสดุ ไปหาน้อยสดุ 10 อันดบั แรก ไดแ้ ก่ แดง (Xylia xylocarpa) ปอมนื
(Colona floribunda) สาธร (Millettia leucantha) กระทุ่มเนิน (Mitragyna rotundifolia) ก่อหิน (Castanopsis
piriformis) พลับพลา (Microcos tomentosa) สะแกแสง (Cananga latifolia) เต็ง (Shorea obtuse)
เขม็ ปา่ (Ixora cibdela) และเหมือดคน (Helicia robusta) โดยสํารวจพบปริมาณกล้าไม้มากที่สุดในป่าเบญจพรรณ
รองลงมา คอื ปา่ ดิบแลง้

ไผ่ (Bamboo) ทีพ่ บในแปลงสํารวจ มีจํานวน 4 ชนิด รวมจํานวน 5,372,889 กอ และมีจํานวน
รวมท้ังสิ้น 89,918,889 ลํา ได้แก่ ไผ่กะแสนดํา (Schizostachyum mekongensis) ไผ่ป่า (Bambusa
bambos) ไผ่ไร่ (Gigantochloa albociliata) และไผ่ซอด (Gigantochloa cochinchinensis) ซึ่งพบ
เฉพาะในป่าเบญจพรรณ ไม่พบในพนื้ ที่ปา่ ชนิดอ่นื

ปริมาณหวายเส้นต้ังและหวายนอน พบเพียงในป่าดิบแล้งเท่านั้น โดยชนิดหวายท่ีสํารวจพบ มี
เพียง 1 ชนิด คือ หวายหนู (Renanthera elongate) และตอไม้ที่สํารวจพบส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นตอเก่า
มี 38 ชนิด รวมจํานวนทงั้ สนิ้ 1,403,111 ตอ มีความหนาแนน่ ของกลา้ ไม้ 9.72 ตอตอ่ ไร่ ซ่ึงชนดิ ไม้ท่ีมีปริมาณ
ตอมากที่สุด 10 อันดับแรก คือ รัง (Shorea siamensis) ก่อหิน (Castanopsis piriformis) แดง (Xylia xylocarpa)
ลาํ ดวน (Melodorum fruticosum) กระบก (Irvingia malayana) เต็ง (Shorea obtuse) ต้ิวขน (Cratoxylum
formosum) พะยงู (Dalbergia cochinchinensis) ตะแบก (Lagerstroemia cuspidate) และยอป่า (Morinda
tomentosa) โดยพบจาํ นวนตอมากทส่ี ดุ ในไรม่ ันสําปะหลงั มจี าํ นวน 581,778 ตอ รองลงมา พบในสวนยางพารา
มีจํานวน 325,111 ตอ ในป่าเต็งรัง มีจาํ นวน 308,000 ตอ และในป่าเบญจพรรณ มีจาํ นวน 188,222 ตอ
ส่วนในปา่ ดบิ แลง้ ไม่พบว่ามีตอไม้

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช พบว่า ชนิดไม้ท่ีมีความถี่ (Frequency) มากที่สุด คือ ตะแบก
(Lagerstroemia cuspidate) และตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) รองลงมา คือ สาธร
(Millettia leucantha) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) และกระทุ่มเนนิ (Mitragyna rotundifolia)
ชนดิ ไมท้ ี่มีความหนาแน่นของพืชพรรณ (Density) มากท่ีสุด คือ รัง (Shorea siamensis) รองลงมา คือ อะราง
(Peltophorum dasyrachis) ชนิดไม้ที่มีความเด่น (Dominance) มากที่สุด คือ อะราง (Peltophorum dasyrachis)
รองลงมา คอื ตะแบก (Lagerstroemia cuspidate) ชนิดไมท้ ม่ี คี วามถสี่ ัมพัทธ์ (Relative Frequency) มากทสี่ ดุ
คือ ตะแบก (Lagerstroemia cuspidate) และตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) รองลงมา
คือ สาธร (Millettia leucantha) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) และ กระทุ่มเนิน (Mitragyna rotundifolia)
ชนิดไม้ที่มีความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Relative Density) มากท่ีสุด คือ รัง (Shorea siamensis) รองลงมา คือ

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูสระดอกบัว

อะราง (Peltophorum dasyrachis) ชนิดไม้ท่ีมีความเด่นสัมพัทธ์ (Relative Dominance) มากที่สุด คือ
อะราง (Peltophorum dasyrachis) รองลงมา คือ ตะแบก (Lagerstroemia cuspidate) ชนิดไม้ที่มี
ค่าดัชนีความสาํ คัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) มากที่สุด คือ อะราง (Peltophorum
dasyrachis) รองลงมา คือ รัง (Shorea siamensis) โดย ในพนื้ ท่ีป่าดิบแล้ง ชนดิ ไมท้ มี่ คี า่ ดชั นคี วามสาํ คญั ของ
ชนิดไม้ (IVI) มากท่ีสุด คือ อะราง (Peltophorum dasyrachis) รองลงมา คือ เหมือดคน (Helicia robusta)
ในพื้นท่ปี ่าเบญจพรรณ ชนดิ ไม้ทม่ี คี ่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) มากท่ีสุด คือ ตะแบก (Lagerstroemia
cuspidate) รองลงมา คือ สาธร (Millettia leucantha) ในพื้นทีป่ า่ เต็งรงั ชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของ
ชนดิ ไม้ (IVI) มากท่ีสุด คือ รัง (Shorea siamensis) รองลงมา คือ เต็ง (Shorea obtusa) และในพ้ืนท่ีไร่มัน
สําปะหลัง ชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) มากท่ีสุด คือ อะราง (Peltophorum dasyrachis)
รองลงมา คอื กระบก (Irvingia malayana)

ขอ้ มลู เกย่ี วกับความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินท่ีมี
ความหลากหลายของชนิดพันธ์ุไม้ (Species Diversity) มากท่ีสุด คือ ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คือ ป่าดิบแล้ง
ชนดิ ปา่ หรอื ลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ี่ดนิ ท่ีมีความมากมายของชนดิ พนั ธุไ์ ม้ (Species Richness) มากท่ีสุด คือ
ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คือ ป่าดิบแล้ง และชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินท่ีมีความสมํ่าเสมอของ
ชนิดพนั ธ์ไุ ม้ (Species Evenness) มากทีส่ ดุ คือ ไรม่ นั สาํ ปะหลัง รองลงมา คอื ป่าเบญจพรรณ

ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูลโครงสรา้ งป่าในทุกชนิดป่าหรือทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดิน พบว่ามีไม้
ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพยี งอก (GBH) ระหวา่ ง 15-45 เซนตเิ มตร จาํ นวน 7,101,111 ต้น คิดเป็นร้อยละ 68.26
ของไมท้ ้งั หมด ไมย้ นื ต้นขนาดเสน้ รอบวงเพียงอก (GBH) อยู่ระหว่าง >45-100 เซนติเมตร มีจํานวน 2,729,222 ต้น
คดิ เป็นรอ้ ยละ 26.23 ของไมท้ ั้งหมด และไม้ยืนตน้ ขนาดเสน้ รอบวงเพียงอก (GBH) มากกวา่ 100 เซนตเิ มตรขนึ้ ไป
มจี ํานวน 573,222 ตน้ คดิ เป็นรอ้ ยละ 5.51 ของไมท้ ง้ั หมด

จากผลการดําเนินงานดังกล่าว ทําให้ทราบข้อมูลพ้ืนฐานเกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้าน
กําลังผลิตและความหลากหลายของพันธุ์พืชในพ้ืนท่ีต่างๆ ของอุทยานแห่งชาติภูสระดอกบัว อีกท้ังยังเป็น
แนวทางในการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ เกี่ยวกับรูปแบบ วิธีการสํารวจ และการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ
และแบบแผนเพ่ือเป็นแนวทางในการติดตามการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรป่าไม้ในพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติ
ภสู ระดอกบัวตอ่ ไปได้

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ทีอ่ ุทยานแห่งชาตภิ สู ระดอกบัว

สารบญั i

สารบัญ หน้า
สารบัญตาราง i
สารบญั ภาพ iii
คาํ นาํ iv
วัตถุประสงค์ 1
เปา้ หมายการดาํ เนนิ งาน 2
ขอ้ มลู ทั่วไปอทุ ยานแห่งชาติภสู ระดอกบวั 2
3
ประวตั คิ วามเป็นมา 3
ทต่ี ้งั และอาณาเขต 3
การเดินทางและเสน้ ทางคมนาคม 3
ลักษณะภูมปิ ระเทศ 4
ลกั ษณะภมู ิอากาศ 5
แหลง่ ทอ่ งเที่ยวทน่ี ่าสนใจ 5
รปู แบบและวธิ ีการสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้ 9
การสมุ่ ตวั อย่าง (Sampling Design) 9
รปู ร่างและขนาดของแปลงตัวอยา่ ง (Plot Design) 9
ขนาดของแปลงตวั อยา่ งและขอ้ มลู ท่ที าํ การสํารวจ
การวิเคราะหข์ อ้ มลู การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้ 10
11
1. การคาํ นวณเนอ้ื ทป่ี า่ และปริมาณไมท้ ง้ั หมดของแต่ละพ้ืนท่อี นุรกั ษ์ 11
2. การคาํ นวณปรมิ าตรไม้ 11
3. การวิเคราะหข์ อ้ มูลท่ัวไป 12
4. การวิเคราะห์ข้อมูลองคป์ ระกอบของหมู่ไม้ 12
5. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ชนิดและปรมิ าณของลูกไม้ (Sapling) และกล้าไม้ (Seeding) 12
13
6. การวิเคราะห์ขอ้ มลู ชนดิ และปรมิ าณของไมไ้ ผ่ หวาย 13
7. การวเิ คราะห์ข้อมูลสังคมพืช 14
8. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลความหลากหลายทางชวี ภาพ 15
9. การศกึ ษาคุณคา่ ทางนเิ วศวทิ ยา 16
10. การประเมนิ สถานภาพทรัพยากรปา่ ไม้

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นที่อุทยานแหง่ ชาติภูสระดอกบัว

สารบญั (ต่อ) ii

ผลการสาํ รวจและวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทรพั ยากรปา่ ไม้ หนา้
1. การวางแปลงตวั อยา่ ง 17
2. พ้นื ท่ีปา่ ไม้ 17
3. ปริมาณไม้ 18
4. ชนดิ พนั ธุ์ไม้ 24
5. สังคมพืช 27
6. ความหลากหลายทางชีวภาพ 39
45
สรปุ ผลการสาํ รวจและวิเคราะห์ขอ้ มลู ทรพั ยากรปา่ ไม้ 46
วิจารณผ์ ลการศกึ ษา 50
ปัญหาและอปุ สรรค 52
ข้อเสนอแนะ 52
เอกสารอา้ งอิง 53
ภาคผนวก 54

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นทอี่ ุทยานแห่งชาติภูสระดอกบัว

iii

สารบญั ตาราง

ตารางที่ หน้า
1 ขนาดของแปลงตวั อย่างและขอ้ มูลทที่ ําการสํารวจ 10
2 พ้นื ทปี่ ่าไม้จาํ แนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ดี ินในอทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูสระดอกบวั 18
(Area by Landuse Type)
3 ปรมิ าณไมท้ งั้ หมดจําแนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ่ีดนิ 24
ในอทุ ยานแหง่ ชาตภิ สู ระดอกบัว (Volume by Landuse Type)
4 ความหนาแน่นและปริมาตรไมต้ ่อหน่วยพืน้ ท่จี ําแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ดี ิน 25
ในอทุ ยานแหง่ ชาติภสู ระดอกบวั (Density and Volume per Area by Landuse Type)
5 การกระจายขนาดความโตของไม้ทั้งหมดในอุทยานแห่งชาตภิ ูสระดอกบัว 26
6 ปรมิ าณไมท้ ้งั หมดในอุทยานแหง่ ชาติภูสระดอกบัว (30 ชนิดแรกทมี่ ปี รมิ าตรไม้สงู สดุ ) 30
7 ปรมิ าณไมใ้ นป่าดิบแล้งของอุทยานแห่งชาติภูสระดอกบัว (30 ชนิดแรกท่ีมปี ริมาตรไมส้ งู สุด) 31
8 ปริมาณไมใ้ นป่าเบญจพรรณของอุทยานแหง่ ชาติภสู ระดอกบัว (30 ชนดิ แรกทม่ี ีปริมาตรไมส้ ูงสดุ ) 32
9 ปรมิ าณไม้ในปา่ เต็งรังของอุทยานแหง่ ชาติภูสระดอกบวั (30 ชนดิ แรกทมี่ ปี รมิ าตรไมส้ ูงสดุ ) 33
10 ปริมาณไม้ในไร่มนั สาํ ปะหลังของอุทยานแห่งชาติภูสระดอกบวั (30 ชนดิ แรกทม่ี ีปริมาตรไม้สูงสุด) 34
11 ชนิดและปรมิ าณไมไ้ ผ่ หวาย และไม้กอ ทีพ่ บในอทุ ยานแหง่ ชาติภสู ระดอกบวั 35
12 ชนดิ และปรมิ าณของกล้าไม้ (Seedling) ทีพ่ บในอทุ ยานแหง่ ชาติภสู ระดอกบวั 36
13 ชนิดและปริมาณของลกู ไม้ (Sapling) ที่พบในอุทยานแหง่ ชาติภูสระดอกบัว 37
14 ชนิดและปริมาณของตอไม้ (Stump) ทพี่ บในอุทยานแห่งชาตภิ ูสระดอกบัว 38
15 ดชั นคี วามสาํ คญั ของชนดิ ไมท้ ง้ั หมด (Importance Value Index : IVI) 40
ในอุทยานแห่งชาติภูสระดอกบวั
16 ดชั นคี วามสาํ คญั ของชนดิ ไมท้ ง้ั หมด (Importance Value Index : IVI) 41
ของป่าดบิ แลง้ ในอุทยานแหง่ ชาตภิ สู ระดอกบัว
17 ดชั นคี วามสาํ คญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) 42
ของปา่ เบญจพรรณในอุทยานแหง่ ชาตภิ สู ระดอกบัว
18 ดชั นีความสําคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) 43
ของป่าเต็งรังในอทุ ยานแห่งชาติภสู ระดอกบัว
19 ดัชนีความสาํ คญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของไรม่ นั สําปะหลัง 44
ในอุทยานแห่งชาตภิ ูสระดอกบัว
20 ความหลากหลายทางชวี ภาพของชนิดพันธุ์ไม้ในอทุ ยานแหง่ ชาติภูสระดอกบวั 45

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาติภสู ระดอกบัว

สารบญั ภาพ iv

ภาพท่ี หนา้
1 แสดงทีต่ ง้ั และเส้นทางการเดินทาง 4
2 “ดอกบวั เผ่อื น” ในแอ่งหินซึ่งเกิดขน้ึ เองตามธรรมชาติ 6
3 ผานางคอย 7
4 “ทุง่ ดอกไม้ป่า” ณ ภูผาด่าง 7
5 “ภาพเขยี นสโี บราณ 3,000 ปี” ณ ภผู าแต้ม 8
6 ภผู าหอม 8
7 ลักษณะและขนาดของแปลงตวั อย่าง 9
8 แผนทแ่ี สดงขอบเขตและลักษณะภูมปิ ระเทศของอุทยานแห่งชาตภิ ูสระดอกบวั 17
9 แปลงตวั อยา่ งท่ไี ด้ดําเนินการสาํ รวจภาคสนามในอทุ ยานแห่งชาติภสู ระดอกบวั 17
10 พ้นื ท่ปี า่ ไมจ้ ําแนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชน์ท่ดี ินในพน้ื ท่ีอทุ ยานแห่งชาตภิ ูสระดอกบวั 18
11 ลกั ษณะทว่ั ไปของป่าดิบแล้งในพนื้ ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติภสู ระดอกบวั 19
12 ลักษณะทั่วไปของป่าเบญจพรรณในพ้ืนทอี่ ทุ ยานแห่งชาติภูสระดอกบวั 20
13 ลกั ษณะทวั่ ไปของปา่ เต็งรงั ในพนื้ ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาติภสู ระดอกบัว 21
14 ลักษณะท่ัวไปของไรม่ ันสาํ ปะหลงั ในพน้ื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติภูสระดอกบวั 22
15 ลกั ษณะทัว่ ไปของสวนยางพาราในพ้ืนที่อทุ ยานแห่งชาติภูสระดอกบัว 23
16 ปรมิ าณไมท้ ง้ั หมดทพ่ี บในพนื้ ท่ีอุทยานแห่งชาติภูสระดอกบัว 24
17 ปริมาตรไม้ท้งั หมดท่พี บในพนื้ ท่อี ุทยานแหง่ ชาติภูสระดอกบวั 25
18 ความหนาแน่นของตน้ ไม้ (ต้น/ไร่) ในพนื้ ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาติภูสระดอกบัว 25
19 ปริมาตรไม้ (ลบ.ม./ไร)่ ในพนื้ ท่อี ทุ ยานแหง่ ชาติภูสระดอกบวั 26
20 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ง้ั หมดในพืน้ ท่อี ุทยานแหง่ ชาตภิ สู ระดอกบวั 26

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พนื้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาตภิ สู ระดอกบัว

1

คาํ นํา

ปัจจุบนั ประเทศไทยมีพ้ืนที่ปา่ ไมเ้ หลอื อยู่ประมาณรอ้ ยละ 33.56 ของพนื้ ทีป่ ระเทศ (ทม่ี า:หนงั สือ
ขอ้ มูลสถติ อิ ุทยานแหง่ ชาติ สัตวป์ า่ และพันธ์ุพืช, 2552) เพอื่ ใหก้ ารดาํ เนนิ งานของกรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตว์ป่า
และพันธุ์พืช ท่ีจะต้องดําเนินการอนุรักษ์ สงวน และฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพ มีการพัฒนาการใช้
ทรัพยากรป่าไม้อย่างย่ังยืน จึงจําเป็นท่ีจะต้องทราบถึงสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากร โดยเฉพาะ
ทรัพยากรป่าไม้ รวมท้ังความหลากหลายทางชีวภาพที่มีอยู่ในพ้ืนที่ป่าไม้ ตลอดจนปัจจัยทางเศรษฐกิจและ
สังคมท่ีมีผลต่อการบุกรุกทําลายป่า เพื่อนํามาใช้ในการดําเนินการตามภารกิจรับผิดชอบต่อไป ส่วนสํารวจและ
วิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพื้นท่ีอนุรักษ์ จึงได้ดําเนินการสํารวจพื้นท่ีป่าของจังหวัดต่างๆ
ทั่วประเทศ เพ่อื รวบรวมเป็นฐานข้อมลู ในการดาํ เนินงานในกจิ กรรมท่ีมีความเกี่ยวข้องกับความหลากหลายทาง
ชีวภาพ รวมทั้งใช้ในการประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้และทรัพยากรอ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้อง
เพ่ือนาํ ไปพัฒนาการอนุรกั ษ์ หรือใชเ้ ป็นตน้ แบบในการดาํ เนินการในพน้ื ทอ่ี ื่นๆ ต่อไป

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้เพ่ือประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้ และเพ่ือ
ติดต้ังระบบติดตามความเปล่ียนแปลงของทรัพยากรป่าไม้ รวมทั้งทรัพยากรอ่ืนท่ีเกี่ยวข้อง ได้รับการจัดสรร
งบประมาณในการดําเนินงานและกําหนดจุดสํารวจเป้าหมายโดยส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้
สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพ้ืนที่อนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ซ่ึงการดําเนินงานดังกล่าว
สอดคล้องกับภารกิจของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ท่ีจะต้องดําเนินการอนุรักษ์ สงวน และ
ฟ้ืนฟูความหลากหลายทางชีวภาพ ให้มีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรป่าไม้อย่างยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อทราบข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้านกําลังผลิตและความหลากหลายของพืชพันธุ์ใน
พื้นท่ีต่างๆ ของประเทศไทย สําหรับรูปแบบและวิธีการสํารวจใช้การสํารวจแบบแปลงตัวอย่าง (Plot) และวิธี
สุ่มตัวอย่างแบบสมํ่าเสมอ (Systematic Sampling) ในพื้นท่ีภาพถ่ายดาวเทียมท่ีมีการแปลสภาพว่าเป็นป่า
โดยให้แต่ละแปลงตัวอย่างมีระยะห่างเท่าๆ กัน บนเส้นกริดแผนที่ (Grid) ได้แก่ 10x10 กิโลเมตร, 5x5 กิโลเมตร,
3x3 กิโลเมตร และ 2.5x2.5 กิโลเมตร แตกต่างกันไปตามปีงบประมาณและพ้ืนที่ท่ีได้รับการสุ่ม โดยระบบ
Datum ของแผนที่สํารวจส่วนใหญ่ จะเป็น Indian Thailand 1975 ส่วนปีงบประมาณท่ีใช้ระบบ Datum
เปน็ WGS 84 คือ ต้ังแตป่ งี บประมาณ 2555 เปน็ ตน้ ไป

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นท่อี ทุ ยานแห่งชาตภิ ูสระดอกบัว

2

วัตถุประสงค์

1. เพ่ือให้ทราบข้อมูลพ้ืนฐานเก่ียวกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้านกําลังผลิต และความ
หลากหลายของพชื พันธ์ใุ นพน้ื ทอ่ี นรุ ักษ์ตา่ งๆ ของประเทศไทย

2. เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ เกี่ยวกับรูปแบบ วิธีการสํารวจ และการ
วิเคราะหข์ ้อมูลอย่างเป็นระบบและแบบแผน

3. เพอื่ เป็นแนวทางในการวางระบบติดตามการเปลี่ยนแปลงของทรพั ยากรป่าไม้ในพ้นื ที่
4. เพ่ือให้ได้ข้อมูลพื้นฐานเก่ียวกับพรรณไม้เด่นและชนิดไม้มาใช้ในการวางแผนเพาะชํากล้าไม้
เพ่อื ปลกู เสรมิ ปา่ ในแตล่ ะพน้ื ท่ี

เปา้ หมายการดาํ เนนิ งาน

ปีงบประมาณ พ.ศ.2557 ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพื้นท่ี
อนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้จัดสรรงบประมาณการดําเนินงานและกําหนดพ้ืนท่ี
สํารวจเป้าหมายในพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูสระดอกบัว ซึ่งมีพื้นที่ครอบคลุมท้องท่ีอําเภอนิคมคําสร้อย อําเภอ
ดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร อําเภอชานุมาน และอําเภอเสนางคนิคม จังหวัด
อํานาจเจริญ ซ่ึงอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ท่ี 9 (อุบลราชธานี) รวมจํานวน
27 แปลง

การสํารวจใช้การวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ท่ีมีขนาดคงที่ รูปวงกลม
3 วง ซ้อนกัน คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลําดับ และมีวงกลมขนาดรัศมี
0.631 เมตร อยู่ตามทิศหลักท้ัง 4 ทิศ โดยจุดศูนย์กลางของวงกลมทั้ง 4 ทิศ จะอยู่บนเส้นรอบวงกลมของ
วงกลมรัศมี 3.99 เมตร จํานวนทั้งส้ิน 27 แปลง และทําการเก็บข้อมูลการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ต่างๆ อาทิ
เช่น ชนิดไม้ ขนาดความโต ความสูง จํานวนกล้าไม้และลูกไม้ ชนิดป่า ลักษณะต่างๆ ของพ้ืนท่ีที่ต้นไม้ขึ้นอยู่
ข้อมูลลักษณะภูมิประเทศ เช่น ระดับความสูง ความลาดชัน เป็นต้น ตลอดจนการเก็บข้อมูลองค์ประกอบร่วม
ของป่า เช่น ไม้ไผ่ หวาย ไม้พุ่ม เถาวัลย์ และพืชชั้นล่าง แล้วนํามาวิเคราะห์และประมวลผลเพ่ือให้ทราบเนื้อที่
ป่าไม้ ชนิดป่า ชนิดไม้ ปริมาณ และความหนาแน่นของหมู่ไม้ กําลังผลิตของป่า ตลอดจนการสืบพันธ์ุตาม
ธรรมชาตขิ องหมไู่ ม้ในป่าน้นั

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ที่อุทยานแห่งชาติภสู ระดอกบัว

3

ข้อมูลท่วั ไปอทุ ยานแห่งชาตภิ ูสระดอกบัว

ประวตั คิ วามเป็นมา

ในอดีตประมาณปี พ.ศ. 2508 - 2525 พื้นท่ีป่าอันอุดมสมบูรณ์แห่งน้ี เคยเป็นที่แทรกซึมของ
ผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ (ผกค.) นับได้ว่าเป็นขุมกําลังท่ีมีความสําคัญอีกแห่งหนึ่งของประเทศ จึงไม่มีราษฎร
บุกรุกเข้าทํากินในพื้นท่ี ในปี พ.ศ. 2525 เม่ือเหตุการณ์คล่ีคลายลง ผกค. เข้ามอบตัวต่อทางราชการ ทางการ
จึงจัดสรรที่ดินทํากินให้กับราษฎรบริเวณบ้านน้อมเกล้า ตําบลบุ่งค้า อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร และที่
บา้ นภูผาหอม ตาํ บลเหลา่ หมี อาํ เภอดอนตาล จงั หวัดมุกดาหาร

จากนั้นปัญหาต่างๆ ด้านป่าไม้ก็ตามมาไม่ว่าจะเป็นการจับจอง บุกรุก แผ้วถางป่าการลักลอบ
ตัดไมท้ ําลายปา่ ด้วยเกรงวา่ ปญั หาเหล่านี้จะลกุ ลามออกไป ในช่วงปี พ.ศ. 2525 ป่าไม้อําเภอดอนตาล ได้เสนอ
เร่ืองต่อจังหวัดมุกดาหาร และป่าไม้อําเภอเลิงนกทา ได้รวบรวมข้อมูลเก่ียวกับภูลํากลาง ภูสระดอกบัว และ
ภูผาแต้ม เพ่ือเสนอเร่ืองต่อทางจังหวัดยโสธร ให้จัดเป็นแหล่งท่องเที่ยว จากเหตุผลความเหมาะสม
นานับประการ ก่อประโยชน์ท้ังความมุ่งม่ันท่ีจะอนุรักษ์ผืนป่าแห่งนี้ไว้เป็นสมบัติของชาติ และอนุชนรุ่นหลังได้
เป็นแหลง่ ศกึ ษาหาความรู้ ท้งั ยงั เปน็ สถานที่พักผอ่ นหยอ่ นใจของผ้คู นโดยท่วั ไป

กองอุทยานแห่งชาติ จึงทําการสํารวจอย่างจริงจัง ในปี พ.ศ.2531 และเร่ิมดําเนินการจัดต้ัง ต้ังแต่ปี
พ.ศ. 2532 เป็นต้นมา ซึ่งได้ประกาศให้เป็นอุทยานแห่งชาติโดยได้มีพระราชกฤษฎีกากําหนดท่ีดินป่าดงบังอี่
แปลงท่ีสาม และป่าดงบงั อี่ แปลงทส่ี ี่ ในทอ้ งท่ีตําบลดงเยน็ อาํ เภอเมืองมกุ ดาหาร ตําบลนาอดุ ม ตาํ บลนิคมคําสร้อย
ตาํ บลโชคชัย อําเภอนิคมคาํ สร้อย และตําบลเหลา่ หมี ตําบลป่าไร่ ตําบลบา้ นบาก อําเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร
ป่าดงบังอีใ่ นท้องท่ีตําบลกุดแห่ ตําบลบ่งุ คา้ อําเภอเลงิ นกทา จังหวัดยโสธร ปา่ ดงบงั อฝี่ ั่งซ้ายหว้ ยทม ในทอ้ งทต่ี าํ บล
คําเข่ือนแก้ว อําเภอชานุมาน จังหวัดอุบลราชธานี และป่าดงหัวกอง และป่าดงบังอี่ ในท้องท่ีตําบลเสนางคนิคม
ตําบลโพนทอง ตําบลหนองไฮ อําเภอเสนางคนิคม จังหวัดอุบลราชธานี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 109
ตอนที่ 126 ลงวันท่ี 30 ธันวาคม 2535 นับเปน็ อทุ ยานแหง่ ชาตลิ ําดบั ท่ี 75 ของประเทศไทย

ที่ตงั้ และอาณาเขต

อทุ ยานแห่งชาติภูสระดอกบัว มีท่ีทําการต้ังอยู่บริเวณอ่างเก็บนํ้าหินข้อ บ้านหนองเม็ก ตําบลป่าไร่
อําเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร บนพิกัด 476969E และพิกัด 1794364N (ใช้ระบบ Datum เป็น Indian
Thailand 1975) อยู่ห่างจากจังหวัดมุกดาหาร ประมาณ 60 กิโลเมตร มีเน้ือที่อยู่บนแนวเขตรอยต่อ 3 จังหวัด
คือ อําเภอนิคมคําสร้อย อําเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร อําเภอชานุมาน และ
อาํ เภอเสนางคนิคม จังหวัดอํานาจเจรญิ มเี น้อื ท่ีประมาณ 144,375 ไร่ หรือ 231 ตารางกิโลเมตร

การเดนิ ทางและเส้นทางคมนาคม

เดินทางจากกรุงเทพมหานคร - ผ่านอําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร ไปยังอําเภอดอนตาล จังหวัด
มกุ ดาหาร (ทางหลวงจังหวดั หมายเลข 2277) ระหว่างหลักกิโลเมตรท่ี 22-23 แยกเข้าไปทางทิศเหนือประมาณ 1

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พนื้ ทอี่ ทุ ยานแห่งชาติภสู ระดอกบัว

4

กิโลเมตร ถึงท่ีทําการอุทยานแห่งชาติภูสระดอกบัว ซึ่งต้ังอยู่บริเวณอ่างเก็บนํ้าห้วยหินข้อ บ้านหนองเม็ก ตําบล
ป่าไร่ อําเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร อยู่ห่างจากจังหวัดมุกดาหาร ประมาณ 60 กิโลเมตร, อยู่ห่างจากอําเภอ
เลิงนกทา จังหวัดยโสธร ประมาณ 28 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากอําเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร ประมาณ 22
กโิ ลเมตร

ภาพท่ี 1 ที่ตงั้ และเสน้ ทางการเดินทาง
ลักษณะภูมปิ ระเทศ

สภาพภมู ปิ ระเทศโดยทว่ั ไปเปน็ เทือกเขาสลบั ซับซ้อนของเทือกเขาหลายๆ ลูกเทือกเขาเหล่าน้ีเป็น
ส่วนหน่ึงของเทือกเขาใหญ่ท่ีเรียกว่า เทือกเขาภูพาน ทอดตัวเป็นแนวยาว จากทิศตะวันตกเฉียงเหนือลงสู่ทิศ
ตะวันออกเฉียงใต้ โดยแบ่งที่ราบสูงโคราชออกเป็น 2 แอ่ง ทางตอนเหนือ คือ แอ่งสกลนคร ส่วนทางตอนใต้
เปน็ แอ่งใหญ่ คือ แอ่งโคราช–อุบล ลักษณะของหินและการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกที่เป็นมาในอดีตภายใน
เขตอุทยานแห่งชาติภูสระดอกบัว ก่อให้เกิดจุดสนใจทางด้านการศึกษาทั้งทางธรณีวิทยาและทางภูมิศาสตร์
โดยเฉพาะการเกิดการชะล้างของหินทราย ทําให้มีหน้าผา บ่อรูปหม้อ (Pothole) หรือแอ่งหินบนยอดเขา และ
การเกิดรอยแตกของหิน (Fault) ซ่ึงพื้นที่ดังกล่าวน้ี นอกจากจะกลายเป็นแหล่งท่องเท่ียวแล้ว ยังเป็นสถานที่
ศึกษาทางด้านการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติได้อีกด้วย การเปล่ียนแปลงภายในและภายนอกของเปลือกโลก
จากอดีตจนถึงปัจจุบันทําให้อุทยานแห่งชาติภูสระดอกบัว เกิดมีภูเขาต่างๆ มากมาย เช่น ภูหมู ภูแผงม้า
ภูไม้ซาง ภูของ ภูอัครอาด ภูตาเฟีย ภูผาด่าง ภูผาหอม ภูโป่งเปือย ภูหนาด ภูกะซะ ภูหัวนาค ภูผาสะเงาะ
ภสู ะลุน ภถู าํ้ พระ ภสู ระดอกบวั เหลา่ นี้ เรยี งตัวประกอบขน้ึ เปน็ ส่วนหน่ึงของโครงสร้างขนาดเลก็ ทางธรณีวิทยา
รูปเรือคว่ําซึ่งทอดตัวในแนวเดียวกับเทือกเขาใหญ่ภูพาน โดยโครงสร้างขนาดเล็กน้ีมีการเอียงเทไปทางทิศ
ตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งประกอบด้วยป่าอันอุดมสมบูรณ์หลายชนิด พ้ืนท่ีหลายแห่งมีลานหินขนาดใหญ่ ชาวท้องถิ่น
เรียกว่า “ดาน” กระจายอยู่ตามยอดเขาต่างๆ และบนยอดเขาภูสระดอกบัวมีแอ่งหินขนาดความกว้างประมาณ
5-6 เมตร ลึกประมาณ 2 เมตร มีดอกบัวซ่ึงเป็นดอกบัวที่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติเป็น “ดอกบัวเผื่อน” มีสีขาว
แซมด้วยสีชมพูอ่อน กระจายตามแอ่งบัวจึงเป็นท่ีมาของอุทยานแห่งชาติภูสระดอกบัว นอกจากนั้นยังมี

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตภิ สู ระดอกบัว

5

ยอดภูไม้ซางเป็นยอดเขาสูงสุดประมาณ 494 เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลาง ยอดภูเขาอ่ืนๆ มีความสูงเฉล่ีย
ประมาณ 350-450 เมตร พื้นที่เหล่านี้ยังเป็นแหล่งกําเนิดต้นนํ้าลําธารหลายสาย เช่น ห้วยทม ห้วยไห ห้วยตูบ
ห้วยก้านเหลือง ห้วยลํากลาง ห้วยข้ีเหล็ก ห้วยหินขัว ห้วยจิงหิง เป็นต้น ลําธารเหล่าน้ีไหลลงสู่พื้นราบ รายรอบ
พื้นท่ีอุทยานแห่งชาติ ซึ่งราษฎรที่อยู่โดยรอบอุทยานแห่งชาติภูสระดอกบัว ใช้อุปโภค บริโภค และทําการเกษตร
ตง้ั แตอ่ ดตี จนถงึ ปัจจบุ ัน

ลกั ษณะภมู อิ ากาศ
สภาพภมู อิ ากาศแบ่งออกเป็น 3 ฤดู คือ
1. ฤดฝู น ระหวา่ ง เดอื นพฤษภาคม - เดอื นตลุ าคม จะมีฝนตกชุก ในเดอื นสิงหาคม
2. ฤดูหนาว ระหวา่ ง เดอื นพฤศจิกายน - เดอื นมกราคม อุณหภมู ติ าํ่ สดุ ในเดอื นธันวาคม
3. ฤดรู อ้ น ระหวา่ ง เดอื นกุมภาพันธ์ - เดอื นเมษายน อณุ หภูมิสงู สุด ในเดอื นมีนาคม

แหล่งท่องเท่ียวท่นี า่ สนใจ

อุทยานแห่งชาติภูสระดอกบัว มีสภาพธรรมชาติที่หลากหลาย ประกอบไปด้วยทิวทัศน์ท่ีสวยงาม
ความวิจิตรพิศดารของหินผา มีความเด่นเป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง ตลอดจนร่องรอยของการต่อสู้อันเกิดจาก
การขัดแย้งทางการเมือง จงึ ทําใหพ้ ืน้ ทีแ่ หง่ นีม้ ศี ักยภาพทางการท่องเที่ยวท่นี า่ สนใจอีกแหง่ หนึ่ง ได้แก่

1. ภูผาแต้ม เป็นแหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติด้านประวัติศาสตร์ ประกอบด้วยรูปรอยฝ่ามือ
และภาพเขียนสีโบราณก่อนประวัติศาสตร์ สันนิษฐานว่า เป็นยุคเดียวกับภาพเขียนสีของอุทยานแห่งชาติ
มุกดาหาร (ภูผาเทิบ) และอุทยานแห่งชาติภูผาแต้ม จังหวัดอุบลราชธานี ภาพเขียนสีและรอยฝ่ามือนี้มีอยู่ที่
เพิงผาของภูผาแต้ม ซึ่งมีลักษณะคล้ายถํ้า เพราะหินไหลลื่นลงมา ภาพเหล่านี้จึงอยู่สูงจากพ้ืนถ้ํา ประมาณ 7-12
เมตร และถํ้านี้ยาวประมาณ 60 เมตร นอกจากน้ียังมีถ้ํายาวถึง 400 เมตร เป็นถํ้าธารลอดอยู่บนหลังผาแต้ม
ถํ้าเต่าพนั ปี ยาว 400 เมตร ถํ้าคอ้ ยาว 200 เมตร ถาํ้ ไทรยอ้ ย ยาว 100 เมตร

2. ผามะเกลือ เป็นจุดชมวิวและที่พักผ่อนหย่อนใจอยู่ใกล้บริเวณภูผาแต้ม มีลักษณะเป็นลานหิน
ใต้เพิงผา ร่มรื่นไปด้วยแมกไม้เหมาะสําหรับน่ังเล่นและพักผ่อนลานหินบนภูวัด แหล่งท่องเที่ยวของชาวท้องถิ่น
โดยรอบภูผาแต้ม ในช่วงฤดูแล้ง วันสงกรานต์และวันสําคัญทางศาสนา สถานที่แห่งนี้เป็นที่สําหรับประกอบพิธีทาง
ศาสนา มชี าวบ้านมาชุมนุมกันเปน็ จํานวนมาก

3. ภูผาแตก ภูผาแตกหรือชื่อทางยุทธการสงครามว่า “เนิน 420” เป็นแหล่งที่มีการต่อสู้ในอดีต
กับผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ ที่น่ีเป็นจุดชมวิวท่ีมีองค์ประกอบทางธรรมชาติสวยงามมาก ทางด้านทิศเหนือ
สามารถมองเห็นทวิ เขาของอทุ ยานแห่งชาติมกุ ดาหารในระยะไกล

4. ภูผาหอม เป็นจุดชมวิวท่ีสวยงามมากของเทือกเขาภูผาแต้ม จุดนี้สามารถมองเห็นทิวทัศน์ได้
ในระยะไกลไปทางทิศตะวนั ตก มีความสงู ประมาณ 386 เมตร จากระดับนาํ้ ทะเล เบือ้ งหนา้ จะมองเหน็ ยอดเขา
ภูหมู ภูแผงม้า ภูไม้ซาง ภูของ ภูอัครชาด ในยามเย็นท่ีจุดน้ีมีผู้นิยมมาชมพระอาทิตย์ตก เพื่อเก็บภาพอันน่า
ประทับใจ และพกั คา้ งแรมกันมาก

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พนื้ ท่ีอทุ ยานแห่งชาตภิ สู ระดอกบัว

6

5. ภูสระดอกบัว เป็นภูเขาท่ีมีความสูงประมาณ 423 เมตร บนรอยต่อเขต 3 จังหวัด ที่ยอด
ภูสระดอกบัว มีแอ่งหินขนาดกว้างประมาณ 2-3 เมตร ลึกประมาณ 1 เมตร อยู่ 5-6 แอ่ง มีนํ้าขังตลอดปี
มีบัวพันธ์ุขนาดเล็กข้ึนอยู่เต็มสระ เมื่อออกดอกจะดูสวยงามมาก ชาวบ้านเล่ากันว่ามีบัวข้ึนอยู่อย่างนี้มานาน
แล้วและเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ จึงได้ช่ือว่า “ภูสระดอกบัว” และบริเวณเดียวกันมีถํ้าขนาดใหญ่เคยเป็นที่อยู่
อาศัยของ ผกค. สามารถจคุ นได้ถงึ 100 คน

6. ภูหมู เป็นจุดชมทิวทัศน์ท่ีนักท่องเที่ยงนิยมขึ้นไป เพราะมีอากาศเย็นสบายตลอดปี ในสมัย
สงครามเวียดนาม ทหารอเมรกิ ันเคยใชเ้ ป็นทีต่ ้งั สถานสี อื่ สาร

7. ลานหนิ และป่าเต็งรังแคระ พบทั่วไปและมีอยู่มาก เป็นลานหินยาวและใหญ่ บางแห่งมีขนาด
20 - 40 ไร่ สลับกับป่าเต็งรังแคระ บางแห่งเป็นป่าเต็งรังสลับป่าหญ้าเพ็ก มองดูสวยงามมากพบอยู่หลายแห่ง
เช่น หลังภวู ดั หลังภผู าหอม หลงั ภูสระดอกบวั ภกู กบก ภหู ัวนาค เปน็ ตน้

ภาพท่ี 2 “ดอกบัวเผือ่ น” ในแอ่งหินซ่งึ เกดิ ข้นึ เองตามธรรมชาติ

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นทอี่ ทุ ยานแห่งชาติภูสระดอกบัว

7

ภาพท่ี 3 ผาคอยนาง

ภาพที่ 4 “ทงุ่ ดอกไมป้ ่า” ณ ภูผาด่าง

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ที่อทุ ยานแหง่ ชาติภสู ระดอกบัว

8

ภาพที่ 5 “ภาพเขยี นสีโบราณ 3,000 ป”ี ณ ภผู าแตม้

ภาพท่ี 6 ภูผาหอม

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาติภูสระดอกบัว

9

รูปแบบและวิธกี ารสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ในแต่ละจังหวัดทั่วประเทศไทย ดําเนินการโดยกลุ่มสํารวจทรัพยากร
ป่าไม้ ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพ้ืนที่อนุรักษ์ และสํานักบริหารพ้ืนท่ี
อนุรกั ษต์ า่ งๆ ในสังกัดกรมอุทยานแห่งชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธุ์พชื
การสุม่ ตัวอย่าง (Sampling Design)

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบสม่ําเสมอ (Systematic Sampling) ในพ้ืนท่ี
ท่ีภาพถ่ายดาวเทียมแปลว่ามีสภาพเป็นป่า โดยให้แต่ละแปลงตัวอย่าง (Sample plot) มีระยะห่างเท่าๆ กัน
โดยกําหนดให้แต่ละแปลงห่างกัน 2.5 x 2.5 กิโลเมตร เริ่มจากการสุ่มกําหนดแปลงตัวอย่างแรกบนเส้นกริด
แผนที่ (Grid) ลงบนขอบเขตแผนที่ประเทศไทยมาตราส่วน 1:50,000 ให้มีระยะห่างระหว่างเส้นกริดทั้งแนวต้ัง
และแนวนอนเท่ากับ 2.5x2.5 กิโลเมตร คือ ระยะช่องกริดในแผนท่ีเท่ากับ 10 ช่อง จุดตัดของเส้นกริดทั้งสอง
แนวก็จะเป็นตําแหน่งท่ีต้ังของแปลงตัวอย่างแต่ละแปลง เม่ือดําเนินการเสร็จสิ้นแล้ว จะทราบจํานวนหน่วย
ตัวอย่าง และตําแหน่งท่ีตั้งของหน่วยตัวอย่าง โดยลักษณะของแปลงตัวอย่างและขนาดของแปลงตัวอย่าง
ดังภาพท่ี 7

ภาพที่ 7 ลกั ษณะและขนาดของแปลงตวั อย่าง
รูปร่างและขนาดของแปลงตวั อยา่ ง (Plot Design)

แปลงตัวอย่าง (Sample Plot) ที่ใช้ในการสํารวจท้ังแปลงตัวอย่างถาวรและแปลงตัวอย่าง
ช่วั คราว เป็นแปลงที่มีขนาดคงที่ (Fixed – Area Plot) และมีรูปรา่ ง 2 ลักษณะดว้ ยกนั คือ

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนท่อี ุทยานแห่งชาตภิ สู ระดอกบัว

10

1. ลกั ษณะรปู วงกลม (Circular Plot)

1.1 รูปวงกลมท่ีมีจุดศูนย์กลางร่วมกัน รัศมีแตกต่างกัน จํานวน 3 วง คือ วงกลมรัศมี 3.99,
12.62 และ 17.84 เมตร ตามลําดบั

1.2 รูปวงกลมท่ีมีรัศมีเท่ากัน จุดศูนย์กลางต่างกัน จํานวน 4 วง รัศมี 0.631 เมตร เท่ากัน
โดยจดุ ศนู ย์กลางของวงกลมอยูบ่ นเส้นรอบวงของวงกลมรศั มี 3.99 เมตร ตามทิศหลักทงั้ 4 ทศิ

2. ลักษณะแบบแนวเส้นตรง (Intersect Line) จํานวน 2 เส้น ความยาวเส้นละ 17.84 เมตร
โดยมีจุดเริ่มต้นร่วมกัน ณ จุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่างทํามุมฉากซึ่งกันและกัน ซึ่งตัวมุม Azimuth ของเส้นที่ 1
ไดจ้ ากการสุม่ ตวั อยา่ ง

ขนาดของแปลงตัวอย่างและขอ้ มูลท่ีทาํ การสาํ รวจ

ขนาดของแปลงตัวอย่าง และขอ้ มลู ท่ที ําการสํารวจแสดงรายละเอยี ดไวใ้ นตารางท่ี 1

ตารางท่ี 1 ขนาดของแปลงตัวอยา่ งและขอ้ มูลท่ดี ําเนนิ การสาํ รวจ

รศั มขี องวงกลม หรือ จํานวน พื้นทหี่ รอื ความยาว ข้อมลู ท่ีสาํ รวจ
ความยาว (เมตร) 0.0005 เฮกตาร์
4 วง 0.0050 เฮกตาร์ กลา้ ไม้
0.631 1 วง ลูกไมแ้ ละการปกคลุมพน้ื ที่ของกล้าไม้
3.99 0.0500 เฮกตาร์ และลูกไม้
0.1000 เฮกตาร์ ไมไ้ ผ่ หวายทีย่ งั ไมเ่ ลอื้ ย และตอไม้
12.62 1 วง ต้นไม้ และตรวจสอบปัจจยั ท่รี บกวน
17.84 1 วง 17.84 เมตร พนื้ ทีป่ ่า
Coarse Woody Debris (CWD)
17.84 (เสน้ ตรง) 2 เส้น หวายเล้ือย และไม้เถา ที่พาดผ่าน

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ทอ่ี ุทยานแห่งชาติภสู ระดอกบัว

11

การวิเคราะห์ขอ้ มูลการสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้

ข้อมูลท่รี วบรวมไดจ้ ากภาคสนามประกอบด้วย ขอ้ มลู เชงิ ปริมาณ (ตัวเลข) และข้อมูลเชิงคุณภาพ
(ขอ้ ความ) ซงึ่ จะนํามาทาํ การวิเคราะหด์ ังตอ่ ไปน้ี

1. การคํานวณเนอื้ ทปี่ า่ และปรมิ าณไมท้ งั้ หมดของแต่ละพื้นทีอ่ นรุ ักษ์

1.1 ใช้ขอ้ มูลพื้นทอ่ี นรุ ักษ์จากแผนท่แี นบท้ายกฤษฎกี าของแต่ละพืน้ ที่อนรุ ักษ์
1.2 ใช้สัดส่วนจํานวนแปลงตัวอย่างท่ีพบในแต่ละชนิดป่า เปรียบเทียบกับจํานวนแปลงตัวอย่างท่ี
วางแปลงทั้งหมดในแต่ละพ้ืนท่ีอนุรักษ์ ที่อาจจะได้ข้อมูลจากภาคสนาม หรือการดูจากภาพถ่ายดาวเทียมหรือ
ภาพถ่ายทางอากาศ มาคํานวณเปน็ เนือ้ ทป่ี า่ แตล่ ะชนดิ โดยนาํ แปลงตัวอย่างที่วางแผนไวม้ าคาํ นวณทกุ แปลง

1.3 แปลงตัวอย่างที่ไม่สามารถดําเนินการได้ ก็ต้องนํามาคํานวณด้วย โดยทําการประเมินลักษณะ
พ้ืนท่วี า่ เป็น หน้าผา นาํ้ ตก หรอื พืน้ ทอ่ี น่ื ๆ เพ่อื ประกอบลักษณะการใช้ประโยชนท์ ีด่ นิ

1.4 ปรมิ าณไม้ท้ังหมดของพื้นท่ีอนุรักษ์ เป็นการคํานวณโดยใช้ข้อมูลเนื้อท่ีอนุรักษ์จากแผนท่ีแนบ
ทา้ ยกฤษฎกี าของแตล่ ะพืน้ ท่อี นรุ ักษ์ ซึ่งบางพ้นื ท่อี นุรักษม์ ขี อ้ มูลเน้อื ที่คลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริงและส่งผลต่อ
การคาํ นวณปริมาณไมท้ ้ังหมด ทําให้การคาํ นวณปริมาณไม้เปน็ การประมาณเบอื้ งตน้

2. การคาํ นวณปรมิ าตรไม้
สมการปริมาตรไม้ท่ีใช้ในการประเมินการกักเก็บธาตุคาร์บอนในพื้นที่ป่าไม้ แบบวิธี Volume

based approach โดยแบง่ กล่มุ ของชนิดไม้เปน็ จาํ นวน 7 กลุม่ ดงั น้ี

2.1 กลุ่มท่ี 1 ได้แก่ ยาง เต็ง รัง เหียง พลวง กระบาก เค่ียม ตะเคียน สยา ไข่เขียว พะยอม
จันทนก์ ะพ้อ สนสองใบ

สมการทีไ่ ด้ ln V = 2.372083 + 2.443847 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 188

2.2 กลุ่มท่ี 2 ได้แก่ กระพี้จ่ัน กระพี้เขาควาย เก็ดดํา เก็ดแดง เก็ดขาว เถาวัลย์เปรียง พะยูง
ชงิ ชัน กระพี้ ถอ่ น แดง ขะเจา๊ ะ แคทราย แคฝอย และสกลุ มะเกลือ

สมการท่ไี ด้ ln V = 2.134494 + 2.363034 ln (DBH/100)
R2 = 0.91, sample size = 135

2.3 กลุ่มที่ 3 ได้แก่ รกฟ้า สมอพิเภก สมอไทย หูกวาง หูกระจง ตีนนก ข้ีอ้าย กระบก ตะคร้ํา
ตะคร้อ ตาเสือ ค้างคาว สะเดา ยมหอม ยมหิน กระท้อน เลี่ยน มะฮอกกานี ข้ีอ้าย ตะบูน ตะบัน รัก ติ้ว
สะแกแสง ปู่เจา้ และไม้สกุลส้าน เสลา อินทนลิ ตะแบก ชะมวง สารภี บุนนาค

สมการท่ไี ด้ ln V = 1.880578 + 2.053321 ln (DBH/100)
R2 = 0.89, sample size = 186

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติภูสระดอกบัว

12

2.4 กลุ่มที่ 4 ได้แก่ กางข้ีมอด คูน พฤกษ์ มะค่าโมง นนทรี กระถินพิมาน มะขามป่า หลุมพอ
และสกลุ ขี้เหลก็

สมการทไ่ี ด้ ln V = 1.789563 + 2.025666 ln (DBH/100)
R2 = 0.90, sample size = 36

2.5 กลุ่มที่ 5 ไดแ้ ก่ สกุลประดู่ เตมิ
สมการทไ่ี ด้ ln V = 2.037096 + 2.299618 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 99

2.6 กล่มุ ที่ 6 ได้แก่ สกั ตีนนก ผ่าเสยี้ น หมากเล็กหมากน้อย ไข่เนา่ กระจบั เขา กาสามปกี สวอง
สมการทีไ่ ด้ ln V = 2.119907 + 2.296511 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 186

2.7 กลุ่มที่ 7 ได้แก่ ไม้ชนิดอ่ืนๆ เช่น กุ๊ก ขว้าว ง้ิวป่า ทองหลางป่า มะม่วงป่า ซ้อ โมกมัน
แสมสาร และไม้ในสกุลปอ ก่อ เปลา้ เป็นต้น

สมการทไ่ี ด้ ln V = 2.250111 + 2.414209 ln (DBH/100)
R2 = 0.93, sample size = 138

โดยท่ี V คือ ปรมิ าตรสว่ นลาํ ต้นเม่ือตัดโคน่ ทค่ี วามสูงเหนือดิน (โคน) 10 เซนตเิ มตร
ถงึ ก่งิ แรกทีท่ าํ เปน็ สินคา้ ได้ มีหนว่ ยเปน็ ลูกบาศก์เมตร

DBH มีหนว่ ยเป็นเซนติเมตร
Ln = natural logarithm

3. การวิเคราะหข์ อ้ มลู ทว่ั ไป
ข้อมูลท่ัวไปท่ีนําไปใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ที่ตั้ง ตําแหน่ง ช่วงเวลาท่ีเก็บข้อมูล ผู้ที่ทําการเก็บ

ขอ้ มูล ความสงู จากระดับนาํ้ ทะเล และลักษณะการใชป้ ระโยชน์ทด่ี ิน เปน็ ต้น โดยขอ้ มูลเหลา่ น้จี ะใช้ประกอบใน
การวเิ คราะห์ประเมินผลรว่ มกบั ข้อมูลดา้ นอืน่ ๆ เพอ่ื ตดิ ตามความเปลย่ี นแปลงของพ้ืนท่ีในการสํารวจทรัพยากร
ป่าไม้คร้งั ตอ่ ไป
4. การวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหมู่ไม้

4.1 ความหนาแนน่
4.2 ปริมาตร
5. การวิเคราะหข์ อ้ มลู ชนดิ และปรมิ าณของลูกไม้ (Sapling) และกลา้ ไม้ (Seeding)

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นทอ่ี ทุ ยานแห่งชาติภูสระดอกบัว

13

6. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ชนดิ และปรมิ าณของไม้ไผ่ หวาย
6.1 ความหนาแน่นของไม้ไผ่ (จํานวนกอ และ จาํ นวนลาํ )
6.2 ความหนาแนน่ ของหวายเส้นตง้ั (จํานวนเส้น)

7. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู สังคมพืช
โดยมรี ายละเอียดการวิเคราะห์ขอ้ มลู ดงั นี้
7.1 ความหนาแน่นของพรรณพืช (Density : D) คือ จํานวนต้นไม้ท้ังหมดของชนิดพันธุ์ท่ีศึกษาท่ี

ปรากฏในแปลงตัวอยา่ งต่อหนว่ ยพ้นื ท่ีทท่ี ําการสํารวจ

D= จาํ นวนต้นของไม้ชนิดน้ันทงั้ หมด
.

พน้ื ทแี่ ปลงตวั อย่างทง้ั หมดทที่ ําการสํารวจ

7.2 ความถ่ี (Frequency : F) คอื อัตราร้อยละของจาํ นวนแปลงตัวอย่างทีป่ รากฏพนั ธไ์ุ ม้
ชนดิ นน้ั ตอ่ จํานวนแปลงท่ีทําการสาํ รวจ

F = จํานวนแปลงตวั อยา่ งที่พบไมช้ นิดทก่ี ําหนด X 100
จาํ นวนแปลงตัวอยา่ งท้งั หมดทีท่ ําการสํารวจ

7.3 ความเดน่ (Dominance : Do) ใชค้ วามเดน่ ด้านพื้นที่หนา้ ตดั (Basal Area : BA)
หมายถึง พ้ืนทห่ี นา้ ตดั ของลําตน้ ของตน้ ไม้ทว่ี ดั ระดับอก (1.30 เมตร) ต่อพืน้ ทท่ี ท่ี ําการสํารวจ

Do = พ้ืนทหี่ น้าตัดทัง้ หมดของไม้ชนดิ ทีก่ ําหนด X 100
พื้นที่แปลงตวั อยา่ งท่ที าํ การสาํ รวจ

7.4 คา่ ความหนาแน่นสัมพทั ธ์ (Relative Density : RD) คอื คา่ ความสัมพทั ธ์ของความ
หนาแน่นของไม้ทตี่ ้องการตอ่ ค่าความหนาแนน่ ของไม้ทุกชนดิ ในแปลงตัวอยา่ ง คดิ เป็นรอ้ ยละ

RD = ความหนาแน่นของไม้ชนดิ นน้ั X 100
ความหนาแน่นรวมของไมท้ กุ ชนิด

7.5 คา่ ความถีส่ มั พทั ธ์ (Relative Frequency : RF) คือ ค่าความสัมพัทธ์ของความถ่ีของชนิด
ไมท้ ต่ี ้องการต่อค่าความถีท่ ั้งหมดของไมท้ ุกชนิดในแปลงตัวอยา่ ง คดิ เปน็ ร้อยละ

RF = ความถข่ี องไมช้ นิดนั้น X 100
ความถร่ี วมของไมท้ กุ ชนิด

7.6 ค่าความเด่นสมั พทั ธ์ (Relative Dominance : RDo) คือ คา่ ความสมั พันธ์ของความเดน่
ในรปู พน้ื ทห่ี นา้ ตัดของไมช้ นดิ ท่กี ําหนดต่อความเดน่ รวมของไม้ทุกชนดิ ในแปลงตวั อยา่ ง คิดเปน็ รอ้ ยละ

RDo = ความเด่นของไมช้ นดิ นัน้ X 100
ความเดน่ รวมของไม้ทกุ ชนิด

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นทอี่ ุทยานแหง่ ชาตภิ ูสระดอกบัว

14

7.7 ค่าดชั นคี วามสาํ คัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) คือ ผลรวมของคา่
ความสมั พัทธ์ต่างๆ ของชนิดไม้ในสงั คม ได้แก่ ค่าความสมั พัทธด์ า้ นความหนาแน่น คา่ ความสัมพัทธ์ดา้ นความถี่
และค่าความสัมพัทธด์ ้านความเด่น

IVI = RD + RF + RDo

8. วิเคราะหข์ อ้ มูลความหลากหลายทางชวี ภาพ

โดยทําการวิเคราะห์คา่ ต่างๆ ดังน้ี

8.1 ความหลากหลายของชนิดพันธ์ุ (Species Diversity) วัดจากจํานวนชนิดพันธ์ุที่ปรากฏใน
สังคมและจํานวนต้นท่ีมีในแต่ละชนิดพันธ์ุ โดยใช้ดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener Index of
diversity ตามวธิ ีการของ Kreb (1972) ซ่งึ มสี ตู รการคํานวณดงั ตอ่ ไปนี้

s

H = ∑ (pi)(ln pi)

i=1

โดย H คอื คา่ ดชั นคี วามหลากชนิดของชนดิ พนั ธไ์ุ ม้
pi คอื สดั สว่ นระหวา่ งจํานวนต้นไม้ชนดิ ท่ี i ตอ่ จํานวนตน้ ไม้ทง้ั หมด
S คอื จาํ นวนชนิดพันธุ์ไม้ทั้งหมด

8.2 ความร่ํารวยของชนิดพันธ์ุ (Richness Indices) อาศัยความสัมพันธ์ระหว่างจํานวนชนิด
กับจํานวนต้นท้ังหมดท่ีทําการสํารวจ ซึ่งจะเพ่ิมข้ึนเมื่อเพ่ิมพ้ืนที่แปลงตัวอย่าง และดัชนีความร่ํารวย ท่ีนิยม
ใช้กัน คือ วิธีของ Margalef index และ Menhinick index (Margalef 1958, Menhinick 1964) โดยมีสูตร
การคํานวณดงั น้ี

1) Margalef index (R1)
R1 = (S-1)/ln(n)

2) Menhinick index (R2)

R2 = S/

เมื่อ S คอื จํานวนชนิดทั้งหมดในสังคม
n คอื จาํ นวนตน้ ทง้ั หมดทสี่ าํ รวจพบ

8.3 ความสม่ําเสมอของชนิดพันธุ์ (Evenness Indices) เป็นดัชนีท่ีตั้งอยู่บนสมมติฐานที่ว่า
ดัชนีความสม่ําเสมอจะมีค่ามากที่สุดเมื่อทุกชนิดในสังคมมีจํานวนต้นเท่ากันทั้งหมด ซึ่งวิธีการที่นิยมใช้กันมาก
ในหม่นู ักนิเวศวทิ ยา คือ วิธขี อง Pielou (1975) ซ่ึงมสี ูตรการคาํ นวณดงั นี้

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาติภูสระดอกบัว

15

E = H/ ln(S) = ln (N1)/ln (N0)

เม่ือ H คือ คา่ ดชั นีความหลากหลายของ Shannon-Wiener
S คอื จาํ นวนชนิดทง้ั หมด (N0)
N1 คือ eH

9. การศึกษาคุณค่าทางนิเวศวิทยา เป็นคุณค่าท่ีป่ามีองค์ประกอบ และหน้าท่ีตามสภาพธรรมชาติ ปราศจาก
การรบกวนหรือมีการรบกวนโดยเฉพาะจากมนุษย์น้อย ไม่ทําให้องค์ประกอบและหน้าท่ีเปล่ียนไปจากเดิมหรือ
เลวลงกว่าเดิม ซ่ึงการประเมินคุณค่าทางนิเวศวิทยารวมทั้งพิจารณาจากป่าในพื้นที่ที่ศึกษา แบ่งการพิจารณา
ดังนี้

9.1 องค์ประกอบของป่า (Structure) โดยพจิ ารณาจาก 4 ประเด็น ดงั น้ี
1) ชนิด หมายถึง จํานวนชนิดของป่า และชนิดของไม้ท่ีพบในบริเวณพ้ืนท่ีศึกษา

โดยอุทิศ กุฎอินทร์ (2536) กล่าวว่า พ้ืนที่ใดก็ตามท่ีมีความหลากหลายของชนิดพันธ์ุและความมากมายของ
จํานวนของส่ิงมีชีวิต ถือว่าพื้นท่ีนั้นมีความหลากหลายทางชีวภาพสูง และถือได้ว่าเป็นพื้นท่ีท่ีมีคุณค่าทางนิเวศ
สงู ดว้ ย

2) ปรมิ าณ หมายถงึ ความมากมายในด้านจาํ นวนของตน้ ไม้
3) สดั สว่ น หมายถงึ สัดสว่ นของตน้ ไมข้ นาดตา่ งๆ ที่กระจายอยู่ตามธรรมชาติ ซ่งึ ใน
สภาพปกตสิ ัดสว่ นของไม้ขนาดใหญ่มนี อ้ ยกวา่ ไมข้ นาดเล็ก ซ่ึงทาํ ให้การทดแทนของปา่ เปน็ ไปอย่างต่อเน่ืองและ
รักษาสมดลุ ของปา่ ใหค้ งอยู่ตลอดไป
4) การกระจาย หมายถึง การขยายหรือแพรพ่ นั ธุ์ของชนดิ ป่าและชนิดไมใ้ นบริเวณพ้ืนที่
ศึกษา
9.2 หนา้ ทขี่ องป่า (Function)
หน้าที่ของป่าไม้ที่สําคัญ คือ การเป็นผู้ผลิต (Producer) ในระบบนิเวศ โดยเป็นตัวกลางใน
การหมุนเวียนธาตุอาหารและถ่ายทอดพลังงานไปสู่ผู้บริโภคในระดับต่างๆ ป่าที่มีกระบวนการหมุนเวียนธาตุ
อาหารและถ่ายทอดพลงั งานอย่ตู ลอดเวลา ถือว่าเป็นป่าท่ีมคี ุณค่าทางนเิ วศสงู

9.3 กิจกรรมของมนษุ ย์
กิจกรรมของมนุษย์ท่ีมีผลกระทบต่อป่าประกอบไปด้วย กิจกรรมท่ีช่วยส่งเสริมความยั่งยืน

ของป่า เช่น การฟื้นฟูสภาพป่า การป้องกันรักษาป่า การปลูกป่าทดแทน เป็นต้น กิจกรรมใดๆ ท่ีช่วยส่งเสริม
ความย่ังยืนให้กับป่า ถือว่าพ้ืนที่นั้นมีคุณค่าทางนิเวศสูง ส่วนกิจกรรมที่ทําลายความย่ังยืนของป่า เช่น การบุกรุก
พ้นื ทีป่ ่า การตัดไม้ทาํ ลายป่า เปน็ ตน้

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้นื ทีอ่ ุทยานแหง่ ชาตภิ สู ระดอกบัว

16

9.4 คุณค่าของป่าในดา้ นการเปน็ พื้นทอ่ี นุรกั ษ์
คุณค่าด้านการเป็นพื้นที่อนุรักษ์ของพื้นท่ีลุ่มนํ้า เป็นพ้ืนที่รวมและอนุรักษ์พันธ์ุสัตว์ป่าและ

พันธุ์ไม้ป่าที่หายาก เป็นพ้ืนท่ีต้นน้ําลําธารท่ีใช้อุปโภคและบริโภคของชุมชนในพื้นที่และบริเวณข้างเคียง อีกท้ัง
ยงั เปน็ แหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาตทิ ่ีสวยงาม
10. การประเมินสถานภาพทรัพยากรป่าไม้ ผู้เช่ียวชาญได้แบ่งสถานภาพของระบบส่ิงแวดล้อมออกเป็น 4
สถานภาพ ซงึ่ แตล่ ะสถานภาพมลี ักษณะดังน้ี

10.1 ระดับสมดุลธรรมชาติ (Nature) หมายถึง ทรัพยากรป่าไม้ไม่ถูกรบกวนจากปัจจัยต่างๆ
มีองค์ประกอบหลากหลาย ท้ังชนิดและปริมาณในอัตราส่วนท่ีเหมาะสม ซ่ึงสามารถทําหน้าท่ีได้ปกติ
ตามธรรมชาติ

10.2 ระดับเตือนภัย (Warning) หมายถึง โครงสร้างและองค์ประกอบบางส่วนของทรัพยากร
ป่าไมถ้ ูกรบกวนทาํ ให้การทําหนา้ ท่ีของระบบไม่สมบรู ณ์ แต่สามารถกลบั ตวั ฟืน้ สสู่ ภาพเดิมไดใ้ นเวลาไมน่ าน

10.3 ระดับเสี่ยงภัย (Risky) หมายถึง มีการรบกวนโครงสร้าง และองค์ประกอบของทรัพยากร
ปา่ ไม้ ทาํ ใหบ้ างส่วนมจี าํ นวนลดลง และมีชนิดอ่ืนเข้ามาทดแทน หรือมีบางอย่างมีจํานวนมากเกินไป ทําให้การ
ทาํ งานของระบบนเิ วศในทรัพยากรป่าไมเ้ ปลีย่ นไปจากเดมิ ตอ้ งใชเ้ วลานานมากกวา่ จะกลบั คนื สสู่ ภาพเดิม

10.4 ระดบั วกิ ฤติ (Crisis) หมายถึง ในทรัพยากรปา่ ไม้ ถูกรบกวนทาํ ใหโ้ ครงสร้างและองคป์ ระกอบ
บางชนิดเหลือน้อย หรือสูญพันธุ์ไปจากระบบหรือไม่ทําหน้าที่ของตนเอง ทําให้การทํางานของระบบนิเวศไม่ครบ
วงจร หรือมีประสิทธิภาพลดลงแต่สามารถฟื้นกลับคืนสู่สภาพธรรมชาติได้โดยต้องใช้เทคโนโลยีเข้าช่วยจึงจะ
กลับคนื สู่สภาพเดมิ ได้

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นท่ีอทุ ยานแห่งชาตภิ ูสระดอกบัว

17

ผลการสาํ รวจและวิเคราะหข์ อ้ มูลทรัพยากรปา่ ไม้

1. การวางแปลงตวั อย่าง
จากผลการดําเนินการวางแปลงสํารวจเพื่อประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้

ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูสระดอกบัว ของสํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษ์ที่ 9 (อุบลราชธานี) รวมจํานวน 27 แปลง
ผลการสํารวจปรากฏดงั ภาพท่ี 8 และ 9

ภาพที่ 8 แผนทแ่ี สดงขอบเขตและลักษณะภูมปิ ระเทศของอุทยานแหง่ ชาตภิ สู ระดอกบัว

ภาพท่ี 9 แปลงตัวอย่างท่ไี ด้ดาํ เนนิ การสาํ รวจภาคสนามในอุทยานแหง่ ชาติภูสระดอกบัว

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาตภิ สู ระดอกบัว

18

2. พน้ื ทปี่ ่าไม้

จากการสํารวจ พบวา่ มีชนดิ ป่าหรอื ลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินอยู่ 5 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแล้ง
ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ไร่มันสําปะหลัง และสวนยางพารา โดยป่าเบญจพรรณพบมากสุด มีพื้นที่ 119.78
ตารางกิโลเมตร (74,861.11 ไร)่ คิดเป็นร้อยละ 51.85 ของพื้นท่ีทั้งหมด รองลงมา คือ ไร่มันสําปะหลัง มีพ้ืนท่ี
42.78 ตารางกิโลเมตร (26,736.11 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 18.52 ของพื้นที่ท้ังหมด ป่าเต็งรังมีพ้ืนที่ 34.22 ตาราง
กิโลเมตร (21,388.89 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 14.81 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด ป่าดิบแล้งมีพ้ืนท่ี 25.67 ตารางกิโลเมตร
(16,041.67 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 11.11 ของพื้นท่ีทั้งหมด และสวนยางพารามีพ้ืนที่ 8.56 ตารางกิโลเมตร
(5,347.22 ไร)่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 3.70 ของพ้ืนที่ทั้งหมด รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 2

ตารางท่ี 2 พืน้ ทป่ี า่ ไมจ้ าํ แนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ ในอทุ ยานแห่งชาตภิ สู ระดอกบวั

(Area by Landuse Type)

ชนิดปา่ พนื้ ที่
(Landuse Type)
ตร.กม. ไร่ เฮกตาร์ รอ้ ยละ
ของพนื้ ทที่ ง้ั หมด

ปา่ ดิบแล้ง (Dry Evergreen Forest) 25.67 16,041.67 2,566.67 11.11

ปา่ เบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest) 119.78 74,861.11 11,977.78 51.85
ปา่ เต็งรัง (Dry Dipterocarp Forest) 34.22 21,388.89 3,422.22 14.81

ไรม่ ันสําปะหลัง (Cassava) 42.78 26,736.11 4,277.78 18.52

สวนยางพารา (Rubber) 8.56 5,347.22 855.56 3.70

รวม 231 144,375 23,100 100.00

หมายเหตุ : - การคาํ นวณพ้ืนท่ปี า่ ไมข้ องชนิดป่าแตล่ ะชนดิ ใชส้ ดั ส่วนทีพ่ บจากการสาํ รวจภาคสนาม

- รอ้ ยละของพ้นื ที่ทัง้ หมดคาํ นวณจากพื้นทที่ ง้ั หมดของการสาํ รวจ ซึง่ มพี ืน้ ทีด่ ังตารางที่ 1
- รอ้ ยละของพน้ื ท่ีทงั้ หมดคํานวณจากพืน้ ที่แนบทา้ ยกฤษฎีกาของอุทยานแห่งชาติภสู ระดอกบัว ซง่ึ มีพืน้ ที่

เท่ากับ 231 ตารางกิโลเมตร หรือ 144,375 ไร่

ภาพท่ี 10 พืน้ ทีป่ า่ ไม้จาํ แนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ ในพน้ื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาติภูสระดอกบวั

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาติภูสระดอกบัว

19

ภาพที่ 11 ลกั ษณะทั่วไปของป่าดบิ แล้งในพน้ื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาติภสู ระดอกบัว

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นท่อี ุทยานแห่งชาติภสู ระดอกบัว

20

ภาพที่ 12 ลกั ษณะทั่วไปของป่าเบญจพรรณในพน้ื ทอี่ ทุ ยานแห่งชาตภิ ูสระดอกบวั

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูสระดอกบัว

21

ภาพที่ 13 ลกั ษณะท่วั ไปของปา่ เตง็ รังในพนื้ ทีอ่ ุทยานแห่งชาติภูสระดอกบัว

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนทอี่ ุทยานแห่งชาตภิ สู ระดอกบัว

22

ภาพท่ี 14 ลักษณะทว่ั ไปของไรม่ นั สาํ ปะหลงั ในพนื้ ทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูสระดอกบวั

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนทอ่ี ุทยานแหง่ ชาตภิ ูสระดอกบัว

23

ภาพที่ 15 ลกั ษณะทว่ั ไปของสวนยางพาราพนื้ ทอี่ ุทยานแห่งชาติภสู ระดอกบวั (อายุประมาณ 1 ปี)

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติภูสระดอกบัว

24

3. ปรมิ าณไม้

จากการวิเคราะห์เกี่ยวกับชนิดไม้ ปริมาณ ปริมาตร และความหนาแน่นของต้นไม้ในป่า โดยการ
สํารวจทรัพยากรป่าไม้ในแปลงตัวอย่างถาวร ในพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติภูสระดอกบัว จํานวนทั้งส้ิน 27 แปลง พบว่า
ชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินท่ีสํารวจพบทั้ง 5 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง
ไร่มันสําปะหลัง และสวนยางพารา พบไม้ยืนต้นท่ีมีความสูงมากกว่า 1.30 เมตร และมีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก
(GBH) มากกว่าหรือเท่ากับ 15 เซนติเมตรข้ึนไป 41 วงศ์ มากกว่า 137 ชนิด รวมทั้งหมด 10,403,5556 ต้น
ปริมาตรไม้รวมทงั้ หมด 1,473,289.21 ลูกบาศก์เมตร ปริมาตรไม้เฉลี่ย 10.20 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มีความหนาแน่น
ของต้นไม้เฉลี่ย 72.06 ต้นต่อไร่ โดยพบปริมาณไม้มากสุดในป่าเบญจพรรณ จํานวน 4,756,887 ต้น และรองลงมา
คือ ป่าเต็งรัง พบจํานวน 2,789,111 ต้น สําหรับปริมาตรไม้พบมากสุดในป่าเบญจพรรณ จํานวน 821,024.41
ลูกบาศก์เมตร รองลงมา คือ ป่าเต็งรัง จํานวน 294,134.59 ลูกบาศก์เมตร รายละเอียดดังตารางที่ 3 และ 4
ตามลําดับ

ตารางที่ 3 ปรมิ าณไม้ทัง้ หมดจาํ แนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ นิ ในอทุ ยานแหง่ ชาติภสู ระดอกบัว

(Volume by Landuse Type)

ลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ีดนิ ปรมิ าณไม้ทง้ั หมด
(Landuse Type)
จํานวน (ตน้ ) ปรมิ าตร (ลบ.ม.)

ป่าดบิ แล้ง (Dry Evergreen Forest) 2,498,222 245,027.02

ป่าเบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest) 4,756,889 821,024.41

ปา่ เต็งรงั (Dry Dipterocarp Forest) 2,789,111 294,134.59

ไรม่ ันสาํ ปะหลงั (Cassava) 359,333 113,103.20
สวนยางพารา (Rubber) - -

รวม 10,403,556 1,473,289.21

ภาพท่ี 16 ปรมิ าณไม้ท้งั หมดทพี่ บในพนื้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาติภูสระดอกบัว

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนที่อทุ ยานแหง่ ชาตภิ สู ระดอกบัว

25

ภาพที่ 17 ปรมิ าตรไม้ทงั้ หมดท่ีพบในพนื้ ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูสระดอกบัว

ตารางที่ 4 ความหนาแนน่ และปริมาตรไมต้ ่อหนว่ ยพน้ื ทจ่ี ําแนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชน์ทีด่ นิ

ในอุทยานแหง่ ชาตภิ ูสระดอกบวั (Density and Volume per Area by Landuse Type)

ลักษณะการใชป้ ระโยชน์ทดี่ นิ ความหนาแน่น ปริมาตร

(Landuse Type) (ต้น/ไร่) (ตน้ /เฮกตาร)์ (ลบ.ม./ไร)่ (ลบ.ม./เฮกตาร์)

ปา่ ดิบแล้ง (Dry Evergreen Forest) 155.73 973.33 15.27 95.47

ปา่ เบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest) 63.54 397.14 10.97 68.55

ปา่ เตง็ รงั (Dry Dipterocarp Forest) 130.40 815.00 13.75 85.95

ไรม่ นั สาํ ปะหลัง (Cassava) 13.44 84.00 4.23 26.44

สวนยางพารา (Rubber) --- -

เฉล่ยี 72.06 450.37 10.20 63.78

ภาพท่ี 18 ความหนาแนน่ ของต้นไม้ (ต้น/ไร)่ ในพน้ื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาติภสู ระดอกบวั

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ท่ีอทุ ยานแห่งชาติภูสระดอกบัว

26

ภาพที่ 19 ปริมาตรไม้ (ลบ.ม./ไร่) ในพ้ืนท่อี ุทยานแหง่ ชาตภิ ูสระดอกบวั

ตารางท่ี 5 การกระจายขนาดความโตของไม้ท้งั หมดในอทุ ยานแห่งชาติภสู ระดอกบัว

ขนาดความโต (GBH) ปริมาณไมท้ ้ังหมด (ตน้ ) ร้อยละ (%)

15 – 45 ซม. 7,101,111 68.26

> 45 – 100 ซม. 2,729,222 26.23

> 100 ซม. 573,222 5.51

รวม 10,403,556 100.00

ภาพท่ี 20 การกระจายขนาดความโตของไม้ทัง้ หมดในพ้ืนทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาติภสู ระดอกบวั

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติภสู ระดอกบัว

27

4. ชนิดพันธุ์ไม้

ชนดิ พันธุ์ไม้ท่สี าํ รวจพบในภาคสนาม จําแนกโดยใช้เจ้าหน้าทผี่ ู้เชี่ยวชาญทางดา้ นพันธ์ไุ มช้ ว่ ยจาํ แนก
ชนิดพันธ์ุไม้ที่ถูกต้อง และบางครั้งจําเป็นต้องใช้ราษฎรในพื้นที่ซึ่งมีความรู้ในชนิดพันธุ์ไม้ประจําถ่ินช่วยในการ
เก็บข้อมูลและเก็บตัวอย่างชนิดพันธ์ุไม้ เพ่ือนํามาให้ผู้เช่ียวชาญด้านพันธุ์ไม้ในสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ท่ี 9
(อุบลราชธานี) เจ้าหน้าท่ีจากส่วนกลาง และสํานักหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช
ช่วยจําแนกช่ือทางการและช่ือวิทยาศาสตร์ท่ีถูกต้องอีกครั้งหน่ึง และชนิดพันธ์ุไม้ส่วนใหญ่ที่พบมักจะเป็นพันธุ์ไม้
ที่รู้จักและคุ้นเคยสําหรับเจ้าหน้าที่ที่ทําการสํารวจอยู่แล้ว โดยชนิดพันธ์ุไม้ที่พบท้ังหมดในพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติ
ภูสระดอกบัว มี 41 วงศ์ มากกว่า 137 ชนิด มีปริมาณไม้รวม 10,403,556 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม
1,473,289.21 ลูกบาศก์เมตร ความหนาแน่นเฉลี่ย 72.06 ต้นต่อไร่ และมีปริมาตรไม้เฉลี่ย 10.20 ลูกบาศก์เมตร
ต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาตรไม้มากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ อะราง (Peltophorum dasyrachis) ตะแบก
(Lagerstroemia cuspidate) เต็ง (Shorea obtuse) รัง (Shorea siamensis) กางขี้มอด (Albizia
odoratissima) เหมือดคน (Helicia robusta) มะค่าแต้ (Sindora siamensis) สาธร (Millettia
leucantha) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) และกระบก (Irvingia malayana)
รายละเอียดดังตารางที่ 6

ในป่าดิบแล้ง มีปริมาณไม้รวม 2,498,222 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 245,027.02 ลูกบาศก์เมตร
ความหนาแน่นเฉลย่ี 155.73 ตน้ ต่อไร่ และมปี ริมาตรไมเ้ ฉล่ีย 15.27 ลกู บาศก์เมตรตอ่ ไร่ ชนดิ ไม้ที่มีปริมาตรไม้
มากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ อะราง (Peltophorum dasyrachis) เหมือดคน (Helicia robusta) กระทงลอย
(Crypteronia paniculata) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) โมกมัน (Wrightia arborea)
มะกลํ่าต้น (Adenanthera pavonina) พะยูง (Dalbergia cochinchinensis) พลองข้ีควาย (Memecylon
caeruleum) หมักมอ่ (Rothmannia wittii) และอีแปะ (Vitex scabra) รายละเอียดดังตารางที่ 7

ในป่าเบญจพรรณ มีปริมาณไม้รวม 4,756,889 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 821,024.41
ลูกบาศก์เมตร ความหนาแนน่ เฉลี่ย 63.54 ตน้ ต่อไร่ และมีปริมาตรไม้เฉลี่ย 10.97 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้
ที่มีปริมาตรไม้มากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ตะแบก (Lagerstroemia cuspidate) กางขี้มอด (Albizia
odoratissima) สะแกแสง (Cananga latifolia) อะราง (Peltophorum dasyrachis) มะค่าแต้ (Sindora
siamensis) ขว้าว (Haldina cordifolia) สาธร (Millettia leucantha) มะค่าโมง (Afzelia xylocarpa)
ผ่าเส้ียน (Vitex canescens) และติ้วขน (Cratoxylum formosum) รายละเอียดดังตารางที่ 8

ในป่าเต็งรัง มีปริมาณไม้รวม 2,789,111 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 294,134.59 ลูกบาศก์เมตร
มีความหนาแนน่ เฉล่ีย 130.40 ต้น/ไร่ มีปริมาตรไมเ้ ฉลีย่ 13.75 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาตรไม้มาก
ท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ เต็ง (Shorea obtuse) รัง (Shorea siamensis) รกฟ้า (Terminalia alata) มะพอก

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ท่อี ทุ ยานแห่งชาติภสู ระดอกบัว

28

(Parinari anamense) พลองขีค้ วาย (Memecylon caeruleu) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) แดง (Xylia
xylocarpa) ตะแบกกราย (Terminalia pierrei) มะค่าแต้ (Sindora siamensis) และตีนนก (Vitex pinnata)
รายละเอยี ดดังตารางท่ี 9

ในไร่มันสาํ ปะหลัง มีปรมิ าณไม้รวม 359,333 ต้น คดิ เป็นปรมิ าตรไมร้ วม 113,103.20 ลูกบาศก์เมตร
ความหนาแน่นเฉล่ีย 13.44 ต้นต่อไร่ และมีปริมาตรไม้เฉลี่ย 4.23 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาตรไม้
มากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ อะราง (Peltophorum dasyrachis) กระบก (Irvingia malayana) สาธร
(Millettia leucantha) สัตบรรณ (Alstonia scholaris) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) แคหางค่าง
(Fernandoa adenophylla) ตีนนก (Vitex pinnata) ก่อหิน (Castanopsis piriformis) กระทุ่มเนิน
(Mitragyna rotundifolia) และมะกอกเกลื้อน (Canarium subulatum) รายละเอียดดังตารางท่ี 10

ในพ้ืนท่ีสวนยางพารา มีเพียงกล้าไม้เท่าน้ันท่ีพบในพื้นที่ ไม่พบว่ามีไม้ยืนต้นท่ีมีความสูงมากกว่า
1.30 เมตร และมีขนาดเสน้ รอบวงเพยี งอก (GBH) มากกวา่ หรือเทา่ กับ 15 เซนติเมตรขนึ้ ไปแตอ่ ยา่ งใด

สําหรับไม้ไผ่และหวาย ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูสระดอกบัว พบว่า มีไม้ไผ่อยู่ 4 ชนิด คือ
ไผ่กะแสนดํา (Schizostachyum mekongensis) ไผ่ป่า (Bambusa bambos) ไผ่ไร่ (Gigantochloa
albociliata) และไผ่ซอด (Gigantochloa cochinchinensis) มีปริมาณไม้ไผ่ จํานวน 5,372,889 กอ
รวมทั้งสิ้น 89,918,889 ลํา โดยจากการสํารวจพบไผ่เฉพาะในป่าเบญจพรรณ ไม่พบในพ้ืนที่ป่าชนิดอ่ืน
ส่วนหวาย มีเพียง 1 ชนิด คือ หวายหนู (Renanthera elongate) รวมทั้งส้ิน 34,650 เส้น ซ่ึงพบเฉพาะใน
ป่าดบิ แล้ง รายละเอียดดงั ตารางที่ 11

ชนิดและปริมาณของกล้าไม้ ที่พบในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติภูสระดอกบัว มีมากกว่า 63 ชนิด
รวมทั้งสิ้น 1,059,177,778 ต้น มีความหนาแน่นของกล้าไม้ 7,336.30 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไม้ท่ีมีปริมาณมาก
ท่ีสุด 10 อันดับแรก คือ หัสคุณ (Micromelum minutum) เต็ง (Shorea obtusa) เหมือดหอม (Symplocos
racemosa) มะค่าแต้ (Sindora siamensis) เข็มป่า (Ixora cibdela) ลําดวน (Melodorum fruticosum) โมรี
หรือหลักดํา (Diospyros oblonga) เหมือดคน (Helicia robusta) พลับพลา (Microcos tomentosa) และ
ขอี้ า้ ยหรือแสนคํา (Terminalia triptera) รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 12

ชนิดและปริมาณของลูกไม้ ที่พบในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติภูสระดอกบัว มีมากกว่า 58 ชนิด
รวมทง้ั สน้ิ 69,642,222 ต้น มีความหนาแน่นของกลา้ ไม้ 482.37 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไม้ท่ีมีปริมาณมากที่สุด 10
อันดับแรก คือ แดง (Xylia xylocarpa) ปอมืน (Colona floribunda) สาธร (Millettia leucantha)
กระทุ่มเนิน (Mitragyna rotundifolia) ก่อหิน (Castanopsis piriformis) พลับพลา (Microcos
tomentosa) สะแกแสง (Cananga latifolia) เต็ง (Shorea obtuse) เข็มป่า (Ixora cibdela) และ
เหมือดคน (Helicia robusta) รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 13

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พนื้ ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตภิ สู ระดอกบัว

29

ชนิดและปริมาณของตอไม้ ท่ีพบในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติภูสระดอกบัว มี 38 ชนิด รวมทั้งส้ิน
1,403,111 ตอ มีความหนาแน่นของกล้าไม้ 9.72 ตอต่อไร่ โดยชนิดไม้ที่มีปริมาณตอมากท่ีสุด 10 อันดับแรก
คือ รัง (Shorea siamensis) ก่อหิน (Castanopsis piriformis) แดง (Xylia xylocarpa) ลําดวน (Melodorum
fruticosum) กระบก (Irvingia malayana) เต็ง (Shorea obtuse) ต้ิวขน (Cratoxylum formosum) พะยูง
(Dalbergia cochinchinensis) ตะแบก (Lagerstroemia cuspidate) และยอป่า (Morinda tomentosa)
รายละเอียดดังตารางที่ 14

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นท่ีอทุ ยานแห่งชาตภิ ูสระดอกบัว

30

ตารางที่ 6 ปริมาณไม้ทง้ั หมดของอทุ ยานแห่งชาตภิ สู ระดอกบวั (30 ชนดิ แรกที่มปี ริมาตรไมส้ งู สดุ )

ลาํ ดบั ชนดิ พันธ์ุไม้ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแน่น ปริมาตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร่) (ลบ.ม./ไร่ )
1 อะราง Peltophorum dasyrachis 607,444 139,900.97 4.21
213,889 106,599.96 1.48 0.97
2 ตะแบก Lagerstroemia cuspidata 205,333 65,704.52 1.42 0.74
992,444 63,752.20 6.87 0.46
3 เต็ง Shorea obtusa 188,222 56,022.60 1.30 0.44
359,333 54,479.97 2.49 0.39
4 รัง Shorea siamensis 145,444 46,769.36 1.01 0.38
350,778 41,177.45 2.43 0.32
5 กางขีม้ อด Albizia odoratissima 316,556 41,108.49 2.19 0.29
85,556 39,752.00 0.59 0.28
6 เหมอื ดคน Helicia robusta 102,667 36,163.45 0.71 0.28
42,778 33,381.75 0.30 0.25
7 มะค่าแต้ Sindora siamensis 385,000 31,627.52 2.67 0.23
179,667 30,692.25 1.24 0.22
8 สาธร Millettia leucantha 68,444 25,884.37 0.47 0.21
179,667 25,631.95 1.24 0.18
9 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 119,778 24,739.51 0.83 0.18
256,667 23,857.26 1.78 0.17
10 กระบก Irvingia malayana 145,444 23,810.10 1.01 0.17
171,111 22,861.38 1.19 0.16
11 สะแกแสง Cananga latifolia 68,444 22,395.36 0.47 0.16
205,333 21,074.48 1.42 0.16
12 มะพอก Parinari anamense 94,111 20,226.56 0.65 0.15
59,889 19,901.96 0.41 0.14
13 แดง Xylia xylocarpa 273,778 19,885.32 1.90 0.14
290,889 17,819.89 2.01 0.14
14 ขว้าว Haldina cordifolia 51,333 16,344.50 0.36 0.12
119,778 15,893.97 0.83 0.11
15 มะคา่ โมง Afzelia xylocarpa 34,222 15,514.64 0.24 0.11
111,222 13,149.19 0.77 0.11
16 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 3,978,333 357,166.27 27.56 0.09
2.47
17 ผ่าเสยี้ น Vitex canescens 10,403,556 1,473,289.21 72.06
10.20
18 ต้ิวขน Cratoxylum formosum

19 ตีนนก Vitex pinnata

20 รกฟ้า Terminalia alata

21 กระทงลอย Crypteronia paniculata

22 กระทุม่ เนนิ Mitragyna rotundifolia

23 ตะแบกกราย Terminalia pierrei

24 หว้า Syzygium cumini

25 พลองขี้ควาย Memecylon caeruleum

26 โมกมนั Wrightia arborea

27 มะเกลอื เลือด Terminalia mucronata

28 มะกอกเกล้ือน Canarium subulatum

29 คอแลน Nephelium hypoleucum

30 กาสามปีก Vitex peduncularis

31 อนื่ ๆ Others

รวม

หมายเหตุ : มีชนดิ พันธ์ไุ ม้ท่ีสาํ รวจพบท้ังหมด 137 ชนิด

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตภิ ูสระดอกบัว

31

ตารางที่ 7 ปรมิ าณไมใ้ นปา่ ดบิ แลง้ ของอทุ ยานแหง่ ชาตภิ สู ระดอกบวั (30 ชนดิ แรกทีม่ ีปรมิ าตรไม้สูงสุด)

ลําดับ ชนดิ พันธ์ุไม้ ช่ือวิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแนน่ ปริมาตร
(ต้น) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร่ )

1 อะราง Peltophorum dasyrachis 402,111 58,952.09 25.07 3.67

2 เหมือดคน Helicia robusta 239,556 44,834.74 14.93 2.79

3 กระทงลอย Crypteronia paniculata 68,444 22,395.36 4.27 1.40

4 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 188,222 18,091.96 11.73 1.13

5 โมกมัน Wrightia arborea 290,889 17,819.89 18.13 1.11

6 มะกล่ําต้น Adenanthera pavonina 102,667 13,099.00 6.40 0.82

7 พะยูง Dalbergia cochinchinensis 119,778 8,178.39 7.47 0.51

8 พลองขคี้ วาย Memecylon caeruleum 34,222 6,425.02 2.13 0.40

9 หมกั มอ่ Rothmannia wittii 171,111 5,869.51 10.67 0.37

10 อีแปะ Vitex scabra 8,556 5,562.94 0.53 0.35

11 ตะแบกกราย Terminalia pierrei 25,667 5,446.00 1.60 0.34

12 คอแลน Nephelium hypoleucum 17,111 4,861.77 1.07 0.30

13 กระบาก Anisoptera costata 128,333 3,173.20 8.00 0.20

14 กาํ จัดตน้ Zanthoxylum limonella 25,667 2,486.35 1.60 0.15

15 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 8,556 2,216.22 0.53 0.14

16 ยอเถื่อน Morinda elliptica 17,111 2,123.73 1.07 0.13

17 ข้ีอ้าย Terminalia triptera 25,667 2,099.18 1.60 0.13

18 พลบั พลา Microcos tomentosa 68,444 2,079.98 4.27 0.13

19 ตนี นก Vitex pinnata 8,556 1,980.54 0.53 0.12

20 เขลง Dialium cochinchinense 59,889 1,769.88 3.73 0.11

21 ตะแบก Lagerstroemia cuspidata 8,556 1,374.36 0.53 0.09

22 พลองเหมือด Memecylon edule 111,222 1,363.48 6.93 0.08

23 มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum 17,111 1,279.87 1.07 0.08

24 เหมือดหอม Symplocos racemosa 34,222 1,242.46 2.13 0.08

25 พลองกินลูก Memecylon ovatum 17,111 1,198.45 1.07 0.07

26 งิ้วปา่ Bombax anceps 8,556 1,156.59 0.53 0.07

27 ต้วิ ขน Cratoxylum formosum 17,111 1,013.62 1.07 0.06

28 มะค่าแต้ Sindora siamensis 8,556 960.47 0.53 0.06

29 ลาํ ดวน Melodorum fruticosum 51,333 937.08 3.20 0.06

30 กระถนิ Leucaena leucocephala 8,556 827.20 0.53 0.05

31 อืน่ ๆ Others 205,333 4,207.69 12.80 0.26

รวม 2,498,222 245,027.02 155.73 15.27

หมายเหตุ : มีชนดิ พนั ธ์ไุ มท้ ส่ี ํารวจพบทง้ั หมด 48 ชนิด

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนท่อี ุทยานแหง่ ชาตภิ สู ระดอกบัว

32

ตารางท่ี 8 ปริมาณไม้ในป่าเบญจพรรณของอุทยานแห่งชาติภูสระดอกบวั (30 ชนิดแรกท่มี ปี ริมาตรไมส้ งู สุด)

ลําดบั ชนดิ พนั ธไุ์ ม้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแน่น ปรมิ าตร
(ต้น)
(ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร่ )

1 ตะแบก Lagerstroemia cuspidata 196,778 104,819.61 2.63 1.40
179,667 55,489.19 2.40 0.74
2 กางข้มี อด Albizia odoratissima 102,667 36,163.45 1.37 0.48
119,778 35,642.82 1.60 0.48
3 สะแกแสง Cananga latifolia 111,222 34,965.68 1.49 0.47
154,000 29,323.62 2.06 0.39
4 อะราง Peltophorum dasyrachis 325,111 27,484.25 4.34 0.37
68,444 25,884.37 0.91 0.35
5 มะค่าแต้ Sindora siamensis 119,778 24,739.51 1.60 0.33
231,000 22,626.66 3.09 0.30
6 ขวา้ ว Haldina cordifolia 59,889 19,901.96 0.80 0.27
119,778 19,219.70 1.60 0.26
7 สาธร Millettia leucantha 94,111 19,066.39 1.26 0.25
179,667 18,798.70 2.40 0.25
8 มะคา่ โมง Afzelia xylocarpa 25,667 16,314.50 0.34 0.22
42,778 16,167.81 0.57 0.22
9 ผา่ เส้ียน Vitex canescens 111,222 13,149.19 1.49 0.18
34,222 12,576.97 0.46 0.17
10 ติ้วขน Cratoxylum formosum 12,554.85 0.11 0.17
8,556 11,689.36 0.23 0.16
11 หวา้ Syzygium cumini 17,111 11,671.90 0.69 0.16
51,333 11,586.26 0.46 0.15
12 แดง Xylia xylocarpa 34,222 11,378.37 0.69 0.15
51,333 11,141.22 0.11 0.15
13 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 8,556 10,464.72 1.71 0.14
128,333 10,213.53 0.34 0.14
14 กระทุ่มเนิน Mitragyna rotundifolia 25,667 9,645.36 0.11 0.13
8,556 9,514.96 1.37 0.13
15 มะพอก Parinari anamense 102,667 9,351.11 0.46 0.12
34,222 9,116.73 0.11 0.12
16 มะเกลอื เลอื ด Terminalia mucronata 8,556 160,361.68 26.74 2.14
2,002,000
17 กาสามปีก Vitex peduncularis

18 มะแฟน Protium serratum

19 ขามคัวะ Pterospermum semisagittatum

20 แคหิน Stereospermum colias

21 มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum

22 ชิงชัน Dalbergia oliveri

23 จกั จั่น Millettia xylocarpa

24 ปอเลยี งฝา้ ย Eriolaena candollei

25 ลําบดิ Diospyros ferrea

26 กระบก Irvingia malayana

27 คอแลน Nephelium hypoleucum

28 ตนี นก Vitex pinnata

29 สารภปี า่ Anneslea fragrans

30 ตานดํา Diospyros montana

31 อ่นื ๆ Others

รวม 4,756,889 821,024.41 63.54 10.97

หมายเหตุ : มชี นิดพนั ธุไ์ ม้ทสี่ ํารวจพบทัง้ หมด 100 ชนิด

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ทอ่ี ุทยานแห่งชาติภูสระดอกบัว

33

ตารางท่ี 9 ปรมิ าณไมใ้ นป่าเต็งรังของอทุ ยานแห่งชาตภิ ูสระดอกบวั (30 ชนดิ แรกท่มี ีปริมาตรไมส้ งู สุด)

ลําดับ ชนดิ พันธ์ุไม้ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแน่น ปริมาตร
(ตน้ )
(ลบ.ม.) (ต้น/ไร่) (ลบ.ม./ไร่ )

1 เตง็ Shorea obtusa 205,333 65,704.52 9.60 3.07
992,444 63,752.20 46.40 2.98
2 รัง Shorea siamensis 171,111 22,861.38 8.00 1.07
17,111 17,067.25 0.80 0.80
3 รกฟา้ Terminalia alata 239,556 13,460.30 11.20 0.63
68,444 11,035.06 3.20 0.52
4 มะพอก Parinari anamense 256,667 11,033.47 12.00 0.52
59,889 10,916.43 2.80 0.51
5 พลองข้คี วาย Memecylon caeruleum 25,667 10,843.20 1.20 0.51
25,667 9,492.80 1.20 0.44
6 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 94,111 8,877.28 4.40 0.42
17,111 8,234.61 0.80 0.38
7 แดง Xylia xylocarpa 25,667 5,247.56 1.20 0.25
77,000 4,156.41 3.60 0.19
8 ตะแบกกราย Terminalia pierrei 34,222 3,950.14 1.60 0.18
51,333 3,280.13 2.40 0.15
9 มะคา่ แต้ Sindora siamensis 2,897.92 0.40 0.14
8,556 2,512.95 0.80 0.12
10 ตนี นก Vitex pinnata 17,111 2,138.90 0.40 0.10
8,556 1,625.97 0.40 0.08
11 พลองเหมอื ด Memecylon edule 8,556 1,567.84 2.00 0.07
42,778 1,151.65 0.80 0.05
12 กระบก Irvingia malayana 17,111 1,112.65 0.80 0.05
17,111 0.40 0.04
13 กลว้ ยน้อย Xylopia vielana 8,556 914.75 0.80 0.04
17,111 774.99 0.80 0.03
14 เหมอื ดคน Helicia robusta 17,111 692.41 0.80 0.03
17,111 596.63 0.40 0.02
15 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 8,556 495.16 0.40 0.02
8,556 434.57 0.40 0.02
16 ยอปา่ Morinda tomentosa 8,556 378.55 10.40 0.32
222,444 6,926.90
17 ส้มกบ Hymenodictyon orixense

18 เดือยไก่ Madhuca kerrii

19 สมอพเิ ภก Terminalia bellirica

20 ยมหนิ Chukrasia tabularis

21 มะกอกเกล้ือน Canarium subulatum

22 ขว้าว Haldina cordifolia

23 มะม่วงหัวแมงวัน Buchanania lanzan

24 มะหนามนงึ้ Vangueria pubescens

25 ตวิ้ เกลี้ยง Cratoxylum cochinchinense

26 ปอแกน่ เทา Grewia eriocarpa

27 ลาํ บดิ ดง Diospyros filipendula

28 ลาํ ปา้ ง Pterospermum diversifolium

29 กระท่มุ เนนิ Mitragyna rotundifolia

30 ขันทองพยาบาท Suregada multiflorum

31 อืน่ ๆ Others

รวม 2,789,111 294,134.59 130.40 13.75

หมายเหตุ : มชี นดิ พนั ธ์ุไมท้ ี่สาํ รวจพบทั้งหมด 44 ชนิด

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนท่อี ุทยานแห่งชาติภสู ระดอกบัว

34

ตารางที่ 10 ปริมาณไม้ในไรม่ นั สาํ ปะหลังของอทุ ยานแหง่ ชาติภูสระดอกบัว (30 ชนิดแรกทมี่ ปี ริมาตรไมส้ ูงสดุ )

ลําดับ ชนิดพันธุไ์ ม้ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแน่น ปริมาตร

(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร่ )

1 อะราง Peltophorum dasyrachis 85,556 45,306.05 3.20 1.69
25,667 21,036.99 0.96 0.79
2 กระบก Irvingia malayana 25,667 13,693.21 0.96 0.51
17,111 5,604.72 0.64 0.21
3 สาธร Millettia leucantha 8,556 5,393.70 0.32 0.20
8,556 4,875.88 0.32 0.18
4 สัตบรรณ Alstonia scholaris 8,556 2,821.80 0.32 0.11
8,556 1,946.90 0.32 0.07
5 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 17,111 1,841.21 0.64 0.07
8,556 1,374.36 0.32 0.05
6 แคหางคา่ ง Fernandoa adenophylla 8,556 1,374.36 0.32 0.05
8,556 1,317.85 0.32 0.05
7 ตีนนก Vitex pinnata 34,222 1,185.75 1.28 0.04
8,556 1,055.86 0.32 0.04
8 กอ่ หิน Castanopsis piriformis 8,556 1,055.86 0.32 0.04
8,556 1,007.51 0.32 0.04
9 กระทุ่มเนิน Mitragyna rotundifolia 17,111 0.64 0.03
8,556 757.11 0.32 0.02
10 มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum 8,556 527.21 0.32 0.02
8,556 405.99 0.32 0.01
11 แดง Xylia xylocarpa 8,556 163.28 0.32 0.00
8,556 132.34 0.32 0.00
12 ยอปา่ Morinda tomentosa 8,556 132.34 0.32 0.00
92.90
13 ลําดวน Melodorum fruticosum

14 พลบั พลา Microcos tomentosa

15 มะดูก Siphonodon celastrineus

16 คอแลน Nephelium hypoleucum

17 เหมือดคน Helicia robusta

18 เชียด Cinnamomum iners

19 ตะแบก Lagerstroemia cuspidata

20 มะกอก Spondias pinnata

21 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii

22 ชะมวง Garcinia cowa

23 มะไฟ Baccaurea ramiflora

รวม 359,333 113,103.20 13.44 4.23

หมายเหตุ : มีชนิดพนั ธ์ุไม้ท่ีสาํ รวจพบทงั้ หมด 23 ชนดิ

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตภิ สู ระดอกบัว

35

ตารางท่ี 11 ชนิดและปริมาณไม้ไผ่ หวาย และไม้กอ ท่พี บในอทุ ยานแหง่ ชาติภสู ระดอกบัว

ลาํ ดับ ชนิดพนั ธ์ุไม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ไผท่ งั้ หมด

จาํ นวนกอ จาํ นวนลํา

ไผ่ Schizostachyum mekongensis 1,420,222 50,015,778
1 ไผ่กะแสนดํา Bambusa bambos 2,908,889 30,081,333
2 ไผ่ป่า Gigantochloa albociliata 1,026,667 9,513,778
3 ไผ่ไร่ Gigantochloa cochinchinensis
4 ไผซ่ อด รวมไผ่ 17,111 308,000

หวายตน้ Renanthera elongata 5,372,889 89,918,889
1 หวายหนู
ปรมิ าณหวายทัง้ หมด (เสน้ )
34,650

รวมหวาย 34,650
ไม้กอ ปาลม์ และหวายเลอ้ื ย ปริมาณไม้กอ ปาล์ม และหวายเล้ือยทง้ั หมด

-- -
รวมไมก้ อ ปาล์ม และหวายเลือ้ ย -

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นท่อี ทุ ยานแห่งชาตภิ สู ระดอกบัว

36

ตารางที่ 12 ชนดิ และปรมิ าณของกลา้ ไม้ (Seedling) ที่พบในอทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูสระดอกบัว

ลําดับ ชนิดพนั ธไ์ุ ม้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณกล้าไมท้ ัง้ หมด

จํานวน (ตน้ ) ความหนาแนน่ (ตน้ /ไร่)

1 หัสคณุ Micromelum minutum 80,422,222 557.04
2 เตง็ Shorea obtusa 73,577,778 509.63
3 เหมอื ดหอม Symplocos racemosa 71,866,667 497.78
4 มะคา่ แต้ Sindora siamensis 47,911,111 331.85
5 เขม็ ปา่ Ixora cibdela 46,200,000 320.00
6 ลําดวน Melodorum fruticosum 39,355,556 272.59
7 โมรี Diospyros oblonga 29,088,889 201.48
8 เหมอื ดคน Helicia robusta 29,088,889 201.48
9 พลับพลา Microcos tomentosa 27,377,778 189.63
10 ขีอ้ ้าย Terminalia triptera 27,377,778 189.63
11 เมา่ สรอ้ ย Antidesma acidum 27,377,778 189.63
12 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 25,666,667 177.78
13 แคขาว Dolichandrone serrulata 23,955,556 165.93
14 สะแกแสง Cananga latifolia 22,244,444 154.07
15 กระถนิ พมิ าน Acacia harmandiana 20,533,333 142.22
16 กาสามปีก Vitex peduncularis 17,111,111 118.52
17 ต้ิวขน Cratoxylum formosum 15,400,000 106.67
18 ตะแบก Lagerstroemia cuspidata 15,400,000 106.67
19 แดง Xylia xylocarpa 15,400,000 106.67
20 กระบก Irvingia malayana 13,688,889 94.81
21 มะหวด Lepisanthes rubiginosa 13,688,889 94.81
22 ตะแบกกราย Terminalia pierrei 13,688,889 94.81
23 ขห้ี นอน Zollingeria dongnaiensis 13,688,889 94.81
24 สาธร Millettia leucantha 13,688,889 94.81
25 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 11,977,778 82.96
26 แดงสะแง Schoutenia ovata 11,977,778 82.96
27 ง้วิ ป่า Bombax anceps 10,266,667 71.11
28 พลากวาง Pterospermum lanceaefolium 10,266,667 71.11
29 ลําบิดดง Diospyros filipendula 8,555,556 59.26
30 ขอ่ ยน้ํา Streblus taxoides 6,844,444 47.41
31 อ่ืนๆ Others 275,488,889 1,908.15

รวม 1,059,177,778 7,336.30

หมายเหตุ : มีชนดิ พันธ์ุกลา้ ไมท้ ่ีสํารวจพบทั้งหมด 63 ชนดิ

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พนื้ ท่ีอุทยานแห่งชาติภสู ระดอกบัว

37

ตารางที่ 13 ชนดิ และปรมิ าณของลกู ไม้ (Sapling) ท่พี บในอุทยานแห่งชาตภิ สู ระดอกบัว

ลําดับท่ี ชนิดพนั ธ์ุไม้ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณลูกไม้ท้ังหมด

จาํ นวน (ตน้ ) ความหนาแนน่ (ตน้ /ไร)่

1 แดง Xylia xylocarpa 6,331,111 43.85

2 ปอมืน Colona floribunda 4,448,889 30.81

3 สาธร Millettia leucantha 3,935,556 27.26

4 กระทมุ่ เนนิ Mitragyna rotundifolia 3,422,222 23.70

5 ก่อหิน Castanopsis piriformis 3,251,111 22.52

6 พลบั พลา Microcos tomentosa 3,251,111 22.52

7 สะแกแสง Cananga latifolia 2,737,778 18.96

8 เต็ง Shorea obtusa 2,737,778 18.96

9 เขม็ ปา่ Ixora cibdela 2,224,444 15.41

10 เหมอื ดคน Helicia robusta 2,053,333 14.22

11 พลากวาง Pterospermum lanceaefolium 2,053,333 14.22

12 รงั Shorea siamensis 1,882,222 13.04

13 ลาํ ดวน Melodorum fruticosum 1,711,111 11.85

14 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 1,540,000 10.67

15 ตะคร้อ Schleichera oleosa 1,540,000 10.67

16 มะค่าแต้ Sindora siamensis 1,540,000 10.67

17 ตะแบก Lagerstroemia cuspidata 1,368,889 9.48

18 มะนาวผี Atalantia monophylla 1,197,778 8.30

19 เขลง Dialium cochinchinense 1,197,778 8.30

20 โมรี Diospyros oblonga 1,197,778 8.30

21 ขอ่ ยน้าํ Streblus taxoides 1,197,778 8.30

22 งิ้วป่า Bombax anceps 1,026,667 7.11

23 ตวิ้ ขน Cratoxylum formosum 1,026,667 7.11

24 ปอแก่นเทา Grewia eriocarpa 1,026,667 7.11

25 ส้านใบเลก็ Dillenia ovata 855,556 5.93

26 เมา่ สร้อย Antidesma acidum 855,556 5.93

27 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii 684,444 4.74

28 คํารอก Ellipanthus tomentosus 684,444 4.74

29 ผ่าเส้ียน Vitex canescens 684,444 4.74

30 หสั คุณ Micromelum minutum 684,444 4.74

31 อ่ืนๆ Others 11,293,333 78.22

รวม 69,642,222 482.37

หมายเหตุ : มชี นดิ พนั ธุ์ลกู ไมท้ สี่ ํารวจพบทั้งหมด 58 ชนดิ

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พนื้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาตภิ สู ระดอกบัว

38

ตารางที่ 14 ชนดิ และปรมิ าณของตอไม้ (Stump) ทพ่ี บในอทุ ยานแห่งชาติภสู ระดอกบัว

ลาํ ดบั ชนดิ พนั ธุ์ไม้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณตอไมท้ ง้ั หมด

จํานวน (ตอ) ความหนาแน่น (ตอ/ไร)่

1 รัง Shorea siamensis 136,889 0.95

2 กอ่ หิน Castanopsis piriformis 102,667 0.71

3 แดง Xylia xylocarpa 85,556 0.59

4 ลาํ ดวน Melodorum fruticosum 85,556 0.59

5 กระบก Irvingia malayana 68,444 0.47

6 เตง็ Shorea obtusa 68,444 0.47

7 ตว้ิ ขน Cratoxylum formosum 51,333 0.36

8 พะยงู Dalbergia cochinchinensis 51,333 0.36

9 ตะแบก Lagerstroemia cuspidata 51,333 0.36

10 ยอป่า Morinda tomentosa 51,333 0.36

11 กระบาก Anisoptera costata 34,222 0.24

12 ส้านใหญ่ Dillenia obovata 34,222 0.24

13 โมรี Diospyros oblonga 34,222 0.24

14 หว้า Syzygium cumini 34,222 0.24

15 แคหางคา่ ง Fernandoa adenophylla 34,222 0.24

16 สม้ กบ Hymenodictyon orixense 34,222 0.24

17 คอแลน Nephelium hypoleucum 34,222 0.24

18 มะพอก Parinari anamense 34,222 0.24

19 มะคา่ แต้ Sindora siamensis 34,222 0.24

20 เหมอื ดหอม Symplocos racemosa 34,222 0.24

21 ขนุนปา่ Artocarpus lanceifolius 17,111 0.12

22 อีแปะ Vitex scabra 17,111 0.12

23 ง้ิวป่า Bombax anceps 17,111 0.12

24 เตง็ หนาม Bridelia retusa 17,111 0.12

25 กระโดน Careya sphaerica 17,111 0.12

26 ผีเสือ้ หลวง Casearia grewiifolia 17,111 0.12

27 ราชพฤกษ์ Cassia fistula 17,111 0.12

28 ตว้ิ เกลีย้ ง Cratoxylum cochinchinense 17,111 0.12

29 กระทงลอย Crypteronia paniculata 17,111 0.12

30 ตานดํา Diospyros montana 17,111 0.12

31 อน่ื ๆ Others 136,889 0.95

รวม 1,403,111 9.72

หมายเหตุ : มีชนิดพันธตุ์ อไม้ที่สํารวจพบทั้งหมด 38 ชนิด

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้นื ทีอ่ ทุ ยานแห่งชาตภิ สู ระดอกบัว

39

5. สงั คมพชื

จากผลการสํารวจและวเิ คราะห์ข้อมูลสังคมพืชในอทุ ยานแห่งชาตภิ สู ระดอกบัว พบว่า มีสังคมพืช
5 ประเภท คือ ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ไร่มันสําปะหลัง และสวนยางพารา และจากการวิเคราะห์
ข้อมลู สงั คมพืช เชน่ ความหนามแน่นของพรรณพืช (Density) ความถ่ี (Frequency) ความเด่น (Dominance)
และดัชนีความสําคัญของพรรณไม้ (Importance Value Index : IVI) พบว่า ในสังคมพืชทั้ง 5 ประเภท มีชนิด
ไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ อะราง (Peltophorum dasyrachis)
รัง (Shorea siamensis) ตะแบก (Lagerstroemia cuspidate) สาธร (Millettia leucantha) ตะแบกเปลือก
บาง (Lagerstroemia duperreana) แดง (Xylia xylocarpa) เหมอื ดคน (Helicia robusta) กางขมี้ อด (Albizia
odoratissima) เตง็ (Shorea obtuse) และมะค่าแต้ (Sindora siamensis) ดังรายละเอยี ดในตารางท่ี 15

ในพ้ืนที่ป่าดิบแล้ง มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
อะราง (Peltophorum dasyrachis) เหมือดคน (Helicia robusta) โมกมัน (Wrightia arborea) ตะแบกเปลือกบาง
(Lagerstroemia duperreana) มะกลํา่ ตน้ (Adenanthera pavonina) กระทงลอย (Crypteronia paniculata)
หมักม่อ (Rothmannia wittii) พะยูง (Dalbergia cochinchinensis) พลองเหมือด (Memecylon edule) และ
กระบาก (Anisoptera costata) ดังรายละเอยี ดในตารางท่ี 16

ในพ้นื ท่ีป่าเบญจพรรณ มีชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
ตะแบก (Lagerstroemia cuspidate) สาธร (Millettia leucantha) กางขี้มอด (Albizia odoratissima) ติ้วขน
(Cratoxylum formosum) กระทุ่มเนิน (Mitragyna rotundifolia) ขว้าว (Haldina cordifolia) สะแกแสง
(Cananga latifolia) มะค่าแต้ (Sindora siamensis) อะราง (Peltophorum dasyrachis) และตะแบกเปลือกบาง
(Lagerstroemia duperreana) ดงั รายละเอียดในตารางท่ี 17

ในพ้ืนท่ีป่าเต็งรัง มีชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
รัง (Shorea siamensis) เต็ง (Shorea obtuse) รกฟ้า (Terminalia alata) แดง (Xylia xylocarpa)
พลองขี้ควาย (Memecylon caeruleum) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) พลองเหมือด (Memecylon
edule) ตะแบกกราย (Terminalia pierrei) มะพอก (Parinari anamense) และยอปา่ (Morinda tomentosa)
ดงั รายละเอียดในตารางท่ี 18

ในไร่มันสําปะหลัง มีชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
อะราง (Peltophorum dasyrachis) กระบก (Irvingia malayana) สาธร (Millettia leucantha) ลําดวน
(Melodorum fruticosum) สัตตบรรณ (Alstonia scholaris) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) กระทุ่ม
เนิน (Mitragyna rotundifolia) แคหางค่าง (Fernandoa adenophylla) เหมือดคน (Helicia robusta) และ
ตนี นก (Vitex pinnata) ดังรายละเอียดในตารางที่ 19

ในพ้ืนที่สวนยางพารา มีเพียงกล้าไม้เท่าน้ันท่ีพบในพื้นท่ี ไม่พบว่ามีไม้ยืนต้นที่มีความสูงมากกว่า
1.30 เมตร และมีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่าหรือเท่ากับ 15 เซนติเมตรขึ้นไปแต่อย่างใด จึงไม่
สามารถคาํ นวณหาค่าดัชนคี วามสําคญั ของชนิดไม้ (IVI) ได้

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนท่อี ทุ ยานแหง่ ชาติภสู ระดอกบัว



ตารางท่ี 15 ดชั นีความสําคัญของชนิดไม้ท้งั หมด (Importance Value Index : IVI)

ลําดับ ชนดิ พนั ธ์ไุ ม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ จาํ นวน ความหนาแน่น แปลงพบ
(ต้น) (ตน้ /เฮกตาร์)
1 อะราง Peltophorum dasyrachis 6
71 27.31 3
2 รงั Shorea siamensis 116 44.62 10
25 9.62 9
3 ตะแบก Lagerstroemia cuspidata 41 15.77 10
37 14.23 8
4 สาธร Millettia leucantha 45 17.31 5
42 16.15 8
5 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 22 8.46 2
24 9.23 7
6 แดง Xylia xylocarpa 17 6.54 9
21 8.08 9
7 เหมอื ดคน Helicia robusta 24 9.23 6
30 11.54 8
8 กางขม้ี อด Albizia odoratissima 21 8.08 2
32 12.31 6
9 เตง็ Shorea obtusa 10 3.85 6
12 4.62 2
10 มะค่าแต้ Sindora siamensis 34 13.08 6
17 6.54 6
11 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 20 7.69 27
555 213.46
12 กระทุ่มเนิน Mitragyna rotundifolia 1,216 467.69

13 ตว้ิ ขน Cratoxylum formosum

14 ขว้าว Haldina cordifolia

15 พลองข้ีควาย Memecylon caeruleum

16 กระบก Irvingia malayana

17 สะแกแสง Cananga latifolia

18 โมกมัน Wrightia arborea

19 ตีนนก Vitex pinnata

20 พะยงู Dalbergia cochinchinensis

21 อื่นๆ Others

รวม


Click to View FlipBook Version