รายงานการสํารวจทรัพยากรป่ าไม้
อุทยานแห่งชาตเิ อราวณั
กลุ่มงานวชิ าการ สํานักบริหารพนื้ ทอ่ี นุรักษ์ ที่ 3 (บ้านโป่ ง)
ส่วนสํารวจและวเิ คราะห์ทรัพยากรป่ าไม้ สํานักฟื้ นฟูและพฒั นาพนื้ ท่อี นุรักษ์
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่ า และพนั ธ์ุพชื พ.ศ. 2557
รายงานการสํารวจทรัพยากรป่ าไม้
อุทยานแห่งชาตเิ อราวณั
กลุ่มงานวชิ าการ สํานักบริหารพนื้ ทอ่ี นุรักษ์ ที่ 3 (บ้านโป่ ง)
ส่วนสํารวจและวเิ คราะห์ทรัพยากรป่ าไม้ สํานักฟื้ นฟูและพฒั นาพนื้ ทอี่ นุรักษ์
กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตว์ป่ า และพนั ธ์ุพชื พ.ศ. 2557
บทสรุปสาํ หรับผ้บู ริหาร
จากสถานการณ์ป่าไม้ในปัจจุบันพบว่า พื้นที่ป่าไม้ในประเทศเหลืออยู่เพียงประมาณร้อยละ 33.56
ของพ้ืนท่ีประเทศ การดาํ เนินการสํารวจทรัพยากรป่าไม้จึงเป็นอกี ทางหนึ่งที่ทาํ ให้ทราบถึงสถานภาพและศักยภาพ
ของทรัพยากร ตลอดจนปัจจยั ทางเศรษฐกจิ และสังคมท่ีมีผลตอ่ การบุกรุกทําลายปา่ เพื่อนํามาใชใ้ นการดาํ เนนิ การ
ตามภาระรบั ผิดชอบต่อไป ซง่ึ กรมอุทยานแห่งชาติ สตั วป์ า่ และพันธุ์พชื ไดด้ ําเนินการมาอยา่ งต่อเน่อื ง
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้จัดสรรงบประมาณการ
ดาํ เนินงานและกําหนดจดุ สํารวจเป้าหมายในพืน้ ที่อุทยานแห่งชาตเิ อราวัณ ซึ่งมีเนื้อท่ี 343,735 ไร่ หรือประมาณ
549.9 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ในท้องที่ ตําบลไทรโยค ตําบลท่าเสา ตําบลลุ่มสุ่ม อําเภอไทรโยค
ตาํ บลหนองเป็ด ตําบลท่ากระดาน อําเภอศรีสวัสดิ์ และตําบลช่องสะเดา อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งอยู่
ในความดแู ลรับผิดชอบของสํานักบรหิ ารพ้ืนท่ีอนุรักษ์ที่ 3 (บ้านโป่ง) จํานวน 60 แปลง และกลุ่มสํารวจทรัพยากร
ป่าไม้ ส่วนสํารวจและวเิ คราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ จํานวน 18 แปลง รวมทั้งส้ิน
จํานวน 78 แปลง สําหรับการวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ท่ีมีขนาดคงท่ี รูปวงกลม 3 วง
ซ้อนกัน คอื วงกลมรศั มี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลําดับ และมวี งกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยตู่ ามทศิ
หลักทงั้ 4 ทศิ
ผลการสํารวจและวเิ คราะหข์ อ้ มลู พบว่า มชี นดิ ปา่ หรอื ลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินที่สํารวจพบ
ท้งั 5 ประเภท ไดแ้ ก่ ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ปา่ เต็งรงั ไรข่ ้าวโพด และหมู่บ้าน โดยป่าเบญจพรรณพบมาก
ทีส่ ดุ คดิ เปน็ ร้อยละ 89.74 ของพื้นท่ีท้ังหมด รองลงมา คือ ป่าดิบแล้ง คิดเป็นร้อยละ 6.41 ของพื้นท่ีทั้งหมด
ปา่ เต็งรงั คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.28 ของพื้นท่ีท้ังหมด ไร่ข้าวโพด คิดเป็นร้อยละ 1.28 ของพ้ืนที่ทั่งหมด และลําดับ
สุดท้ายเป็นหมู่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 1.28 ของพ้ืนท่ีทั้งหมด สําหรับพรรณไม้รวมทุกชนิดป่าพบทั้งสิ้น 51 วงศ์
มีมากกว่า 217 ชนิด รวมจํานวน 13,018,041 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวมท้ังหมด 4,693,980.59 ลูกบาศก์เมตร
มคี วามหนาแน่นของไม้เฉล่ีย 14.30 ต้นต่อไร่ และมีปริมาตรไม้เฉลี่ย 9.17 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ซึ่งเม่ือเรียงลําดับ
จากจาํ นวนต้นที่พบมากสดุ ไปหาน้อยสุด 10 อนั ดับแรก ไดแ้ ก่ แดง (Xylia xylocarpa) กรา่ ง (Ficus altissima)
กระพี้จั่น (Millettia brandisiana) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) งิ้วป่า (Bombax anceps) ส้านใหญ่
(Dillenia obovata) มะเกลือเลือด (Terminalia mucronata) ฉนวน (Dalbergia nigrescens) ลําพูป่า
(Duabanga grandiflora) หาด (Artocarpus lacucha) ตามลําดับ ไม้ยืนต้นพบมากสุดในป่าเบญจพรรณ
รองลงมา คือ ปา่ ดิบแล้ง
กล้าไม้ (Seedling) ทีพ่ บในแปลงสาํ รวจมีมากกว่า 84 ชนิด รวมทั้งสิ้น 117,157,678 ต้น โดย
ชนิดไม้ทม่ี ปี ริมาณมากทสี่ ุด 10 อันดับแรก ไดแ้ ก่ สังกรณี (Barleria strigose) ซาง (Dendrocalamus strictus)
กระเจียวขาว (Curcuma parviflora) ข่าป่า (Alpinia malaccensis) สาบเสือ (Chromolaena odoratum)
หญ้าขน (Coelorachis striata) เข็มป่า (Ixora cibdela) บอนเขียว (Schismatoglottis calyptrate)
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนที่อุทยานแห่งชาตเิ อราวณั
หญ้าคายหลวง (Arundinella hispida) ผกั ควา (Selaginella ostenfeldii) ตามลําดับ ป่าท่ีสํารวจพบจํานวน
กลา้ ไมม้ ากทีส่ ดุ คือ ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คือ ปา่ ดบิ แลง้
ลกู ไม้ (Sapling) ทีพ่ บในแปลงสาํ รวจมมี ากกว่า 78 ชนิด รวมจํานวนทั้งหมด 2,525,659,015 ต้น
ซึง่ เมื่อเรยี งลําดับจํานวนต้นที่พบมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ สาบเสือ (Chromolaena odoratum)
เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) เลี่ยน (Melia azedarach) เข็มป่า (Ixora cibdela) เสี้ยวป่า (Bauhinia
saccocalyx) กระโดงแดง (Bhesa robusta) คนทา (Harrisonia perforate) ปอตีนเต่า (Colona winitii)
กระถนิ (Leucaena leucocephala) นมววั (Anomianthus dulcis) ตามลําดับ ป่าที่สํารวจพบจํานวนลูกไม้
มากท่ีสดุ คือ ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คือ ป่าดบิ แลง้
ไผ่ (Bamboo) ท่ีพบในแปลงสาํ รวจ มีจาํ นวน 7 ชนิด มีจาํ นวน 9,053,451 กอ รวมทั้งสิ้น
จํานวน 130,993,002 ลํา และไมก้ อทพ่ี บในแปลงสาํ รวจ มจี ํานวน 1 ชนดิ มีจํานวน 169,223 กอ รวมท้ังสิ้น
จํานวน 521,772 ต้น ได้แก่ ไผ่ผากมัน (Gigantochloa hasskarliana) ซาง (Dendrocalamus strictus)
ไผ่รวก (Thyrsostachys siamensis) ไผ่ไร่ (Gigantochloa albociliata) บงดํา (Bambusa tulda) ไผ่ซางนวล
(Dendrocalamus membranaceus) ไผ่ป่า (Bambusa bambos) กล้วยป่า (Musa acuminata) ซ่ึงพบ
ไดใ้ น ป่าดิบแลง้ และป่าเบญจพรรณ
สว่ นปรมิ าณหวายเส้นตั้งและหวายนอน ไม่พบในสํารวจพบ และตอไม้ท่ีสํารวจพบ มีมากกว่า 7
ชนดิ รวมจํานวนทั้งสิ้น 225,631 ตอ มีค่าความหนาแน่นของตอไม้เฉล่ีย 0.66 ตอต่อไร่ โดยพบจํานวนตอมาก
ที่สดุ ในปา่ เบญจพรรณ มีจํานวน 169,223 ตอ รองลงมาพบในป่าดิบแล้ง มีจํานวน 56,408 ตอ ส่วนในป่าเต็งรัง
ไรข่ ้าวโพด และหมูบ่ า้ นไมพ่ บตอไม้
สว่ นผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู สงั คมพชื พบว่า ชนิดไม้ทีม่ ีความถี่ (Frequency) มากทส่ี ุด คือ กระพี้จั่น
(Millettia brandisiana) รองลงมา คือ แดง (Xylia xylocarpa) ชนิดไม้ที่มีความหนาแน่นของพืชพรรณ
(Density) มากท่ีสุด คือ กระโดงแดง (Bhesa robusta) รองลงมา คือ กระพ้ีจ่ัน (Millettia brandisiana)
ชนิดไม้ท่ีมีความเด่น (Dominance) มากที่สุด คือ ไทร (Ficus drupacea) รองลงมา คือ แดง (Xylia xylocarpa)
ชนิดไม้ที่มีความถี่สัมพัทธ์ (Relative Frequency) มากที่สุด คือ กระพี้จ่ัน (Millettia brandisiana) รองลงมา
คอื แดง (Xylia xylocarpa) งิ้วปา่ (Bombax anceps) และ เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) ชนิดไม้ที่มี
ความหนาแน่นสมั พัทธ์ (Relative Density) มากที่สดุ คือ กระโดงแดง (Bhesa robusta) รองลงมา คือ กระพี้จ่ัน
(Millettia brandisiana) ชนิดไม้ที่มีความเด่นสัมพัทธ์ (Relative Dominance) มากท่ีสุด คือ ไทร (Ficus
drupacea) รองลงมา คือ แดง (Xylia xylocarpa) ชนิดไม้ที่มีค่าความสําคัญทางนิเวศวิทยา (Importance
Value Index : IVI) มากท่ีสุด คือ กระโดงแดง (Bhesa robusta) รองลงมา คือ กระพี้จ่ัน (Millettia brandisiana)
และข้อมูลเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินที่มีความ
หลากหลายของชนิดพันธ์ุไม้ (Species Diversity) มากที่สุด คือ ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คือ ป่าดิบแล้ง ชนิดป่า
หรือลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินที่มีความมากมายของชนิดพันธุ์ไม้ (Species Richness) มากที่สุด คือ
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ทีอ่ ุทยานแหง่ ชาตเิ อราวณั
ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คือ ป่าดิบแล้ง และชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินท่ีมีความสมํ่าเสมอของ
ชนดิ พันธ์ุไม้ (Species Evenness) มากทีส่ ดุ คอื ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คอื ปา่ เต็งรัง
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลโครงสร้างป่าในทุกชนิดป่าหรือทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน พบว่า
มีไม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) ระหว่าง 15-45 เซนติเมตร จํานวน 8,538,730 ต้น คิดเป็นร้อยละ
64.59 ของไม้ทั้งหมด ไม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) อยู่ระหว่าง >45-100 เซนติเมตร มีจํานวน
3,433,825 ต้น คิดเป็นร้อยละ 25.97 ของไม้ทง้ั หมด และไมย้ นื ตน้ ขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่า 100
เซนตเิ มตรขึน้ ไป จํานวน 1,248,022 ต้น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 9.44 ของไมท้ ง้ั หมด
จากผลการดําเนินงานดงั กล่าว ทําใหท้ ราบข้อมลู พน้ื ฐานเกย่ี วกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้าน
กําลังผลิตและความหลากหลายของพนั ธุพ์ ชื ในพืน้ ทต่ี า่ งๆ ของอุทยานแห่งชาตเิ อราวณั อีกทัง้ ยังเป็นแนวทางใน
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ เกี่ยวกับรูปแบบ วิธีการสํารวจ และการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบและแบบ
แผนเพ่ือเป็นแนวทางในการตดิ ตามการเปลย่ี นแปลงของทรัพยากรปา่ ไมใ้ นพน้ื ที่อทุ ยานแห่งชาตเิ อราวณั ตอ่ ไป
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติเอราวัณ
สารบญั i
สารบัญ หน้า
สารบัญตาราง i
สารบัญภาพ iii
คํานาํ v
วตั ถปุ ระสงค์ 1
เปา้ หมายการดําเนนิ การ 2
ข้อมูลทว่ั ไปอทุ ยานแห่งชาติเอราวณั 2
3
ประวตั คิ วามเปน็ มา 3
ทีต่ งั้ และอาณาเขต 3
การเดนิ ทางและเสน้ ทางคมนาคม 4
ลักษณะภมู ิประเทศ 5
ลกั ษณะภมู อิ ากาศ 6
พืชพนั ธ์แุ ละสตั ว์ป่า 6
จดุ เดน่ ทน่ี า่ สนใจ 7
รปู แบบและวธิ ีการสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
การสมุ่ ตวั อยา่ ง (Sampling Design) 11
รูปรา่ งและขนาดของแปลงตัวอย่าง (Plot Design) 11
ขนาดของแปลงตัวอย่างและขอ้ มลู ทที่ ําการสํารวจ 11
การวิเคราะหข์ ้อมลู การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้ 12
13
1. การวเิ คราะหข์ อ้ มูลทว่ั ไป 13
2. การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับชนดิ และปรมิ าณของไม้ยนื ตน้ (Tree) 13
3. การวเิ คราะหข์ ้อมูลชนดิ และปริมาณของลูกไม้ (Sapling) และกล้าไม้ (Seedling) 13
4. การวิเคราะห์ข้อมูลเก่ยี วกับชนดิ และปรมิ าณของไมไ้ ผ่ หวาย 13
5. การวิเคราะห์ขอ้ มลู สงั คมพืช 13
14
6. การวิเคราะหข์ ้อมูลปริมาตรไม้ใหญ่ 14
7. วเิ คราะห์ข้อมลู ความหลากหลายทางชีวภาพ 15
8. ศกึ ษาคุณคา่ ทางนิเวศวทิ ยา 16
9. การประเมนิ สถานภาพทรัพยากรปา่ ไม้ 17
ผลการสาํ รวจและวเิ คราะหข์ อ้ มูลทรพั ยากรปา่ ไม้ 17
1. การวางแปลงตัวอย่าง
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้นื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาตเิ อราวัณ
สารบญั (ตอ่ ) ii
2. พนื้ ทีป่ ่าไม้ หน้า
3. ปรมิ าณไม้ 18
4. ชนดิ พันธ์ุไม้ 23
5. ขอ้ มลู สงั คมพชื 27
6. ความหลากหลายทางชีวภาพ 36
สรปุ ผลการสาํ รวจและวเิ คราะหข์ ้อมลู ทรพั ยากรปา่ ไม้ 40
วจิ ารณผ์ ลการศึกษา 41
ปญั หาและอปุ สรรค 45
ข้อเสนอแนะ 45
เอกสารอา้ งอิง 46
ภาคผนวก 47
48
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนที่อุทยานแห่งชาตเิ อราวัณ
iii
สารบญั ตาราง
ตารางท่ี หน้า
1 ขนาดของแปลงตวั อย่างและขอ้ มลู ท่ีดําเนินการสํารวจ 11
2 พื้นที่ปา่ ไมจ้ ําแนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ี่ดินในอทุ ยานแหง่ ชาตเิ อราวณั 19
(Area by Landuse Type)
3 ปริมาณไม้ทั้งหมดจําแนกตามลักษณะการใช้ประโยชนท์ ดี่ ินในอทุ ยานแหง่ ชาตเิ อราวัณ 23
(Volume by Landuse Type)
4 ความหนาแนน่ และปริมาตรไม้ตอ่ หน่วยพนื้ ทจ่ี าํ แนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ นิ 25
ในอทุ ยานแห่งชาติเอราวัณ (Density and Volume per Area by Landuse Type)
5 การกระจายขนาดความโตของไม้ท้ังหมดในอุทยานแห่งชาติเอราวณั 26
6 ปริมาณไมท้ งั้ หมดของอุทยานแหง่ ชาตเิ อราวัณ (30 ชนดิ แรกท่ีมีปริมาตรไม้สูงสุด) 29
7 ปริมาณไมใ้ นป่าดบิ แลง้ ของอทุ ยานแห่งชาติเอราวัณ (30 ชนิดแรกทม่ี ปี ริมาตรไมส้ งู สดุ ) 30
8 ปริมาณไมใ้ นพนื้ ท่ีปา่ เบญจพรรณของอทุ ยานแหง่ ชาตเิ อราวัณ (30 ชนิดแรกท่มี ีปริมาตรไม้สงู สดุ ) 31
9 ปริมาณไมใ้ นพนื้ ที่ปา่ เต็งรังของอุทยานแหง่ ชาตเิ อราวณั 32
10 ชนดิ และปรมิ าณไม้ไผ่ หวาย และไมก้ อ ทีพ่ บในอุทยานแหง่ ชาตเิ อราวณั 33
11 ชนดิ และปริมาณของกลา้ ไม้ (Seedling) ท่ีพบในอทุ ยานแหง่ ชาตเิ อราวัณ 34
(30 ชนดิ แรกทมี่ ีปรมิ าณสูงสดุ )
12 ชนิดและปริมาณของลกู ไม้ (Sapling) ท่พี บในอทุ ยานแห่งชาติเอราวณั 35
(30 ชนิดแรกทม่ี ปี รมิ าณสูงสดุ )
13 ชนิดและปริมาณของตอไม้ (Stump) ทีพ่ บในอทุ ยานแห่งชาติเอราวณั 36
(30 ชนดิ แรกทมี่ ปี ริมาณสูงสดุ )
14 ดชั นคี วามสาํ คญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าดิบแล้ง 37
ในอุทยานแห่งชาตเิ อราวัณ (20 อันดบั แรก)
15 ดชั นีความสําคญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าเบญจพรรณ 38
ในอทุ ยานแหง่ ชาตเิ อราวัณ (20 อันดับแรก)
16 ดชั นคี วามสําคัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ เต็งรัง 39
ในอุทยานแหง่ ชาตเิ อราวณั
17 ความหลากหลายทางชวี ภาพ (Biodiversity) ในอุทยานแหง่ ชาตเิ อราวณั 40
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนที่อุทยานแหง่ ชาตเิ อราวัณ
สารบญั ภาพ iv
ภาพที่ หนา้
1 ป้ายตอ้ นรบั นักท่องเท่ยี ว อทุ ยานแหง่ ชาติเอราวณั 5
2 น้ําตกเอราวณั บรเิ วณช้นั ท่ี 2 6
3 น้าํ ตกเอราวัณชัน้ ที่ 7 8
4 นาํ้ ตกเอราวัณบริเวณช้นั ท่ี 5 8
5 หินภายในถาํ้ พระธาตุ 9
6 ลกั ษณะและขนาดของแปลงตวั อย่าง 11
7 แผนทแี่ สดงขอบเขตและชนดิ ของป่าของอุทยานแห่งชาติเอราวัณ 17
8 แปลงตัวอย่างทไ่ี ดด้ ําเนนิ การสํารวจภาคสนามในอุทยานแห่งชาติเอราวัณ 18
9 พื้นท่ีป่าไม้จาํ แนกตามชนดิ ป่าในพ้นื ท่อี ทุ ยานแห่งชาตเิ อราวัณ 19
10 ลกั ษณะทั่วไปของปา่ ดิบแล้งในพน้ื ทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาตเิ อราวัณ 20
11 ลักษณะท่ัวไปของปา่ เบญจพรรณในพืน้ ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาติเอราวณั 21
12 ลักษณะทว่ั ไปของป่าเต็งรงั ในพืน้ ท่อี ุทยานแห่งชาติเอราวัณ 22
13 ปรมิ าณไมท้ งั้ หมดท่พี บในพืน้ ท่อี ทุ ยานแห่งชาตเิ อราวณั 24
14 ปริมาตรไมท้ ัง้ หมดทีพ่ บในพนื้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาตเิ อราวัณ 24
15 ความหนาแนน่ ของไม้ (ตน้ /ไร)่ ทงั้ หมดในพน้ื ท่อี ุทยานแหง่ ชาตเิ อราวัณ 25
16 ปรมิ าตรไม้ (ลบ.ม./ไร่) ของพน้ื ทแ่ี ตล่ ะประเภทในพื้นที่อทุ ยานแหง่ ชาติเอราวณั 26
17 การกระจายขนาดความโตของไม้ท้ังหมดในพืน้ ทอ่ี ุทยานแห่งชาตเิ อราวัณ 26
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนที่อุทยานแห่งชาตเิ อราวัณ
1
คาํ นาํ
ปัจจบุ นั ประเทศไทยมพี ้ืนที่ป่าไม้เหลืออยู่ประมาณร้อยละ 33.56 ของพ้ืนท่ีประเทศ (ที่มา : หนังสือ
ข้อมูลสถติ ิอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พชื , 2552) เพอ่ื ใหก้ ารดาํ เนนิ งานของกรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สัตว์ป่า
และพันธพุ์ ชื ที่จะต้องดําเนินการอนุรักษ์ สงวน และฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพ มีการพัฒนาการใช้ทรัพยากร
ป่าไมอ้ ย่างยั่งยืน จึงจาํ เปน็ ทจ่ี ะต้องทราบถึงสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากร โดยเฉพาะทรัพยากรป่าไม้
รวมท้ังความหลากหลายทางชีวภาพที่มีอยู่ในพื้นท่ีป่าไม้ ตลอดจนปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมท่ีมีผลต่อการ
บุกรุกทาํ ลายปา่ เพอื่ นาํ มาใชใ้ นการดาํ เนินการตามภาระรบั ผิดชอบต่อไป ส่วนสํารวจและวเิ คราะห์ทรัพยากรปา่ ไม้
สาํ นกั ฟื้นฟูและพฒั นาพนื้ ทอี่ นุรกั ษ์ รว่ มกบั สํานกั บริหารพืน้ ทอ่ี นรุ กั ษ์ที่ 3 (บ้านโป่ง) จึงได้ดําเนินการสํารวจพื้นท่ีป่า
ในความรับผิดชอบ เพื่อรวบรวมเป็นฐานข้อมูลในการดําเนินงานในกิจกรรมที่มีความเกี่ยวข้องกับความหลากหลาย
ทางชีวภาพ รวมท้ังใช้ในการประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้และทรัพยากรอื่นๆ ที่เก่ียวข้อง
เพอื่ นําไปพฒั นาการอนรุ กั ษ์ หรือใชเ้ ปน็ ต้นแบบในการดําเนนิ การในพน้ื ทอี่ น่ื ๆ ต่อไป
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้เพ่ือประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้ และเพื่อติดต้ัง
ระบบติดตามความเปลยี่ นแปลงของทรพั ยากรปา่ ไม้ รวมทง้ั ทรพั ยากรอื่นที่เก่ียวข้อง ไดร้ บั การจดั สรรงบประมาณ
ในการดาํ เนนิ งานและกําหนดจุดสาํ รวจเป้าหมายโดยส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟื้นฟูและ
พฒั นาพื้นท่ีอนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ซ่ึงการดําเนินงานดังกล่าวสอดคล้องกับภารกิจ
ของกรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตวป์ ่า และพนั ธุพ์ ืช ทจ่ี ะต้องดําเนินการอนุรักษ์ สงวน และฟื้นฟูความหลากหลายทาง
ชวี ภาพ ให้มกี ารใช้ประโยชน์จากทรัพยากรป่าไม้อยา่ งยัง่ ยืน โดยมวี ัตถปุ ระสงค์เพื่อทราบข้อมูลพ้ืนฐานเกี่ยวกับ
ทรพั ยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้านกาํ ลังผลิตและความหลากหลายของพชื พันธใ์ุ นพ้นื ทีต่ ่างๆ ของประเทศไทย สาํ หรบั
รปู แบบและวิธีการสาํ รวจใช้การสํารวจแบบกลุ่มแปลงตัวอย่าง (Cluster) และวิธีสุ่มตัวอย่างแบบสมํ่าเสมอ (Systematic
Sampling) ในพ้ืนท่ีภาพถา่ ยดาวเทียมทม่ี ีการแปลสภาพวา่ เป็นป่า โดยใหแ้ ต่ละกลุ่มแปลงตัวอย่างมีระยะห่าง
เทา่ ๆ กนั บนเส้นกรดิ แผนที่ (Grid) ไดแ้ ก่ 10x10 กโิ ลเมตร, 5x5 กิโลเมตร, 3x3 กโิ ลเมตร และ 2.5x2.5 กิโลเมตร
แตกต่างกันไปตามปีงบประมาณและพนื้ ทที่ ี่ได้รับการสุ่ม โดยระบบ Datum ของแผนท่ีสํารวจส่วนใหญ่ จะเป็น
Indian Thailand 1975 ส่วนปงี บประมาณท่ใี ช้ระบบ Datum เปน็ WGS 84 คอื ต้ังแต่ปีงบประมาณ 2555
เปน็ ตน้ ไป
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พนื้ ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาตเิ อราวณั
2
วัตถปุ ระสงค์
1. เพื่อให้ทราบข้อมูลพ้ืนฐานเก่ียวกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้านกําลังผลิต และความ
หลากหลายของพชื พันธุ์ในพืน้ ทอี่ นรุ ักษต์ ่างๆ ในความรับผดิ ชอบ
2. เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ เกี่ยวกับรูปแบบ วิธีการสํารวจ และการ
วิเคราะห์ข้อมูลอยา่ งเปน็ ระบบและแบบแผน
3. เพ่ือเปน็ แนวทางในการวางระบบตดิ ตามการเปล่ียนแปลงของทรพั ยากรป่าไม้ในพ้นื ท่ี
4. เพื่อให้ได้ข้อมูลพ้ืนฐานเก่ียวกับพรรณไม้เด่นและชนิดไม้มาใช้ในการวางแผนเพาะชํากล้าไม้
เพื่อปลกู เสริมป่าในแต่ละพื้นที่
เปา้ หมายการดาํ เนินงาน
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2557 สว่ นสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรปา่ ไม้ สาํ นักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นท่ี
อนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตวป์ า่ และพันธพุ์ ืช ไดจ้ ัดสรรงบประมาณการดําเนินงานและกําหนดพ้ืนท่ีสํารวจ
เป้าหมายในพนื้ ที่อุทยานแห่งชาตเิ อราวัณ ครอบคลุมพืน้ ท่ี ตําบลไทรโยค ตาํ บลท่าเสา ตําบลลุ่มสุ่ม อําเภอไทรโยค
ตําบลหนองเป็ด ตาํ บลทา่ กระดาน อําเภอศรีสวัสดิ์ และตําบลช่องสะเดา อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งอยู่ใน
ความดูแลรับผดิ ชอบของสาํ นักบรหิ ารพื้นที่อนุรักษ์ท่ี 3 (บ้านโป่ง) จํานวน 60 แปลง และกลุ่มสํารวจทรัพยากรป่าไม้
ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ จํานวน 18 แปลง รวมทั้งส้ิน
จาํ นวน 78 แปลง
การสาํ รวจใช้การวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ที่มีขนาดคงท่ี รูปวงกลม 3 วง
ซอ้ นกัน คือ วงกลมรศั มี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลาํ ดบั และมีวงกลมขนาดรศั มี 0.631 เมตร อยู่ตามทศิ หลกั
ท้ัง 4 ทิศ โดยจุดศนู ยก์ ลางของวงกลมท้งั 4 ทิศ จะอยู่บนเสน้ รอบวงกลมของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร จํานวนทง้ั ส้ิน
150 แปลง และทําการเก็บขอ้ มลู การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้ตา่ งๆ อาทิ เช่น ชนดิ ไม้ ขนาดความโต ความสูง
จํานวนกล้าไม้และลูกไม้ ชนิดป่า ลักษณะต่างๆ ของพ้ืนทีท่ ่ีต้นไม้ขึ้นอยู่ ข้อมูลลักษณะภูมิประเทศ เช่น ระดับ
ความสูง ความลาดชัน เปน็ ต้น ตลอดจนการเก็บข้อมูลองค์ประกอบร่วมของป่า เช่น ไม้ไผ่ หวาย ไม้พุ่ม เถาวัลย์
และพืชชนั้ ลา่ ง แลว้ นํามาวเิ คราะห์และประมวลผลเพื่อให้ทราบเนื้อที่ป่าไม้ ชนิดป่า ชนิดไม้ ปริมาณ และความ
หนาแนน่ ของหมไู่ ม้ กําลังผลติ ของป่า ตลอดจนการสืบพันธต์ุ ามธรรมชาติของหมูไ่ มใ้ นปา่ น้นั
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ทอี่ ุทยานแห่งชาตเิ อราวณั
3
ข้อมลู ทวั่ ไปอทุ ยานแห่งชาตเิ อราวณั
ประวตั ิความเปน็ มา
มปี ระวัตคิ วามเป็นมาอันยาวนานตงั้ แตส่ มัย พณฯ จอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต์ ดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรี
คณะรัฐมนตรีได้มีมตกิ ารประชมุ เมือ่ วนั ท่ี 7 ตลุ าคม 2502 ให้กระทรวงเกษตร (กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ในปัจจุบัน) ดําเนินการจัดตั้งป่าเทือกเขาสลอบ ท้องที่จังหวัดกาญจนบุรี และป่าอ่ืนๆ ในท้องท่ีจังหวัดต่างๆ
รวม 14 ป่า ให้เปน็ อุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้จึงได้ส่งเจ้าหน้าที่ดําเนินการสํารวจหาข้อมูลเบ้ืองต้น ต้ังแต่ พ.ศ.
2504-2515 โดยใช้บริเวณน้ําตกเอราวัณเป็นศูนย์กลางการสํารวจ พบว่า บริเวณป่าเทือกเขาสลอบ จังหวัด
กาญจนบรุ ี มีธรรมชาติทสี่ วยงามเป็นพิเศษ และมีทรัพยากรธรรมชาติท่ีอุดมสมบูรณ์ แต่เนื่องจากพื้นท่ีดังกล่าว
อยู่ในเขตหวงห้ามที่ดินตามพระราชกฤษฎีกากาํ หนดเขตหวงห้ามที่ดิน ในท้องที่อําเภอเมือง อําเภอวังขนาย
อําเภอบา้ นทวน และอําเภอวังกะ จังหวัดกาญจนบุรี โดยให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมและกระทรวงมหาดไทย
มหี นา้ ทร่ี ักษาการณใ์ หเ้ ปน็ ไปตามพระราชกฤษฎกี าดังกลา่ ว กรมป่าไม้จึงมีรายงานให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แจ้งใหก้ ระทรวงกลาโหมและกระทรวงมหาดไทย ขอเพกิ ถอนพนื้ ทเี่ ขตหวงห้ามทดี่ นิ บางส่วนที่เป็นป่าเทือกเขา
สลอบ เพื่อเป็นพื้นที่อุทยานแห่งชาติ ซึ่งคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติได้มีมติเห็นชอบให้ดําเนินการจัดตั้ง
อทุ ยานแหง่ ชาตไิ ด้ โดยมพี ระราชกฤษฎกี าเพิกถอนทด่ี นิ หวงห้ามดังกล่าวลงประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา เม่ือ
วันที 19 มิถุนายน 2518 และได้มีพระราชกฤษฎีกากําหนดบริเวณท่ีดินป่าเขาสลอบ ในท้องที่ตําบลไทรโยค
ตําบลท่าเสา ตาํ บลลุ่มสมุ่ อาํ เภอไทรโยค ตําบลหนองเปด็ ตําบลทา่ กระดาน อาํ เภอศรีสวัสดิ์ และตําบลช่องสะเดา
อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2518 และให้ใช้ช่ือว่า "อุทยานแห่งชาติเอราวัณ"
ตามความนิยมและคุ้นเคยของประชาชนที่รู้จักนํ้าตกเอราวัณเป็นอย่างดี โดยมีเน้ือที่ประมาณ 549.9 ตารางกิโลเมตร
หรอื 343,735 ไร่ นับเป็นอทุ ยานแหง่ ชาติลําดบั ที่ 12 ของประเทศ
ทต่ี ง้ั และอาณาเขต
ท่ีตั้งอุทยานแห่งชาติเอราวัณ มีที่ทําการต้ังอยู่ในท้องที่ หมู่ 4 ตําบลท่ากระดาน อําเภอศรีสวัสด์ิ
จังหวัดกาญจนบุรี มีอาณาเขตครอบคลุมในระวางแผนท่ีมาตรส่วน 1:50,000 ลําดับชุด L7017 ระวาง 4737I,
4837III และ 4837IV มีค่าพิกัดท่ีตั้ง 47P 0516000E 1589000N อุทยานแห่งชาติเอราวัณมีพื้นท่ีครอบคลุมอยู่
ในท้องท่ี ตําบลไทรโยค ตําบลท่าเสา ตําบลลุ่มสุ่ม อําเภอไทรโยค ตําบลหนองเป็ด ตําบลท่ากระดาน อําเภอศรีสวัสดิ์
และตําบลช่องสะเดา อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี โดยมีเนื้อที่ประมาณ 549.9 ตารางกิโลเมตร หรือ 343,735 ไร่
โดยมอี าณาเขตตดิ ตอ่ ดงั น้ี
ทิศเหนอื จดอุทยานแหง่ ชาตเิ ขอ่ื นศรนี ครินทร์
ทิศใต้ จดเขตรักษาพนั ธสุ์ ัตวป์ า่ สลกั พระ
ทศิ ตะวันออก จดอุทยานแห่งชาติไทรโยค
ทิศตะวนั ตก จดกับเขาบา้ นกลางและห้วยทบั ศลิ า
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ท่ีอุทยานแห่งชาตเิ อราวณั
4
หนว่ ยงานในพ้นื ที่
หนว่ ยพทิ กั ษ์อทุ ยานแห่งชาติเอราวัณ ที่ อว.1 (ถํา้ พระธาตุ)
หน่วยพทิ กั ษ์อุทยานแหง่ ชาติเอราวณั ท่ี อว.2 (ปลายดินสอ)
หนว่ ยพทิ กั ษ์อุทยานแหง่ ชาติเอราวัณ ท่ี อว.3 (วังบาดาล)
หนว่ ยพทิ กั ษ์อุทยานแหง่ ชาติเอราวัณ ที่ อว.4 (ทบั ศลิ า)
หนว่ ยพิทักษอ์ ุทยานแหง่ ชาติเอราวัณ ท่ี อว.5 (ผาลน่ั )
หน่วยพทิ ักษ์อทุ ยานแหง่ ชาติเอราวณั ที่ อว.6 (มะตูม)
หนว่ ยพทิ ักษอ์ ุทยานแห่งชาติเอราวัณ ท่ี อว.7 (หนองบอน)
หนว่ ยพทิ กั ษ์อุทยานแหง่ ชาติเอราวณั ท่ี อว.8 (ลาํ ต้น)
การเดนิ ทางและเสน้ ทางคมนาคม
การเดินทางเขา้ ส่อู ุทยานแห่งชาติเอราวัณมี 3 เลือกในการเดนิ ทาง ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. ทางรถยนต์ส่วนบุคคล ไปตามถนนเพชรเกษมหรือถนนบรมราชชนนี ผ่านอําเภอนครชัยศรี
อาํ เภอบ้านโป่ง อําเภอท่ามะกา อําเภอท่าม่วง ถึงจังหวัดกาญจนบุรี รวมระยะทาง 129 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทาง
ประมาณหนงึ่ ช่ัวโมงคร่ึง สําหรับการเดินทางจากตัวเมืองกาญจนบุรีไปยังอุทยานแห่งชาติเอราวัณสามารถใช้ได้
2 เส้นทาง คือ สายท่ี 1 เริ่มต้นจากจังหวัดกาญจนบุรีไปตามทางหลวงจังหวัดหมายเลข 3199 ถึงเขตของการ
ไฟฟา้ ฝา่ ยผลิต แหง่ ประเทศไทยเขื่อนศรีนครินทร์ ข้ามสะพานไปยังตลาดเข่ือนศรีนครินทร์ แล้วจึงเลยเข้าไปยัง
ทที่ าํ การอทุ ยานแหง่ ชาติเอราวณั ระยะทางทงั้ ส้ินประมาณ 70 กิโลเมตร สายท่ี 2 เดินทางจากอุทยานแห่งชาติ
ไทรโยค จะมเี ส้นทางบริเวณบา้ นวังใหญอ่ ยูห่ า่ งจากน้ําตกไทรโยคน้อยประมาณ 6 กิโลเมตร ลัดออกไปบ้านโป่ง
ปัดบริเวณเขื่อนท่าทุ่งนาระยะทางประมาณ 15 กิโลเมตร แล้วเล้ียวซ้ายไปตามถนนหมายเลข 3199 อีกประมาณ
25 กโิ ลเมตรถงึ ทท่ี าํ การอทุ ยานแห่งชาตเิ อราวณั
2. ทางรถไฟ ออกจากสถานีรถไฟบางกอกน้อยวันละ 2 เที่ยว ได้แก่ เวลา 07.50 น. และ 13.45 น.
โดยแวะจอดท่ีสถานีกาญจนบุรี สะพานข้ามแม่นํ้าแคว ท่ากิเลน สถานีน้ําตก ส่วนในวันเสาร์-อาทิตย์ และ
วนั หยดุ ราชการ มีรถไฟเที่ยวพิเศษนําเท่ียวไปกลับภายในวันเดียว ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมท่ีสถานีรถไฟกาญจนบุรี
หมายเลขโทรศพั ท์ 0-3451-1285
3. ทางรถโดยสารธรรมดาหรือรถโดยสารปรบั อากาศ ออกจากสถานีขนส่งสายใต้ทุก 15 นาที ตั้งแต่
เวลา 04.00-20.30 น. ถึงจังหวัดกาญจนบุรี ใช้เวลาเดินทางประมาณ 2 ช่ัวโมง 30 นาที หลังจากนั้นเดินทางโดย
รถโดยสารประจําทางจากสถานีขนสง่ กาญจนบุรี หมายเลข 8170 กาญจนบุรี-เอราวัณ มีรถทุก 1 ชั่วโมง ตั้งแต่
เวลา 08.00-17.20 น. เพ่ือเดินทางเข้าสู่อุทยานแห่งชาติเอราวัณ ใช้เวลาเดินทางประมาณ 1 ชั่วโมง 30 นาที รวม
ระยะทางประมาณ 70 กิโลเมตร หรือออกจากสถานีขนส่งหมอชิต 2 ชั้น 1 ช่อง 21 สายกรุงเทพฯ-ด่านเจดีย์
สามองค์ ตั้งแต่เวลา 05.00-19.00 น. โดยแวะจอดที่สถานีขนส่งจังหวัดกาญจนบุรี ใช้เวลาประมาณ 2 ช่ัวโมง
30 นาที หลงั จากนัน้ เดินทางโดยรถโดยสารประจาํ ทางสายกาญจนบรุ -ี เอราวัณ เพอื่ เดินทางเขา้ สู่อุทยานฯ
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ท่อี ุทยานแหง่ ชาติเอราวณั
5
ภาพที่ 1 ป้ายต้อนรบั นักท่องเทย่ี ว อุทยานแห่งชาตเิ อราวณั
ลักษณะภูมปิ ระเทศ
อุทยานแห่งชาติเอราวัณ มีลักษณะพ้ืนท่ีเป็นภูเขาสูงชันอยู่สูงจากระดับนํ้าทะเล ต้ังแต่ 165-996
เมตร สลบั กับพ้ืนทรี่ าบ โดยภูเขาส่วนใหญเ่ ปน็ เทือกเขาหินปูน ในแถบตะวันออกและตะวันตกของพื้นท่ีจะยก
ตวั สูงขึน้ เป็นแนวโดยเฉพาะบริเวณใกลน้ า้ํ ตกเอราวัณจะมลี กั ษณะเป็นหน้าผา สว่ นบรเิ วณตอนกลางจะเปน็ แนว
เขาทอดยาวในแนวทศิ ตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยเทือกเขาท่ีสําคัญ คือ เขาหนองพุก
เขาปลายดนิ สอ เขาหมอเฒ่า เขาช่องปูน เขาพรุ างรนิ และเขาเกราะแกระซ่ึงเป็นยอดเขาสูงสุดประมาณ 996 เมตร
จากระดบั น้ําทะเลปานกลาง เทอื กเขาเหล่าน้ีเป็นต้นกําเนิดของลําห้วยท่ีสําคัญหลายสาย สามารถแบ่งออกเป็น
2 ส่วน คือ ในพน้ื ทดี่ ้านตะวนั ออกนจี้ ะมลี ําห้วยท่ีสาํ คญั คือ ห้วยม่องไล่ และห้วยอมตะลา ซ่ึงไหลมาบรรจบกัน
กลายมาเป็นนํ้าตกเอราวัณ ทางตอนเหนือของพื้นท่ีมีห้วยสะแดะและห้วยหนองกบ โดยห้วยสะแดะจะระบายนํ้า
ลงสู่เขื่อนศรีนครินทร์ ส่วนห้วยหนองกบไหลไปรวมกับห้วยไทรโยคก่อให้เกิดน้ําตกไทรโยค ส่วนในพ้ืนท่ีด้าน
ตะวนั ตกและด้านใต้ ไดแ้ ก่ ห้วยทบั ศลิ า หว้ ยเขาพงั ซง่ึ เปน็ ต้นกําเนิดน้ําตกท่ีสวยงามท่ีเรียกว่า “นํ้าตกเขาพัง” หรือ
นํ้าตกไทรโยคนอ้ ย
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาติเอราวัณ
6
ภาพที่ 2 นาํ้ ตกเอราวัณบริเวณช้นั ท่ี 2
ลกั ษณะภมู อิ ากาศ
สภาพภูมิอากาศของอุทยานแห่งชาติเอราวัณแบ่งออกเป็น 3 ฤดู คือ ฤดูฝน ระหว่างเดือน
พฤษภาคม-ตุลาคม ฤดูหนาว ระหว่างเดือนพฤศจิกายน-มกราคม และฤดูร้อน ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์-
เมษายน อุทยานแห่งชาติเอราวัณได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และตะวันออกเฉียงเหนือช่วยพัด
พาให้เกิดฝน แต่เน่ืองจากพ้ืนที่อยู่ในเขตเงาฝน ทําให้มีปริมาณฝนตกไม่มากนัก และอากาศค่อนข้างร้อน
ลกั ษณะอากาศดงั กลา่ วจึงไมเ่ ป็นปญั หาตอ่ การเที่ยวชม ทาํ ใหส้ ามารถไปเท่ยี วไดท้ ุกฤดู
พืชพนั ธุ์และสตั ว์ปา่
ลกั ษณะพชื พรรณธรรมชาติ
สภาพปา่ ของอทุ ยานแหง่ ชาติเอราวัณ ประกอบด้วย
1. ป่าเบญจพรรณ มีร้อยละ 81.05 ของพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติ ข้ึนปกคลุมต้ังแต่ระดับความสูง
100-800 เมตร จากระดับนํ้าทะเล พนั ธ์ุไม้ที่สาํ คญั ไดแ้ ก่ มะคา่ โมง ตะเคียนหนู รกฟ้า ผา่ เสีย้ น ประดู่ ส้มเสย้ี ว
แต้ว มะกอก ตะแบก ขานาง มะเกลือ หว้า ฯลฯ มีไผ่ชนิดต่างๆ ข้ึนกระจายอยู่ทั่วไปหรือบางแห่งข้ึนเป็นกลุ่ม
ได้แก่ ไผป่ ่า ไผ่รวก ไผ่ซางนวล และไผ่หอบ นอกจากน้ียังมีพวกไม้เลื้อยและพืชพ้ืนล่าง ได้แก่ เส้ียวเครือ นมแมว
เลบ็ เหยย่ี ว หนามคนทา ชอ้ งแมว มะเม่าไข่ปลา ย่านลิเภา เปล้าหลวง กระทอื สังกรณี และเอ้ืองหมายนา เปน็ ตน้
2. ป่าเต็งรัง มีร้อยละ 1.68 กระจายอยู่ในระดับความสูง 100-800 เมตรจากระดับน้ําทะเลปานกลาง
บริเวณทุ่งยายหอม หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติท่ี อว. 8 (ลําต้น) และบริเวณใกล้เข่ือนทุ่งนา พันธ์ุไม้ที่พบ
ได้แก่ เต็ง รัง แดง ก่อแพะ มะขามป้อม อ้อยช้าง ยอป่า กรวยป่า โมกหลวง ก้างขี้มอด ส้าน เหมือดคน ฯลฯ
พืชพืน้ ลา่ งได้แก่ หญ้าขน หญา้ หางเสอื เลบ็ แมว เถาว์กระทงลาย เป้ง ลูกใต้ใบ ผักหวาน ผักเป็ด พลับพลา และ
ปอ เปน็ ตน้
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ที่อทุ ยานแห่งชาตเิ อราวณั
7
3. ป่าดิบแล้ง มีร้อยละ 14.35 อยู่บนสันเขาทอดเป็นแนวยาวตรงใจกลางของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
และอยู่ต่ําถัดลงมาในระดับความสูงระหว่าง 600-800 เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลาง และอยู่ในบริเวณท่ี
ช่มุ ช้นื ตามท่ีราบรมิ ห้วย พนั ธไ์ุ ม้ทพ่ี บ ได้แก่ ยางโอน มะพลับดง ยมหิน ตะเคยี นทอง สาํ โรง ตะครา้ํ สัตบรรณ
เฉียงพร้านางแอ มะดกู พลองใบเลก็ ขอ่ ยหนาม ชมพู่นํ้า ฯลฯ พชื พื้นล่าง ได้แก่ หวายขม เถากระไดลิง เข็มขาว
มะลิไสไ้ ก่ ว่านเศรษฐี ตาํ แยกวาง เถาอบเชย ไผห่ นาม และเนียมฤาษี
สัตวป์ า่
จากการสาํ รวจแหลง่ ทีอ่ ย่อู าศัยของสตั วป์ ่าในเขตพ้นื ท่อี ทุ ยานแห่งชาตแิ บง่ ออกเป็นประเภทต่างๆ
ไดแ้ ก่ สตั ว์ป่าเลย้ี งลูกดว้ ยนม สัตว์เล้ือยคลาน สัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบก นก และสัตว์นํ้าอื่นๆ รวมทั้งปลานานาชนิด
ที่สําคัญและมักจะพบเห็น ได้แก่ ช้างป่า หมีควาย เลียงผา อีเก้ง กวางป่า หมูป่า ชะนีธรรมดา ค่างแว่นถ่ินเหนือ
ลิงกงั ลงิ ลม แมวดาว อีเห็นธรรมดา กระแต เหยี่ยวก้ิงก่าสีดํา ไก่ฟ้าหลังเทา ไก่ป่า นกกวัก นกเด้าดิน นกเขาใหญ่
นกกระปูดใหญ่ นกตะขาบทุ่ง นกหัวขวานด่างแคระ นกปรอดสวน นกจาบดินอกลาย งูจงอาง งูสามเหลี่ยม
งหู ลาม งเู ห่าตะลาน ก้ิงกา่ หวั สฟี ้า จ้งิ เหลนบ้าน ตะพาบน้ํา คางคกบ้าน เขียดจะนา อึ่งกราย กบป่าไผ่ใหญ่
ปาดบิน ปลากั้ง ปลาเวียน ปลาหมอช้างเหยียบ ปลาตะเพียนขาว ปลากระสูบจุด ปูน้ําตก ปูตะนาวศรี ปูกาญจนบุรี
เป็นต้น
จดุ เด่นทน่ี า่ สนใจ
อทุ ยานแหง่ ชาติเอราวณั มีจดุ เดน่ ที่น่าสนใจในพืน้ ที่ ดังนี้
1. น้ําตกเอราวัณ เป็นนํ้าตกท่ีใหญ่และสวยงาม บนฝ่ังแม่นํ้าแควใหญ่ ตั้งอยู่ที่ อําเภอศรีสวัสดิ์
จังหวัดกาญจนบุรี เป็นน้ําตกท่ีมีระยะทางยาวประมาณ 1,500 เมตร ติดต่อกัน ซึ่งแบ่งออกเป็นชั้นๆ ได้ 7 ชั้น
เป็นน้าํ ตกขนาดใหญ่เดิม มีชื่อว่า นาํ้ ตกสะด่องม่องล่าย ตามช่ือลําห้วยม่องล่าย ซึ่งเป็นต้นนํ้าของนํ้าตกท่ีเกิดจาก
ยอดเขาตามอ่ งลา่ ยในเทอื กเขาสลอบ สายน้าํ จะไหลมาตามช้ันหนิ เปน็ ระยะทางประมาณ 1,500 เมตร แบง่ ออก
เปน็ ชั้นใหญๆ่ ได้ 7 ชั้น แต่ละชน้ั มีความสวยงามรม่ ร่นื ไปด้วยแมกไม้นานาพนั ธ์ุ ทั้งเถาวลั ย์พันเก่ยี วทอดตวั ไป
บนตน้ ไม้ใหญ่ กลว้ ยไม้ปา่ หลายชนิดบนคาคบไม้ สายธารนา้ํ ที่ไหลตกลดหล่นั ลงมาบนโขดหินสู่แอ่งนา้ํ เบอ้ื งล่าง
เสียงสาดซ่า คลอเคล้า ด้วยเสยี งเพรียกของนกปา่ ทําให้สภาพความเป็นธรรมชาตสิ มบูรณ์แบบยงิ่ ขนึ้ ในช้ันท่ี 7
อันเปน็ ช้ันบนสดุ ของนํ้าตกลักษณะของน้ําตกชน้ั ท่ี 7 ลกั ษณะสายนํา้ ไหลบา่ มองดคู ลา้ ยกับหัวชา้ งเอราวัณซึง่ มี
3 หวั จงึ กลายมาเปน็ ทม่ี าของช่ือนาํ้ ตก จนคนทว่ั ไปร้จู กั และขนานนามว่า “นํ้าตกเอราวัณ”
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นทอ่ี ุทยานแห่งชาติเอราวัณ
8
ภาพท่ี 3 นํา้ ตกเอราวณั ชน้ั ที่ 7
ภาพท่ี 4 น้ําตกเอราวัณบริเวณชนั้ ที่ 5
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ท่อี ทุ ยานแห่งชาตเิ อราวัณ
9
2. ถํ้าพระธาตุ อยู่ห่างจากนํ้าตกเอราวัณประมาณ 8 กิโลเมตร ห่างท่ีทําการอุทยานฯ ประมาณ
12 กิโลเมตร เป็นถํ้าขนาดใหญ่ถ้าํ เรียบมีความยาวประมาณ 200 เมตร มีหินงอกหินย้อยงดงามมาก
หินส่วนใหญ่จะโปร่งแสง มีหินทรายรูปพระธาตุ หรือรูปนกอินทรีย์หุบปีกตั้งอยู่กลางถํ้า นอกจากนี้ยังมีเสาเอก
เสาโท อยู่ภายในถ้ําอีกด้วย การเข้าชมถ้ําพระธาตุ นักท่องเท่ียวจะต้องติดต่อเจ้าหน้าที่ป่าไม้ ณ ท่ีทําการ ซ่ึง
ตง้ั อยู่เชงิ เขาเพือ่ ขอใหเ้ จ้าหนา้ ที่เป็นผ้นู ําทางให้
ภาพท่ี 5 หนิ ภายในถํ้าพระธาตุ
3. ถ้ําตาด้วง เร่ิมเดินทางจาก จังหวัดกาญจนบุรีไปตามเส้นทางที่จะไปเขื่อนศรีนครินทร์จนถึง
บา้ นถํา้ พระธาตุ แล้วเลยี้ วซา้ ยไปยงั อําเภอไทรโยค ประมาณ 2 กิโลเมตร จะมีทางแยกขวาเข้าหมู่บ้าน ซึ่งจะ
เป็นทางติดกับแมน่ ํา้ แคว และสามารถเข้าไปยังดา้ นหลงั เข่ือนท่าทุ่งนาได้ ระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร จะถึง
เชิงเขาท่มี ีถํ้าตาด้วง จากนน้ั ตอ้ งเดนิ ข้ึนเขา ซง่ึ ค่อนขา้ งชันมากไปอกี 700-800 เมตร เนื่องจากถํ้าน้ีมีหินถล่ม
ลงมาปดิ ปากถ้ําจงึ ไม่สามารถเข้าไปได้ แต่ลกั ษณะเด่นของถํ้าน้ีมีภาพเขียนอยู่ทีผนังปากถํ้าเป็นรูปคนและต้นไม้
นอกจากนี้ยงั พบเศษเครื่องใชส้ มยั โบราณยุคหนิ ใหม่ เชน่ เศษถว้ ย ไห เปน็ ตน้
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ทีอ่ ุทยานแหง่ ชาติเอราวัณ
10
4. ถ้ําหมี เป็นถ้ําขนาดใหญ่มีอากาศถ่ายเทพอควร (จากคําบอกเล่าของชาวบ้าน ในอดีตถ้ําน้ีเป็น
ท่ีอย่ขู องหมี ทําให้เรียกต่อๆ มาว่า "ถํ้าหมี" ภายในถ้ําแบ่งเป็นห้องลดหล่ันเป็นชั้นๆ ได้ 5 ห้อง แต่ละห้องจะ
ปรากฏหินรูปร่างและสีแปลกตา มีหินงอกหินย้อยตามผนังถํ้าสวยงามพอสมควร ท่านสามารถเดินทางจาก
จงั หวัดกาญจนบุรี ไปยังบ้านถํ้าพระธาตุ แล้วเลี้ยวซ้ายไปทางอําเภอไทรโยค จนถึงทางเข้าบ้านทับศิลา บริเวณ
หลักกโิ ลเมตรท่ี 10 แล้วเดนิ ทางไปตามทางลูกรังอีก 500 เมตร จะถึงบ้านทับศิลาและเข้าซอยสามัคคีธรรม 10
จนถงึ คลองตะเคียน จากจุดนเ้ี ดินเทา้ ไปตามเส้นทางชกั ลากไมเ้ กา่ ต่อไปอีก 7 กิโลเมตร
5. ถํ้าเรือ เร่ิมจากซอยสามัคคีธรรม 10 ข้ามคลองตะเคียนไปประมาณ 100-200 เมตร จะมีทาง
เลีย้ วขวา ซง่ึ รถยนตจ์ ะสามารถแล่นเข้าไปได้ประมาณ 200-300 เมตร จากนั้น ต้องเดินเท้าเข้าไปอีกประมาณ 1
กิโลเมตร กจ็ ะถึงถ้ําเรอื ซ่ึงเป็นถ้ําท่ีมีความลึก ประมาณ 40-50 เมตร ไม่มีหินงอกหินย้อยแต่จุดเด่นอยู่ท่ีมีภาชนะ
ทีใ่ ช้รองนาํ้ สมยั โบราณวางอยู่ ภาชนะน้ันทําจากไมท้ ง้ั ต้น
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นที่อุทยานแห่งชาติเอราวณั
11
รูปแบบและวธิ กี ารสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ในแต่ละจังหวัดทั่วประเทศไทย ดําเนินการโดยกลุ่มสํารวจทรัพยากร
ป่าไม้ ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นท่ีอนุรักษ์ และสํานักบริหารพ้ืนท่ี
อนรุ กั ษ์ตา่ งๆ ในสังกดั กรมอุทยานแห่งชาติ สตั วป์ ่า และพนั ธุ์พืช
การสุ่มตัวอยา่ ง (Sampling Design)
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบสม่ําเสมอ (Systematic Sampling) ในพื้นที่ท่ี
ภาพถ่ายดาวเทียมแปลว่ามีสภาพเป็นป่า โดยให้แต่ละแปลงตัวอย่าง (Sample plot) มีระยะห่างเท่าๆ กัน
โดยกําหนดให้แต่ละแปลงห่างกัน 2.5x2.5 กิโลเมตร เริ่มจากการสุ่มกําหนดแปลงตัวอย่างแรกบนเส้นกริดแผนท่ี
(Grid) ลงบนขอบเขตแผนท่ีประเทศไทยมาตราส่วน 1:50,000 ให้มีระยะห่างระหว่างเส้นกริดท้ังแนวตั้งและ
แนวนอนเท่ากับ 2.5x2.5 กิโลเมตร คือ ระยะช่องกริดในแผนท่ีเท่ากับ 10 ช่อง จุดตัดของเส้นกริดท้ังสองแนว
ก็จะเป็นตําแหน่งที่ตั้งของแปลงตัวอย่างแต่ละแปลง เม่ือดําเนินการเสร็จส้ินแล้วจะทราบจํานวนหน่วยตัวอย่าง
และตําแหนง่ ท่ีตัง้ ของหนว่ ยตัวอยา่ ง โดยลกั ษณะของแปลงตัวอยา่ งดังภาพท่ี 1 และรูปแบบของการวางแปลง
ตวั อย่างดังภาพที่ 2 ตามลําดับ
ภาพที่ 6 ลักษณะและขนาดของแปลงตวั อยา่ ง
รปู ร่างและขนาดของแปลงตวั อย่าง (Plot Design)
แปลงตัวอย่าง (Sample Plot) ท่ีใช้ในการสํารวจมีท้ังแปลงตัวอย่างถาวรและแปลงตัวอย่าง
ช่ัวคราว เป็นแปลงทีม่ ขี นาดคงท่ี (Fixed–AreaPlot) และมรี ูปรา่ ง 2 ลักษณะด้วยกนั คือ
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นท่ีอทุ ยานแห่งชาตเิ อราวัณ
12
1. ลกั ษณะรปู วงกลม (Circular Plot)
1.1 รูปวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางร่วมกัน รัศมีแตกต่างกัน จํานวน 3 วง คือ วงกลมรัศมี 3.99,
12.62 และ 17.84 เมตร ตามลาํ ดับ
1.2 รูปวงกลมท่ีมีรัศมีเท่ากัน จุดศูนย์กลางต่างกัน จํานวน 4 วง รัศมี 0.631 เมตร เท่ากัน
โดยจดุ ศนู ยก์ ลางของวงกลมอยู่บนเสน้ รอบวงของวงกลมรศั มี 3.99 เมตร ตามทศิ หลักทงั้ 4 ทศิ
2. ลักษณะแบบแนวเส้นตรง (Intersect Line) จํานวน 2 เส้น ความยาวเส้นละ 17.84 เมตร
โดยมีจุดเร่ิมต้นร่วมกัน ณ จุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่างทํามุมฉากซ่ึงกันและกัน ซึ่งตัวมุม Azimuth ของเส้นท่ี 1
ได้จากการสุม่ ตวั อยา่ ง
ขนาดของแปลงตัวอย่างและข้อมลู ทที่ าํ การสาํ รวจ
ขนาดของแปลงตัวอยา่ ง และขอ้ มูลท่ที ําการสาํ รวจแสดงรายละเอยี ดไว้ในตารางท่ี 1
ตารางที่ 1 ขนาดของแปลงตัวอย่างและข้อมูลท่ดี ําเนินการสํารวจ
รัศมีของวงกลม หรือ จํานวน พื้นทหี่ รอื ความยาว ข้อมูลท่ีสาํ รวจ
ความยาว (เมตร)
4 วง 0.0005 เฮกตาร์ กลา้ ไม้
0.631
3.99 1 วง 0.0050 เฮกตาร์ ลูกไมแ้ ละการปกคลมุ พื้นท่ีของกลา้ ไม้
และลูกไม้
12.62
17.84 1 วง 0.0500 เฮกตาร์ ไม้ไผ่ หวายทย่ี งั ไมเ่ ลื้อย และตอไม้
17.84 (เส้นตรง)
1 วง 0.1000 เฮกตาร์ ต้นไม้ และตรวจสอบปัจจยั ที่รบกวนพื้นที่ป่า
2 เส้น 17.84 เมตร Coarse Woody Debris (CWD) หวายเลอ้ื ย
และไมเ้ ถา ท่ีพาดผ่าน
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พน้ื ทอี่ ุทยานแหง่ ชาตเิ อราวัณ
13
การวเิ คราะห์ข้อมูลการสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
ข้อมลู ที่รวบรวมไดจ้ ากภาคสนามประกอบดว้ ย ขอ้ มูลเชิงปริมาณ (ตัวเลข) และข้อมูลเชิงคุณภาพ
(ข้อความ) ซ่งึ จะนาํ มาทําการวิเคราะห์ดังตอ่ ไปนี้
1) การวเิ คราะหข์ อ้ มูลท่ัวไป ได้แก่ ทีต่ งั้ ตาํ แหนง่ วันเวลาที่เก็บขอ้ มลู ผู้ทท่ี ําการเก็บขอ้ มลู ความสงู
จากระดับน้ําทะเล และลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดิน เป็นต้น โดยข้อมูลเหล่านี้จะใช้ในการวิเคราะห์ประเมินผล
ประกอบกับข้อมูลด้านอนื่ ๆ เพือ่ ติดตามความเปลีย่ นแปลงของพน้ื ที่ในการสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้ครัง้ ตอ่ ไป
2) การวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับชนิดและปริมาณไม้ของไม้ยืนต้น (Tree)
2.1) ความหนาแน่น
2.2) ปรมิ าตร
2.3) การวเิ คราะหค์ ่าทางสถิติ
3) การวเิ คราะหข์ ้อมลู เกยี่ วกับชนิดและปรมิ าณของลกู ไม้ (Sapling) และกล้าไม้ (Seedling)
4) การวิเคราะห์ข้อมลู เก่ยี วกบั ชนิดและปรมิ าณของไม้ไผ่ หวาย
4.1) ความหนาแนน่ ของไม้ไผ่
4.2) ความหนาแน่นของหวายเสน้ ต้ัง
5) การวเิ คราะห์ข้อมลู สังคมพชื ในด้านความถี่ (Frequency) ความหนาแน่น (Density) ความเด่น
(Dominance) และความสําคัญทางนิเวศวิทยา (Important value index, IVI) โดยมีรายละเอียดการ วิเคราะห์
ขอ้ มลู ดังนี้
5.1) ความหนาแน่นของพรรณพืช (Density : D) คือ จํานวนต้นไม้ทั้งหมดของชนิดพันธุ์ที่ศึกษา
ท่ีปรากฏในแปลงตวั อย่างตอ่ หนว่ ยพนื้ ท่ีทีท่ าํ การสํารวจ
Da = จํานวนตน้ ของไมช้ นดิ น้ันทง้ั หมด
.
พน้ื ท่ีแปลงตวั อยา่ งท้งั หมดท่ีทําการสํารวจ
5.2) ความถ่ี (Frequency : F) คือ อัตราร้อยละของจํานวนแปลงตัวอย่างท่ีปรากฏพันธุ์ไม้
ชนิดนน้ั ต่อจาํ นวนแปลงทที่ ําการสํารวจ
Fa = จํานวนแปลงตวั อย่างท่ีพบไม้ชนดิ ท่ีกําหนด X 100
จํานวนแปลงตัวอย่างทั้งหมดทที่ าํ การสํารวจ
5.3) ความเด่น (Dominance : Do) ใช้ความเด่นด้านพื้นที่หน้าตัด (Basal Area : BA)
หมายถงึ พน้ื ทีห่ นา้ ตัดของลําต้นของต้นไมท้ ่ีวัดระดับอก (1.30 เมตร) ต่อพื้นท่ที ท่ี ําการสาํ รวจ
Do = พ้นื ที่หน้าตดั ท้ังหมดของไม้ชนิดทีก่ าํ หนด X 100
พื้นทแ่ี ปลงตัวอยา่ งทที่ ําการสาํ รวจ
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พน้ื ทีอ่ ุทยานแหง่ ชาตเิ อราวณั
14
5.4) ค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Relative Density : RD) คือ ค่าความสัมพัทธ์ของความ
หนาแน่นของไม้ทตี่ อ้ งการตอ่ ค่าความหนาแนน่ ของไมท้ ุกชนดิ ในแปลงตวั อย่าง คดิ เปน็ ร้อยละ
RDa = ความหนาแนน่ ของไมช้ นดิ นั้น X 100
ความหนาแนน่ รวมของไม้ทกุ ชนดิ
5.5) ค่าความถ่ีสัมพัทธ์ (Relative Frequency : RF) คือ ค่าความสัมพัทธ์ของความถี่ของ
ชนิดไม้ที่ตอ้ งการตอ่ คา่ ความถ่ีทั้งหมดของไมท้ ุกชนดิ ในแปลงตัวอย่าง คิดเปน็ ร้อยละ
RFa = ความถ่ขี องไมช้ นิดนั้น X 100
ความถรี่ วมของไม้ทกุ ชนิด
5.6) คา่ ความเด่นสัมพัทธ์ (Relative Dominance : RDo) คือ ค่าความสัมพันธ์ของความเด่นใน
รูปพน้ื ท่หี นา้ ตัดของไม้ชนิดที่กําหนดตอ่ ความเด่นรวมของไม้ทกุ ชนิดในแปลงตวั อย่าง คดิ เปน็ รอ้ ยละ
RDo = ความเดน่ ของไม้ชนดิ น้ัน X 100
ความเดน่ รวมของไมท้ กุ ชนิด
5.7) คา่ ดัชนคี วามสําคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) คอื ผลรวมของคา่ ความ
สัมพัทธ์ต่างๆ ของชนิดไมใ้ นสังคม ได้แก่ ค่าความสัมพัทธ์ด้านความหนาแน่น ค่าความสัมพัทธ์ด้านความถี่ และ
ค่าความสัมพัทธ์ด้านความเด่น
IVI = RD + RF + RDo
6) ปริมาตรไม้ใหญ่ (Volume) คาํ นวณเป็นค่าปรมิ าตรไมต้ อ่ หนว่ ยพ้ืนที่ ซึ่งมีสมการดงั นี้
ปรมิ าตรไม้ = π(D2/4)L (ลูกบาศกเ์ มตร)
โดย L คอื ความยาวของไมท้ ใ่ี ชเ้ ปน็ สนิ คา้ ได้ (เมตร)
D คอื เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางของต้นไม้ทร่ี ะดบั 1.30 เมตร (เมตร)
7) วิเคราะห์ข้อมลู เก่ียวกับความหลากหลายทางชีวภาพ โดยทาํ การวิเคราะหค์ ่าตา่ งๆ ดงั น้ี
7.1) ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (Species Diversity) วัดจากจํานวนชนิดพันธุ์ที่ปรากฏ
ในสังคมและจํานวนต้นที่มีในแต่ละชนิดพันธุ์ โดยใช้ดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener Index of
diversity ตามวิธีการของ Kreb (1972) ซึง่ มีสูตรการคาํ นวณดังตอ่ ไปน้ี
s
H = ∑ (pi)(ln pi)
i=1
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ที่อุทยานแห่งชาตเิ อราวณั
15
โดย H คือ คา่ ดชั นคี วามหลากชนดิ ของชนดิ พนั ธไ์ุ ม้
pi คือ สัดสว่ นระหว่างจํานวนตน้ ไมช้ นิดท่ี i ตอ่ จํานวนตน้ ไมท้ ้ังหมด
S คอื จาํ นวนชนดิ พันธุ์ไม้ท้งั หมด
7.2) ความรํ่ารวยของชนิดพันธุ์ (Richness Indices) อาศัยความสัมพันธ์ระหว่างจํานวนชนิด
กับจํานวนต้นทั้งหมดท่ีทําการสํารวจ ซ่ึงจะเพิ่มข้ึนเม่ือเพิ่มพื้นท่ีแปลงตัวอย่าง และดัชนีความร่ํารวย ท่ีนิยมใช้
กัน คือ วิธีของ Margalef index และ Menhinick index (Margalef 1958, Menhinick 1964) โดยมีสูตร
การคํานวณดงั น้ี
(1) Margalef index (R1)
R1 = (S-1)/ln(n)
(2) Menhinick index (R2)
R2 = S/
เมอื่ S คือ จํานวนชนิดท้ังหมดในสังคม
n คือ จาํ นวนตน้ ทง้ั หมดทีส่ าํ รวจพบ
7.3) ความสมํ่าเสมอของชนิดพันธุ์ (Evenness Indices) เป็นดัชนีที่ตั้งอยู่บนสมมติฐานที่ว่า
ดัชนีความสม่ําเสมอจะมีค่ามากท่ีสุดเม่ือทุกชนิดในสังคมมีจํานวนต้นเท่ากันทั้งหมด ซ่ึงวิธีการท่ีนิยมใช้กันมาก
ในหม่นู ักนเิ วศวิทยา คอื วธิ ขี อง Pielou (1975) ซง่ึ มีสูตรการคํานวณดังนี้
E = H/ ln(S) =ln (N1)/ln (N0)
เมอ่ื H คือ คา่ ดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener
S คือ จํานวนชนิดทัง้ หมด (N0)
N1 คือ eH
8) ศึกษาคุณค่าทางนิเวศวิทยา เป็นคุณค่าที่ป่ามีองค์ประกอบ และหน้าที่ตามสภาพธรรมชาติ
ปราศจากการรบกวนหรือมีการรบกวนโดยเฉพาะจากมนุษยน์ อ้ ย ไมท่ าํ ให้องคป์ ระกอบและหน้าทเี่ ปลย่ี นไปจาก
เดิมหรือเลวลงกว่าเดิม ซึ่งการประเมินคุณค่าทางนิเวศวิทยารวมท้ังพิจารณาจากป่าในพื้นที่ท่ีศึกษา แบ่งการ
พิจารณา ดงั นี้
8.1) องค์ประกอบของป่า (Structure) โดยพจิ ารณาจาก 4 ประเด็น ดงั นี้
(1) ชนิด หมายถึง จํานวนชนิดของป่าและชนิดของไม้ที่พบในบริเวณพื้นที่ศึกษา โดย
อุทศิ กุฎอินทร์ (2536) กลา่ ววา่ พนื้ ท่ีใดกต็ ามที่มีความหลากหลายของชนิดพันธุ์และความมากมายของจํานวน
ของสิง่ มีชีวติ ถอื ว่าพน้ื ท่ีนนั้ มคี วามหลากหลายทางชวี ภาพสูง และถอื ได้ว่าเป็นพ้ืนที่ทม่ี คี ุณค่าทางนิเวศสงู ด้วย
(2) ปรมิ าณ หมายถงึ ความมากมายในด้านจาํ นวนของตน้ ไม้
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาติเอราวณั
16
(3) สัดส่วน หมายถึง สัดส่วนของต้นไม้ขนาดต่างๆ ที่กระจายอยู่ตามธรรมชาติ ซึ่งใน
สภาพปกตสิ ัดส่วนของไม้ขนาดใหญ่มีนอ้ ยกวา่ ไมข้ นาดเล็ก ซงึ่ ทาํ ให้การทดแทนของป่าเปน็ ไปอย่างต่อเนื่องและ
รกั ษาสมดลุ ของปา่ ให้คงอยตู่ ลอดไป
(4) การกระจาย หมายถึง การขยาย/แพร่พันธ์ุ ของชนดิ ปา่ และชนดิ ไมใ้ นบริเวณพืน้ ทีศ่ กึ ษา
8.2) หนา้ ท่ขี องปา่ (Function)
หน้าท่ีของป่าไม้ท่ีสําคัญ คือ การเป็นผู้ผลิต (Producer) ในระบบนิเวศ โดยเป็นตัวกลางใน
การหมุนเวียนธาตุอาหารและถ่ายทอดพลังงานไปสู่ผู้บริโภคในระดับต่างๆ ป่าที่มีกระบวนการหมุนเวียนธาตุ
อาหารและถา่ ยทอดพลังงานอยตู่ ลอดเวลา ถือวา่ เปน็ ป่าที่มีคณุ คา่ ทางนเิ วศสงู
8.3) กจิ กรรมของมนษุ ย์
กิจกรรมของมนุษย์ท่ีมีผลกระทบต่อป่าประกอบไปด้วย กิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมความย่ังยืน
ของป่า เชน่ การฟืน้ ฟสู ภาพป่า การปอ้ งกันรักษาป่า การปลกู ปา่ ทดแทน เป็นต้น กจิ กรรมใดๆท่ีช่วยส่งเสริมความ
ย่ังยนื ให้กับป่า ถอื วา่ พนื้ ทน่ี ัน้ มคี ุณคา่ ทางนเิ วศสูง สว่ นกจิ กรรมทีท่ ําลายความยงั่ ยนื ของปา่ เช่น การบุกรุกพ้ืนท่ี
ปา่ การตัดไมท้ าํ ลายป่า เป็นตน้
8.4) คุณค่าของป่าในดา้ นการเป็นพ้นื ท่อี นรุ กั ษ์
คุณค่าด้านการเป็นพื้นที่อนุรักษ์ของพื้นที่ลุ่มน้ํา เป็นพ้ืนที่รวมและอนุรักษ์พันธ์ุสัตว์ป่าและ
พันธ์ุไม้ป่าท่ีหายาก เป็นพ้ืนท่ีต้นนํ้าลําธารท่ีใช้อุปโภคและบริโภคของชุมชนในพื้นท่ีและบริเวณข้างเคียง อีกทั้ง
ยังเป็นแหลง่ ท่องเทยี่ วทางธรรมชาติท่สี วยงาม
9) การประเมินสถานภาพทรัพยากรป่าไม้ ผู้เชี่ยวชาญได้แบ่งสถานภาพของระบบสิ่งแวดล้อม
ออกเปน็ 4 สถานภาพ ซง่ึ แตล่ ะสถานภาพมลี ักษณะดงั นี้
9.1) ระดบั สมดลุ ธรรมชาติ (Nature) หมายถงึ ทรพั ยากรป่าไม้ไมถ่ ูกรบกวนจากปจั จยั ตา่ งๆ
มีองค์ประกอบหลากหลาย ท้ังชนิดและปรมิ าณในอตั ราส่วนทีเ่ หมาะสม ซง่ึ สามารถทําหนา้ ทีไ่ ด้ปกตติ ามธรรมชาติ
9.2) ระดับเตือนภัย (Warning) หมายถึง โครงสร้างและองค์ประกอบบางส่วนของทรัพยากร
ปา่ ไม้ถกู รบกวนทําใหก้ ารทําหนา้ ท่ีของระบบไมส่ มบูรณ์ แต่สามารถกลบั ตวั ฟน้ื สูส่ ภาพเดิมไดใ้ นเวลาไมน่ าน
9.3) ระดบั เส่ยี งภัย (Risky) หมายถงึ มกี ารรบกวนโครงสร้าง และองคป์ ระกอบของทรัพยากรป่า
ไม้ ทําให้บางส่วนมีจํานวนลดลง และมีชนิดอื่นเข้ามาทดแทน หรือมีบางอย่างมีจํานวนมากเกินไป ทําให้การ
ทํางานของระบบนเิ วศในทรัพยากรป่าไมเ้ ปลยี่ นไปจากเดิม ต้องใชเ้ วลานานมากกว่าจะกลับคืนสสู่ ภาพเดิม
9.4) ระดับวิกฤติ (Crisis) หมายถงึ ในทรพั ยากรปา่ ไม้ ถูกรบกวนทาํ ใหโ้ ครงสร้างและองค์ประกอบ
บางชนิดเหลือน้อย หรือสูญพันธุ์ไปจากระบบหรือไม่ทําหน้าท่ีของตนเอง ทําให้การทํางานของระบบนิเวศไม่
ครบวงจร หรือมีประสิทธิภาพลดลงแต่สามารถฟ้ืนกลับคืนสู่สภาพธรรมชาติได้โดยต้องใช้เทคโนโลยีเข้าช่วยจึง
จะกลับคืนสสู่ ภาพเดิมได้
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ที่อุทยานแห่งชาตเิ อราวัณ
17
ผลการสํารวจและวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทรัพยากรปา่ ไม้
1. การวางแปลงตวั อย่าง
จากผลการดําเนินการวางแปลงสํารวจ เพื่อประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้ใน
พ้นื ท่อี ทุ ยานแห่งชาตเิ อราวัณ โดยแบ่งพื้นท่ดี าํ เนินการวางแปลงสํารวจตามพ้ืนที่รับผิดชอบของสํานักบริหารพ้ืนท่ี
อนรุ ักษ์ กล่าวคือ สํานักบรหิ ารพื้นที่อนรุ กั ษท์ ่ี 3 (บา้ นโปง่ ) จํานวน 60 แปลง และกลุ่มสํารวจทรัพยากรป่าไม้
ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟื้นฟูและพัฒนาพ้ืนท่ีอนุรักษ์ จํานวน 18 แปลง รวมทั้งสิ้น
จาํ นวน 78 แปลง ครอบคลมุ พน้ื ที่ ตําบลไทรโยค ตําบลทา่ เสา ตําบลลุ่มสุ่ม อําเภอไทรโยค ตําบลหนองเป็ด
ตําบลท่ากระดาน อาํ เภอศรสี วสั ดิ์ และตาํ บลช่องสะเดา อาํ เภอเมอื ง จังหวัดกาญจนบรุ ี ดังภาพที่ 7-8
ภาพท่ี 7 แผนท่ีแสดงขอบเขตและชนิดของปา่ ของอทุ ยานแห่งชาตเิ อราวัณ
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้นื ที่อทุ ยานแห่งชาติเอราวณั
18
ภาพที่ 8 แปลงตัวอย่างท่ไี ดด้ ําเนนิ การสํารวจภาคสนามในอุทยานแหง่ ชาตเิ อราวณั
2. พืน้ ทป่ี ่าไม้
จากการสํารวจ พบว่า มีพ้ืนท่ีป่าไม้จําแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินได้ 5 ประเภท ได้แก่
ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ไร่ข้าวโพด และหมู่บ้าน โดยป่าเบญจพรรณพบมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ
89.74 ของพนื้ ที่ทัง้ หมด รองลงมา คอื ปา่ ดิบแลง้ คดิ เป็นรอ้ ยละ 6.41 ของพืน้ ทท่ี ั้งหมด ป่าเต็งรัง คิดเป็นร้อยละ
1.28 ของพน้ื ทที่ ้ังหมด ไรข่ า้ วโพด คิดเป็นร้อยละ 1.28 ของพนื้ ทีท่ ั้งหมด และลาํ ดบั สุดทา้ ยเป็นหม่บู ้าน คิดเป็น
รอ้ ยละ 1.28 ของพื้นท่ีทั้งหมด รายละเอยี ดดังตารางที่ 2
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแห่งชาตเิ อราวณั
19
ตารางท่ี 2 พื้นท่ีป่าไม้จาํ แนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ี่ดินในอุทยานแห่งชาตเิ อราวัณ
(Area by Forest Type)
ลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ่ีดนิ พน้ื ท่ี รอ้ ยละ
(Landuse Type) ตร.กม. เฮกตาร์ ไร่ ของพน้ื ท่ีทั้งหมด
ป่าดบิ แล้ง 35.25 3,525.49 22,034.29 6.41
(Dry Evergreen Forest)
ป่าเบญจพรรณ 493.57 49,356.82 308,480.13 89.74
(Mixed Deciduous Forest)
ปา่ เต็งรงั 7.05 705.10 4,406.86 1.28
(Dry Dipterocarp Forest)
ไร่ข้าวโพด 7.05 705.10 4,406.86 1.28
(Corn)
หมู่บ้าน 7.05 705.10 4,406.86 1.28
(Village)
รวม 549.98 54,997.60 343,735.00 100.00
หมายเหตุ : - การคาํ นวณพ้นื ท่ีป่าไมข้ องชนิดปา่ แตล่ ะชนิดใช้สดั ส่วนของขอ้ มูลที่พบจากการสํารวจภาคสนาม
- รอ้ ยละของพื้นทีส่ าํ รวจคํานวณจากขอ้ มลู แปลงทีส่ ํารวจพบ ซ่งึ มีพืน้ ที่ดงั ตารางท่ี 1
ภาพท่ี 9 พืน้ ท่ปี ่าไมจ้ าํ แนกตามชนิดปา่ ในพนื้ ทอี่ ุทยานแหง่ ชาตเิ อราวัณ (ตร.กม.)
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ท่อี ทุ ยานแห่งชาติเอราวณั
20
ภาพที1่ 0 ลกั ษณะทัว่ ไปของป่าดิบแลง้ ในพืน้ ท่อี ทุ ยานแห่งชาตเิ อราวณั
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนทอี่ ุทยานแหง่ ชาติเอราวณั
21
ภาพท่ี 11 ลักษณะทวั่ ไปของป่าเบญจพรรณพน้ื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาตเิ อราวัณ
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พนื้ ทอี่ ทุ ยานแห่งชาตเิ อราวณั
22
ภาพที่ 12 ลกั ษณะทัว่ ไปของป่าเตง็ รงั ในพื้นที่อทุ ยานแห่งชาตเิ อราวณั
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนที่อทุ ยานแหง่ ชาติเอราวณั
23
3. ปรมิ าณไม้
จากการวิเคราะห์เกี่ยวกับ ชนิดไม้ ปริมาณ ปริมาตรและความหนาแน่นของต้นไม้ในป่า โดยการ
สํารวจทรัพยากรป่าไมใ้ นแปลงตวั อย่างถาวร ในพ้ืนที่ จาํ นวนทั้งส้ิน 78 แปลง พบว่าชนิดป่าหรือลักษณะการใช้
ประโยชน์ทีด่ ินทสี่ ํารวจพบทงั้ 5 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ไร่ข้าวโพด และหมู่บ้าน
พบไมย้ นื ต้นท่มี คี วามสูงมากกวา่ 1.30 เมตร และมีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกวา่ หรือเท่ากับ 15 เซนติเมตร
ขน้ึ ไป มีมากกว่า 217 ชนิด รวมทั้งหมด 13,220,577 ต้น ปริมาตรไม้รวมท้ังหมด 4,653,168.22 ลูกบาศก์เมตร
ปรมิ าตรไมเ้ ฉลยี่ 13.54 ลกู บาศก์เมตรตอ่ ไร่ มคี วามหนาแนน่ ของตน้ ไม้เฉลี่ย 38.46 ต้นต่อไร่ พบปริมาณไม้มากสุด
ในปา่ เบญจพรรณ จาํ นวน 9,511,764 ต้น รองลงมา ในป่าดิบแล้ง พบจํานวน 3,137,684 ตน้ สําหรับปริมาตรไม้
พบมากสุดในป่าเบญจพรรณ จํานวน 3,546,928.18 ลูกบาศก์เมตร รองลงมา คือ ป่าดิบแล้ง จํานวน 1,071,443.06
ลูกบาศก์เมตร รายละเอยี ดดังตารางท่ี 4 และ 5 ตามลาํ ดบั
ตารางท่ี 3 ปรมิ าณไม้ทงั้ หมดจาํ แนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ่ีดนิ ในอุทยานแห่งชาตเิ อราวณั
(Volume by Landuse Type)
ลักษณะการใชป้ ระโยชน์ทด่ี ิน ปรมิ าณไม้ท้ังหมด
(Landuse Type) จาํ นวน (ต้น) ปรมิ าตร (ลบ.ม.)
ปา่ ดิบแลง้ 3,137,684 1,071,443.06
(Dry Evergreen Forest)
ป่าเบญจพรรณ 9,511,764 3,546,928.18
(Mixed Deciduous Forest)
ป่าเตง็ รัง 571,129 34,796.98
(Dry Dipterocarp Forest)
ไรข่ ้าวโพด --
(Corn)
หม่บู ้าน --
(Village)
รวม 13,220,577 4,653,168.22
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นท่ีอทุ ยานแห่งชาติเอราวณั
24
ภาพที่ 13 ปริมาณไมท้ ง้ั หมดทพ่ี บในพนื้ ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาติเอราวัณ
ภาพท่ี 14 ปริมาตรไม้ทง้ั หมดทพี่ บในพน้ื ที่อุทยานแหง่ ชาตเิ อราวัณ
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตเิ อราวณั
25
ตารางท่ี 4 ความหนาแนน่ และปรมิ าตรไม้ตอ่ หนว่ ยพน้ื ที่จําแนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชน์ทดี่ ิน
ในอทุ ยานแหง่ ชาตเิ อราวัณ (Density and Volume per Area by Landuse Type)
ลักษณะการใช้ประโยชนท์ ด่ี ิน ความหนาแนน่ ปรมิ าตร
(Landuse Type) ต้น/ไร่ ต้น/เฮกตาร์ ลบ.ม./ไร่ ลบ.ม./เฮกตาร์
ป่าดิบแลง้ 142.40 890.00 48.63 303.91
(Dry Evergreen Forest)
ปา่ เบญจพรรณ 30.83 192.71 11.50 71.86
(Mixed Deciduous Forest)
ป่าเตง็ รัง 129.60 810.00 7.90 49.35
(Dry Dipterocarp Forest)
ไร่ข้าวโพด --- -
(Corn)
หม่บู า้ น --- -
(Village)
เฉล่ีย 38.46 240.38 13.54 84.61
ภาพท่ี 15 ความหนาแน่นต้นไม้ (ต้น/ไร)่ ในพน้ื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาติเอราวณั
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติเอราวณั
26
ปรมิ าตรไมต้ อ่ หนว่ ยพน้ื ทใี่ นอุทยานแหง่ ชาติเอราวณั
60
ปริมาตรไม้ (ลบ.ม./ไร่) 48.63 ป่าดบิ แล้ง
50 ป่าเบญจพรรณ
40
30 ปา่ เต็งรงั
20 ไรข่ ้าวโพด
11.5 หมู่บ้าน
10 7.9
00
0
ลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดนิ (Landuse Type)
ภาพท่ี 16 ปริมาตรไม้ (ลบ.ม./ไร)่ ในปา่ แตล่ ะประเภทในพนื้ ท่ีอทุ ยานแห่งชาตเิ อราวัณ
ตารางท่ี 5 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ้ังหมดในอุทยานแหง่ ชาติเอราวณั
ขนาดความโต (GBH) ปริมาณไมท้ ั้งหมด (ตน้ ) ร้อยละ (%)
64.59
15 - 45 ซม. 8,538,730 25.97
9.44
>45 - 100 ซม. 3,433,825 100.00
>100 ซม. 1,248,022
รวม 13,220,577
ภาพท่ี 17 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ั้งหมดในพนื้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาตเิ อราวณั (ตน้ )
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติเอราวณั
27
4. ชนิดพันธ์ไุ ม้
ชนิดพันธ์ไุ ม้ทส่ี ํารวจพบในภาคสนาม จาํ แนกโดยใช้เจ้าหน้าท่ผี ู้เช่ยี วชาญทางด้านพนั ธไุ์ มช้ ว่ ยจาํ แนก
ชนดิ พันธไุ์ มท้ ีถ่ กู ตอ้ ง และบางคร้ังจําเปน็ ต้องใช้ราษฎรในพ้นื ที่ ซึ่งมีความรู้ในชนิดพันธุ์ไม้ประจําถ่ินช่วยในการ
เกบ็ ข้อมูลและเกบ็ ตวั อย่างชนดิ พนั ธุไ์ ม้ เพื่อนาํ มาให้ผู้เชยี่ วชาญด้านพันธ์ไุ มใ้ นสาํ นกั บรหิ ารพื้นทอ่ี นรุ ักษท์ ่ี 3 (บา้ นโปง่ )
เจา้ หนา้ ท่จี ากสว่ นกลาง และสาํ นกั หอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช ช่วยจําแนกช่ือทางการ
และช่ือวิทยาศาสตร์ที่ถูกต้องอีกครั้งหนึ่ง และชนิดพันธุ์ไม้ส่วนใหญ่ที่พบ มักจะเป็นพันธุ์ไม้ที่รู้จักและคุ้นเคย
สาํ หรบั เจ้าหน้าท่ีท่ีทาํ การสํารวจอยู่แล้ว โดยชนดิ พันธไุ์ ม้ทพ่ี บทัง้ หมดในพนื้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติเอรวัณ มี 51 วงศ์
มากกว่า 217 ชนิด มปี รมิ าณไม้รวม 13,018,041 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 4,693,980.84 ลูกบาศก์เมตร มีค่า
ความหนาแนน่ เฉล่ยี 14.30 ตน้ ตอ่ ไร่ มีปรมิ าตรไมเ้ ฉล่ยี 9.17 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนดิ ไมท้ ม่ี ีปรมิ าณไม้มากทสี่ ดุ
10 อนั ดับแรก ได้แก่ แดง (Xylia xylocarpa) กร่าง (Ficus altissima) กระพ้ีจ่ัน (Millettia brandisiana) ประดู่
(Pterocarpus macrocarpus) งิ้วป่า (Bombax) ส้านใหญ่ (Dillenia obovata) มะเกลือเลือด (Terminalia
mucronata) ฉนวน (Dalbergia nigrescens) ลําพูป่า (Duabanga grandiflora) หาด (Artocarpus lacucha)
รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 6
ในป่าดิบแล้งมีปริมาณไม้รวม 3,220,254 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 1,053,712.2 ลูกบาศก์เมตร
มีค่าความหนาแน่นเฉล่ีย 142.40 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 48.63 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาณไม้
มากที่สุด 10 อันดบั แรก ได้แก่ ไทร (Ficus drupacea) กระโดงแดง (Bhesa robusta) ตะโกพนม (Diospyros
castanea) เสลาขาว (Lagerstroemia tomentosa) ตะแบก (Lagerstroemia cuspidata) กดั ลนิ้ (Walsura
trichostemon) ชงโค (Bauhinia purpurea) ลําไยป่า (Paranephelium xestophyllum) จันทน์ชะมด
(Mansonia gagei) ยมหิน (Chukrasia tabularis) กระชิด (Blachia siamensis) รายละเอียดดงั ตารางที่ 7
ในปา่ เบญจพรรณมปี ริมาณไม้รวม 9,762,074 ตน้ คดิ เปน็ ปริมาตรไม้รวม 3,640,268.18 ลูกบาศก์เมตร
มคี า่ ความหนาแนน่ เฉล่ีย 30.83 ต้นตอ่ ไร่ มีปรมิ าตรไม้เฉล่ีย 11.50 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาณไม้มาก
ที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ แดง (Xylia xylocarpa) กระพี้จ่ัน (Millettia brandisiana) งิ้วป่า (Bombax anceps)
มะเกลอื เลือด (Terminalia mucronata) ตะครอ้ (Schleichera oleosa) แคทราย (Stereospermum neuranthum)
ขอ้ี า้ ย (Terminalia triptera) ขานาง (Homalium tomentosum) ปอฝ้าย (Firmiana colorata) ปอขาว (Sterculia
pexa) รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 8
ในป่าเตง็ รงั มปี รมิ าณไมร้ วม 35,713 ตน้ คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 34,796.98 ลูกบาศก์เมตร มีค่า
ความหนาแนน่ เฉล่ยี 129.60 ตน้ ต่อไร่ มีปริมาตรไมเ้ ฉลย่ี 7.90 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาณไม้มาก
ทีส่ ดุ 10 อันดบั แรก ได้แก่ รัง (Shorea siamensis) มะกอก (Spondias pinnata) ง้ิวป่า (Bombax anceps)
เสลาดํา (Lagerstroemia undulata) แดง (Xylia xylocarpa) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) กุ๊ก
(Lannea coromandelica) ช้างนา้ ว (Gomphia serrata) กระพ้ีจ่นั (Millettia brandisiana) เก็ดดาํ (Dalbergia
assamica) รายละเอยี ดดังตารางท่ี 9
ในไร่ขา้ วโพดไม่สามารถคํานวณหาได้ เนื่องจากเปน็ พชื ลม้ ลกุ
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ที่อุทยานแหง่ ชาติเอราวณั
28
ในหม่บู ้านไมส่ ามารถคาํ นวณหาได้ เนอ่ื งจากเปน็ พ้นื ที่ชาวบา้ นทํากนิ ไมม่ ีตน้ ไม้
สาํ หรบั ไม้ไผ่ ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเอราวัณ พบว่ามีไม้ไผ่อยู่ 7 ชนิด และพบว่ามีไม้กออยู่ 1 ชนิด
ได้แก่ ไผ่ผากมัน (Gigantochloa hasskarliana) ซาง (Dendrocalamus strictus) ไผ่รวก (Thyrsostachys
siamensis) ไผไ่ ร่ (Gigantochloa albociliata) บงดํา (Bambusa tulda) ไผ่ซางนวล (Dendrocalamus
membranaceus) ไผป่ ่า (Bambusa bambos) กล้วยป่า (Musa acuminata) มีปริมาณไม้ไผ่จํานวน 9,053,451
กอ รวมทั้งสน้ิ จํานวน 130,993,002 ลํา และมปี ริมาณไม้กอจํานวน 169,223 กอ รวมท้งั สน้ิ จาํ นวน 521,772
ตน้ ดงั รายละเอียดในตารางที่ 10
ชนิดและปริมาณของกล้าไม้ (Seedling) ท่ีพบในอุทยานแห่งชาติเอราวัณ มีมากกว่า 84 ชนิด
รวมท้ังส้ิน 117,157,678 ต้น มีความหนาแน่นของกล้าไม้ 11,224.94 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไม้ท่ีมีปริมาณมากท่ีสุด
10 อันดับแรก ได้แก่ สังกรณี (Barleria strigose) ซาง (Dendrocalamus strictus) กระเจียวขาว (Curcuma
parviflora) ข่าป่า (Alpinia malaccensis) สาบเสือ (Chromolaena odoratum) หญ้าขน (Coelorachis
striata) เข็มป่า (Ixora cibdela) บอนเขียว (Schismatoglottis calyptrate) หญ้าคายหลวง (Arundinella
hispida) ผกั ควา (Selaginella ostenfeldii) รายละเอยี ดดังตารางท่ี 11
ชนิดและปรมิ าณของลูกไม้ (Sapling) ท่ีพบในอทุ ยานแหง่ ชาตเิ อราวัณ มีมากกว่า 178 ชนิด รวม
ทัง้ ส้ิน 2,525,695,015 ตน้ มีความหนาแน่นของลูกไม้ 190.31 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไม้ที่มีปริมาณมากที่สุด
10 อันดับแรก ได้แก่ สาบเสือ (Chromolaena odoratum) เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) เลี่ยน (Melia
azedarach) เข็มป่า (Ixora cibdela) เสี้ยวป่า (Bauhinia saccocalyx) กระโดงแดง (Bhesa robusta)
คนทา (Harrisonia perforate) ปอตีนเต่า (Colona winitii) กระถิน (Leucaena leucocephala) นมวัว
(Anomianthus dulcis) รายละเอียดดังตารางที่ 12
ชนิดและปริมาณของตอไมท้ พ่ี บในอทุ ยานแหง่ ชาติเอราวัณ มีมากกว่า 7 ชนิด รวมท้ังส้ิน 225,631 ตอ
มคี วามหนาแน่นของตอไม้ 0.66 ตอต่อไร่ โดยชนิดไม้ท่ีมีปริมาณตอเรียงตามอันดับ ดังน้ี ขนุนนก (Palaquium
obovatum) มะกา (Bridelia ovata) ง้ิวป่า (Bombax anceps) แดง (Xylia xylocarpa) ดําดง (Diospyros
pubicalyx) กระโดงแดง (Bhesa robusta) รายละเอียดดังตารางท่ี 13
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนทีอ่ ทุ ยานแห่งชาตเิ อราวัณ
29
ตารางท่ี 6 ปรมิ าณไมท้ ัง้ หมดของอทุ ยานแห่งชาตเิ อราวัณ (30 ชนดิ แรกทีม่ ีปริมาตรไม้สงู สดุ )
ลําดบั ชนิดพันธไ์ุ ม้ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแน่น ปริมาตร
(ต้น) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร่) (ลบ.ม./ไร)่
1 แดง Xylia xylocarpa 274,988 143,107.81 0.80
7,051 137,669.88 0.02 0.42
2 กรา่ ง Ficus altissima 648,690 112,083.23 1.89 0.40
77,561 0.23 0.33
3 กระพ้ีจั่น Millettia brandisiana 317,294 95,703.77 0.92 0.28
35,255 90,309.35 0.10 0.26
4 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 91,663 78,601.62 0.27 0.23
70,510 76,491.77 0.21 0.22
5 ง้ิวป่า Bombax anceps 7,051 75,289.39 0.02 0.22
42,306 68,479.30 0.12 0.20
6 สา้ นใหญ่ Dillenia obovata 49,357 60,419.43 0.14 0.18
105,765 53,131.69 0.31 0.15
7 มะเกลอื เลอื ด Terminalia mucronata 42,306 53,066.89 0.12 0.15
211,529 53,050.19 0.62 0.15
8 ฉนวน Dalbergia nigrescens 7,051 52,590.90 0.02 0.15
28,204 52,170.38 0.08 0.15
9 ลาํ พปู า่ Duabanga grandiflora 148,070 51,899.67 0.43 0.15
35,255 50,061.21 0.10 0.15
10 หาด Artocarpus lacucha 112,816 49,328.46 0.33 0.14
70,510 47,190.07 0.21 0.14
11 ตะโกพนม Diospyros castanea 141,019 46,820.59 0.41 0.14
42,306 46,767.38 0.12 0.14
12 แคทราย Stereospermum neuranthum 1,403,144 46,213.79 4.08 0.13
63,459 45,715.08 0.18 0.13
13 ตะแบก Lagerstroemia cuspidata 21,153 45,057.90 0.06 0.13
162,172 44,338.94 0.47 0.13
14 รงั Shorea siamensis 352,549 43,474.66 1.03 0.13
204,478 42,310.39 0.59 0.12
15 กางหลวง Albizia chinensis 63,459 39,918.91 0.18 0.12
133,969 37,337.70 0.39 0.11
16 ซอ้ Gmelina arborea 8,313,099 35,183.24 24.18 0.10
13,018,041 1,501,973.58 14.30 4.37
17 ตะคร้อ Schleichera oleosa 4,693,980.84 9.17
18 เสลาขาว Lagerstroemia tomentosa
19 ขอ้ี ้าย Terminalia triptera
20 ทองหลางปา่ Erythrina subumbrans
21 ขานาง Homalium tomentosum
22 ยางโอน Polyalthia viridis
23 กระโดงแดง Bhesa robusta
24 ตะเคยี นหนู Anogeissus acuminata
25 ชงโค Bauhinia purpurea
26 ลําไยป่า Paranephelium xestophyllum
27 กดั ลิ้น Walsura trichostemon
28 ปอฝา้ ย Firmiana colorata
29 มะกอกเกล้ือน Canarium subulatum
30 ปอขาว Sterculia pexa
31 อนื่ ๆ others
รวม
หมายเหตุ : มีชนิดพันธไุ์ มท้ ี่สํารวจพบทั้งหมด 217 ชนิด
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนท่อี ุทยานแห่งชาติเอราวณั
30
ตารางท่ี 7 ปรมิ าณไมใ้ นปา่ ดบิ แลง้ ของอุทยานแห่งชาติเอราวณั (30 ชนดิ แรกท่มี ปี ริมาตรไมส้ งู สุด)
ลําดับ ชนิดพนั ธไุ์ ม้ ช่ือวทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแนน่ ปริมาตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร่)
1 ไทร Ficus drupacea 7,051 548,900.00 0.32
1,403,144 45,715.08 63.68 24.91
2 กระโดงแดง Bhesa robusta 14,102 45,460.68 0.64 2.07
7,051 44,749.12 0.32 2.06
3 ตะโกพนม Diospyros castanea 7,051 41,861.34 0.32 2.03
345,498 41,436.17 15.68 1.90
4 เสลาขาว Lagerstroemia tomentosa 7,051 39,593.53 0.32 1.88
70,510 25,104.26 3.20 1.80
5 ตะแบก Lagerstroemia cuspidata 14,102 22,994.18 0.64 1.14
35,255 13,782.24 1.60 1.04
6 กดั ลน้ิ Walsura trichostemon 303,192 11,982.68 13.76 0.63
21,153 10,370.16 0.96 0.54
7 ชงโค Bauhinia purpurea 35,255 1.60 0.47
7,051 8,081.07 0.32 0.37
8 ลําไยปา่ Paranephelium xestophyllum 14,102 7,286.97 0.64 0.33
14,102 4,624.39 0.64 0.21
9 จนั ทนช์ ะมด Mansonia gagei 63,459 4,532.35 2.88 0.21
7,051 4,070.99 0.32 0.18
10 ยมหิน Chukrasia tabularis 70,510 2,761.73 3.20 0.13
14,102 2,211.19 0.64 0.10
11 กระชดิ Blachia siamensis 7,051 1,954.05 0.32 0.09
28,204 1,870.82 1.28 0.08
12 เกด็ ขาว Dalbergia glomeriflora 14,102 1,293.14 0.64 0.06
28,204 1.28 0.03
13 แสลงใจ Strychnos nux-vomica 28,204 605.58 1.28 0.02
14,102 436.80 0.64 0.01
14 กอ่ สร้อย Carpinus viminea 14,102 320.64 0.64 0.01
7,051 212.53 0.32 0.01
15 กระพ้ีจ่ัน Millettia brandisiana 7,051 141.18 0.32 0.00
7,051 65.40 0.32 0.00
16 สาธร Millettia leucantha 726,250 61.91 32.96 0.00
59.36 142.40 7.40
17 กระเบากลัก Hydnocarpus ilicifoli 3,220,254 163,119.34 48.63
1,053,712.20
18 คาํ แสด Mallotus philippensis
19 ดาํ ดง Diospyros pubicalyx
20 ปอฝ้าย Firmiana colorata
21 ปอเลียงฝา้ ย Eriolaena candollei
22 เชียด Cinnamomum iners
23 ยมหอม Toona ciliata
24 จนั เขา Diospyros dasyphylla
25 แกว้ Murraya paniculata
26 ชะเนียง Archidendron jiringa
27 ปรู Alangium salviifolium
28 คอแลน Nephelium hypoleucum
29 เข็มปา่ Ixora cibdela
30 ค้างคาว Aglaia edulis
31 อนื ๆ others
รวม
หมายเหตุ : มีชนดิ พันธ์ไุ ม้ที่สํารวจพบท้ังหมด 47 ชนิด
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พน้ื ท่อี ทุ ยานแหง่ ชาติเอราวณั
31
ตารางท่ี 8 ปริมาณไม้ในพื้นท่ปี ่าเบญจพรรณของอุทยานแหง่ ชาติเอราวัณ (30 ชนดิ แรกที่มปี รมิ าตรไมส้ งู สุด)
ลาํ ดบั ชนดิ พนั ธุ์ไม้ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแนน่ ปริมาตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่
1 แดง Xylia xylocarpa 267,937 141,120.04 0.87
620,486 107,102.57 2.01 0.46
2 กระพ้ีจน่ั Millettia brandisiana 169,223 86,144.80 0.55 0.35
91,663 76,491.77 0.30 0.28
3 งวิ้ ป่า Bombax anceps 148,070 50,061.21 0.48 0.25
98,714 49,303.88 0.32 0.16
4 มะเกลือเลือด Terminalia mucronata 112,816 47,190.07 0.37 0.16
141,019 46,767.38 0.46 0.15
5 ตะครอ้ Schleichera oleosa 190,376 37,964.86 0.62 0.15
133,969 35,183.24 0.43 0.12
6 แคทราย Stereospermum neuranthum 91,663 29,195.79 0.30 0.11
183,325 27,982.98 0.59 0.09
7 ข้ีอา้ ย Terminalia triptera 98,714 23,138.88 0.32 0.09
91,663 18,370.41 0.30 0.08
8 ขานาง Homalium tomentosum 84,612 18,309.27 0.27 0.06
91,663 18,260.02 0.30 0.06
9 ปอฝา้ ย Firmiana colorata 557,027 18,184.10 1.81 0.06
183,325 16,292.43 0.59 0.06
10 ปอขาว Sterculia pexa 162,172 15,177.40 0.53 0.05
119,867 14,388.07 0.39 0.05
11 หมากเล็กหมากนอ้ ย Vitex gamosepala 148,070 14,325.17 0.48 0.05
119,867 13,054.06 0.39 0.05
12 ปอเลยี งฝา้ ย Eriolaena candollei 190,376 12,106.58 0.62 0.04
155,121 10,541.92 0.50 0.04
13 เสลาเปลอื กบาง Lagerstroemia venusta 119,867 0.39 0.03
112,816 9,591.63 0.37 0.03
14 ลาํ ไยป่า Paranephelium xestophyllum 133,969 8,202.67 0.43 0.03
112,816 4,610.08 0.37 0.01
15 ปอตาน Sterculia urena 148,070 4,245.50 0.48 0.01
98,714 4,068.64 0.32 0.01
16 ลาย Microcos paniculata 2,479.42 21.26 0.01
6,557,406 1,125,281.81 30.83 3.65
17 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii 9,762,074 3,640,268.40 11.50
18 สม้ กบ Hymenodictyon orixense
19 สาธร Millettia leucantha
20 ปอแก่นเทา Grewia eriocarpa
21 เพกา Oroxylum indicum
22 แคหวั หมู Markhamia stipulata
23 โมกมนั Wrightia arborea
24 กุ๊ก Lannea coromandelica
25 คาํ แสด Mallotus philippensis
26 แคหางคา่ ง Fernandoa adenophylla
27 พทุ รา Ziziphus mauritiana
28 มะกา Bridelia ovata
29 เปล้าเลือด Croton robustus
30 พลองใบเล็ก Memecylon geddesianum
31 อื่นๆ others
รวม
หมายเหตุ : มชี นิดพันธไุ์ ม้ทสี่ าํ รวจพบทัง้ หมด 201 ชนดิ
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ที่อุทยานแหง่ ชาติเอราวณั
32
ตารางที่ 9 ปรมิ าณไม้ในพ้นื ทีป่ า่ เตง็ รงั ของอุทยานแห่งชาตเิ อราวัณ (30 ชนดิ แรกที่มปี รมิ าตรไมส้ ูงสุด)
ลําดับ ชนดิ พนั ธไ์ุ ม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแนน่ ปรมิ าตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร่) (ลบ.ม./ไร่)
1 รัง Shorea siamensis 204,478 17,501.89 46.40
7,051 1.60 3.97
2 มะกอก Spondias pinnata 148,070 4,573.95 33.60 1.04
77,561 4,164.55 17.60 0.95
3 ง้ิวปา่ Bombax anceps 7,051 2,170.72 1.60 0.49
7,051 1,987.77 1.60 0.45
4 เสลาดํา Lagerstroemia undulata 63,459 1,672.79 14.40 0.38
14,102 1,226.71 3.20 0.28
5 แดง Xylia xylocarpa 14,102 3.20 0.10
14,102 422.91 3.20 0.08
6 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 7,051 356.27 1.60 0.07
7,051 309.36 1.60 0.06
7 ก๊กุ Lannea coromandelica 35,713 286.06 129.60 0.03
123.99 7.90
8 ช้างนา้ ว Gomphia serrata 34,796.98
9 กระพีจ้ ่นั Millettia brandisiana
10 เกด็ ดาํ Dalbergia assamica
11 มะกอกเกลอื้ น Canarium subulatum
12 ซาด Erythrophleum succirubrum
รวม
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนท่ีอทุ ยานแห่งชาติเอราวณั
33
ตารางท่ี 10 ชนดิ และปริมาณไมไ้ ผ่ หวาย และไม้กอ ท่ีพบในอุทยานแหง่ ชาตเิ อราวณั
ลําดับ ชนดิ ไผ่ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไมไ้ ผท่ ั้งหมด
จาํ นวนกอ จาํ นวนลาํ
1 ไผ่รวก Thyrsostachys siamensis 4,808,765 62,344,715
2 ไผผ่ ากมัน Gigantochloa hasskarliana 1,339,685 21,505,472
3 ซาง Dendrocalamus strictus 958,933 17,162,072
4 ไผป่ า่ Bambusa bambos 465,364 11,873,841
5 ไผ่ซางนวล Dendrocalamus membranaceus 803,811 11,126,438
6 ไผไ่ ร่ Gigantochloa albociliata 564,078 5,429,250
7 บงดํา Bambusa tulda 112,816 1,551,214
รวม 9,053,451 130,993,002
ลําดบั ชนดิ ไม้กอ ชอื่ วิทยาศาสตร์ ปริมาณไมก้ อทงั้ หมด
จาํ นวนกอ จํานวนลาํ
1 กล้วยป่า Musa acuminata 169,223 521,772
รวม 169,223 521,772
หมายเหตุ : ไม่พบหวาย
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ท่อี ุทยานแหง่ ชาติเอราวณั
34
ตารางท่ี 11 ชนดิ และปรมิ าณของกลา้ ไม้ (Seedling) ในอทุ ยานแหง่ ชาตเิ อราวณั (30 ชนดิ แรกทมี่ ปี รมิ าณสงู สดุ )
ลําดบั ท่ี ชนดิ พนั ธ์ุไม้ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ความหนาแน่น
(ตน้ ) (ต้น/ไร่)
1 สงั กรณี Barleria strigosa 1,021,384,000 2,971.43
2 ซาง Dendrocalamus strictus 529,976,873 1,541.82
3 กระเจยี วขาว Curcuma parviflora 279,987,782 814.55
4 ข่าปา่ Alpinia malaccensis 245,703,564 714.81
5 สาบเสอื Chromolaena odoratum 242,846,545 706.49
6 หญ้าขน Coelorachis striata 185,706,182 540.26
7 เข็มป่า Ixora cibdela 182,849,164 531.95
8 บอนเขยี ว Schismatoglottis calyptrata 157,136,000 457.14
9 หญ้าคายหลวง Arundinella hispida 141,422,400 411.43
10 ผักควา Selaginella ostenfeldii 122,851,782 357.40
11 เปลา้ ใหญ่ Croton roxburghii 118,566,255 344.94
12 ม่วงก้อม Turpinia cochinchinensis 84,282,036 245.19
13 ถ่ัวผี Vigna luteola 77,139,491 224.42
14 ตาํ แยเครอื Cnesmone javanica 75,710,982 220.26
15 เปราะป่า Kaempferia marginata 74,282,473 216.10
16 หญ้าคมบาง Carex stramentitia 72,853,964 211.95
17 บงดาํ Bambusa tulda 68,568,436 199.48
18 บุกคางคก Amorphophallus paeoniifolius 58,568,873 170.39
19 พรา้ วนกคุ่ม Curculigo megacarpa 58,568,873 170.39
20 ไผ่รวก Thyrsostachys siamensis 57,140,364 166.23
21 มันเสา Dioscorea alata 49,997,818 145.45
22 พลบั พลึง Crinum asiaticum 48,569,309 141.30
23 เฟนิ ก้านดํา Adiantum capillus-veneris 47,140,800 137.14
24 กินกุ้งนอ้ ย Murdannia nudiflora 45,712,291 132.99
25 กระโดงแดง Bhesa robusta 44,283,782 128.83
26 อง่นุ ป่า Tetrastigma matabita 44,283,782 128.83
27 เส้ียวป่า Bauhinia saccocalyx 41,426,764 128.83
28 ขา้ วตาก Grewia hirsuta 41,426,764 120.52
29 ไผผ่ ากมัน Gigantochloa hasskarliana 37,141,236 108.05
30 คนทา Harrisonia perforata 37,141,236 108.05
31 อ่ืนๆ Others 1,339,941,527 3,898.18
รวม 117,157,678 11,224.94
หมายเหตุ : มชี นิดพนั ธ์ุกล้าไม้ท่สี าํ รวจพบท้ังหมด 84 ชนิด
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นทอี่ ุทยานแหง่ ชาตเิ อราวณั
35
ตารางที่ 12 ชนิดและปริมาณของลูกไม้ (Sapling) ในอทุ ยานแห่งชาตเิ อราวัณ (30 ชนิดแรกที่มีปรมิ าณสูงสุด)
ลําดับที่ ชนิดพนั ธุไ์ ม้ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ความหนาแน่น
(ตน้ ) (ต้น/ไร่)
1 สาบเสอื Chromolaena odoratum 15,512,144 46.32
2 เปลา้ ใหญ่ Croton roxburghii 7,474,033 22.32
3 เล่ยี น Melia azedarach 3,384,468 10.11
4 เขม็ ป่า Ixora cibdela 3,243,448 9.68
5 เสยี้ วป่า Bauhinia saccocalyx 3,102,429 9.26
6 กระโดงแดง Bhesa robusta 2,115,292 6.32
7 คนทา Harrisonia perforata 1,692,234 5.05
8 ปอตนี เต่า Colona winitii 1,551,214 4.63
9 กระถิน Leucaena leucocephala 1,551,214 4.63
10 นมวัว Anomianthus dulcis 1,269,175 3.79
11 พฤกษ์ Albizia lebbeck 987,136 2.95
12 กระพ้ีจน่ั Millettia brandisiana 987,136 2.95
13 สมอพเิ ภก Terminalia bellirica 987,136 2.95
14 มะเม่าสาย Antidesma sootepense 987,136 2.95
15 คําแสด Mallotus philippensis 705,097 2.11
16 มะเม่าเขา Antidesma laurifolium 564,078 1.68
17 เคด Catunaregam spathulifolia 564,078 1.68
18 งว้ิ Bombax ceiba 423,058 1.68
19 แคหวั หมู Markhamia stipulata 423,058 1.26
20 ปบี Millingtonia hortensis 423,058 1.26
21 แหลบกุ Phoebe declinata 423,058 1.26
22 ขอ้ี ้าย Terminalia triptera 423,058 1.26
23 กัดลน้ิ Walsura trichostemon 423,058 1.26
24 โมกมัน Wrightia arborea 423,058 1.26
25 มะลวิ ลั ย์ Jasminum adenophyllum 423,058 1.26
26 ชิงช่ี Capparis micracantha 423,058 1.26
27 มะไฟ Baccaurea ramiflora 282,039 0.84
28 ผเี ส้อื หลวง Casearia grewiifolia 282,039 0.84
29 ดําดง Diospyros pubicalyx 282,039 0.84
30 ปอฝา้ ย Firmiana colorata 282,039 0.84
31 อนื่ ๆ Others 12,973,793 38.74
รวม 2,525,659,015 190.31
หมายเหตุ : มชี นดิ พันธุล์ ูกไมท้ ่สี ํารวจพบทัง้ หมด 178 ชนดิ
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นท่ีอทุ ยานแหง่ ชาตเิ อราวัณ
36
ตารางท่ี 13 ชนดิ และปริมาณของตอไม้ (Stump) ท่พี บในอทุ ยานแห่งชาตเิ อราวณั (30 ชนิดแรกที่มปี รมิ าณสงู สุด)
ลําดบั ชนิดพนั ธไ์ุ ม้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณตอไมท้ ้ังหมด
จํานวน (ตอ) ความหนาแน่น (ตอ/ไร่)
1 ขนนุ นก Palaquium obovatum 14,102 0.04
2 มะกา Bridelia ovata 14,102 0.04
3 งว้ิ ปา่ Bombax anceps 14,102 0.04
4 แดง Xylia xylocarpa 14,102 0.04
5 ดาํ ดง Diospyros pubicalyx 14,102 0.04
6 กระโดงแดง Bhesa robusta 14,102 0.04
7 Unknown Unknown 141,019 0.41
รวม 225,631 0.66
5. ขอ้ มลู สงั คมพชื
จากผลการสํารวจเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืชในอุทยานแห่งชาติเอราวัณ พบว่ามีสังคมพืช
5 ประเภท คือ ป่าดบิ แลง้ ปา่ เบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ไร่ข้าวโพด และหมู่บ้าน และจากวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช
พบความหนาแน่นของพรรณพืช (Density) ความถ่ี (Frequency) ความเด่น (Dominance) และดัชนีความสําคัญ
ของพรรณไม้ (IVI) ดังนี้
ในพนื้ ทป่ี ่าดิบแล้ง มีชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
กระโดงแดง (Bhesa robusta) ไทร (Ficus drupacea) กัดล้ิน (Walsura trichostemon) กระชิด (Blachia
siamensis) ลําไยป่า (Paranephelium xestophyllum) ตะโกพนม (Diospyros castanea) เสลาขาว
(Lagerstroemia tomentosa) กระเบากลัก (Hydnocarpus ilicifoli) ยมหิน (Chukrasia tabularis) ดําดง
(Diospyros pubicalyx) ดงั รายละเอียดในตารางที่ 14
ในพื้นที่ป่าเบญจพรรณ มีชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ กระพี้จ่ัน (Millettia brandisiana) ไทร (Ficus drupacea) แดง (Xylia xylocarpa) เปล้าใหญ่ (Croton
roxburghii) งิ้วป่า (Bombax anceps) ตะคร้อ (Schleichera oleosa) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus)
ปอฝ้าย (Firmiana colorata) ขีอ้ ้าย (Terminalia triptera) โมกมัน (Wrightia arborea) ดังรายละเอียด
ในตารางที่ 15
ในพนื้ ทป่ี ่าเต็งรงั มชี นดิ ไมท้ ม่ี ีค่าดชั นีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ รัง
(Shorea siamensis) มะกอก (Spondias pinnata) ง้ิวป่า (Bombax anceps) เสลาดํา (Lagerstroemia
undulata) แดง (Xylia xylocarpa) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) กุ๊ก (Lannea coromandelica)
ชา้ งนา้ ว (Gomphia serrata) กระพ้ีจน่ั (Millettia brandisiana) เกด็ ดาํ (Dalbergia assamica) ตารางท่ี 16
ในพื้นท่ไี ร่ขา้ วโพดไมพ่ บวา่ มีชนดิ ไมท้ ีม่ ีค่าดชั นีความสาํ คญั ของชนิดไม้ (IVI)
ในพื้นท่ีหมบู่ ้านไม่พบวา่ มีชนดิ ไม้ทมี่ ีคา่ ดัชนคี วามสําคัญของชนดิ ไม้ (IVI)
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติเอราวัณ
ตารางท่ี 14 ดัชนคี วามสาํ คญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่
ลําดบั ชนดิ พนั ธุ์ไม้ ช่ือวทิ ยาศาสตร์ จาํ นวน ความหนาแนน่ แปลงพบ ค
(ตน้ ) (ต้น/เฮกตาร)์
1 กระโดงแดง Bhesa robusta 199 398 4
1 21
2 ไทร Ficus drupacea 49 98 4
43 86 2
3 กดั ล้นิ Walsura trichostemon 10 20 4
2 42
4 กระชดิ Blachia siamensis 1 21
9 18 3
5 ลําไยป่า Paranephelium xestophyllum 5 10 2
10 20 2
6 ตะโกพนม Diospyros castanea 1 21
1 21
7 เสลาขาว Lagerstroemia tomentosa 4 83
2 41
8 กระเบากลกั Hydnocarpus ilicifoli 4 82
2 42
9 ยมหนิ Chukrasia tabularis 5 10 1
3 61
10 ดาํ ดง Diospyros pubicalyx 1 21
1 21
11 ตะแบก Lagerstroemia cuspidata 92
184 33
12 ชงโค Bauhinia purpurea
13 แก้ว Murraya paniculata
14 จนั ทนช์ ะมด Mansonia gagei
15 จันเขา Diospyros dasyphylla
16 ปอฝ้าย Firmiana colorata
17 แสลงใจ Strychnos nux-vomica
18 เก็ดขาว Dalbergia glomeriflora
19 ยางโอน Polyalthia viridis
20 ขนุนนก Palaquium obovatum
21 อน่ื ๆ Others
รวม 445 890
าดบิ แลง้ ในอุทยานแห่งชาตเิ อราวัณ (20 อันดับแรก)
ความถ่ี พนื้ ทห่ี นา้ ตัด ความเดน่ RDensity RFrequency RDominance IVI
(ตร.ม.)
9.17 59.44
80 1.29 0.09 44.72 5.56 31.81 33.43
20 4.49 0.32 0.22 1.39 6.48 23.05
80 0.91 0.06 11.01 5.56 2.45 14.89
40 0.35 0.02 9.66 2.78 3.17 10.97
80 0.45 0.03 2.25 5.56 4.09 7.32
40 0.58 0.04 0.45 2.78 5.39 7.00
20 0.76 0.05 0.22 1.39 0.69 6.88
60 0.10 0.01 2.02 4.17 1.76 5.66
40 0.25 0.02 1.12 2.78 0.46 5.48
40 0.06 0.00 2.25 2.78 3.77 5.39
20 0.53 0.04 0.22 1.39 3.60 5.22
20 0.51 0.04 0.22 1.39 0.08 5.15
60 0.01 0.00 0.90 4.17 2.32 4.16
20 0.33 0.02 0.45 1.39 0.11 3.78
40 0.02 0.00 0.90 2.78 0.33 3.56
40 0.05 0.00 0.45 2.78 1.04 3.56
20 0.15 0.01 1.12 1.39 1.48 3.54
20 0.21 0.01 0.67 1.39 1.72 3.33
20 0.24 0.02 0.22 1.39 0.95 2.56
20 0.13 0.01 0.22 1.39 19.12 85.63
660 2.70 0.19 20.67 45.83 100.00 300.00
1440 14.12 1.00 100.00 100.00
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนที่อุทยานแห่งชาติเอราวัณ
ตารางท่ี 15 ดัชนคี วามสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่
ลาํ ดบั ชนดิ พนั ธไุ์ ม้ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ จาํ นวน ความหนาแนน่ แปลงพบ
(ตน้ ) (ต้น/เฮกตาร์)
1 กระพ้ีจนั่ Millettia brandisiana 88 12.57 22
10 1.43 6
2 ไทร Ficus drupacea 38 5.43 18
79 11.29 15
3 แดง Xylia xylocarpa 24 3.43 15
21 3.00 13
4 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii 10 1.43 9
27 3.86 8
5 ง้วิ ป่า Bombax anceps 16 2.29 10
27 3.86 11
6 ตะครอ้ Schleichera oleosa 13 1.86 5
14 2.00 8
7 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 20 2.86 7
26 3.71 6
8 ปอฝา้ ย Firmiana colorata 23 3.29 9
19 2.71 7
9 ขอ้ี ้าย Terminalia triptera 22 3.14 9
17 2.43 11
10 โมกมัน Wrightia arborea 26 3.71 5
11 มะเกลือเลือด Terminalia mucronata
12 แคทราย Stereospermum neuranthum
13 ขานาง Homalium tomentosum
14 ปอเลยี งฝ้าย Eriolaena candollei
15 สาธร Millettia leucantha
16 ปอขาว Sterculia pexa
17 กุก๊ Lannea coromandelica
18 แคหัวหมู Markhamia stipulata
19 สม้ กบ Hymenodictyon orixense
20 เพกา Oroxylum indicum 21 3.00 8
21 อนื่ ๆ Others
808 115.43 438
รวม 1,304 192.71 192
าเบญจพรรณในอทุ ยานแห่งชาตเิ อราวณั (20 อนั ดบั แรก)
ความถี่ พืน้ ท่ีหน้าตดั ความเด่น RDensity RFrequency RDominance IVI
(ตร.ม.)
4.16 14.12
31.43 2.31 0.04 6.52 3.44 11.80 13.48
0.94 4.35 9.98
8.57 6.53 0.12 0.74 2.81 0.93 9.13
2.34 2.36 6.49
25.71 2.41 0.04 2.82 2.34 1.63 5.22
2.03 2.84 4.99
21.43 0.51 0.01 5.86 1.41 1.42 4.67
1.25 1.53 4.28
21.43 1.31 0.02 1.78 1.56 0.56 4.28
1.72 2.40 4.15
18.57 0.91 0.02 1.56 0.78 1.74 4.03
1.25 1.40 3.97
12.86 1.57 0.03 0.74 1.09 1.08 3.95
0.94 0.63 3.74
11.43 0.79 0.01 2.00 1.41 1.15 3.65
1.09 0.49 3.53
14.29 0.85 0.02 1.19 1.41 0.55 3.53
1.72 0.73 3.44
15.71 0.31 0.01 2.00 0.78 0.56 3.37
57.67 186.00
7.14 1.33 0.02 0.96 100.00 300.00
11.43 0.96 0.02 1.04
10.00 0.77 0.01 1.48
8.57 0.60 0.01 1.93
12.86 0.35 0.01 1.70
10.00 0.64 0.01 1.41
12.86 0.27 0.00 1.63
15.71 0.30 0.01 1.26
7.14 0.41 0.01 1.93
11.43 0.31 0.01 1.56 1.25
68.44
625.71 31.94 0.58 59.90
914.29 55.38 1.00 100.00 100.00
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พน้ื ท่อี ุทยานแห่งชาติเอราวณั
ตารางท่ี 16 ดัชนคี วามสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่
ลําดบั ชนิดพนั ธ์ุไม้ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ จาํ นวน ความหนาแนน่ แปลงพบ
(ตน้ ) (ต้น/เฮกตาร)์
1 รงั Shorea siamensis 29 290.00 1
21 210.00 1
2 ง้วิ ป่า Bombax anceps 11 110.00 1
9 90.00 1
3 เสลาดาํ Lagerstroemia undulata 1 10.00 1
1 10.00 1
4 กกุ๊ Lannea coromandelica 1 10.00 1
2 20.00 1
5 มะกอก Spondias pinnata 2 20.00 1
2 20.00 1
6 แดง Xylia xylocarpa 1 10.00 1
1 10.00 1
7 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus -
- -
8 ช้างน้าว Gomphia serrata 81 810.00
9 กระพ้ีจ่ัน Millettia brandisiana
10 เก็ดดาํ Dalbergia assamica
11 มะกอกเกล้ือน Canarium subulatum
12 ซาด Erythrophleum succirubrum
13 Unknown Unknown
รวม