รายงานการสาํ รวจทรัพยากรป่ าไม้
อุทยานแห่งชาตหิ มู่เกาะช้าง
กลุ่มงานวิชาการ สาํ นักบริหารพนื้ ท่อี นุรักษ์ท่ี 2 (ศรีราชา)
ส่วนสาํ รวจและวเิ คราะห์ทรัพยากรป่ าไม้
สาํ นักฟื้นฟูและพฒั นาพนื้ ท่อี นุรักษ์
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่ า และพนั ธ์ุพืช
2557
รายงานการสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
อทุ ยานแห่งชาตหิ มู่เกาะชา้ ง
กลมุ่ งานวิชาการ สาํ นักบรหิ ารพ้ืนท่ีอนุรกั ษ์ ท่ี 2 (ศรรี าชา)
สว่ นสํารวจและวเิ คราะหท์ รัพยากรปา่ ไม้ สาํ นกั ฟื้นฟูและพัฒนาพื้นทอ่ี นุรกั ษ์
กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สัตวป์ า่ และพันธ์พุ ชื พ.ศ. 2557
บทสรุปสาํ หรับผู้บรหิ าร
จากสถานการณ์ป่าไม้ในปัจจุบันพบว่า พ้ืนที่ป่าไม้ในประเทศเหลืออยู่เพียงประมาณร้อยละ 31.57
ของพืน้ ทป่ี ระเทศ การดําเนนิ การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไมจ้ ึงเป็นอกี ทางหนงึ่ ท่ีทําให้ทราบถงึ สถานภาพและศักยภาพ
ของทรพั ยากร ตลอดจนปัจจัยทางเศรษฐกจิ และสังคมท่ีมีผลต่อการบุกรกุ ทําลายปา่ เพอ่ื นาํ มาใช้ในการดําเนินการ
ตามภาระรับผิดชอบต่อไป ซึ่งกรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ปา่ และพันธ์ุพชื ได้ดาํ เนินการมาอย่างตอ่ เนอื่ ง
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ได้จัดสรรงบประมาณการ
ดําเนนิ งาน และกาํ หนดจดุ สํารวจเป้าหมายในพืน้ ท่อี ทุ ยานแหง่ ชาตหิ ม่เู กาะช้าง ซึ่งมีเนื้อที่ 406,250 ไร่ หรือ
ประมาณ 650 ตารางกิโลเมตร (พ้นื ทไี่ ด้จากการแปลภาพถ่ายทางอากาศ) ซง่ึ อยูใ่ นความดูแลรบั ผิดชอบของสาํ นกั
บริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 2 (ศรีราชา) จํานวน 20 แปลง สําหรับการวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample
Plot) ทมี่ ีขนาดคงที่ รปู วงกลม 3 วง ซอ้ นกนั คือ วงกลมรศั มี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลําดับ และมวี งกลม
ขนาดรศั มี 0.631 เมตร อย่ตู ามทิศหลกั ท้ัง 4 ทศิ
ผลการสํารวจและวเิ คราะหข์ ้อมลู พบวา่ มีชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินท่ีสํารวจเป็น
ป่าดิบชืน้ ทัว่ ทั้งพ้นื ที่ สาํ หรบั พรรณไม้รวมทกุ ชนิดป่าพบทั้งสิ้น 47 วงศ์ มีมากกว่า 103 ชนิด จํานวน 57,460,000ต้น
ปรมิ าตรไมร้ วมท้ังหมด 11,951,446.46 ลูกบาศก์เมตร ความหนาแน่นของไม้เฉลี่ย 141 ต้นต่อไร่ และปริมาตร
ไมเ้ ฉลยี่ 29.42 ลกู บาศก์เมตรตอ่ ไร่ เมื่อเรียงลําดับตามปริมาตรจากมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
ตะเคยี นราก (Hopea pierrei) ตาเสอื (Aphanamixis polystachya) มะซาง (Madhuca grandiflora) หวา้
(Syzygium cumini) พนอง (Shorea hypochra) ดีหมี (Cleidion spiciflorum) ยางโอน (Polyalthia viridis)
บุนนาค (Mesua ferrea) พันจําใบใหญ่ (Hopea recopei) และเคีย่ มคะนอง (Shorea henryana) ตามลําดับ
ลูกไม้ (Sapling) ท่ีพบในแปลงสํารวจมีมากกว่า 44 ชนิด รวมจํานวนท้ังหมด 195,650,000 ต้น
ซงึ่ เม่อื เรยี งลําดบั จากจํานวนตน้ ทพ่ี บมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ตะเคียนราก พุงทะลาย (Scaphium
scaphigerum) หวา้ กะทังหันใบเล็ก (Calophyllum pisiferum) พลองใบเล็ก (Memecylon geddesianum)
มะเม่าเขา (Antidesma laurifolium) พนั จาํ ใบใหญ่ ดีหมี ละมุดสีดา (Madhuca esculenta) และ เปล้าใหญ่
(Croton roxburghii) ตามลาํ ดับ
กล้าไม้ (Seeding) ท่ีพบในแปลงสํารวจมีมากกว่า 60 ชนิด รวมจํานวนทั้งหมด 3,412,500,000 ต้น
ซ่ึงเมอ่ื เรียงลาํ ดับจากจาํ นวนต้นทพี่ บมากสดุ ไปหานอ้ ยสดุ 10 อันดับแรก ได้แก่ ตะเคียนราก พุงทะลาย ละมุดสีดา
หว้า มะซาง อบเชย (Cinnamomum bejolghota) ดีหมี มะไฟ (Baccaurea ramiflora) เปล้าใหญ่ และ
เปลา้ (Croton kerii) ตามลาํ ดบั
สว่ นผลการวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืชเชิงปริมาณ (Quantitative Value) พบว่า ชนิดไม้ท่ีมีความถ่ี
(Frequency) มากที่สุด คอื ตะเคยี นราก รองลงมา คือ ดีหมี ชนิดไม้ที่มีความหนาแน่นของพืชพรรณ (Density)
มากทีส่ ุด คือ ตะเคียนราก รองลงมา คือ ดีหมี ชนิดไม้ที่มีความเด่น (Dominance) มากท่ีสุด คือ ตะเคียนราก
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พน้ื ทอี่ ุทยานแห่งชาตหิ มู่เกาะชา้ ง
รองลงมา คือ มะซาง ชนิดไม้ท่ีมีค่าความสําคัญทางนิเวศวิทยา (Importance Value Index : IVI) มากที่สุด
คอื ตะเคยี นราก
ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู โครงสรา้ งป่าในทุกชนิดป่าหรือทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดิน พบว่ามีไม้
ยนื ตน้ ขนาดเสน้ รอบวงเพียงอก (GBH) ระหว่าง 15-45 เซนตเิ มตร จํานวน 35,717,500 ต้น คิดเป็นร้อยละ 62.16
ของไม้ทั้งหมด ไม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) อยู่ระหว่าง >45-100 เซนติเมตร จํานวน 18,362,500 ต้น
คิดเป็นร้อยละ 31.96 ของไม้ท้ังหมด และไม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่า 100 เซนติเมตร
ข้นึ ไป จํานวน 3,380,000 ตน้ คดิ เป็นร้อยละ 5.88 ของไมท้ ้งั หมด
จากผลการดําเนินงานดังกล่าว ทําให้ทราบข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้าน
กาํ ลังผลิตและความหลากหลายของพนั ธ์ุพืชในพ้ืนท่ีต่างๆ ของอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง อีกทั้งยังเป็นแนวทาง
ในการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ เก่ียวกับรูปแบบ วิธีการสํารวจ และการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบและแบบแผน
เพ่อื เป็นแนวทางในการติดตามการเปลย่ี นแปลงของทรัพยากรป่าไม้ในพืน้ ทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาตหิ มู่เกาะชา้ งต่อไป
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนทีอ่ ุทยานแห่งชาติหมเู่ กาะชา้ ง
สารบญั i
สารบัญ หน้า
สารบญั ตาราง i
สารบญั ภาพ iii
คํานาํ iv
วตั ถุประสงค์ 1
เปา้ หมายการดําเนนิ การ 2
ข้อมลู ทัว่ ไปอทุ ยานแหง่ ชาติหมูเ่ กาะชา้ ง 2
3
ประวัตคิ วามเปน็ มา 3
ท่ีต้งั และอาณาเขต 3
การเดนิ ทางและเสน้ ทางคมนาคม 4
ลักษณะภูมิประเทศ 4
ลักษณะภมู ิอากาศ 5
พนั ธุ์พืชและสตั วป์ า่ 6
จดุ เด่นทีน่ า่ สนใจ 6
รปู แบบและวธิ ีการสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
การสุ่มตัวอยา่ ง (Sampling Design) 11
รูปร่างและขนาดของแปลงตัวอยา่ ง (Plot Design) 11
ขนาดของแปลงตัวอยา่ งและข้อมูลท่ที าํ การสาํ รวจ 11
การวเิ คราะหข์ อ้ มูลการสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้ 12
1. การคํานวณเนอ้ื ที่ป่าและปรมิ าณไมท้ ้ังหมดของแตล่ ะพ้ืนท่อี นรุ ักษ์ 12
2. การคาํ นวณปริมาตรไม้ 12
3. ข้อมลู ทว่ั ไป 13
4. การวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหมไู่ ม้ 14
5. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ชนิดและปรมิ าณของลกู ไม้ (Sapling) และกล้าไม้ (Seedling) 14
14
6. การวิเคราะห์ข้อมลู ชนิดและปรมิ าณของไม้ไผ่ หวาย 14
7. การวเิ คราะห์ข้อมลู สังคมพืช 14
8. วิเคราะหข์ ้อมูลความหลากหลายทางชวี ภาพ 16
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนทีอ่ ุทยานแห่งชาตหิ มูเ่ กาะช้าง
สารบญั (ตอ่ ) ii
ผลการสาํ รวจและวเิ คราะหข์ ้อมลู ทรพั ยากรปา่ ไม้ หน้า
1. การวางแปลงตวั อยา่ ง 17
2. พื้นทปี่ ่าไม้ 17
3. ปริมาณไม้ 18
4. ชนิดพนั ธไ์ุ ม้ 18
5. ขอ้ มลู สงั คมพืช 21
6. ขอ้ มูลเกีย่ วกบั ความหลากหลายทางชวี ภาพ 25
27
สรุปผลการสาํ รวจและวิเคราะหข์ อ้ มลู ทรพั ยากรปา่ ไม้ 28
ปัญหาและอุปสรรค 30
ข้อเสนอแนะ 30
เอกสารอา้ งองิ 31
ภาคผนวก 32
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ท่อี ทุ ยานแหง่ ชาติหมู่เกาะช้าง
iii
สารบญั ตาราง หนา้
12
ตารางที่ 19
1 ขนาดของแปลงตัวอย่างและขอ้ มูลที่ทาํ การสาํ รวจ 20
2 การกระจายขนาดความโตของไม้ท้งั หมดในอุทยานแห่งชาติหมเู่ กาะชา้ ง 22
3 ชัน้ เรือนยอดจําแนกตามช่วงชนั้ ความสูงของอทุ ยานแหง่ ชาตหิ มู่เกาะชา้ ง 23
4 ปริมาณไมแ้ ละปริมาตรไม้ของอทุ ยานแห่งชาตหิ มู่เกาะช้าง (30 ชนิดแรกที่มปี ริมาตรไม้สงู สุด)
5 ชนิดและปรมิ าณของลูกไม้ (Sapling) ท่พี บในอุทยานแหง่ ชาติหม่เู กาะชา้ ง 24
(30 ชนิดแรกที่มปี ริมาตรไม้สงู สุด)
6 ชนดิ และปรมิ าณของกลา้ ไม้ (Seedling) ท่ีพบในอทุ ยานแหง่ ชาตหิ มูเ่ กาะชา้ ง 25
(30 ชนดิ แรกที่มปี รมิ าตรไม้สูงสุด) 26
7 ชนดิ และปรมิ าณของตอไม้ (Stump) ท่ีพบในอทุ ยานแหง่ ชาตหิ มูเ่ กาะช้าง
8 ดชั นีความสาํ คญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ ดบิ ชนื้
ในอุทยานแหง่ ชาตหิ ม่เู กาะช้าง
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ท่อี ุทยานแหง่ ชาตหิ มเู่ กาะช้าง
iv
สารบญั ภาพ หน้า
5
ภาพที่ 8
1 แสดงท่ีต้งั และอาณาเขตของอุทยานแห่งชาติหมเู่ กาะชา้ ง 8
2 นา้ํ ตกธารมะยม 9
3 น้าํ ตกคลองพลู 9
4 หม่เู กาะเหลายา 10
5 หาดทรายยาว 10
6 เกาะรัง 11
7 จดุ ชมวิวไก่แบ้ 17
8 ลักษณะและขนาดของแปลงตัวอย่าง 18
9 แผนทแ่ี สดงขอบเขตและลกั ษณะภมู ิประเทศของอุทยานแหง่ ชาติหมเู่ กาะชา้ ง 19
10 สภาพทว่ั ไปในแปลงสาํ รวจ 19
11 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ัง้ หมด (ร้อยละ,%) ในพืน้ ทอี่ ุทยานแหง่ ชาตหิ มู่เกาะช้าง 20
12 การกระจายขนาดความโตของไมท้ งั้ หมด (ต้น) ในพนื้ ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาติหม่เู กาะช้าง
13 การจําแนกช้ันเรอื นยอดของต้นไม(้ ร้อยละ,%) ของอทุ ยานแหง่ ชาตหิ ม่เู กาะชา้ ง
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นทอ่ี ุทยานแห่งชาตหิ ม่เู กาะชา้ ง
1
คํานาํ
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ นับเป็นภารกิจที่มีความสําคัญและเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนการ
จดั การทรพั ยากรปา่ ไมข้ องประเทศเป็นอยา่ งยง่ิ ซ่งึ ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนา
พื้นทีอ่ นุรกั ษ์ ได้เริม่ ดาํ เนินการสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้ทว่ั ประเทศอยา่ งเป็นระบบ
กลุ่มงานวิชาการ สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษ์ที่ 2 (ศรีราชา) เป็นหน่วยงานภูมิภาคที่ดูแลภาคตะวันออก
ได้รับมอบหมายให้สํารวจ และตรวจสอบทรพั ยากรป่าไม้ในบริเวณเขตอุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง และอุทยาน
แหง่ ชาติหม่เู กาะชา้ ง จํานวนท้ังสนิ้ 30 จดุ สํารวจ โดยแบ่งจดุ สํารวจตามพ้ืนท่ีได้ อุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง
10 จดุ สํารวจ และอทุ ยานแหง่ ชาติหมู่เกาะชา้ ง 20 จดุ สํารวจ เพือ่ ใหไ้ ด้มาซึ่งข้อมูลตามต้องการ เพ่ือนําข้อมูล
เหล่าน้ันมาเปน็ ข้อมูลพนื้ ฐานของประเทศ และจดั ทํารายงานเพอื่ นําเสนอต่อสว่ นกลางต่อไป
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนท่อี ทุ ยานแหง่ ชาติหม่เู กาะชา้ ง
2
วตั ถุประสงค์
1. เพือ่ ให้ทราบขอ้ มูลพน้ื ฐานเกย่ี วกบั ทรัพยากรปา่ ไม้ โดยเฉพาะดา้ นกําลงั ผลติ และความหลากหลาย
ของพืชพันธุใ์ นพื้นทอ่ี นรุ ักษ์ตา่ งๆ ของประเทศไทย
2. เพ่อื ใชเ้ ปน็ แนวทางในการสํารวจทรพั ยากรป่าไม้ เกยี่ วกับรูปแบบ วิธีการสํารวจ และการวิเคราะห์
ขอ้ มลู อยา่ งเปน็ ระบบและแบบแผน
3. เพอื่ เปน็ แนวทางในการวางระบบตดิ ตามการเปลี่ยนแปลงของทรพั ยากรป่าไมใ้ นพน้ื ท่ี
4. เพื่อให้ได้ข้อมูลพ้ืนฐานเก่ียวกับพรรณไม้เด่น และชนิดไม้มาใช้ในการวางแผนเพาะชํากล้าไม้
เพือ่ ปลกู เสริมป่าในแตล่ ะพนื้ ที่
เปา้ หมายการดาํ เนนิ งาน
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2557 สว่ นสํารวจและวเิ คราะหท์ รพั ยากรป่าไม้ สํานักฟ้นื ฟูและพัฒนาพื้นที่
อนุรกั ษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตวป์ า่ และพันธพุ์ ืช ได้จดั สรรงบประมาณการดําเนินงานและกําหนดพ้ืนทีส่ ํารวจ
เปา้ หมายในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติหมูเ่ กาะชา้ ง ซงึ่ อยู่ในความดแู ลรับผิดชอบของสาํ นกั บรหิ ารพน้ื ทอี่ นรุ ักษ์ที่ 2
(ศรรี าชา) จํานวน 20 แปลง
การสาํ รวจใชก้ ารวางแปลงตวั อย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ท่มี ีขนาดคงที่ รูปวงกลม
3 วง ซอ้ นกนั คือ วงกลมรศั มี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลาํ ดับ และมวี งกลมขนาดรศั มี 0.631 เมตร อยู่ตาม
ทิศหลักท้ัง 4 ทิศ โดยจุดศูนย์กลางของวงกลมทั้ง 4 ทิศ จะอยู่บนเส้นรอบวงกลมของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร
จาํ นวนท้ังส้นิ 43 แปลง และทาํ การเกบ็ ข้อมลู การสํารวจทรพั ยากรป่าไมต้ ่างๆ อาทิ เช่น ชนิดไม้ ขนาดความโต
ความสงู จํานวนกล้าไม้และลกู ไม้ ชนดิ ป่า ลกั ษณะต่างๆ ของพ้ืนท่ีที่ต้นไม้ขึ้นอยู่ ข้อมูลลักษณะภูมิประเทศ เช่น
ระดบั ความสูง ความลาดชนั เปน็ ต้น ตลอดจนการเก็บข้อมูลองค์ประกอบร่วมของป่า เช่น ไม้ไผ่ หวาย ไม้พุ่ม
เถาวัลย์ และพืชชัน้ ลา่ ง แลว้ นาํ มาวิเคราะหแ์ ละประมวลผล เพือ่ ให้ทราบเนือ้ ทป่ี า่ ไม้ ชนิดป่า ชนิดไม้ ปริมาณ
และความหนาแนน่ ของหมไู่ ม้ กําลังผลิตของปา่ ตลอดจนการสบื พันธ์ุตามธรรมชาติของหมู่ไม้ในป่านนั้
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง
3
ขอ้ มูลทั่วไปอทุ ยานแหง่ ชาติหม่เู กาะชา้ ง
ประวัตคิ วามเปน็ มา
ขอ้ มลู ในปี พ.ศ. 2510 ระบุว่า จังหวัดตราดได้ให้ นายสมศักด์ิ เผ่ือนด้วง ไปทําการสํารวจบริเวณ
น้ําตกธารมะยม และไดส้ ่งรายงานการสาํ รวจเบ้ืองต้นของนํ้าตกธารมะยม ซ่ึงต้ังอยู่บนเกาะช้าง อําเภอแหลมงอบ
จังหวดั ตราด ใหก้ รมป่าไมพ้ จิ ารณาจัดตง้ั เป็นวนอุทยาน ซึง่ ในปี 2516 กรมปา่ ไมไ้ ดใ้ หค้ วามเห็นชอบในหลักการ
ให้จัดตงั้ " วนอทุ ยานนา้ํ ตกธารมะยม " และกรมป่าไม้ได้มีหนังสือให้จังหวัดตราดรับงานจัดตั้งวนอุทยานน้ําตก
ธารมะยม ไปดาํ เนินการในปี 2517 ซ่ึงในปี 2518 จงั หวดั ตราดได้ให้ นายทนง โหตรภวานนท์ พนักงานปา่ ไมต้ รี
ไปดาํ เนินการจัดต้งั วนอทุ ยานนาํ้ ตกธารมะยม
ต่อมาคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติได้มีมติในการประชุมครั้งที่ 2/2524 เม่ือวันที่ 28 กรกฎาคม
2524 ให้ดําเนินการจัดบริเวณเกาะช้างและเกาะกูด จังหวัดตราด เป็นอุทยานแห่งชาติทางทะเลอีกแห่งหนึ่ง
กรมปา่ ไมจ้ ึงมคี ําสง่ั ใหน้ ายเรอื งศิลป์ ประกรศรี นกั วิชาการป่าไม้ 4 ไปทาํ การสํารวจหาข้อมูลรายละเอียด พร้อมทั้ง
ดาํ เนนิ การปรบั ปรงุ วนอทุ ยานนํา้ ตกธารมะยม เพื่อยกฐานะเปน็ อทุ ยานแห่งชาติต่อไป
จากรายงานข้อมูลการสํารวจตามหนังสือวนอุทยานน้ําตกธารมะยมพบว่า เกาะช้าง และเกาะบริวาร
สภาพท่วั ไปมีทิวทศั นส์ วยงาม มีน้าํ ตก และสตั วป์ ่าหลายชนิดอาศัยอยู่ ตลอดจนในอดีตน่านนํ้าบริเวณทิศตะวันออก
ของเกาะชา้ ง ได้เกิดเหตุการณ์ข้ึนในสมยั อนิ โดจนี กลา่ วคอื เรอื รบหลวงสงขลา เรือรบหลวงชลบุรี และเรือรบ
หลวงธนบุรี ได้ทําการยุทธนาวีกับเรือรบฝรั่งเศสจํานวน 7 ลํา อย่างห้าวหาญ เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2484
วีรกรรมคร้ังนีไ้ ด้รบั การจารกึ ไว้ในประวัติศาสตรข์ องกองทัพเรือ
เพื่ออนุรักษ์น่านน้ําประวัติศาสตร์และสภาพธรรมชาติของหมู่เกาะในทะเล กองอุทยานแห่งชาติ
กรมปา่ ไม้ ได้นาํ เสนอคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ ซึ่งมีมติในการประชุม คร้ังท่ี 1/2525 เม่ือวันท่ี 15 มิถุนายน 2525
เหน็ ควรจัดตง้ั หมู่เกาะช้าง เป็นอุทยานแห่งชาติ โดยมีพระราชกฤษฎีกากําหนดบริเวณที่ดิน เกาะช้าง และเกาะ
ใกล้เคยี งในทอ้ งท่ตี าํ บลเกาะช้าง และตําบลเกาะหมาก อาํ เภอแหลมงอบ จังหวัดตราด ครอบคลุมพื้นท่ี 406,250 ไร่
หรอื 650 ตารางกิโลเมตร โดยเปน็ พน้ื น้ําประมาณ 458 ตารางกโิ ลเมตร หรือร้อยละ 70 ของพื้นท่ี เป็นอุทยาน
แหง่ ชาติ ซึ่งประกาศไวใ้ นราชกจิ จานุเบกษา เเล่ม 99 ตอนที่ 197 ลงวนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2525 เป็นอุทยานแหง่ ชาติ
ลาํ ดบั ท่ี 45 ของประเทศไทย
ทตี่ ้ังและอาณาเขต
เกาะชา้ ง เป็นเกาะทีใ่ หญ่ท่ีสดุ ในจํานวนกว่า 40 เกาะ ของอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง ซ่ึงตั้งอยู่
ห่างจากแหลมงอบมาประมาณ 8 กิโลเมตร พื้นท่ีมีความยาวจากทิศเหนือลงมาทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ
30 กิโลเมตร มีความกวา้ งประมาณ 14 กโิ ลเมตร พ้ืนท่อี ุทยานแห่งชาตไิ ม่ได้ครอบคลุมเกาะชา้ งทงั้ หมด มีบางสว่ น
ทเ่ี ป็นสว่ นของกิ่งอําเภอเกาะช้าง มีประชาชนอาศัยอยู่ ส่วนในพื้นท่ีของอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง ส่วนที่เป็น
พื้นดินส่วนใหญ่ของเกาะช้าง มีลักษณะภูมิประเทศ เป็นภูเขาเกือบตลอดทั้งเกาะ เช่น เขาล้าน เขาจอมปราสาท
เขาคลองมะยม เขาสลกั เพชร ยอดเขาใหญเ่ ปน็ ยอดเขาท่สี ูงทีส่ ุดมีความสงู 743 เมตร จากระดบั นํ้าทะเลปานกลาง
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นที่อทุ ยานแห่งชาติหมเู่ กาะช้าง
4
ข้อมูลโครงสรา้ งทางธรณีระบุว่า ในพ้ืนท่ีของเกาะ มีท่ีราบตามชายฝ่ังทะเลในบริเวณหมู่บ้านสลักเพชร หมู่บ้าน
สลกั คอก หมูบ่ า้ นคลองสน และอ่าวคลองพร้าว แม่นํ้าลําธารในเกาะช้างเป็นคลองสายส้ันๆ ท่ีนํ้าทะเลเข้าถึง
ต้นคลองเป็นหว้ ยนา้ํ จืดไหลมาจากนาํ้ ตก ซ่งึ เปน็ สภาพหบุ เขาหลงั อา่ วต่างๆ ไหลแทรกไปตามบรเิ วณป่าชายเลน
แล้วไหลลงสู่ทะเลรอบๆ คลองที่สําคัญ ได้แก่ คลองสน คลองมะยม คลองค้างคาว คลองบางเบ้า คลองพร้าว
คลองนนทรี เป็นตน้ ลํานํ้าเหลา่ น้ียังก่อให้เกิดนํ้าตกท่ีสวยงามหลายแห่ง เช่น นํ้าตกธารมะยม นํ้าตกคลองพลู
น้าํ ตกคลองนนทรี น้าํ ตกครี เี พชร และนํา้ ตกคลองหน่ึง นอกจากนี้ชายฝ่ังตะวันออกของเกาะ จะมีหาดโคลน
และหนิ เป็นหาดหนา้ แคบ ส่วนหาดทางดา้ นตะวนั ตกของเกาะช้างจะเปน็ หาดทรายและหนิ
การเดินทางและเสน้ ทางคมนาคม
ใช้เส้นทางถนนสายบางนา-ตราด (ทางหลวงหมายเลข 3) ระยะทางประมาณ 312 กิโลเมตร ถึง
ตวั เมอื ง จังหวัดตราด แล้วเดินทางต่อไปท่ีท่าเรือแหลมงอบ ระยะทางประมาณ 17 กิโลเมตร เพื่อเดินทางต่อ
โดยเรอื ทท่ี ่าเรอื เฟอรร์ ่ี ซึ่งมีใหบ้ รกิ ารอยูห่ ลายทา่ ดว้ ยกนั เช่น ท่าเรือเซ็นเตอร์พ้อยต์และท่าเรือเฟอร์ร่ีอ่าวธรรมชาติ
ไปขึ้นท่ที า่ เรือธารมะยม ท่าเรือด่านเก่าหรือท่าเรืออ่าวสับปะรด ใช้เวลาเดินทางประมาณ 40 นาที เรือโดยสาร
จะมอี อกจากท่าทุกชัว่ โมง จากนัน้ เดินทางตอ่ ไปยังจุดหมายท่ีต้องการ
ลักษณะภูมิประเทศ
เกาะช้าง เปน็ เกาะท่ีใหญท่ ่สี ดุ ในจาํ นวนกว่า 40 เกาะ ของอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง ซ่ึงตั้งอยู่
ห่างจากแหลมงอบมาประมาณ 8 กิโลเมตร พื้นท่ีมีความยาวจากทิศเหนือลงมาทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ
30 กิโลเมตร มคี วามกวา้ งประมาณ 14 กโิ ลเมตร พ้นื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาติไม่ได้ครอบคลมุ เกาะชา้ งทัง้ หมด มบี างสว่ น
ทเี่ ปน็ ส่วนของกิง่ อําเภอเกาะชา้ ง มปี ระชาชนอาศัยอยู่ ส่วนในพื้นที่ของอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง ส่วนที่เป็น
พื้นดินส่วนใหญ่ของเกาะช้าง มีลักษณะภูมิประเทศ เป็นภูเขาเกือบตลอดท้ังเกาะ เช่น เขาล้าน เขาจอมปราสาท
เขาคลองมะยม เขาสลกั เพชร ยอดเขาใหญ่เป็นยอดเขาท่ีสงู ทสี่ ดุ มีความสูง 743 เมตร จากระดบั นา้ํ ทะเลปานกลาง
ขอ้ มลู โครงสรา้ งทางธรณรี ะบวุ ่า ในพืน้ ท่ีของเกาะ มีท่ีราบตามชายฝ่ังทะเลในบริเวณหมู่บ้านสลักเพชร
หมบู่ ้านสลกั คอก หมู่บ้านคลองสน และอ่าวคลองพร้าว แม่น้ําลําธารในเกาะช้างเป็นคลองสายสั้นๆ ท่ีน้ําทะเล
เข้าถึง ต้นคลองเป็นห้วยน้ําจืดไหลมาจากนํ้าตก ซ่ึงเป็นสภาพหุบเขาหลังอ่าวต่างๆ ไหลแทรกไปตามบริเวณ
ป่าชายเลน แล้วไหลลงสู่ทะเลรอบๆ คลองที่สําคัญ ได้แก่ คลองสน คลองมะยม คลองค้างคาว คลองบางเบ้า
คลองพรา้ วคลองนนทรี เปน็ ตน้ ลาํ น้าํ เหลา่ น้ยี ังกอ่ ใหเ้ กดิ นาํ้ ตกทสี่ วยงามหลายแห่ง เช่น นา้ํ ตกธารมะยม นํ้าตก
คลองพลู นํ้าตกคลองนนทรี นํ้าตกคีรีเพชร และนํ้าตกคลองหนึ่ง นอกจากนี้ชายฝ่ังตะวันออกของเกาะ จะมีหาดโคลน
และหินเป็นหาดหนา้ แคบ ส่วนหาดทางด้านตะวนั ตกของเกาะชา้ งจะเปน็ หาดทรายและหนิ
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตหิ มเู่ กาะชา้ ง
5
ภาพที่ 1 แสดงทต่ี งั้ และอาณาเขตของอทุ ยานแห่งชาตหิ มู่เกาะชา้ ง
ลักษณะภมู ิอากาศ
- ฤดูฝน จะเริม่ ต้งั แต่เดือนพฤษภาคมถงึ เดือนตลุ าคมของทกุ ปี เป็นชว่ งเวลาทไ่ี ด้รบั อิทธพิ ลจาก
มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ปรมิ าณนาํ้ ฝนเฉลี่ยรายปปี ระมาณ 4,700 มลิ ลิเมตร
- ฤดูหนาว เริม่ ต้งั แต่เดอื นพฤศจกิ ายนถงึ กุมภาพนั ธ์ ในระยะนี้มมี รสุมตะวนั ออกเฉียงเหนือพดั ปกคลุม
พ้นื ที่ ทาํ ให้อุณหภูมิลดลงอากาศหนาวเยน็
- ฤดูร้อน เรม่ิ ตั้งแต่เดอื นมนี าคมถงึ เดอื นเมษายน ในระยะน้ี ดวงอาทิตย์กําลังเคล่ือนผ่านเส้นศูนย์สูตร
ไปทางซีกโลกเหนือ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือมีกําลังอ่อนค่อนข้างจะแปรปรวน มีฝนตกน้อยทําให้อากาศ
รอ้ นอบอา้ ว โดยเฉพาะในเดือนเมษายน เกาะชา้ ง มอี ุณหภูมเิ ฉล่ยี ตลอดปปี ระมาณ 27 องศาเซลเซียส
ช่วงเวลาที่เหมาะสําหรับการท่องเท่ียวของเกาะช้าง จะเร่ิมต้ังแต่เดือนตุลาคมไปจนถึงพฤษภาคม
ที่เรียกว่า High Season จะมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติมาท่องเที่ยวกันมาก เน่ืองจากประเทศทางแถบยุโรป
จะเป็นฤดูหนาว ส่วนช่วงเดือนมิถุนายนถึงกันยายน จะช่วง Low Season ซ่ึงโรงแรม รีสอร์ท ที่พัก จะมีการ
ลดราคา ค่าหอ้ งพกั ถกู มาก เน่อื งจากมจี ํานวนนักท่องเทีย่ วชาวต่างชาตมิ าทอ่ งเที่ยวกนั นอ้ ย
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนที่อุทยานแห่งชาติหม่เู กาะช้าง
6
พชื พนั ธุแ์ ละสตั วป์ า่
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง มีความหลากหลายของพืชพรรณมาก ส่วนใหญ่เป็นป่าดงดิบช้ืน
เป็นป่าท่ีค่อนข้างห่างจากชายฝั่ง พืชพรรณธรรมชาติส่วนใหญ่เป็นไม้สกุลพลอง สารภีป่า และไม้ในสกุลหว้า
ข้ึนปนอยู่ประปราย พันธุ์ไม้ท่ีสําคัญ ได้แก่ ยางนา กระบาก ตะเคียนทอง ทะโล้ พญาไม้ เปล้า หลาวชะโอน
เต่าร้าง หวาย เตยย่าน กล้วยไม้ ไผ่ เร่ว กระวาน ฯลฯ มีที่ราบตามชายฝั่งทะเล ในบริเวณหมู่บ้านสลักเพชร
หมู่บ้านสลักคอก หมู่บ้านคลองสน และอ่าวคลองพร้าว พืชพรรณธรรมชาติท่ีพบเป็น ป่าชายหาด ลักษณะเป็น
ป่าโปร่งมีพรรณไม้ข้ึนอยู่ไม่กี่ชนิด เช่น หูกวาง สารภีทะเล เมา เสม็ด เตยทะเล เป็นต้น ตามชายฝ่ังที่เป็นดินเลน
บริเวณอา่ วและปากคลองลําธารต่างๆ จะพบ ปา่ ชายเลน พันธุ์ไม้ที่สําคัญ ได้แก่ โกงกางใบใหญ่ โกงกางใบเล็ก
โปรงขาว แสม พังกาหัวสุม ถ่ัวดํา แสม ตะบูน ปอทะเล และตีนเป็ดทะเล และป่าพรุซ่ึงเป็นสังคมพืชที่เกิดข้ึน
บรเิ วณที่มนี ํ้าขังตลอดปี บรเิ วณอา่ วสลกั คอกและอา่ วสลกั เพชร พันธ์ไุ มท้ พี่ บไดแ้ ก่ เหงือกปลาหมอ และกก เป็นตน้
หมูเ่ กาะชา้ ง ไม่มีการทับถมของตะกอนโคลนเลนจากแม่น้ํา จึงทําให้หมู่เกาะเหล่านี้มีหาดทรายที่
ขาวสะอาด น้ําทะเลใสสวย และอุดมสมบูรณ์ด้วยสรรพชีวิตใต้ท้องทะเล โดยเฉพาะส่ิงมีชีวิตในแนวปะการัง
เช่น ปะการังก้อน ปะการังเขากวาง ปะการังพุ่ม ปะการังแผ่น หอยมือเสือ ดอกไม้ทะเล ปลาสวยงามในแนว
ปะการัง กัลปังหา สาหร่าย พบได้ในบริเวณเกาะช้างน้อย ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะช้าง เกาะหยวก
เกาะมันนอก เกาะคลุ้ม เกาะหวาย เกาะเหลายา เกาะง่าม เกาะรัง เกาะกระ และบริเวณเรือรบหลวงชลบุรี
และเรือรบหลวงสงขลาทีจ่ มอย่ใู กลบ้ รเิ วณอ่าวสลกั เพชร
จากการสาํ รวจประชากรสตั ว์ป่า เมือ่ ปี 2535 พบว่า อุทยานแห่งชาติหมเู่ กาะช้างมี สัตวเ์ ลย้ี งลูก
ดว้ ยนม 29 ชนิด ได้แก่ หมปู า่ เกง้ ลิงเสน ค่างหงอก ชะมะเชด็ พงั พอนธรรมดา ค้างคาว กระรอก และหนู
เป็นตน้ มีนกทง้ั หมด 74 ชนิด เปน็ นกทีม่ ถี ิ่นถาวรในประเทศไทยและไม่อพยพยา้ ยถิน่ 61 ชนิด ได้แก่ นกยาง
ทะเล นกปรอดหนา้ นวล นกตบยงุ นกนางแอน่ แปซฟิ ิก นกกวัก และนกแก๊ก เป็นต้น เปน็ นกอพยพเข้ามาใน
ประเทศไทยในชว่ งฤดหู นาว 8 ชนดิ ไดแ้ ก่ นกยางเขยี ว นกหวั โตทรายใหญ่ นกนางนวลแกลบดาํ ปกี ขาว นกนอ็ ตตี้
นกขม้ินท้ายทอยดํา นกกระจี๊ดขาสีเน้ือ นกกระจี๊ดขั้วโลกเหนอื และนกนางแอ่นบ้าน เป็นนกอพยพเพ่ือผสมพนั ธุ์
2 ชนดิ คอื นกแตว้ แล้วอกเขียว และนกแต้วแล้วธรรมดา สว่ นนกอพยพผา่ นในฤดกู าลอื่นๆ 3 ชนดิ คอื นกจับแมลง
สีฟ้าท้องขาว นกจับแมลงคอสีนา้ํ เงนิ เข้ม และนกกระจด๊ี หวั มงกุฎ นอกจากนย้ี งั มีสตั ว์สะเทินนํ้าสะเทนิ บก และ
สัตว์เล้ือยคลาน 42 ชนิด ได้แก่ ตะพาบนา้ํ ตะกวด เหย้ี งเู หลอื ม งูสิง งูจงอาง และกบเกาะชา้ ง (เป็นสตั ว์ประจําถิน่
ในปา่ ดงดิบชนื้ บรเิ วณเกาะชา้ งและเกาะใกลเ้ คยี ง)
จุดเดน่ ทน่ี า่ สนใจ
1. น้ําตกธารมะยม เปน็ นํา้ ตกขนาดกลาง มี 4 ช้ัน ลักษณะเปน็ ธารนํา้ ไหลผา่ นลงมาเป็นช้ันๆ ตามร่อง
หินแกรนติ สดี ํา มหี นา้ ผาสูงชนั จนเกือบต้งั ฉาก บริเวณโดยรอบเป็นป่าดงดิบ อากาศร่มเย็นสบายเหมาะแก่การ
ต้ังแคมป์และเล่นน้ําตก เส้นทางเดินไปนํ้าตกเดินง่ายไม่ลําบาก บริเวณช้ันท่ี 1 นํ้าตกไม่สูงนัก มีแอ่งนํ้าด้านหน้า
ที่สําคัญ คือ มีแผ่นจารึกพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ตั้งอยู่ทางด้านซ้าย
น้ําตกชั้นท่ี 2 อยู่เลยขึ้นไปเล็กน้อย สําหรับน้ําตกชั้นท่ี 3 และ 4 ระยะทางค่อนข้างไกลและทางเดินลําบาก ต้องมี
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ท่อี ทุ ยานแหง่ ชาตหิ มเู่ กาะชา้ ง
7
เจ้าหนา้ ทน่ี าํ ทาง และทางอทุ ยานแหง่ ชาติไดจ้ ัดทาํ เสน้ ทางเดนิ ป่าระยะไกลนาํ้ ตกธารมะยม-นํา้ ตกคลองภู ระยะทาง
มากกวา่ 8 กโิ ลเมตร เปน็ เสน้ ทางท่ีคอ่ นข้างรก ตัดข้ามเทอื กเขาสลักเพชร ไม่มีสิ่งอํานวยความสะดวก มีเพียง
เจา้ หนา้ ที่นาํ ทาง หากสนใจตดิ ตอ่ สอบถามไดท้ ่ีหนว่ ยพทิ ักษอ์ ทุ ยานแห่งชาติที่ กช.1 (ธารมะยม) นอกจากน้ี ในบริเวณ
ไกลเ้ คียงยังมีหมู่บ้านชาวประมงท่ีมีสภาพป่าชายเลนที่อุดมสมบูรณ์และเป็นป่าชายเลนที่ใหญ่ท่ีสุดของเกาะช้าง คือ
หมู่บ้านสลักคอก ซ่ึงเปน็ ชุมชนท่มี วี ิถชี ีวติ ทน่ี ่าสนใจ
2. นาํ้ ตกคลองพลู นํา้ ตกคลองพลอู ย่หู ่างจากชุมชนอ่าวคลองพร้าวประมาณ 3 กิโลเมตร ไปตาม
ถนนท่ีจะไปหาดไกแ่ บ้ เล้ียวเข้าไปอีก 2 กโิ เมตร จะถงึ ที่ทําการหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติท่ี กช.4 (คลองพลู)
จากนัน้ เดนิ เท้าเข้าสู่นํ้าตกประมาณ 500 เมตร น้ําตกคลองพลูเป็นน้ําตกขนาดใหญ่ ท่ีมีน้ําตลอดปี ตกจากหน้าผา
สงู ลงมาเปน็ เส้นสู่แอ่งนํา้ เบือ้ งล่าง มอี ยู่ 3 ชั้น ชั้นแรกสุดสูงประมาณ 40 เมตร ช้ันต่อไปอยู่ติดกัน สูงกว่าชั้น
แรกมาก สภาพป่ารอบๆ สมบรู ณ์ดีมาก มธี ารนํ้าแยกจากคลองพลูหลายสาย มีแอ่งน้ําให้เล่นประมาณ 2–3 จุด
มีนา้ํ ไหลตลอดปี
นอกจากน้ีสภาพโดยท่วั ไปยงั ปกคลมุ ไปด้วยปา่ ดบิ ซึ่งเป็นป่าดั้งเดิมของพื้นท่ี มีสภาพร่มรื่น อากาศ
เยน็ สบาย เลา่ ต่อๆ กันมาว่า นาํ้ ตกคลองพลู แตเ่ ดมิ นา่ จะเรยี กว่า "คลองภู" เพราะมาจากชื่อ "ภูผาเมฆสวรรค์"
ซ่ึงเป็นชื่อของยอดเขาในบริเวณนี้ และยังกล่าวกันอีกว่า พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงเคย
เสดจ็ ประพาสถึง 2 ครงั้
3. หมู่เกาะเหลายา หมู่เกาะเหลายาอยู่ทางตอนใต้ของเกาะช้าง เป็นเกาะเล็กๆ 3 เกาะ ตั้งเรียงกัน
อย่ใู กลก้ บั เกาะช้าง อยู่กลางอ่าวสลักเพชร ประกอบด้วย เกาะเหลายาใน เกาะเหลายากลาง เกาะเหลายานอก
เปน็ เกาะที่มหี าดทรายขาว นา้ํ ทะเลใส และแมกไมเ้ ขยี วครึ้ม ท่ีนี่ยังมีจุดดํานํ้าที่สมบูรณ์ไปด้วยปะการังสวยงามมาก
เป็นท่ีพักผ่อนตากอากาศที่มีธรรมชาติสวยงามอีกแห่งหนึ่ง มีสะพานเชื่อมระหว่างเกาะเหลายาในและเกาะ
เหลายากลาง
4. หาดทรายยาว อยู่ทางตอนใต้ของเกาะช้างใกล้กับอ่าวสลักเพชร มีลักษณะเป็นอ่าวและหาด
ทรายยาว ลงเลน่ นา้ํ ในบรเิ วณนไี้ ด้ สามารถเดินป่าชมทัศนียภาพของหมู่เกาะใกล้เคียง เช่น เกาะเหลายา อ่าว
สลกั เพชร เกาะหวาย และชมจุดยทุ ธนาวที ี่เกาะช้าง
5. เกาะรัง หมู่เกาะรังเป็นแหล่งท่องเท่ียวดําน้ําตื้นชมปะการังท่ีสําคัญของอุทยานแห่งชาติหมู่
เกาะช้าง โดยมีแนวปะการังกระจายอยู่หลายพื้นที่และมีความอุดมสมบูรณ์ สวยงาม เป็นหมู่เกาะ มีความอุดม
สมบรูณข์ องปา่ ไมแ้ ละปะการังน้าํ ตืน้
6. จดุ ชมววิ ไกแ่ บ้ เปน็ จุดชมววิ ท่ใี หญ่ที่สุดและสวยที่สดุ ของเกาะช้าง สามารถมองเหน็ เกาะท่ีเรยี งราย
จาํ นวน 4 เกาะ ได้แก่ เกาะมนั ใน เกาะมันนอก เกาะปลี และเกาะหยวก เป็นจดุ ทม่ี องเห็นพระอาทิตย์ตกที่
สวยท่สี ุด
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ท่อี ุทยานแห่งชาติหม่เู กาะชา้ ง
8
ภาพที่ 2 น้ําตกธารมะยม
ภาพท่ี 3 นา้ํ ตกคลองพลู
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ท่อี ุทยานแหง่ ชาตหิ มู่เกาะช้าง
9
ภาพที่ 4 หมเู่ กาะเหลายา
ภาพที่ 5 หาดทรายยาว
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พน้ื ท่อี ทุ ยานแห่งชาตหิ มูเ่ กาะช้าง
10
ภาพท่ี 6 เกาะรงั
ภาพที่ 7 จดุ ชมวิวไกแ่ บ้
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ท่อี ุทยานแห่งชาตหิ ม่เู กาะชา้ ง
11
รูปแบบและวธิ กี ารสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ในแต่ละจังหวัดทั่วประเทศไทย ดําเนินการโดยกลุ่มสํารวจทรัพยากร
ป่าไม้ ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นท่ีอนุรักษ์ และสํานักบริหารพื้นที่
อนรุ ักษ์ตา่ งๆ ในสังกดั กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพันธุพ์ ืช
การสมุ่ ตัวอย่าง (Sampling Design)
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ (Systematic Sampling) ในพ้ืนที่ท่ี
ภาพถ่ายดาวเทียมแปลว่ามีสภาพเป็นป่า โดยให้แต่ละแปลงตัวอย่าง (Sample plot) มีระยะห่างเท่าๆ กัน
โดยกําหนดให้แต่ละแปลงห่างกัน 2.5x2.5 กิโลเมตร เร่ิมจากการสุ่มกําหนดแปลงตัวอย่างแรกบนเส้นกริดแผนที่
(Grid) ลงบนขอบเขตแผนท่ีประเทศไทยมาตราส่วน 1:50,000 ให้มีระยะห่างระหว่างเส้นกริดท้ังแนวตั้งและ
แนวนอนเท่ากับ 2.5x2.5 กิโลเมตร คือ ระยะช่องกริดในแผนที่เท่ากับ 2.5 ช่อง จุดตัดของเส้นกริดทั้งสองแนว
ก็จะเป็นตําแหน่งที่ต้ังของแปลงตัวอย่างแต่ละแปลง เม่ือดําเนินการเสร็จสิ้นแล้วจะทราบจํานวนหน่วยตัวอย่าง
และตาํ แหน่งทตี่ ง้ั ของหนว่ ยตวั อยา่ ง โดยลักษณะและขนาดของแปลงตัวอย่างแสดงดงั ภาพท่ี 8
ภาพที่ 8 ลกั ษณะและขนาดของแปลงตัวอย่าง
รูปรา่ งและขนาดของแปลงตวั อย่าง (Plot Design)
แปลงตัวอย่าง (Sample Plot) ที่ใช้ในการสํารวจมีท้ังแปลงตัวอย่างถาวรและแปลงตัวอย่าง
ชัว่ คราว เป็นแปลงทีม่ ีขนาดคงท่ี (Fixed–Area Plot) และมรี ปู รา่ ง 2 ลักษณะด้วยกนั คือ
1. ลกั ษณะรปู วงกลม (Circular Plot)
1.1 รูปวงกลมท่ีมีจุดศูนย์กลางร่วมกัน รัศมีแตกต่างกัน จํานวน 3 วง คือ วงกลมรัศมี 3.99,
12.62 และ 17.84 เมตร ตามลาํ ดบั
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนที่อทุ ยานแหง่ ชาติหมู่เกาะชา้ ง
12
1.2 รูปวงกลมท่ีมีรัศมีเท่ากัน จุดศูนย์กลางต่างกัน จํานวน 4 วง รัศมี 0.631 เมตร เท่ากัน
โดยจุดศูนยก์ ลางของวงกลมอยูบ่ นเสน้ รอบวงของวงกลมรศั มี 3.99 เมตร ตามทิศหลกั ท้งั 4 ทศิ
2. ลักษณะแบบแนวเส้นตรง (Intersect Line) จํานวน 2 เส้น ความยาวเส้นละ 17.84 เมตร
โดยมีจุดเร่ิมต้นร่วมกัน ณ จุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่างทํามุมฉากซึ่งกันและกัน ซ่ึงตัวมุม Azimuth ของเส้นที่ 1
ได้จากการส่มุ ตัวอยา่ ง
ขนาดของแปลงตัวอยา่ งและข้อมลู ทีท่ าํ การสาํ รวจ
ขนาดของแปลงตวั อยา่ ง และข้อมูลที่ทําการสาํ รวจแสดงรายละเอยี ดไว้ในตารางท่ี 1
ตารางที่ 1 ขนาดของแปลงตวั อยา่ งและขอ้ มูลท่ที าํ การสํารวจ
รัศมขี องวงกลม หรอื จาํ นวน พน้ื ท่หี รอื ความยาว ข้อมลู ทีส่ าํ รวจ
ความยาว (เมตร)
4 วง 0.0005 เฮกตาร์ กล้าไม้
0.631 1 วง 0.005 เฮกตาร์ ลูกไม้และการปกคลุมพื้นท่ีของกล้าไม้
3.99 และลูกไม้
ไม้ไผ่ หวายทยี่ งั ไมเ่ ลอ้ื ย และตอไม้
12.62 1 วง 0.05 เฮกตาร์ ต้นไม้ และตรวจสอบปัจจยั ท่ีรบกวน
17.84 1 วง 0.1 เฮกตาร์ พืน้ ทปี่ า่
Coarse Woody Debris (CWD)
17.84 (เส้นตรง) 2 เส้น 17.84 เมตร หวายเล้ือย และไมเ้ ถา ทพ่ี าดผา่ น
การวเิ คราะห์ข้อมลู การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
1. การคาํ นวณเนื้อท่ปี า่ และปริมาณไมท้ งั้ หมดของแตล่ ะพน้ื ทอี่ นุรักษ์
1.1 ใชข้ อ้ มลู พน้ื ท่อี นุรักษ์จากแผนทแี่ นบทา้ ยกฤษฎกี าของแต่ละพ้ืนท่ีอนรุ ักษ์
1.2 ใช้สดั สว่ นจํานวนแปลงตัวอยา่ งท่พี บในแต่ละชนดิ ป่า เปรียบเทยี บกับจาํ นวนแปลงตวั อยา่ งที่
วางแปลงท้งั หมดในแต่ละพืน้ ทอี่ นุรกั ษ์ ที่อาจจะได้ขอ้ มลู จากภาคสนาม หรอื การดจู ากภาพถ่ายดาวเทียมหรอื
ภาพถา่ ยทางอากาศ มาคาํ นวณเป็นเนอื้ ท่ีปา่ แตล่ ะชนดิ โดยนาํ แปลงตวั อย่างที่วางแผนไว้มาคํานวณทกุ แปลง
1.3 แปลงตัวอย่างทีไ่ ม่สามารถดาํ เนินการได้ ก็ตอ้ งนาํ มาคาํ นวณด้วย โดยทาํ การประเมนิ ลักษณะ
พน้ื ที่วา่ เป็น หน้าผา นํา้ ตก หรอื พืน้ ทีอ่ ่นื ๆ เพอ่ื ประกอบลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ
1.4 ปริมาณไมท้ ง้ั หมดของพ้นื ท่ีอนุรกั ษ์ เป็นการคํานวณโดยใชข้ อ้ มลู เนอื้ ท่อี นุรกั ษจ์ ากแผนทแ่ี นบ
ทา้ ยกฤษฎีกาของแตล่ ะพ้ืนทอี่ นรุ กั ษ์ ซงึ่ บางพ้นื ท่ีอนุรกั ษ์มขี อ้ มูลเนอื้ ทคี่ ลาดเคล่อื นจากขอ้ เท็จจริงและสง่ ผลตอ่
การคาํ นวณปริมาณไมท้ ัง้ หมด ทําใหก้ ารคํานวณปริมาณไมท้ ไี่ ดเ้ ปน็ การประมาณเบอื้ งตน้
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตหิ มูเ่ กาะชา้ ง
13
2. การคํานวณปริมาตรไม้
สมการปรมิ าตรไม้ท่ีใช้ในการประเมิน ใชแ้ บบวิธี Volume based approach โดยแบง่ กลุ่มของ
ชนดิ ไม้เป็นจาํ นวน 7 กลมุ่ ดงั นี้
2.1 กลมุ่ ที่ 1 ได้แก่ ยาง เตง็ รัง เหยี ง พลวง กระบาก เค่ียม ตะเคียน สยา ไขเ่ ขียว พะยอม
จันทน์กะพ้อ สนสองใบ
สมการทไ่ี ด้ log V = 2.177401 + (2.305478 log DBH)
R2 = 0.94, sample size = 188
2.2 กลมุ่ ท่ี 2 ไดแ้ ก่ กระพีจ้ ัน่ กระพ้ีเขาควาย เกด็ ดาํ เก็ดแดง เก็ดขาว เถาวัลย์เปรียง พะยูง
ชงิ ชัน กระพี้ ถอ่ น แดง ขะเจ๊าะ แคทราย แคฝอย และสกลุ มะเกลือ
สมการที่ได้ ln V = 2.134494 + 2.363034 ln (DBH/100)
R2 = 0.91, sample size = 135
2.3 กลมุ่ ท่ี 3 ไดแ้ ก่ รกฟา้ สมอพเิ ภก สมอไทย หกู วาง หูกระจง ตีนนก ข้อี า้ ย กระบก ตะครํ้า
ตะครอ้ ตาเสอื คา้ งคาว สะเดา ยมหอม ยมหนิ กระท้อน เล่ยี น มะฮอกกานี ข้ีอ้าย ตะบูน ตะบัน รัก ตวิ้
สะแกแสง ปู่เจา้ และไมส้ กุลสา้ น เสลา อินทนิล ตะแบก ชะมวง สารภี บุนนาค
สมการที่ได้ ln V = 1.880578 + 2.053321 ln (DBH/100)
R2 = 0.89, sample size = 186
2.4 กลมุ่ ที่ 4 ไดแ้ ก่ กางขีม้ อด คนู พฤกษ์ มะค่าโมง นนทรี กระถินพิมาน มะขามปา่ หลุมพอ
และสกลุ ข้เี หลก็
สมการที่ได้ ln V = 1.789563 + 2.025666 ln (DBH/100)
R2 = 0.90, sample size = 36
2.5 กลมุ่ ท่ี 5 ได้แก่ สกลุ ประดู่ เติม
สมการทีไ่ ด้ ln V = 2.037096 + 2.299618 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 99
2.6 กลุ่มท่ี 6 ได้แก่ สัก ตนี นก ผ่าเสยี้ น หมากเล็กหมากนอ้ ย ไขเ่ นา่ กระจับเขา กาสามปีก สวอง
สมการท่ีได้ ln V = 2.119907 + 2.296511 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 186
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นท่อี ุทยานแห่งชาติหมเู่ กาะช้าง
14
2.7 กลมุ่ ท่ี 7 ได้แก่ ไม้ชนดิ อืน่ ๆ เช่น กุ๊ก ขว้าว งิ้วป่า ทองหลางป่า มะม่วงป่า ซ้อ โมกมนั
แสมสาร และไม้ในสกลุ ปอ กอ่ เปล้า เป็นต้น
สมการท่ีได้ ln V = 2.250111 + 2.414209 ln (DBH/100)
R2 = 0.93, sample size = 138
โดยที่ V คือ ปรมิ าตรสว่ นลําต้นเมอื่ ตัดโคน่ ท่คี วามสงู เหนือดิน (โคน) 10 เซนติเมตร
3. ขอ้ มูลทั่วไป ถงึ ก่งิ แรกทท่ี ําเป็นสินค้าได้ มหี น่วยเปน็ ลกู บาศกเ์ มตร
DBH มีหน่วยเปน็ เซนตเิ มตร
Ln = natural logarithm
ข้อมูลทั่วไปทน่ี าํ ไปใช้ในการวเิ คราะห์ ไดแ้ ก่ ทตี่ ง้ั ตาํ แหน่ง ช่วงเวลาท่เี กบ็ ขอ้ มลู ผู้ทท่ี าํ การเก็บ
ข้อมลู ความสงู จากระดบั นาํ้ ทะเล และลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ทดี่ ิน เป็นตน้ โดยข้อมลู เหลา่ นจ้ี ะใชป้ ระกอบใน
การวิเคราะหป์ ระเมนิ ผลร่วมกบั ขอ้ มลู ด้านอนื่ ๆ เพื่อตดิ ตามความเปล่ียนแปลงของพืน้ ทใ่ี นการสาํ รวจทรัพยากร
ป่าไมค้ รง้ั ตอ่ ไป
4. การวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหมู่ไม้
4.1 ความหนาแน่น
4.2 ปริมาตร
5. การวิเคราะหข์ ้อมูลชนิดและปรมิ าณของลูกไม้ (Sapling) และกล้าไม้ (Seeding)
6. การวเิ คราะหข์ อ้ มูลชนดิ และปรมิ าณของไม้ไผ่ หวาย
6.1 ความหนาแน่นของไม้ไผ่ (จาํ นวนกอ และ จาํ นวนลาํ )
6.2 ความหนาแนน่ ของหวายเส้นต้ัง (จาํ นวนตน้ )
7. การวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพชื
โดยมีรายละเอียดการวเิ คราะหข์ ้อมูลดังนี้
7.1 ความหนาแน่นของพรรณพืช (Density : D) คือ จํานวนต้นไม้ท้ังหมดของชนิดพันธ์ุท่ีศึกษาท่ี
ปรากฏในแปลงตัวอย่างตอ่ หนว่ ยพ้นื ท่ีทท่ี าํ การสาํ รวจ
D= จาํ นวนต้นของไม้ชนดิ นั้นทง้ั หมด
.
พน้ื ที่แปลงตวั อย่างทัง้ หมดที่ทําการสาํ รวจ
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พนื้ ท่อี ุทยานแห่งชาตหิ มูเ่ กาะช้าง
15
7.2 ความถี่ (Frequency : F) คอื อัตรารอ้ ยละของจํานวนแปลงตัวอยา่ งที่ปรากฏพนั ธุ์ไม้
ชนิดนัน้ ต่อจํานวนแปลงทที่ าํ การสาํ รวจ
F = จํานวนแปลงตัวอยา่ งทพี่ บไม้ชนิดท่กี ําหนด X 100
จาํ นวนแปลงตวั อยา่ งท้งั หมดทีท่ ําการสาํ รวจ
7.3 ความเด่น (Dominance : Do) ใช้ความเด่นดา้ นพน้ื ท่ีหน้าตัด (Basal Area : BA)
หมายถงึ พื้นทีห่ นา้ ตัดของลาํ ต้นของต้นไมท้ ว่ี ดั ระดับอก (1.30 เมตร) ต่อพื้นทที่ ที่ าํ การสาํ รวจ
Do = พ้นื ที่หนา้ ตดั ทงั้ หมดของไมช้ นิดท่ีกําหนด X 100
พืน้ ท่แี ปลงตัวอยา่ งท่ที าํ การสํารวจ
7.4 คา่ ความหนาแนน่ สัมพทั ธ์ (Relative Density : RD) คือ ค่าความสมั พัทธ์ของความ
หนาแนน่ ของไมท้ ต่ี อ้ งการต่อคา่ ความหนาแน่นของไม้ทุกชนดิ ในแปลงตัวอย่าง คดิ เปน็ รอ้ ยละ
RD = ความหนาแนน่ ของไมช้ นิดนั้น X 100
ความหนาแน่นรวมของไมท้ กุ ชนิด
7.5 คา่ ความถ่ีสัมพทั ธ์ (Relative Frequency : RF) คอื ค่าความสัมพทั ธ์ของความถี่ของชนิดไม้ท่ี
ต้องการตอ่ ค่าความถีท่ ั้งหมดของไมท้ กุ ชนิดในแปลงตัวอยา่ ง คิดเปน็ ร้อยละ
RF = ความถขี่ องไมช้ นิดนั้น X 100
ความถี่รวมของไม้ทกุ ชนดิ
7.6 คา่ ความเดน่ สัมพัทธ์ (Relative Dominance : RDo) คอื ค่าความสมั พันธข์ องความเด่น
ในรูปพนื้ ท่หี น้าตดั ของไมช้ นดิ ที่กําหนดตอ่ ความเด่นรวมของไม้ทุกชนิดในแปลงตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ
RDo = ความเดน่ ของไมช้ นิดน้ัน X 100
ความเดน่ รวมของไมท้ ุกชนิด
7.7 ค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) คือ ผลรวมของค่า
ความสมั พัทธต์ า่ งๆ ของชนิดไมใ้ นสังคม ไดแ้ ก่ คา่ ความสัมพัทธด์ า้ นความหนาแน่น ค่าความสมั พัทธด์ า้ นความถี่
และค่าความสมั พทั ธด์ ้านความเดน่
IVI = RD + RF + RDo
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตหิ มู่เกาะชา้ ง
16
8. วิเคราะหข์ อ้ มลู ความหลากหลายทางชีวภาพ
โดยทาํ การวิเคราะหค์ ่าต่างๆ ดงั นี้
8.1 ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (Species Diversity) วัดจากจํานวนชนิดพันธ์ุท่ีปรากฏใน
สังคมและจํานวนต้นที่มีในแต่ละชนิดพันธ์ุ โดยใช้ดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener Index of
diversity ตามวิธกี ารของ Kreb (1972) ซ่งึ มสี ตู รการคาํ นวณดงั ตอ่ ไปนี้
s
H = ∑ (pi)(ln pi)
i=1
โดย H คอื ค่าดชั นคี วามหลากชนดิ ของชนิดพันธ์ุไม้
pi คอื สัดสว่ นระหว่างจาํ นวนตน้ ไมช้ นิดที่ i ต่อจํานวนตน้ ไม้ทงั้ หมด
S คอื จํานวนชนดิ พนั ธุไ์ มท้ งั้ หมด
8.2 ความร่ํารวยของชนิดพันธ์ุ (Richness Indices) อาศัยความสัมพันธ์ระหว่างจํานวนชนิดกับ
จํานวนต้นท้ังหมดที่ทําการสํารวจ ซ่ึงจะเพิ่มข้ึนเมื่อเพ่ิมพื้นท่ีแปลงตัวอย่าง และดัชนีความรํ่ารวย ที่นิยมใช้กัน
คือ วิธีของ Margalef index และ Menhinick index (Margalef 1958, Menhinick 1964) โดยมีสูตรการ
คาํ นวณดังน้ี
1) Margalef index (R1)
R1 = (S-1)/ln(n)
2) Menhinick index (R2)
R2 = S/
เมื่อ S คอื จาํ นวนชนดิ ท้งั หมดในสังคม
n คอื จํานวนตน้ ทัง้ หมดท่สี ํารวจพบ
8.3 ความสม่ําเสมอของชนิดพันธ์ุ (Evenness Indices) เป็นดัชนีท่ีต้ังอยู่บนสมมติฐานที่ว่า ดัชนี
ความสมา่ํ เสมอจะมีคา่ มากท่ีสดุ เมอ่ื ทุกชนิดในสงั คมมีจํานวนต้นเท่ากันทั้งหมด ซึ่งวิธีการท่ีนิยมใช้กันมากในหมู่
นักนิเวศวิทยา คือ วธิ ีของ Pielou (1975) ซ่งึ มีสตู รการคํานวณดงั นี้
E = H/ ln(S) = ln (N1)/ln (N0)
เมื่อ H คอื ค่าดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener
S คอื จาํ นวนชนดิ ทัง้ หมด (N0)
N1 คอื eH
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พนื้ ท่อี ุทยานแห่งชาติหมู่เกาะชา้ ง
17
ผลการสาํ รวจและวิเคราะหข์ อ้ มูลทรพั ยากรปา่ ไม้
1. การวางแปลงตัวอยา่ ง
จากผลการดําเนินการวางแปลงสํารวจ เพ่ือประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้
ในพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง โดยแบ่งพ้ืนที่ดําเนินการวางแปลงสํารวจตามพ้ืนที่รับผิดชอบของสํานักบริหาร
พ้ืนทอี่ นรุ กั ษท์ ี่ 2 (เกาะชา้ ง) รับผดิ ชอบดําเนินการสํารวจพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง จํานวน 20 แปลง
แสดงดงั ภาพท่ี 9
ภาพที่ 9 แผนท่แี สดงขอบเขตและลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของอทุ ยานแห่งชาตหิ มู่เกาะชา้ ง
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พนื้ ทอี่ ทุ ยานแห่งชาตหิ มูเ่ กาะชา้ ง
18
ภาพที่ 10 สภาพท่วั ไปในแปลงสาํ รวจ
2. พื้นทปี่ ่าไม้
จากการสํารวจ พบว่า สภาพพื้นทข่ี องอทุ ยานแห่งชาตหิ มูเ่ กาะช้าง มีสภาพเป็นปา่ ดบิ ชื้นทั้งพน้ื ท่ี
3. ปรมิ าณไม้
3.1 จํานวนและปริมาตรไม้
จากการวิเคราะหเ์ กีย่ วกบั ชนดิ ไม้ ปรมิ าณ ปรมิ าตร และความหนาแนน่ ของต้นไมใ้ นป่า โดยการ
สํารวจทรัพยากรป่าไม้ในแปลงตัวอย่างถาวรในพ้ืนที่เขตอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง จํานวนทั้งส้ิน 20 แปลง
พบไม้ยืนต้นที่มีความสูงมากกว่า 1.30 เมตร และมีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่าหรือเท่ากับ 15
เซนตเิ มตรขนึ้ ไป มมี ากกว่า 103 ชนิด จํานวน 57,460,000ต้น ปริมาตรไม้รวมท้ังหมด 11,951,446.46ลูกบาศก์เมตร
ความหนาแน่นของไม้เฉลี่ย 141 ต้นตอ่ ไร่ และปรมิ าตรไม้เฉลี่ย 29.42 ลูกบาศกเ์ มตรตอ่ ไร่
สําหรบั การกระจายขนาดความโตของไมท้ ั้งหมดในอุทยานแห่งชาติหมเู่ กาะช้าง พบขนาดความโต
15-45 เซนตเิ มตร มากทส่ี ดุ มจี ํานวน 35,717,500 ตน้ คิดเปน็ ร้อยละ 62.16 แสดงให้เหน็ วา่ ขนาดของไมใ้ น
อุทยานแห่งชาติน้ีมีขนาดเล็ก รองลงมา คือ ขนาดปานกลาง และขนาดใหญ่ ตามลําดับ แสดงดังตารางท่ี 2 และ
ภาพท่ี 10-11
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พนื้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาตหิ มูเ่ กาะชา้ ง
19
ตารางท่ี 2 การกระจายขนาดความโตของไม้ทงั้ หมดในอทุ ยานแหง่ ชาติหม่เู กาะชา้ ง
ขนาดความโต (GBH) ปรมิ าณไม้ทงั้ หมด (ตน้ ) รอ้ ยละ (%)
15 – 45 ซม. 35,717,500 62.16
>45 – 100 ซม. 18,362,500 31.96
>100 ซม. 3,380,000 5.88
รวม (Total) 57,460,000 100.00
ภาพท่ี 11 การกระจายขนาดความโตของไม้ทง้ั หมด (รอ้ ยละ %) ในพืน้ ที่อทุ ยานแห่งชาติหมเู่ กาะช้าง
ภาพท่ี 12 การกระจายขนาดความโตของไม้ทัง้ หมด (ต้น) ในพน้ื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตหิ มเู่ กาะชา้ ง
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นทีอ่ ุทยานแหง่ ชาตหิ มูเ่ กาะช้าง
20
3.2 ชั้นเรือนยอด (Crown Class)
จากการสาํ รวจทรพั ยากรป่าไมภ้ าคสนามในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง สามารถจําแนกช้ัน
เรือนยอด (Crown Class) ได้เป็น 4 ชั้น คือ Suppressed ช่วงความสูง 2.0-6.0 เมตร Intermediate ช่วงความสูง
มากกว่า 6-12 เมตร Co-dominant ชว่ งความสูงมากกว่า 12-20 เมตร และ Dominant ช่วงความสูงมากกว่า
20 เมตร พบวา่ ต้นไม้มีชัน้ เรอื นยอดมากทีส่ ุดในชั้น Intermediate จาํ นวน 63 ตน้ ต่อไร่ คิดเป็นร้อยละ 44.68
ของตน้ ไมท้ ง้ั หมด รองลงมา คือ suppressed จํานวน 49 ต้นต่อไร่ คิดเป็นร้อยละ 34.75 ของต้นไม้ท้ังหมด
Co-dominant จํานวน 18 ตน้ ต่อไร่ คดิ เปน็ ร้อยละ 12.76 ของตน้ ไม้ท้งั หมด และ Dominant จาํ นวน 2 ตน้ ตอ่ ไร่
คดิ เป็นรอ้ ยละ 1.42 ของต้นไม้ทง้ั หมด แสดงว่า ไม้ต้นในอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้างมีขนาดความสูงปานกลาง
(Intermediate) มากท่ีสดุ รายละเอียดแสดงดงั ตารางที่ 3 และภาพที่ 12
ตารางท่ี 3 ชั้นเรือนยอดจําแนกตามช่วงความสูงของอทุ ยานแห่งชาติหมเู่ กาะชา้ ง
ช้ันความสูง ชว่ งความสูง จาํ นวน (ต้น/ไร่) รอ้ นละ (%)
34.75
Suppressed 1.3-5.0 49 44.68
12.76
Intermediate 5.1-10.0 63 1.42
100
Co-dominant 10.1-20.0 18
Dominant >20.1 2
รวม (Total) 141
ภาพที่ 13 การจาํ แนกชน้ั เรอื นยอดของตน้ ไม้ (รอ้ ยละ, %) ของอุทยานแหง่ ชาตหิ มูเ่ กาะชา้ ง
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ทอี่ ุทยานแห่งชาตหิ มูเ่ กาะช้าง
21
4. ชนดิ พนั ธ์ไุ ม้
ชนดิ พันธุ์ไมท้ ีส่ าํ รวจพบในภาคสนาม จาํ แนกโดยใช้เจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญทางด้านพันธุ์ไม้ช่วยจําแนก
ชนดิ พันธไ์ุ มท้ ่ีถูกตอ้ ง และบางครั้งจําเปน็ ต้องใช้ราษฎรในพน้ื ท่ี ซง่ึ มีความรู้ในชนิดพันธุ์ไม้ประจําถ่ินช่วยในการ
เกบ็ ข้อมลู และเกบ็ ตวั อย่างชนดิ พันธุ์ไม้ เพ่ือนํามาใหผ้ ู้เชีย่ วชาญดา้ นพนั ธุ์ไม้ในสํานักบริหารพืน้ ท่อี นุรกั ษท์ ี่ 2 (ศรีราชา)
และสาํ นักหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ช่วยจําแนกช่ือทางการและชื่อวิทยาศาสตร์ท่ี
ถกู ตอ้ งอีกครง้ั หนง่ึ และชนิดพันธุ์ไม้ส่วนใหญ่ที่พบมักจะเป็นพันธ์ุไม้ท่ีรู้จักและคุ้นเคยสําหรับเจ้าหน้าท่ีท่ีทําการ
สาํ รวจอยูแ่ ลว้ โดยชนิดพันธุ์ไม้ที่พบทั้งหมดในพื้นที่อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง มีพรรณไม้รวมท้ังส้ิน 47 วงศ์
มีมากกวา่ 103 ชนิด จาํ นวน 57,460,000ต้น ปรมิ าตรไมร้ วมทัง้ หมด 11,951,446.46ลูกบาศก์เมตร ความหนาแนน่
ของไมเ้ ฉลย่ี 141 ต้นต่อไร่ และปริมาตรไม้เฉล่ีย 29.42 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ เมื่อเรียงลําดับตามปริมาตรจากมากสุด
ไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก คือ ตะเคียนราก (Hopea pierrei) ตาเสือ (Aphanamixis polystachya) มะซาง
(Madhuca grandiflora) หว้า (Syzygium cumini) พนอง (Shorea hypochra) ดีหมี (Cleidion spiciflorum)
ยางโอน (Polyalthia viridis) บุนนาค (Mesua ferrea) พันจําใบใหญ่ (Hopea recopei) และ เคี่ยมคะนอง
(Shorea henryana) ตามลําดบั รายละเอียดแสดงดงั ตารางท่ี 4
ชนิดและปริมาณของลูกไมท้ ่ีพบอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง มีมากกว่า 44 ชนิด รวมจํานวนท้ังหมด
195,650,000 ตน้ มีความหนาแน่นของกล้าไม้ 482 ต้นต่อไร่ ซึ่งเมื่อเรียงลําดับจากจํานวนต้นท่ีพบมากสุดไป
หานอ้ ยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ตะเคียนราก พุงทะลาย (Scaphium scaphigerum) หว้า กะทังหันใบเล็ก
(Calophyllum pisiferum) พลองใบเล็ก (Memecylon geddesianum) มะเม่าเขา (Antidesma laurifolium)
พนั จาํ ใบใหญ่ (Hopea recopei) ดีหมี ละมดุ สีดา (Madhuca esculenta) และเปลา้ ใหญ่ (Croton roxburghii)
รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 5
ชนิดและปริมาณของกล้าไม้ท่ีพบในอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง มีมากกว่า 60 ชนิด รวมจํานวน
ทั้งหมด 3,412,500,000 ต้น มีความหนาแน่นของกล้าไม้ 8,400 ต้นต่อไร่ ซึ่งเมื่อเรียงลําดับจากจํานวนต้นที่
พบมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อนั ดบั แรก ไดแ้ ก่ ตะเคียนราก พงุ ทะลาย ละมดุ สดี า หว้า มะซาง อบเชย (Cinnamomum
bejolghota) ดหี มี มะไฟ (Baccaurea ramiflora) เปลา้ ใหญ่ และเปล้า (Croton kerii) รายละเอียดแสดงดัง
ตารางที่ 6
ชนิดและปริมาณตอไม้ที่สํารวจพบในอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง มี 2 ชนิด รวมจํานวนทั้งส้ิน
130,000 ตอ มคี า่ ความหนาแนน่ ของตอไม้เฉลย่ี 0.32 ตอต่อไร่ ไดแ้ ก่ มะซาง และ มะเด่อื กวาง (Ficus callosa)
รายละเอียดแสดงดงั ตารางท่ี 7
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง
22
ตารางท่ี 4 ปรมิ าณไม้และปริมาตรไมข้ องอุทยานแหง่ ชาตหิ มู่เกาะช้าง (30 ชนดิ แรกทมี่ ีปริมาตรไมส้ ูงสดุ )
ลําดบั ชนดิ พนั ธ์ไุ ม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแนน่ ปริมาตร
(ต้น) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่
1 ตะเคยี นราก Hopea pierrei 2,730,164.91 40.16
16,315,000 1,029,554.88 3.28 6.72
2 ตาเสอื Aphanamixis polystachya 1,332,500 709,422.49 5.44 2.53
2,210,000 637,525.25 5.68 1.75
3 มะซาง Madhuca grandiflora 2,307,500 590,697.15 1.68 1.57
463,436.05 8.40 1.45
4 หว้า Syzygium cumini 682,500 318,602.83 3.68 1.14
3,412,500 293,999.09 2.08 0.78
5 พนอง Shorea hypochra 1,495,000 281,990.15 3.68 0.72
267,862.09 1.20 0.69
6 ดหี มี Cleidion spiciflorum 845,000 267,094.17 2.40 0.66
1,495,000 252,986.14 7.68 0.66
7 ยางโอน Polyalthia viridis 211,242.50 6.16 0.62
487,500 204,784.43 4.56 0.52
8 บนุ นาค Mesua ferrea 975,000 129,332.02 2.48 0.50
3,120,000 104,316.79 4.40 0.32
9 พนั จําใบใหญ่ Hopea recopei 2,502,500 79,315.53 1.92 0.26
1,852,500 74,326.52 1.92 0.20
10 เคยี่ มคะนอง Shorea henryana 1,007,500 73,589.66 1.68 0.18
1,787,500 64,958.22 0.96 0.18
11 พุงทะลาย Scaphium scaphigerum 780,000 59,425.30 1.76 0.16
780,000 55,969.61 1.36 0.15
12 กะทงั หันใบเลก็ Calophyllum pisiferum 682,500 55,475.85 1.04 0.14
390,000 54,486.31 1.20 0.14
13 มะเมา่ เขา Antidesma laurifolium 715,000 53,698.18 1.12 0.13
552,500 24,442.71 0.88 0.13
14 ละมุดสดี า Madhuca esculenta 422,500 21,093.46 0.80 0.06
487,500 18,519.37 0.96 0.05
15 คาํ รอก Ellipanthus tomentosus 455,000 17,024.91 1.04 0.05
357,500 1.04 0.04
16 เปล้า Croton kerii 325,000 9,723.99 20.80 0.02
390,000 2796385.90 6.88
17 ชะมวง Garcinia parvifolia 422,500
422,500
18 มะไฟ Baccaurea ramiflora 8450,000
19 พันจาํ Vatica odorata
20 ตานหก Litsea pierrei
21 พลอง Memecylon garcinioides
22 รักเขา Gluta compacta
23 สําเภา Chaetocarpus castanocarpus
24 พวาป่า Garcinia forbesii
25 เลือดควาย Knema erratica
26 มะปรงิ Bouea oppositifolia
27 กระทุม่ Anthocephalus chinensis
28 เปลา้ ใหญ่ Croton roxburghii
29 จกิ นา Barringtonia acutangula
30 เม่า Syzygium grande
31 อ่นื ๆ Others
รวม (Total) 57,460,000 11,951,446.46 141 29.42
หมายเหตุ : มีชนดิ พันธ์ไุ มท้ ีส่ ํารวจพบมากกว่า 103 ชนดิ
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ท่อี ุทยานแหง่ ชาติหมูเ่ กาะชา้ ง
23
ตารางท่ี 5 ชนิดและปริมาณของลกู ไม้ (Sapling) ทีพ่ บในอุทยานแห่งชาติหมเู่ กาะช้าง
(30 ชนิดแรกทม่ี ปี รมิ าณไม้สงู สดุ )
ลาํ ดบั ชนิดพันธ์ไุ ม้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณลกู ไม้ทั้งหมด
จํานวน (ต้น) ความหนาแน่น (ตน้ /ไร)่
1 ตะเคียนราก Hopea pierrei 71,500,000 176.0
2 พงุ ทะลาย Scaphium scaphigerum 37,700,000 92.8
3 หวา้ Syzygium cumini 7,800,000 19.2
4 กะทังหนั ใบเลก็ Calophyllum pisiferum 5,200,000 12.8
5 พลองใบเลก็ Memecylon geddesianum 5,200,000 12.8
6 มะเม่าเขา Antidesma laurifolium 4,550,000 11.2
7 พนั จาํ ใบใหญ่ Hopea recopei 3,250,000 8.0
8 ดีหมี Cleidion spiciflorum 3,250,000 8.0
9 ละมุดสีดา Madhuca esculenta 3,250,000 8.0
10 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii 2,600,000 6.4
11 เปลา้ Croton hutchinsonianus 2,600,000 6.4
12 สะเดา Azadirachta indica 2,600,000 6.4
13 เฉยี งพร้านางแอ Carallia brachiate 2,600,000 6.4
14 มังตาน Schima wallichii 2,600,000 6.4
15 ยางโอน Polyalthia viridis 1,950,000 4.8
16 เปล้า Croton kerii 1,950,000 4.8
17 พวาปา่ Garcinia forbesii 1,950,000 4.8
18 คาํ รอก Ellipanthus tomentosus 1,300,000 3.2
19 มะไฟ Baccaurea ramiflora 1,300,000 3.2
20 กะทังหนั Calophyllum thorelii 1,300,000 3.2
21 จกิ นา Barringtonia acutangula 1,300,000 3.2
22 ตาเสอื Aphanamixis polystachya 1,300,000 3.2
23 กัดลน้ิ Walsura trichostemon 1,300,000 3.2
24 มะซาง Madhuca grandiflora 1,300,000 3.2
25 รักเขา Gluta compacta 1.6
26 รัก Semecarpus reticulate 650,000 1.6
27 สะเดาชา้ ง Rhus succedanea 650,000 1.6
28 พนอง Shorea hypochra 650,000 1.6
29 พลองขาว Antidesma neurocarpum 650,000 1.6
30 สอยดาว Mallotus paniculatus 650,000 1.6
31 อน่ื ๆ Others 650,000 54.4
22,100,000
รวม (Total) 195,650,000 482
หมายเหตุ : มชี นดิ พันธุ์กล้าไม้ทส่ี าํ รวจพบมากกวา่ 44 ชนิด
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาติหม่เู กาะชา้ ง
24
ตารางที่ 6 ชนดิ และปรมิ าณของกลา้ ไม้ (Seeding) ท่ีพบในอุทยานแหง่ ชาติหมู่เกาะช้าง
(30 ชนิดแรกที่มปี รมิ าณสงู สดุ )
ลําดับ ชนดิ พันธ์ไุ ม้ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณกลา้ ไม้ทง้ั หมด
จํานวน (ตน้ ) ความหนาแน่น (ตน้ /ไร่)
1 ตะเคยี นราก Hopea pierrei 494,000,000 1,216
240,500,000 592
2 พงุ ทะลาย Scaphium scaphigerum 182,000,000 448
130,000,000 320
3 ละมดุ สดี า Madhuca esculenta 123,500,000 304
110,500,000 272
4 หวา้ Syzygium cumini 110,500,000 272
78,000,000 192
5 มะซาง Madhuca grandiflora 78,000,000 192
78,000,000 192
6 อบเชย Cinnamomum bejolghota 78,000,000 192
52,000,000 128
7 ดหี มี Cleidion spiciflorum 52,000,000 128
45,500,000 112
8 มะไฟ Baccaurea ramiflora 45,500,000 112
39,000,000 96
9 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii 32,500,000 80
32,500,000 80
10 เปลา้ Croton kerii 26,000,000 64
26,000,000 64
11 คํารอก Ellipanthus tomentosus 26,000,000 64
19,500,000 48
12 มะเมา่ เขา Antidesma laurifolium 19,500,000 48
19,500,000 48
13 พลองใบเลก็ Memecylon geddesianum 19,500,000 48
19,500,000 48
14 เฉียงพร้านางแอ Carallia brachiata 19,500,000 48
19,500,000 48
15 กะทงั หนั ใบเล็ก Calophyllum pisiferum 19,500,000 48
13,000,000 32
16 พนอง Shorea hypochra 1,163,500,000
2,864
17 สะเดา Azadirachta indica
18 ยางโอน Polyalthia viridis
19 มังตาน Schima wallichii
20 พลอง Memecylon garcinioides
21 คอแลน Nephelium hypoleucum
22 ละมดุ ป่า Manilkara littoralis
23 มะปริง Bouea oppositifolia
24 มะก่อ Lithocarpus ceriferus
25 พนั จําใบใหญ่ Hopea recopei
26 พวาป่า Garcinia forbesii
27 บนุ นาค Mesua ferrea
28 กดั ลนิ้ Walsura trichostemon
29 กะทงั หนั Calophyllum thorelii
30 เลือดควาย Knema erratica
31 อ่นื ๆ Others
รวม (Total) 3,412,500,000 8,400
หมายเหตุ : มีชนิดพันธ์ุกลา้ ไมท้ ีส่ าํ รวจพบมากกวา่ 60 ชนดิ
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นท่ีอทุ ยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง
25
ตารางท่ี 7 ชนดิ และปริมาณตอไม้ท่พี บในอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะชา้ ง
ลาํ ดบั ชนิดพันธไุ์ ม้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ปริมาณตอไม้ทั้งหมด
จํานวน (ตอ) ความหนาแนน่ (ตอ/ไร่)
1 มะซาง Madhuca pierrei 65,000 0.16
2 มะเด่ือกวาง Ficus callosa 65,000 0.16
รวม 130,000 0.32
5. ข้อมูลสงั คมพืช
จากผลการสํารวจเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืชในอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง พบว่ามีสังคมพืช
เพียงประเภทเดียว ได้แก่ ป่าดิบช้ืน และจากการวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช พบความหนาแน่นของพรรณพืช
(Density) ความถี่ (Frequency) ความเด่น (Dominance) และดัชนีความสําคัญของพรรณไม้ (IVI) โดยมี
ชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ตะเคียนราก (Hopea pierrei)
ดีหมี (Cleidion spiciflorum) มะซาง (Madhuca grandiflora) หว้า (Syzygium cumini) กะทังหันใบเล็ก
(Calophyllum pisiferum) ตาเสือ (Aphanamixis polystachya) มะเม่าเขา (Eriolaena candollei)
ละมุดสีดา (Madhuca esculenta) ยางโอน (Polyalthia viridis) และพนอง (Shorea hypochra) รายละเอียด
แสดงดังตารางท่ี 8
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนท่อี ทุ ยานแหง่ ชาตหิ มเู่ กาะช้าง
ตารางที่ 8 ดชั นคี วามสาํ คญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ ด
ลาํ ดับ ชนดิ พันธุ์ไม้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ จํานวน ความหนาแนน่ แปลง
ตน้ (ตน้ /เฮกตาร์) พบ
1 ตะเคียนราก Hopea pierrei 502 251 17
2 ดหี มี Cleidion spiciflorum 105 53 17
3 มะซาง Madhuca grandiflora 68 34 16
4 หวา้ Syzygium cumini 71 36 17
5 กะทังหันใบเล็ก Calophyllum pisiferum 96 48 13
6 ตาเสือ Aphanamixis polystachya 41 21 10
7 มะเมา่ เขา Eriolaena candollei 77 39 14
8 ละมุดสีดา Madhuca esculenta 57 29 14
9 ยางโอน Polyalthia viridis 46 23 13
10 พนอง Shorea hypochra 21 11 11
11 พลองใบเล็ก Memecylon geddesianum 71 36 8
12 พนั จาํ ใบใหญ่ Hopea recopei 46 23 11
13 พุงทะลาย Scaphium scaphigerum 30 15 12
14 บุนนาค Mesua ferrea 26 13 11
15 คอเห้ยี Artemisia indica 46 23 9
16 เปลา้ Croton kerii 55 28 7
17 คาํ รอก Ellipanthus tomentosus 31 16 10
18 เคย่ี มคะนอง Shorea henryana 15 8 5
19 ชะมวง Garcinia parvifolia 24 12 7
20 มะไฟ Baccaurea ramiflora 24 21 7
21 อืน่ ๆ Others 469 235 214
รวม (Total) 1,768 884
ดบิ ชนื้ ในอทุ ยานแหง่ ชาติหมู่เกาะชา้ ง (20 อนั ดบั แรก)
ความถ่ี พน้ื ท่หี นา้ ตดั ความเดน่ RDensity RFrequency RDominance IVI
(ตร.ม.)
85 11.891 0.240 26.132 3.837 24.002 53.972
85 2.094 0.042 5.466 3.837 4.227 13.530
80 2.742 0.055 3.540 3.612 5.534 12.686
85 2.411 0.049 3.696 3.837 4.866 12.400
65 1.312 0.026 4.997 2.935 2.649 10.581
50 2.653 0.054 2.134 2.257 5.355 9.746
70 1.051 0.021 4.008 3.160 2.122 9.290
70 1.011 0.020 2.967 3.160 2.040 8.167
65 1.351 0.027 2.395 2.935 2.727 8.056
55 1.941 0.039 1.093 2.483 3.918 7.494
40 0.913 0.018 3.696 1.806 1.843 7.345
55 1.215 0.025 2.395 2.483 2.452 7.329
60 1.126 0.023 1.562 2.709 2.273 6.543
55 1.212 0.024 1.353 2.483 2.447 6.284
45 0.672 0.014 2.395 2.032 1.356 5.783
35 0.551 0.011 2.863 1.580 1.112 5.555
50 0.637 0.013 1.614 2.257 1.286 5.157
25 0.894 0.018 0.781 1.129 1.805 3.714
35 0.409 0.008 1.249 1.580 0.826 3.656
35 0.356 0.007 1.249 1.580 0.718 3.548
1,070 13.10 0.264 24.414 48.307 26.443 99.164
2,215 49.54 1.000 100.000 100.000 100.000 300.000
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พนื้ ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาติหมเู่ กาะช้าง
27
6.ข้อมลู เกีย่ วกบั ความหลากหลายทางชีวภาพ
จากผลการสาํ รวจและวิเคราะห์หาค่าดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า พื้นที่สํารวจมีค่า
ความหลากหลายของชนิดพันธ์ุ (Species Diversity) เท่ากับ 3.484 ค่าความสมํ่าเสมอ (Species Evenness)
เท่ากบั 0.732 และคา่ ความมากมาย (Species Richness) 15.264
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ทอี่ ุทยานแหง่ ชาติหมูเ่ กาะช้าง
28
สรุปผลการสาํ รวจและวเิ คราะหข์ ้อมลู ทรัพยากรปา่ ไม้
จากการวางแปลงตวั อยา่ งถาวร เพื่อเกบ็ ขอ้ มูลและสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้ในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติ
หมเู่ กาะช้าง ซ่งึ มเี นอ้ื ท่ี 406,250 ไร่ หรอื ประมาณ 650 ตารางกโิ ลเมตร ซง่ึ อยู่ในความดูแลรบั ผดิ ชอบของสํานัก
บรหิ ารพ้ืนที่อนุรักษ์ที่ 2 (ศรีราชา) จํานวน 20 แปลง สําหรับการวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample
Plot) ทมี่ ขี นาดคงที่ รูปวงกลม 3 วง ซ้อนกนั คือ วงกลมรศั มี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลําดับ และมีวงกลม
ขนาดรศั มี 0.631 เมตร อยู่ตามทิศหลักทั้ง 4 ทิศ โดยจุดศูนย์กลางของวงกลมทั้ง 4 ทิศ อยู่บนเส้นรอบวงกลม
ของวงกลมรศั มี 3.99 เมตร และทาํ การเกบ็ ข้อมูลการสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้ต่างๆ อาทิเช่น ชนิดไม้ ขนาดความโต
ความสูง จํานวนกล้าไม้และลูกไม้ ชนิดป่า ลักษณะต่างๆ ของพื้นท่ีที่ต้นไม้ขึ้นอยู่ ข้อมูลลักษณะภูมิประเทศ
เช่น ระดับความสงู ความลาดชนั เปน็ ต้น ตลอดจนการเก็บข้อมูลองค์ประกอบร่วมของป่า เช่น ไม้ไผ่ หวาย ไม้พุ่ม
ไม้เถา เถาวัลย์ และพชื ชน้ั ล่าง แล้วนาํ ข้อมลู มาวเิ คราะห์เพอ่ื ประเมินสถานภาพทรพั ยากรป่าไม้ ทั้งนี้เพ่ือให้ทราบ
เน้ือท่ีป่าไม้ ชนิดป่า ชนดิ ไม้ ปริมาณและความหนาแน่นของหมู่ไม้ กําลังผลิตของป่า ตลอดจนการสืบพันธ์ุ ตาม
ธรรมชาตขิ องไม้ โดยใช้โปรแกรมประมวลผลขอ้ มลู ระบบสารสนเทศการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ของส่วนสํารวจ
และวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพ้ืนท่ีอนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช สรุป
ผลไดด้ งั นี้
1. ลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ่ดี ิน
พืน้ ทด่ี ําเนินการสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้ในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง พบชนิดป่าหรือลักษณะ
การใช้ประโยชน์ทีด่ นิ เป็นป่าดิบชน้ื ทั่วท้ังพ้นื ท่ี
2. ชนดิ พนั ธแุ์ ละปริมาณไมย้ ืนตน้ (Trees)
จากการวเิ คราะหข์ อ้ มูลเก่ียวกับชนิดไม้ ปริมาณ ปริมาตร และความหนาแน่นของต้นไม้ในแปลง
ตวั อยา่ งถาวร พ้ืนที่อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง จํานวนทั้งส้ิน 20 แปลง พบไม้ยืนต้นท่ีมีความสูงมากกว่า 1.30 เมตร
และมีเส้นรอบวงเพยี งอก (GBH) มากกว่าหรือเท่ากับ 15 เซนติเมตรขึ้นไป มีจํานวนทั้งหมด 57,460,000 ต้น
โดยเป็นไม้ทีม่ ีความโต 15-45 เซนติเมตร จํานวน 35,717,500 ตน้ คิดเป็นร้อยละ 62.16 ของไม้ท้ังหมด ไม้ยืนต้น
ขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) อยู่ระหว่าง >45-100 เซนติเมตร จํานวน 18,362,500 ต้น คิดเป็นร้อยละ
31.96 ของไม้ทั้งหมด และไม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่า 100 เซนติเมตรขึ้นไป มีจํานวน
3,380,000 ต้น คดิ เป็นร้อยละ 5.88 ของไม้ท้งั หมด
สาํ หรับชนดิ พนั ธุไ์ ม้ท่ีพบในแปลงสํารวจ มี 47 วงศ์ มีมากกว่า 103 ชนิด โดยเรียงลําดับจากจํานวนต้น
ท่ีพบมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ตะเคียนราก (Hopea pierrei) ดีหมี (Cleidion spiciflorum)
กะทังหันใบเล็ก (Calophyllum pisiferum) มะเม่าเขา (Antidesma laurifolium) หว้า (Syzygium cumini)
มะซาง (Madhuca grandiflora) ละมุดสีดา (Madhuca esculenta) เปล้า (Croton kerii) ยางโอน (Polyalthia
viridis) และ พันจาํ ใบใหญ่ (Hopea recopei) ตามลําดับ แต่เม่ือเรียงลําดับตามปริมาตรจากมากสุดไปหาน้อยสุด
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ท่อี ุทยานแหง่ ชาตหิ มู่เกาะชา้ ง
29
10 อนั ดบั แรก คือ ตะเคียนราก ตาเสือ (Aphanamixis polystachya) มะซาง หว้า พนอง (Shorea hypochra)
ดีหมี ยางโอน บุนนาค (Mesua ferrea) พนั จาํ ใบใหญ่ และ เค่ยี มคะนอง (Shorea henryana) ตามลาํ ดบั
3. ชนดิ พนั ธ์ุและปริมาณกลา้ ไม้ (Seedling) และลกู ไม้ (Sapling)
จากการวเิ คราะหข์ ้อมูลเกี่ยวกับกล้าไม้ (Seedling) และลูกไม้ (Sapling) ซ่ึงเป็นกําลังผลิตที่สําคัญ
ที่จะข้ึนมาทดแทนสังคมพืชไม้ยืนต้นต่อไปในอนาคตรวมทุกชนิดป่าหรือทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ได้
ทําการสํารวจ พบวา่ มีชนิดของลูกไม้ (Sapling) มากกวา่ 44 ชนิด รวมจํานวนทั้งหมด 195,650,000 ต้น ซ่ึงเมื่อ
เรียงลําดับจากจํานวนต้นท่ีพบมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ตะเคียนราก พุงทะลาย (Scaphium
scaphigerum) หวา้ กะทังหันใบเลก็ พลองใบเล็ก (Memecylon geddesianum) มะเม่าเขา พันจําใบใหญ่
ดีหมี ละมดุ สดี า และเปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) ตามลาํ ดบั
การวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับกล้าไม้ (Seedling) ที่พบในแปลงสํารวจมีมากกว่า 60 ชนิด รวมจํานวน
ท้ังหมด 3,412,500,000 ต้น ซ่ึงเม่ือเรียงลําดับจากจํานวนต้นที่พบมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
ตะเคียนราก พงุ ทะลาย ละมดุ สดี า หวา้ มะซาง อบเชย (Cinnamomum bejolghota) ดีหมี มะไฟ (Baccaurea
ramiflora) เปล้าใหญ่ และเปลา้ ตามลาํ ดับ
5. คา่ ดชั นีความสําคัญทางนเิ วศวิทยา
จากผลการสาํ รวจเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืชในอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้างจากการวิเคราะห์
ข้อมูลสังคมพืชได้ดังนี้ ป่าดิบช้ืน ชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
ตะเคยี นราก (Hopea pierrei) ดีหมี (Cleidion spiciflorum) มะซาง (Madhuca grandiflora) หว้า (Syzygium
cumini) กะทังหันใบเล็ก (Calophyllum pisiferum) ตาเสือ (Aphanamixis polystachya) มะเม่าเขา (Eriolaena
candollei) ละมุดสีดา (Madhuca esculenta) ยางโอน (Polyalthia viridis) และ พนอง (Shorea hypochra)
ตามลาํ ดับ
6. ขนาดความโตของตน้ ไมใ้ นปา่
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลโครงสร้างป่า พบว่า มีไม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) ระหว่าง
15-45 เซนตเิ มตร จํานวน 35,717,500 ต้น คิดเป็นร้อยละ 62.16 ของไม้ท้ังหมด ไม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวง
เพียงอก (GBH) อยรู่ ะหว่าง >45-100 เซนติเมตร จํานวน 18,362,500 ต้น คิดเป็นร้อยละ 31.96 ของไม้ทั้งหมด
และไม้ยืนตน้ ขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่า 100 เซนติเมตรขนึ้ ไป จํานวน 3,380,000 ต้น คิดเป็น
ร้อยละ 5.88 ของไมท้ ้ังหมด แสดงใหเ้ หน็ ว่าในอทุ ยานแหง่ ชาตหิ มู่เกาะชา้ งพบไม้ขนาดเลก็ ถงึ ปานกลางมากที่สดุ
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พนื้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติหมูเ่ กาะชา้ ง
30
ปญั หาและอปุ สรรค
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ เป็นการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ที่ต้องใช้เวลาในการศึกษา ในอดีตน้ัน
รอบการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ในแต่ละครั้ง ต้องใช้เวลา 3-5 ปี ซ่ึงค่อนข้างใช้เวลานานและเป็นงานท่ีต่อเนื่อง
ปัญหาความยากลําบากและอันตรายในการเข้าเก็บข้อมูลในพื้นที่ เป็นอีกสิ่งหน่ึงท่ีมีผลกระทบต่อการทํางาน
เน่ืองจากสภาพภูมิประเทศ และสภาพภูมิอากาศท่ีแปรปรวนอยู่บ่อยครั้งทําให้การเข้าสํารวจจะทําได้ล่าช้า ซึ่ง
นอกจากน้ีแล้วการจําแนกชนิดพันธ์ุไม้ เน่ืองจากชนิดพันธ์ุไม้ที่พบในป่าธรรมชาติน้ันมีความหลากหลายมากมาย
จึงจาํ เป็นตอ้ งใช้ผเู้ ช่ยี วชาญทางด้านพันธุ์ไม้ ช่วยจําแนกชนิดพันธุ์ไม้ท่ีถูกต้อง ซึ่งในการสํารวจภาคสนาม คณะ
เจ้าหน้าท่ีผู้ทําการสํารวจจําเป็นต้องใช้ราษฎรในพ้ืนท่ีซึ่งมีความรู้ในชนิดพันธุ์ไม้ประจําถิ่นช่วยในการเก็บข้อมูล
และเก็บตัวอย่างชนิดพันธุ์ไม้ เพื่อนํามาให้ผู้เช่ียวชาญด้านชนิดพันธุ์ไม้ในส่วนกลาง ทําการจําแนกชื่อทางการ
และช่อื วิทยาศาสตร์ที่ถูกตอ้ งอีกครง้ั หน่ึง อย่างไรก็ตามชนิดพันธุ์ไม้ที่มีค่าทางเศรษฐกิจ และชนิดพันธุ์ไม้ไม่มาก
นักทีจ่ ะเป็นท่รี จู้ ักและคุ้นเคยสําหรบั เจ้าหน้าที่ทีท่ ําการสาํ รวจอยแู่ ล้ว
ข้อเสนอแนะ
1. การจัดฝึกอบรมและมีการฝึกภาคปฏิบัติในภาคสนามแก่เจ้าหน้าท่ีในส่วนภูมิภาค รวมท้ังให้มีการ
ฝึกอบรมด้านการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้การสํารวจภาคสนามและการวิเคราะห์ข้อมูลมีความ
รวดเรว็ มาก
2. การสนบั สนุนเครอ่ื งมอื อปุ กรณท์ ่ใี ช้ในการสาํ รวจข้อมลู ทรพั ยากรปา่ ไม้ จากส่วนกลาง
3. การจัดแสดง และเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการจากข้อมูลที่ได้จากสํารวจท่ีผ่านการประมวลผลแล้ว
เพ่ือเสริมสรา้ งความรู้ให้แก่ประชาชนโดยทั่วไป
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นที่อทุ ยานแห่งชาตหิ มู่เกาะช้าง
31
เอกสารอา้ งองิ
ก่องกานดา ชยามฤต. 2541. คมู่ อื การจาํ แนกพรรณไม.้ ส่วนพฤกษศาสตร์ สํานักวชิ าการปา่ ไม้ กรมปา่ ไม,้
กรงุ เทพฯ. 235 น.
กรมป่าไม้ และองคก์ ารไม้เขตร้อนระหว่างประเทศ (ITTO). 2544. คู่มอื การเก็บขอ้ มลู ดา้ นการสํารวจทรัพยากรป่าไม้
โครงการศึกษาเพือ่ จดั ทําระบบ ติดตาม ตรวจสอบ การจัดการทรพั ยากรป่าไม้แบบยั่งยนื สําหรับ
ประเทศไทย, สํานกั วชิ าการป่าไม้ กรมปา่ ไม,้ กรุงเทพฯ. 44 น.
ชวลิต นิยมธรรม. 2545. ทรัพยากรป่าไมข้ องประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ สาํ นกั วิชาการป่าไม้
กรมปา่ ไม,้ กรงุ เทพฯ. 10 น.
สามารถ มขุ สมบตั ิ และ ธญั นรินทร์ ณ นคร. 2538. การใช้ Spiegel Relaskop เพือ่ จดั สร้างตารางปรมิ าตรไม้
บรเิ วณป่าสาธิตเซคเตอร์แม่แตง อําเภองาว จังหวัดลําปาง, สํานักวิชาการปา่ ไม้ กรมป่าไม้,
กรงุ เทพฯ. 55 น.
วิชาญ ตราชู. 2548. แนวทางการสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้ในพ้ืนทป่ี า่ อนุรักษ.์ สว่ นวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้
สาํ นักวชิ าการป่าไม้ กรมปา่ ไม้, กรุงเทพฯ. 95 น.
สว่ นพฤกษศาสตร.์ 2544. ช่อื พรรณไมแ้ ห่งประเทศไทย เต็ม สมติ ินันท์ ฉบบั แกไ้ ขเพิ่มเติม สาํ นกั วชิ าการป่าไม้
กรมป่าไม,้ กรงุ เทพฯ. 810 น.
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติหมูเ่ กาะช้าง
32
ภาคผนวก
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ที่อทุ ยานแหง่ ชาติหมูเ่ กาะชา้ ง
ตารางผนวกที่ 1 ปรมิ าณไมท้ งั้ หมดของอทุ ยานแห่งชาตหิ ม่เู กาะชา้ ง (50 ชนิดแรก)
ลําดบั ชนิดพนั ธไุ์ ม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ ความหน
ต้น/ไร่ ต
1 ตะเคียนราก Hopea pierrei 40
2 ดหี มี Cleidion spiciflorum 8
3 กะทงั หนั ใบเลก็ Calophyllum pisiferum 8
4 มะเม่าเขา Antidesma laurifolium 6
5 หวา้ Syzygium cumini 6
6 มะซาง Madhuca grandiflora 5
7 ละมดุ สดี า Madhuca esculenta 5
8 เปล้า Croton kerii 4
9 ยางโอน Polyalthia viridis 4
10 พนั จําใบใหญ่ Hopea recopei 4
11 ตาเสอื Aphanamixis polystachya 3
12 คาํ รอก Ellipanthus tomentosus 2
13 พงุ ทะลาย Scaphium scaphigerum 2
14 บุนนาค Mesua ferrea 2
15 ชะมวง Garcinia parvifolia 2
16 มะไฟ Baccaurea ramiflora 2
17 พลอง Memecylon garcinioides 2
18 พนอง Shorea hypochra 2
19 พันจาํ Vatica odorata 2
20 รักเขา Gluta compacta 1
) ปริมาตร จาํ นวนตน้ ท้งั หมด ปรมิ าตรทง้ั หมด
ลบ.ม./ไร่ ลบ.ม./เฮกตาร์
นาแนน่ 16,315,000 2730164.91
ต้น/เฮกตาร์ 6.72 42.00 3,412,500 463436.05
1.14 7.13 3,120,000 252986.14
251 0.62 3.89 2,502,500 211242.50
53 0.52 3.25 2,307,500 637525.25
48 1.57 9.81 2,210,000 709422.49
39 1.75 10.91 1,852,500 204784.43
36 0.50 3.15 1,787,500 104316.79
34 0.26 1.60 1,495,000 318602.83
29 0.78 4.90 1,495,000 281990.15
28 0.69 4.34 1,332,500 1029554.88
23 2.53 15.84 1,007,500 129332.02
23 0.32 1.99 267094.17
21 0.66 4.11 975,000 293999.09
16 0.72 4.52 845,000 79315.53
15 0.20 1.22 780,000 74326.52
13 0.18 1.14 780,000 59425.30
12 0.15 0.91 715,000 590697.15
12 1.45 9.09 682,500 73589.66
11 0.18 1.13 682,500 55969.61
11 0.14 0.86 552,500
11
9
ตารางผนวกท่ี 1 ปริมาณไมท้ งั้ หมดของอทุ ยานแห่งชาติหมู่เกาะชา้ ง (50 ชนดิ แรก)
ลาํ ดบั ชนดิ พันธ์ไุ ม้ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ ความหน
ตน้ /ไร่ ต
21 เคี่ยมคะนอง Shorea henryana 1
22 พวาปา่ Garcinia forbesii 1
23 เลอื ดควาย Knema erratica 1
24 สําเภา Chaetocarpus castanocarpus 1
25 จิกนา Barringtonia acutangula 1
26 เม่า Syzygium grande 1
27 ตานหก Litsea pierrei 1
28 เปลา้ ใหญ่ Croton roxburghii 1
29 มะปริง Bouea oppositifolia 1
30 กระทุ่ม Anthocephalus chinensis 1
31 สมพง Tetrameles nudiflora 1
32 ตีนนก Vitex pinnata 1
33 กอ่ ข้ีหมู Castanopsis pierrei 1
34 คา้ งคาว Aglaia edulis 1
35 สะเดา Azadirachta indica 1
36 มะเดือ่ ปล้อง Ficus hispida 1
37 เฉยี งพรา้ นางแอ Carallia brachiata 1
38 สอยดาว Mallotus paniculatus 1
39 จิกดง Barringtonia pauciflora 1
40 กรวยกระ Casearia graveolens 1
) (ตอ่ ) ปรมิ าตร จํานวนต้นทงั้ หมด ปรมิ าตรท้งั หมด
ลบ.ม./ไร่ ลบ.ม./เฮกตาร์
นาแน่น 487,500 267,862.09
ตน้ /เฮกตาร์ 0.66 4.12 487,500 54,486.31
0.13 0.84 455,000 53,698.18
8 0.13 0.83 422,500 55,475.85
8 0.14 0.85 422,500 17,024.91
7 0.04 0.26 422,500 9,723.99
7 0.02 0.15 390,000 6,4958.22
7 0.16 1.00 390,000 18,519.37
7 0.05 0.28 357,500 24,442.71
6 0.06 0.38 325,000 21,093.46
6 0.05 0.32 292,500 201,378.80
6 0.50 3.10 292,500 79,524.64
5 0.20 1.22 292,500 52,392.79
5 0.13 0.81 292,500 40,614.03
5 0.10 0.62 292,500 34,267.82
5 0.08 0.53 260,000 33,534.58
5 0.08 0.52 227,500 17,373.95
5 0.04 0.27 227,500 13,744.58
4 0.03 0.21 227,500 3,152.19
4 0.01 0.05 195,000 59,547.32
4 0.15 0.92
4
3
ตารางผนวกที่ 1 ปริมาณไมท้ ัง้ หมดของอทุ ยานแหง่ ชาติหมู่เกาะชา้ ง (50 ชนิดแรก)
ลําดบั ชนิดพันธไุ์ ม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ ความหน
ตน้ /ไร่ ต
41 มะกอ่ Lithocarpus ceriferus 1
42 พลองขาว Antidesma neurocarpum 1
43 มังตาน Schima wallichii 1
44 รกั ใบหนุย่ Gluta wrayi 1
45 หยอ่ ง Archidendron quocense 1
46 กัดลนิ้ Walsura trichostemon 1
47 สะเดาป่า Ailanthus integrifolia 1
48 กนั เกรา Fagraea fragrans 1
49 คอแลน Nephelium melliferum 1
50 เสมด็ แดง Syzygium cinereum 1
51 อน่ื ๆ Other 10
รวม 141
) (ต่อ) ปรมิ าตร จาํ นวนตน้ ท้งั หมด ปรมิ าตรท้งั หมด
ลบ.ม./ไร่ ลบ.ม./เฮกตาร์
นาแน่น 195,000 35823.44
ตน้ /เฮกตาร์ 0.09 0.55 195,000 15475.49
0.04 0.24 162,500 41846.91
3 0.10 0.64 162,500 15519.27
3 0.04 0.24 162,500 5913.45
3 0.01 0.09 162,500 4108.30
3 0.01 0.06 162,500 3994.12
3 0.01 0.06 130,000 41945.45
3 0.10 0.65 130,000 32990.77
3 0.08 0.51 130,000 20990.12
2 0.05 0.32 4,257,500 2,042,247.87
2 5.03 31.42 57,460,000 11,951,446.46
2 29.42 183.87
66
884
ตารางผนวกท่ี 2 ปริมาณกลา้ ไมท้ ง้ั หมดของอทุ ยานแหง่ ชาติหมเู่ กาะชา้ ง
ลาํ ดับ พนั ธุ์ไม้ ช่อื วิทยาศาสตร์
1 ตะเคยี นราก Hopea pierrei
2 พงุ ทะลาย Scaphium scaphigerum
3 ละมุดสีดา Madhuca esculenta
4 หว้า Syzygium cumini
5 มะซาง Madhuca grandiflora
6 อบเชย Cinnamomum bejolghota
7 ดหี มี Cleidion spiciflorum
8 มะไฟ Baccaurea ramiflora
9 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii
10 คาํ รอก Ellipanthus tomentosus
11 เปล้า Croton kerii
12 มะเม่าเขา Antidesma laurifolium
13 พลองใบเล็ก Memecylon geddesianum
14 กะทังหนั ใบเล็ก Calophyllum pisiferum
15 เฉียงพร้านางแอ Carallia brachiata
16 พนอง Shorea hypochra
17 สะเดา Azadirachta indica
18 ยางโอน Polyalthia viridis
19 พลอง Memecylon garcinioides
20 คอแลน Nephelium hypoleucum
ความหนาแน่น จาํ นวนกลา้ ไม้ทัง้ หมด
ตน้ /ไร่ ตน้ /เฮกตาร์
494,000,000
1216 194.56 240,500,000
592 94.72 182,000,000
448 71.68 130,000,000
320 51.20 123,500,000
304 48.64 110,500,000
272 43.52 110,500,000
272 43.52 78,000,000
192 30.72 78,000,000
192 30.72 78,000,000
192 30.72 78,000,000
192 30.72 52,000,000
128 20.48 52,000,000
128 20.48 45,500,000
112 17.92 45,500,000
112 17.92 39,000,000
96 15.36 32,500,000
80 12.80 32,500,000
80 12.80 26,000,000
64 10.24 26,000,000
64 10.24
ตารางผนวกท่ี 2 ปรมิ าณกลา้ ไม้ทัง้ หมดของอทุ ยานแห่งชาตหิ มเู่ กาะชา้ ง (ตอ่ )
ลาํ ดับ พันธ์ุไม้ ช่อื วทิ ยาศาสตร์
21 มังตาน Schima wallichii
22 มะปริง Bouea oppositifolia
23 กะทังหัน Calophyllum thorelii
24 พันจําใบใหญ่ Hopea recopei
25 มะกอ่ Lithocarpus ceriferus
26 บุนนาค Mesua ferrea
27 กัดลิน้ Walsura trichostemon
28 พวาป่า Garcinia forbesii
29 ละมดุ ปา่ Manilkara littoralis
30 ตาเสอื Aphanamixis polystachya
31 เลอื ดควาย Knema erratica
32 เปล้า Croton hutchinsonianus
33 กรวยกระ Casearia graveolens
34 จิกนา Barringtonia acutangula
35 จกิ ดง Barringtonia pauciflora
36 มะเดอื่ กวาง Ficus callosa
37 ชะมวง Garcinia parvifolia
38 รักเขา Gluta compacta
39 สอยดาว Mallotus paniculatus
40 จาํ ปา Michelia champaca