รายงานการสาํ รวจและวเิ คราะห์ขอ้ มลู ทรพั ยากรปา่ ไม้
อทุ ยานแห่งชาตินาํ้ ตกสามหลน่ั
กลุ่มสํารวจทรัพยากรป่ าไม้ ส่วนสํารวจและวเิ คราะห์ทรัพยากรป่ าไม้
สํานักฟื้ นฟูและพฒั นาพนื้ ทอี่ นุรักษ์
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่ า และพนั ธ์ุพชื
บทสรปุ สาํ หรบั ผู้บรหิ าร
จากสถานการณ์ป่าไม้ในปัจจุบันพบว่า พ้ืนที่ป่าไม้ในประเทศเหลืออยู่เพียงประมาณร้อยละ 31.57
ของพนื้ ทีป่ ระเทศ การดาํ เนินการสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้จึงเป็นอีกทางหน่ึงทท่ี ําให้ทราบถึงสถานภาพและศักยภาพ
ของทรัพยากร เพื่อนํามาใช้ในการดําเนินการตามภาระรับผิดชอบต่อไป ซ่ึงกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช
ไดด้ ําเนนิ การมาอยา่ งต่อเนอ่ื ง
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2558 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ได้จัดสรรงบประมาณ
การดาํ เนนิ งานและกําหนดจดุ สํารวจเป้าหมายในพ้ืนที่อุทยานห่งชาตินํ้าตกสามหล่ัน ซึ่งมีเนื้อท่ี 48,433.87 ไร่
หรอื ประมาณ 77.49 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพน้ื ทอี่ ําเภอแก่งคอย อาํ เภอหนองแค อําเภอวิหารแดง และ
อาํ เภอเมือง จงั หวัดสระบรุ ี ซ่งึ อยใู่ นความดูแลรับผดิ ชอบของสาํ นกั บริหารพนื้ ทีอ่ นรุ กั ษท์ ี่ 1 (สาขาสระบุรี) จํานวน
16 แปลง สําหรับการวางแปลงตวั อยา่ งถาวร (Permanent Sample Plot) ทมี่ ขี นาดคงท่ี รปู วงกลม 3 วง ซอ้ นกนั
คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62,17.84 เมตร ตามลําดับ และมีวงกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยู่ตามทิศหลัก
ท้ัง 4 ทิศ
ผลการสํารวจและวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า มีชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินท่ีสํารวจพบ
ทงั้ หมด 2 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ โดยป่าเบญจพรรณพบมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 87.50
ของพ้นื ทที่ ั้งหมด และป่าดิบแล้ง คดิ เปน็ ร้อยละ 12.50 ของพื้นท่ที ้ังหมด สาํ หรับพรรณไมร้ วมทกุ ชนดิ ปา่ พบทง้ั สนิ้
39 วงศ์ มีมากกว่า 103 ชนิด รวมจํานวน 5,264,762 ต้น ปริมาตรไม้รวมท้ังหมด 724,648.68 ลูกบาศก์เมตร
ปรมิ าตรเฉล่ยี 14.96 ลกู บาศกเ์ มตรต่อไร่ มีความหนาแน่นของตน้ ไม้เฉลี่ย 109 ต้นต่อไร่ ซ่ึงเมื่อเรียงลําดับชนิดไม้
จากจํานวนต้นท่ีพบจากมากสดุ ไปหานอ้ ยสดุ 10 อันดับแรก ได้แก่ โมกมัน (Wrightia arborea) พลับพลา (Microcos
tomentosa) แคหางค่าง (Fernandoa adenophylla) ลาย (Microcos paniculata) กระถนิ (Leucaena
leucocephala) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) ข่อย (Streblus asper) งิ้วป่า (Bombax anceps)
ตะแบกเปลอื กบาง (Lagerstroemia duperreana) และแคทราย (Stereospermum neuranthum) ตามลาํ ดับ
แต่เมอ่ื เรียงลําดับตามปริมาตรจากมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก คือ ประดู่ ง้วิ ปา่ โมกมัน ทองหลางป่า
(Erythrina subumbrans) มะคา่ โมง (Afzelia xylocarpa) แสมสาร (Senna garrettiana) ตะแบกเปลือกบาง
ข้หี นอน (Zollingeria dongnaiensis) พลับพลา และส้มกบ (Hymenodictyon orixense) ตามลาํ ดบั ไมย้ นื ตน้
พบมากสดุ ในปา่ เบญจพรรณ รองลงมาคอื ปา่ ดิบแล้ง
กล้าไม้ (Seedling) ทีพ่ บในแปลงสาํ รวจ มมี ากกว่า 67 ชนิด รวมท้ังสิ้น 520,179,764 ต้น มีความ
หนาแน่นของกลา้ ไม้ 10,740 ตน้ ตอ่ ไร่ โดยมีกลา้ ไม้ของไม้ยืนต้นมากกว่า 43 ชนิด มีจํานวน 267,354,962 ต้น
มีความหนาแน่น 5,520 ตน้ ต่อไร่ ชนิดกล้าไม้ของไม้ยืนต้นท่ีมีปริมาณมากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ พลับพลา
เสีย้ วใหญ่ (Bauhinia malabarica) ข่อย เข็มป่า (Ixora cibdela) ปอแก่นเทา หัสคุณ (Micromelum minutum)
โมกมัน แคหางค่าง พลองกนิ ลกู (Memecylon ovatum) และมะคา่ โมง ตามลาํ ดบั ป่าที่สํารวจพบจํานวนกล้าไม้
มากที่สดุ คอื ปา่ เบญจพรรณ รองลงมา คอื ปา่ ดบิ แลง้
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นทอ่ี ุทยานแห่งชาตนิ ํ้าตกสามหลั่น
ลูกไม้ (Sapling) ทีพ่ บในแปลงสํารวจ มีมากกว่า 38 ชนิด รวมท้ังสิ้น 18,404,871 ต้น มีความหนาแน่น
ของลูกไม้ 380 ต้นต่อไร่ โดยมีลกู ไมข้ องไมย้ นื ตน้ มากกวา่ 34 ชนิด มีจํานวน 16,951,855 ต้น มีความหนาแน่น
350 ตน้ ต่อไร่ ชนิดลกู ไมข้ องไมย้ ืนต้นทีม่ ปี รมิ าณมากทีส่ ุด 10 อนั ดับแรก ได้แก่ พลบั พลา แคหางคา่ ง กระถนิ
พลองกินลูก โมกมัน เส้ียวใหญ่ ตะแบกเปลือกบาง ลําดวนดง ข่อยและมะค่าโมง ตามลําดับ ป่าที่สํารวจพบจํานวน
กลา้ ไมม้ ากที่สดุ คอื ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คอื ปา่ ดิบแล้ง
สําหรับไผ่ที่สํารวจพบ มีอยู่จํานวน 3 ชนิด ได้แก่ ไผ่ซางดอย (Dendrocalamus membranaceus)
ไผ่รวก (Thyrsostachys siamensis) และ ซาง (Dendrocalamus strictus) มีปรมิ าณไผ่จํานวน 697,448 กอ
รวมท้งั สิ้น 12,960,904 ลํา โดยชนดิ ปา่ ที่พบ คือ ปา่ เบญจพรรณ
ส่วนผลการวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช พบว่า ชนิดไม้ท่ีมีความถ่ี (Frequency) มากท่ีสุด คือ งิ้วป่า
รองลงมา คือ พลับพลา ชนิดไม้ทมี่ ีความหนาแน่น (Density) มากที่สุด คือ โมกมัน รองลงมา คือ พลบั พลา
ชนิดไม้ที่มีความเด่น (Dominance) มากท่ีสุด คือ ประดู่ รองลงมา คือ โมกมัน และชนิดไม้ที่มีค่าความสําคัญ
ทางนิเวศวิทยา (Importance Value Index : IVI) มากท่ีสุด คือ โมกมัน รองลงมา คือ พลับพลา และข้อมูลเก่ียวกับ
ความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ค่าความหลากหลายของชนิดพนั ธไุ์ ม้ (Species Diversity) ป่าเบญจพรรณ
มีค่าเท่ากับ 3.78 ปา่ ดิบแลง้ มคี ่าเทา่ กับ 3.23 ค่าความมากมายของชนิดพันธ์ุไม้ (Species Richness) ป่าเบญจพรรณ
มีค่าเท่ากับ 13.37 ป่าดิบแล้งมีค่าเท่ากับ 7.47 และค่าความสม่ําเสมอของชนิดพันธุ์ไม้ (Species Evenness)
ป่าเบญจพรรณมคี า่ เทา่ กับ 0.83 ป่าดิบแลง้ มีค่าเทา่ กับ 0.88
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลโครงสร้างป่าในทุกชนิดป่าหรือทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน พบว่ามี
ไม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) ระหว่าง 15-45 เซนติเมตร จํานวน 3,651,914 ต้น ไม้ที่มีขนาด
ความโต 45-100 เซนตเิ มตร จาํ นวน 1,394,895 ต้น และไมท้ ่มี ขี นาดความโตมากกวา่ 100 เซนติเมตร จํานวน
217,952 ต้น รวมจํานวนต้นไม้ทง้ั หมดเท่ากบั 5,264,762 ตน้
จากผลการดําเนินงานดังกล่าว ทําให้ทราบข้อมูลพ้ืนฐานเกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้าน
กําลังผลิตและความหลากหลายของพันธุ์พืชในพื้นที่ต่างๆ ของอุทยานแห่งชาติน้ําตกสามหลั่น อีกทั้งยังเป็น
แนวทางในการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ เกี่ยวกับรูปแบบ วิธีการสํารวจ และการวิเคราะห์ข้อมูลอย่าง
เป็นระบบและแบบแผนเพื่อเป็นแนวทางในการติดตามการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรป่าไม้ ในพื้นที่
อุทยานแห่งชาติน้ําตกสามหลั่น
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตนิ าํ้ ตกสามหล่นั
สารบญั i
สารบัญ หน้า
สารบัญตาราง i
สารบัญภาพ iii
คํานาํ iv
วตั ถปุ ระสงค์ 1
เปา้ หมายการดําเนนิ การ 2
ขอ้ มลู ท่วั ไปอทุ ยานแหง่ ชาตินา้ํ ตกสามหล่นั 2
3
ประวตั ิความเปน็ มา 3
ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ 4
ลกั ษณะภูมอิ ากาศ 4
พชื พรรณและสตั ว์ป่า 4
แหลง่ ท่องเที่ยวและจุดเดน่ ท่ีนา่ สนใจ 4
รูปแบบและวธิ ีการสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้ 8
การสุม่ ตวั อย่าง (Sampling Design) 8
รปู รา่ งและขนาดของแปลงตัวอยา่ ง (Plot Design) 9
ขนาดของแปลงตัวอยา่ งและข้อมูลทท่ี ําการสํารวจ 9
การวเิ คราะหข์ อ้ มูลการสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
10
1. การคํานวณเน้อื ทป่ี า่ และปริมาณไม้ทงั้ หมดของแต่ละพืน้ ทีอ่ นุรกั ษ์ 10
2. การคํานวณปรมิ าตรไม้ 10
3. ขอ้ มูลทั่วไป 11
4. การวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหมไู่ ม้ 11
5. การวิเคราะหข์ ้อมูลชนิดและปรมิ าณของลกู ไม้ (Sapling) และกล้าไม้ (Seedling) 11
11
6. การวิเคราะหข์ อ้ มูลชนิดและปรมิ าณของไมไ้ ผ่ หวาย 12
7. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลสงั คมพืช 13
8. วิเคราะหข์ ้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ 15
ผลการสาํ รวจและวเิ คราะหข์ ้อมูลทรพั ยากรป่าไม้ 15
1. การวางแปลงตวั อยา่ ง 16
2. พนื้ ท่ีป่าไม้
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พนื้ ทีอ่ ทุ ยานแห่งชาตนิ ้ําตกสามหลน่ั
สารบญั (ตอ่ ) ii
3. ปริมาณไม้ หนา้
4. ชนิดพนั ธ์ุไม้ 19
5. สังคมพืช 23
6. ความหลากหลายทางชวี ภาพ 32
สรปุ ผลการสาํ รวจและวเิ คราะหข์ ้อมลู ทรพั ยากรปา่ ไม้ 35
ปัญหาและอุปสรรค 36
ข้อเสนอแนะ 39
เอกสารอา้ งองิ 39
ภาคผนวก 40
41
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ที่อุทยานแห่งชาตินาํ้ ตกสามหลน่ั
iii
สารบญั ตาราง หน้า
9
ตารางท่ี 16
1 ขนาดของแปลงตัวอยา่ งและข้อมลู ทีท่ าํ การสํารวจ
2 พ้นื ทป่ี า่ ไมจ้ ําแนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ่ีดินในอุทยานแห่งชาตนิ ํา้ ตกสามหล่นั 19
(Area by Landuse Type)
3 ความหนาแนน่ และปริมาตรไม้ต่อหนว่ ยพ้ืนทจ่ี ําแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ทดี่ นิ 19
ในอุทยานแห่งชาตนิ าํ้ ตกสามหลนั่ (Density and Volume per Area by Landuse Type)
4 ปรมิ าณไม้ทง้ั หมดจําแนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ี่ดนิ 22
ในอุทยานแหง่ ชาติน้ําตกสามหล่ัน (Volume by Landuse Type) 25
5 การกระจายขนาดความโตของไม้ท้ังหมดในอุทยานแห่งชาตนิ าํ้ ตกสามหลน่ั 26
6 ปรมิ าณไมท้ ้ังหมดของอทุ ยานแห่งชาติน้าํ ตกสามหลั่น (30 ชนิดแรกท่ีมปี ริมาตรไมส้ งู สดุ )
7 ปรมิ าณไมใ้ นปา่ เบญจพรรณของอุทยานแหง่ ชาตินํ้าตกสามหลน่ั 27
(30 ชนดิ แรกทมี่ ีปรมิ าตรไมส้ งู สุด)
8 ปรมิ าณไม้ในปา่ ดบิ แลง้ ของอุทยานแหง่ ชาตินา้ํ ตกสามหลัน่ 28
(30 ชนิดแรกทมี่ ปี ริมาตรไม้สงู สดุ ) 29
9 ชนดิ และปรมิ าณกลา้ ไม้ของไม้ยนื ต้น (Seedling) ท่พี บในอุทยานแห่งชาตนิ ํา้ ตกสามหลน่ั 30
10 ชนิดและปรมิ าณกล้าไมช้ นดิ อนื่ ๆ ทพ่ี บในอทุ ยานแหง่ ชาตนิ ้าํ ตกสามหล่ัน 31
11 ชนดิ และปริมาณลูกไม้ของไมย้ นื ต้น (Sapling) ทพ่ี บในอทุ ยานแห่งชาตนิ ้าํ ตกสามหลัน่ 31
12 ชนิดและปริมาณลูกไมช้ นิดอื่นๆ ทพ่ี บในอุทยานแหง่ ชาติน้ําตกสามหลน่ั 31
13 ชนดิ และปริมาณไผ่ หวาย และไม้กอ ทีพ่ บในอุทยานแหง่ ชาตนิ า้ํ ตกสามหลนั่ 33
14 ชนิดและปรมิ าณของตอไม้ (Stump) ท่พี บในอทุ ยานแหง่ ชาตินํ้าตกสามหลั่น
15 ดชั นีความสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ เบญจพรรณ 34
ในอุทยานแห่งชาติน้ําตกสามหลัน่
16 ดชั นคี วามสาํ คญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ ดบิ แลง้ 35
ในอุทยานแห่งชาตินํ้าตกสามหลน่ั
17 ความหลากหลายทางชวี ภาพของชนิดพนั ธ์ุไม้อุทยานแห่งชาตนิ ้าํ ตกสามหลน่ั
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้นื ทอี่ ทุ ยานแห่งชาตินํา้ ตกสามหล่ัน
สารบญั ภาพ iv
ภาพท่ี หนา้
1 จดุ ชมววิ บนยอดเขาครก 5
2 นาํ้ ตกสามหล่นั 6
3 ลักษณะและขนาดของแปลงตวั อย่าง 8
4 แผนทแี่ สดงขอบเขตและจุดสาํ รวจของอุทยานแห่งชาตนิ ้าํ ตกสามหล่ัน 15
5 จาํ นวนร้อยละของพ้ืนท่ีปา่ ไมจ้ าํ แนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ 16
ในอทุ ยานแหง่ ชาตินา้ํ ตกสามหลน่ั
6 ลกั ษณะทว่ั ไปของป่าดบิ แลง้ ในพน้ื ท่อี ุทยานแหง่ ชาตินํ้าตกสามหล่นั 17
7 ลักษณะทัว่ ไปของป่าเบญจพรรณในพนื้ ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตินํ้าตกสามหลน่ั 18
8 ปริมาณไม้ทง้ั หมดท่พี บในอทุ ยานแหง่ ชาติน้ําตกสามหล่นั 20
9 ปรมิ าตรไมท้ ง้ั หมดท่ีพบในอทุ ยานแห่งชาตินํา้ ตกสามหลนั่ 20
10 ความหนาแนน่ ตอ่ หน่วยพน้ื ท่ขี องตน้ ไมใ้ นอุทยานแหง่ ชาตินา้ํ ตกสามหล่ัน 21
11 ปรมิ าตรไม้ตอ่ หน่วยพืน้ ทใี่ นอทุ ยานแห่งชาตนิ ํา้ ตกสามหลนั่ 21
12 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ัง้ หมดในอุทยานแห่งชาตนิ า้ํ ตกสามหลน่ั 22
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ที่อุทยานแหง่ ชาตนิ ํา้ ตกสามหล่ัน
1
คาํ นาํ
ปัจจุบนั ประเทศไทยมพี น้ื ทปี่ ่าไม้เหลืออยู่ประมาณร้อยละ 31.57 ของพ้ืนท่ีประเทศ (ที่มา:หนังสือ
ขอ้ มูลสถติ ิอุทยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพันธพ์ุ ชื , 2557) ซ่ึงพื้นท่ีดังกล่าว ส่วนใหญ่อยู่ในความรับผิดชอบของ
กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั ว์ป่า และพนั ธุพ์ ืช ทจ่ี ะต้องดาํ เนนิ การอนุรกั ษ์ สงวน และฟ้ืนฟูทรัพยากรป่าไม้ เพื่อให้
สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนในประเทศได้อย่างย่ังยืน จึงจําเป็นท่ีจะต้องทราบถึงสถานภาพ
และศกั ยภาพของทรัพยากร โดยเฉพาะทรัพยากรป่าไม้ รวมท้ังความหลากหลายทางชีวภาพท่ีมีอยู่ในพื้นท่ีป่าไม้
ตลอดจนปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมที่มีผลต่อการบุกรุกทําลายป่า เพ่ือนํามาใช้ในการดําเนินการตามภาระ
รบั ผิดชอบต่อไป
ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ จึงได้ดําเนินการ
สํารวจพน้ื ทีป่ ่าของจังหวัดตา่ งๆ ทั่วประเทศ เพื่อรวบรวมเปน็ ฐานข้อมลู ในการดําเนินงานในกิจกรรมที่มีความ
เกี่ยวข้องกับความหลากหลายทางชวี ภาพ รวมทัง้ ใช้ในการประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้
โดยมีรูปแบบและวิธีการสํารวจแบบแปลงตัวอย่างถาวรรูปวงกลมรัศมี 17.84 เมตร และสุ่มตัวอย่างแบบ
สม่ําเสมอ (Systematic Sampling) ในพ้ืนที่ที่ภาพถ่ายดาวเทียมที่มีการแปลภาพว่าเป็นพ้ืนท่ีป่า โดยให้แต่
ละแปลงตัวอย่างมีระยะห่างเท่าๆ กัน บนเส้นกริดแผนท่ี 2.5x2.5 กิโลเมตร เพ่ือนําข้อมูลมาใช้ประกอบการ
พิจารณาในการดําเนินการตามภาระรับผิดชอบต่อไป ดังนั้นส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานัก
ฟ้ืนฟูและพัฒนาพ้ืนท่ีอนุรักษ์ จึงดําเนินการสํารวจพื้นที่ป่าอนุรักษ์ในเขตอุทยานแห่งชาตินํ้าตกสามหลั่น เพื่อ
รวบรวมเป็นฐานข้อมูลในการดําเนินงานด้านทรัพยากรป่าไม้ในพ้ืนที่อนุรักษ์ รวมท้ัง ใช้ในการประเมิน
สถานภาพและศกั ยภาพของทรพั ยากรป่าไมแ้ ละทรัพยากรอ่ืนๆ ที่เก่ียวข้อง เพ่ือนําไปเป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการ
ดาํ เนนิ การในภารกจิ ตา่ งๆ ของกรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สัตว์ปา่ และพันธพุ์ ชื ตอ่ ไป
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนทีอ่ ทุ ยานแห่งชาตนิ ้ําตกสามหล่ัน
2
วัตถปุ ระสงค์
1. เพื่อให้ทราบข้อมูลพื้นฐานเก่ียวกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้านกําลังผลิต และความ
หลากหลายของพชื พนั ธ์ุในพืน้ ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาติน้ําตกสามหล่ัน
2. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ เก่ียวกับรูปแบบ วิธีการสํารวจ และการ
วิเคราะห์ข้อมลู อยา่ งเปน็ ระบบและแบบแผน
3. เพื่อเป็นแนวทางในการวางระบบตดิ ตามการเปล่ยี นแปลงของทรัพยากรป่าไม้ในพน้ื ที่
4. เพ่อื ใหไ้ ด้ขอ้ มูลพนื้ ฐานเกยี่ วกับพรรณไมเ้ ด่นและชนดิ ไม้มาใช้ในการวางแผนเพาะชํากล้าไม้เพ่ือ
ปลกู เสรมิ ปา่ ในแตล่ ะพื้นทีอ่ ุทยานแห่งชาติ
เปา้ หมายการดาํ เนินงาน
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟื้นฟูและพัฒนา
พ้ืนทอี่ นุรักษ์ กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตวป์ า่ และพันธุ์พชื ได้จัดสรรงบประมาณการดําเนินงานและกําหนดพื้นที่
สํารวจเป้าหมายในพ้นื ทอี่ ุทยานแห่งชาตนิ ้ําตกสามหลน่ั ในทอ้ งทอ่ี ําเภอแก่งคอย อําเภอหนองแค อําเภอวิหาร
แดง และอําเภอเมือง จงั หวัดสระบรุ ี จาํ นวน 16 แปลง
การสํารวจใช้การวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ท่ีมีขนาดคงท่ี รูปวงกลม
3 วง ซอ้ นกัน คอื วงกลมรัศมี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลาํ ดบั และมวี งกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยู่
ตามทิศหลักท้ัง 4 ทิศ โดยจุดศูนย์กลางของวงกลมทั้ง 4 ทิศ จะอยู่บนเส้นรอบวงกลมของวงกลมรัศมี 3.99
เมตร จํานวนท้ังส้ิน 16 แปลง และทําการเก็บข้อมูลการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ต่างๆ อาทิ เช่น ชนิดไม้ ขนาด
ความโต ความสูง จํานวนกล้าไม้และลูกไม้ ชนิดป่า ลักษณะต่างๆ ของพื้นที่ที่ต้นไม้ข้ึนอยู่ ข้อมูลลักษณะภูมิ
ประเทศ เช่น ระดบั ความสงู ความลาดชัน เป็นต้น ตลอดจนการเก็บขอ้ มลู องคป์ ระกอบร่วมของป่า เชน่ ไม้ไผ่
หวาย ไม้พุ่ม เถาวัลย์ และพืชช้ันล่าง แล้วนํามาวิเคราะห์และประมวลผลเพื่อให้ทราบเน้ือที่ป่าไม้ ชนิดป่า
ชนิดไม้ ปริมาณ และความหนาแน่นของหมู่ไม้ กําลังผลิตของป่า ตลอดจนการสืบพันธ์ุตามธรรมชาติของหมู่ไม้
ในปา่ นั้น
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พนื้ ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตนิ ้ําตกสามหลั่น
3
ขอ้ มูลทว่ั ไปอทุ ยานแห่งชาตนิ า้ํ ตกสามหลั่น
อุทยานแห่งชาตนิ ้ําตกสามหลน่ั ประกอบด้วยภูเขาน้อยใหญ่ มีทรี่ าบในหบุ เขา ยอดที่สูงที่สุด คือ
เขาครก สงู ประมาณ 329 เมตร เปน็ จดุ ชมวิวที่อยสู่ ูงที่สุดสามารถมองเหน็ ภูมทิ ัศน์ทีส่ วยงามรอบๆ ตัวเมืองสระบรุ ี
และอาํ เภอใกล้เคียงได้อย่างชัดเจน ในสมัยสงครามโลกครั้งท่ี 2 ทหารญ่ีปุ่นใช้เป็นท่ีส่องกล้องดูความเคลื่อนไหว
ของฝ่ายตรงขา้ ม สภาพพ้ืนทย่ี ังคงความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติ สัตว์ป่าที่พบมีอยู่หลายชนิด เช่น ไก่ฟ้า ไก่ป่า
เกง้ ลงิ หมปู า่ และนกชนิดตา่ งๆ เชน่ เขยี วคราม กระรางหวั หงอก โพระดก บ้ังรอกใหญ่ รวมทัง้ ผเี สื้อนานาชนิด
อุทยานแห่งชาตินํ้าตกสามหลั่น มีพื้นท่ีครอบคลุมอยู่ในท้องท่ี อําเภอแก่งคอย อําเภอหนองแค
อําเภอวิหารแดง และอําเภอเมือง จังหวัดสระบุรี ป่าเขาสามหล่ันอยู่ใกล้กรุงเทพฯ มาก มีสภาพป่าอุดมสมบูรณ์
สภาพธรรมชาตปิ ่าเขา น้ําตกทสี่ วยงาม โดยเฉพาะน้าํ ตกเขาสามหลั่น ซ่ึงนกั ทอ่ งเทีย่ วรจู้ กั กนั เปน็ อย่างดี เสน้ ทาง
คมนาคมสะดวกสบาย สามารถเดินทางจากกรุงเทพฯ ไปกลับได้ในวันเดียว อุทยานแห่งชาตินํ้าตกสามหลั่นมี
เนอ้ื ที่ที่ได้รบั การประกาศเป็นพ้นื ทอี่ ุทยานแหง่ ชาติแลว้ ประมาณ 27,856.25 ไร่ และอยู่ในระหว่างเตรียมการ
ผนวกเพิ่มอีกประมาณ 20,577.62 ไร่ รวมพน้ื ทที่ ัง้ หมดประมาณ 48,433.87 ไร่ หรือ 77.49 ตารางกิโลเมตร
ประวตั ิความเปน็ มา
แต่เดิมอุทยานแห่งชาตินํ้าตกสามหล่ัน ได้รับการจัดตั้งเป็นวนอุทยานนํ้าตกสามหลั่น อยู่ในเขต
ป่าสงวนแหง่ ชาติพระฉายทงั้ หมด มีเน้ือที่ 24 ตารางกโิ ลเมตร ในความรับผิดชอบของปา่ ไมเ้ ขตสระบุรี ต่อมา
เม่อื กรมป่าไมจ้ ัดตั้งกองอทุ ยานแหง่ ชาตขิ ึน้ ใหม่ ใน ปี พ.ศ. 2517 จึงได้โอนวนอุทยานน้ําตกสามหล่ันมาข้ึนกับ
กองอุทยานแห่งชาติ ซึ่งในอดีตป่าแห่งน้ีมีความอุดมสมบูรณ์มาก สมัยสงครามโลกครั้งท่ี 2 ญี่ปุ่นได้ใช้พื้นท่ีนี้
เปน็ จดุ ยทุ ธศาสตร์ ทําหลุมหลบภยั มกี ารตดั ไม้ ทาํ ฟนื ทาํ ถ่านหุงหาอาหาร และทําถนน ทําใหป้ า่ ธรรมชาติบางส่วน
ถกู ทําลายลง ในปี พ.ศ. 2503 จงึ ไดเ้ รมิ่ ทําการปลูกป่าทดแทนใหส้ ภาพป่าฟื้นตัวขนึ้ มา และเม่ือไดป้ ระกาศเป็น
ปา่ สงวนแหง่ ชาติทาํ ให้สภาพป่าฟืน้ ตัวมากยิง่ ขนึ้
ต่อมา ในปี 2519 กรมปา่ ไม้ไดใ้ ห้กองอุทยานแห่งชาติ พิจารณาป่าพระฉาย กาํ หนดให้เป็นอุทยาน
แหง่ ชาติ กองอุทยานแหง่ ชาติจงึ ใหว้ นอุทยานน้าํ ตกสามหลัน่ ไปทําการสาํ รวจ ซ่ึงวนอุทยานนํ้าตกสามหลั่นได้มี
หนังสือรายงานผลการสํารวจว่า บริเวณป่าพระฉาย เป็นภูเขาสลับซับซ้อน เป็นแหล่งต้นน้ําลําธาร สภาพป่า
สมบูรณ์ดี มนี ํา้ ตกทีส่ วยงาม และมีสัตว์ป่าอาศยั อย่หู ลายชนดิ เหมาะทจ่ี ะจัดตั้งเป็นอทุ ยานแห่งชาติ
กองอุทยานแหง่ ชาติ กรมป่าไม้ ได้นําเสนอคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ ซึ่งมีมติเมื่อ วันที่ 30
พฤศจกิ ายน 2519 เหน็ สมควรให้กําหนดพ้ืนที่ดังกล่าวเป็นอุทยานแห่งชาติ โดยได้มีพระราชกฤษฎีกากําหนด
บรเิ วณทด่ี นิ ป่าพระฉายและนํ้าตกสามหล่ัน ในท้องท่ี ตําบลหนองนาก ตําบลห้วยทราย ตําบลโคกแย้ อําเภอ
หนองแค ตําบลหนองปลาไหล อําเภอเมืองสระบุรี ตําบลบ้านลํา ตําบลคลองเรือ อําเภอวิหารแดง และตําบล
ห้วยแห้ง อําเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ โดยได้ประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 98
ตอนที่ 85 ลงวนั ที่ 2 มิถนุ ายน 2524 เป็นอุทยานแห่งชาติลาํ ดับที่ 27 ของประเทศ
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาติน้ําตกสามหลน่ั
4
ต่อมาในปี 2543 อธิบดีกรมป่าไม้ ได้เดินทางตรวจเยี่ยมราชการและได้แนะนําว่า ควรเปล่ียนชื่อ
อทุ ยานแหง่ ชาติเขาสามหล่ันเป็น อุทยานแห่งชาติพระพุทธฉาย โดยกรมป่าไม้พิจารณาแล้วเพ่ือให้สอดคล้องกับ
ขอ้ มูลทางโบราณคดี ประวัติศาสตร์ และสภาพของพน้ื ท่ี จึงเปลี่ยนชอื่ อุทยานแหง่ ชาติเขาสามหลั่น เป็นอุทยาน
แห่งชาติพระพุทธฉาย
ตอ่ มาเม่อื วนั ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 กรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพนั ธุ์พืช ได้พิจารณา
ชอ่ื อทุ ยานแหง่ ชาติให้มคี วามเหมาะสม สอดคล้องกบั จดุ เดน่ และศักยภาพที่สําคัญของพ้ืนท่ีที่จัดต้ังเป็นอุทยาน
แห่งชาติ จึงเปล่ียนชอ่ื อทุ ยานแหง่ ชาตพิ ระพทุ ธฉาย เป็นอทุ ยานแหง่ ชาตนิ ํา้ ตกสามหลน่ั
ลักษณะภมู ปิ ระเทศ
สภาพภูมิประเทศประกอบด้วยภูเขาสลับซับซ้อน เป็นเทือกเขาสูงท่ีวางตัวตามแนวตะวันตกเฉียงเหนือ-
ตะวันออกเฉยี งใต้ มที ีร่ าบแคบๆ ระหวา่ งหุบเขา อยู่ทางตอนเหนอื ของอุทยานแห่งชาติ ยอดเขาท่ีสงู ที่สุด คือ
เขาครก มีความสงู ประมาณ 329 เมตรจากระดบั นํ้าทะเล สามารถมองเห็นตัวเมืองสระบุรี และอําเภอใกล้เคียง
ได้อยา่ งชัดเจน ป่าแหง่ น้ีเปน็ ต้นกําเนดิ ของนา้ํ ตกหลายแหง่ เปน็ ต้นนาํ้ ลาํ ธารที่ไหลไปหล่อเล้ียงไร่นาของราษฎร
ท่ีอย่ใู กลเ้ คยี ง สภาพของดินเป็นดินเหนียวและดินร่วนปนทราย หินช้นั ล่างเปน็ พวกหนิ ดินดาน
ลักษณะภูมอิ ากาศ
สภาพภูมอิ ากาศในเขตอุทยานแห่งชาติ สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ฤดูกาล ได้แก่ ฤดูร้อน จะร้อน
อบอา้ วระหว่างเดอื นกมุ ภาพนั ธ์-เมษายน ฤดูฝนจะมีฝนตกชุก ระหว่างเดือนพฤษภาคม-กันยายน และฤดูหนาว
อากาศเยน็ สบาย ระหว่างเดือนตุลาคม-มกราคม อุณหภูมิเฉล่ีย 28 องศาเซลเซียส มีปริมาณน้ําฝนเฉล่ีย 1,200
มลิ ลิเมตรต่อปี ซึ่งสามารถเดินทางไปทอ่ งเที่ยวพกั ผ่อนไดต้ ลอดปี
พืชพรรณและสัตวป์ า่
สภาพป่าประกอบดว้ ยปา่ เบญจพรรณ และปา่ เต็งรงั มพี นั ธุไ์ ม้ที่สําคัญได้แก่ แดง ประดู่ พลวง เต็ง
รัง ตะเคียนทอง มะคา่ ตะแบก เปน็ ต้น และพันธ์ุไม้อื่นๆ ท่ีทําการสํารวจไว้กว่า 800 ชนิด ส่วนไม้พื้นล่างเป็น
พวกไผช่ นดิ ตา่ งๆ ตลอดจน หวาย และกลว้ ยไม้ เป็นตน้
สําหรบั สตั ว์ท่มี อี าศัยอยู่เป็นสัตวข์ นาดเลก็ เช่น ไก่ฟา้ ไกป่ ่า เก้ง กระจง ลิง หมูป่า กระรอก กระแต
และนกชนดิ ตา่ งๆ ทสี่ าํ คัญ ไดแ้ ก่ นกเจ้าฟา้ หญิงสริ ินธร ซง่ึ คาดวา่ นา่ จะสูญพนั ธ์ไุ ปแล้ว
แหล่งท่องเที่ยวและจุดเดน่ ทนี่ า่ สนใจ
อุทยานแห่งชาตินํ้าตกสามหลั่น เป็นอุทยานแห่งชาติที่สามารถไปเท่ียวชมธรรมชาติ และสัมผัส
บรรยากาศป่าเขาลําเนาไพร โดยสามารถเดินทางจากกรุงเทพฯ ไปกลับได้ภายในวันเดียวกัน มีแหล่งท่องเท่ียว
ท้งั ด้านทางธรรมชาตทิ ี่สวยงาม และดา้ นประวัตศิ าสตร์
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้นื ทอ่ี ุทยานแห่งชาตินํ้าตกสามหลน่ั
5
แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ
- จดุ ชมทวิ ทัศน์บนยอดเขาครก อยู่ห่างจากที่ทาํ การอทุ ยานแหง่ ชาติประมาณ 3 กิโลเมตร มีความ
สูงประมาณ 329 เมตรจากระดบั นาํ้ ทะเล สามารถมองเหน็ ทวิ ทศั น์ของตวั จงั หวัดสระบรุ ีและอาํ เภอใกล้เคียง
ภาพท่ี 1 จดุ ชมวิวบนยอดเขาครก
- นา้ํ ตกโกรกอเี ว่อ อยหู่ า่ งจากทท่ี ําการอุทยานแห่งชาตปิ ระมาณ 4 กโิ ลเมตร เป็นนํ้าตกขนาดเล็ก
มคี วามสูงพอประมาณ
- น้าํ ตกเขาแดง อยู่ห่างจากท่ีทําการอุทยานฯ ประมาณ 800 เมตร เป็นน้ําตกขนาดเล็กมีความสูง
ประมาณ 4 เมตร สายน้ําตกลงสอู่ ่างเก็บน้ําเขารวก
- น้ําตกโตนรากไทร เป็นนํ้าตกที่ไม่มีน้ําไหลตลอดปี อยู่ห่างจากที่ทําการอุทยานฯ ประมาณ 400
เมตร มีลักษณะเปน็ นา้ํ ตกช้ันเดียวทต่ี กลงมาจากหน้าผาหินสูงประมาณ 7 เมตร ลงสู่แอ่งนํ้าเบื้องล่าง มีเส้นทาง
เดินปา่ ศกึ ษาธรรมชาตินํ้าตกโตนรากไทร-นํ้าตกสามหล่ัน ระยะทางประมาณ 2,500 เมตร ใช้เวลาเดินประมาณ
90 นาที โดยมีจุดเรม่ิ ตน้ จากบริเวณทที่ าํ การอทุ ยานแห่งชาติ ผ่านนํ้าตกโตนรากไทร อ่างเก็บนํ้าเขาสามหล่ัน น้ําตก
สามหลั่น ไปส้นิ สุดบริเวณลานอเนกประสงค์ใกล้ทท่ี าํ การอุทยานแหง่ ชาติ
- นาํ้ ตกนางโจน อยู่ห่างจากที่ทําการอุทยานฯ ประมาณ 10 กิโลเมตร เป็นนํ้าตกขนาดเล็ก
บนหน้าผาหิน 2 ช้ัน สูงประมาณ 4 เมตร สายน้าํ ตกลงสู่แอง่ นํา้ เบ้ืองล่าง
- นํ้าตกแผงม้า อยูห่ า่ งจากทีท่ ําการอุทยานฯ ประมาณ 4.5 กิโลเมตร เป็นน้ําตกขนาดเล็ก มีความสูง
ประมาณ 10 เมตร สายน้าํ ตกลงสอู่ ่างเก็บน้ําซบั ปลากัง้
- นํ้าตกโพธ์ิหินดาด เปน็ น้าํ ตกที่ไม่มีน้ําไหลตลอดปี อยู่หา่ งจากท่ีทําการอุทยานฯ ประมาณ 400 เมตร
มีลักษณะเปน็ น้ําตกชน้ั เดยี วไมใ่ หญน่ กั มีลานหนิ กวา้ งและต้นโพแผก่ งิ่ ก้านสาขา
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นท่อี ุทยานแห่งชาติน้ําตกสามหลัน่
6
- น้าํ ตกรอยเกอื กม้า อยหู่ า่ งจากทท่ี ําการอุทยานฯ ประมาณ 1.5 กิโลเมตร มีลักษณะเป็นนํ้าตก
ขนาดเลก็ บริเวณลานหนิ มีรอ่ งรอยคล้ายเกอื กมา้ กระจายอยทู่ ั่วบริเวณ
- นํ้าตกสามหลั่น เป็นนํ้าตกท่ีไม่มีน้ําไหลตลอดปี มีลักษณะเป็นลานหินกว้างวาง เรียงซ้อนกัน
เป็นสามช้ัน ลดหลัน่ กันอยา่ งละชน้ั สูงประมาณ 5 เมตร ในบริเวณน้ําตกมีโต๊ะ ม้านั่ง ไว้สําหรับน่ังเล่น ชมนํ้าตก
ชมธรรมชาติ เหมาะสําหรับการไปพักผ่อนหย่อนใจ มีเส้นทางเดินป่าน้ําตกสามหลั่น – อ่างเก็บนํ้าซับปลากั้ง
ระยะทางประมาณ 4.5 กโิ ลเมตร ใช้เวลาเดินประมาณ 2 ชั่วโมงครึ่ง โดยมีจดุ เร่ิมตน้ จากบริเวณลานอเนกประสงค์
ผ่านน้าํ ตกสามหล่ัน อา่ งเก็บน้าํ เขาสามหลน่ั อา่ งเกบ็ น้ําเขาไม้นวล นํ้าตกแผงมา้ อ่างเก็บนํา้ ซับปลากั้ง ไปสนิ้ สดุ
บรเิ วณท่ีทาํ การหนว่ ยพิทักษ์อทุ ยานแหง่ ชาตทิ ่ี สห.1 (ซบั ปลากัง้ )
ภาพท่ี 2 นา้ํ ตกสามหลนั่
- อ่างเก็บน้ําเขาไม้นวล เปน็ อ่างเกบ็ น้ํา ทส่ี ร้างในปี 2523 เป็นแหล่งนาํ้ ท่มี ที วิ ทศั นร์ ม่ รืน่ และเปน็
แหล่งน้ําของสัตว์ป่า
- อ่างเก็บน้ําเขารวก สร้างประมาณปี 2523 บริเวณริมอ่างเก็บนํ้ามีบ้านพัก ศาลาอเนกประสงค์
รวมทั้งห้องน้าํ -ห้องสขุ า และรา้ นคา้ สวัสดิการ นอกจากนี้อุทยานแหง่ ชาตยิ ังได้จดั กิจกรรมนันทนาการไว้บริการ
ได้แก่ เดินป่าศึกษาธรรมชาติ ในเส้นทางเดินป่าเขาแดง-นํ้าตกสามหลั่น ระยะทางประมาณ 1,600 เมตร ใช้เวลา
เดนิ ประมาณ 45 นาที โดยมจี ุดเริ่มตน้ จากบริเวณอา่ งเกบ็ นา้ํ เขารวก ผ่านนา้ํ ตกเขาแดง นํ้าตกเขาสามหล่ัน ไป
สน้ิ สดุ บรเิ วณลานอเนกประสงค์ใกลท้ ี่ทําการอุทยานฯ และกจิ กรรมการพายเรือคายัคและจักรยานนํ้า เพ่ือการ
พักผ่อนหยอ่ นใจบริเวณอ่างเก็บนํา้ เขารวก
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ที่อุทยานแหง่ ชาตนิ ้ําตกสามหลน่ั
7
- อ่างเก็บน้ําเขาสามหล่ัน สร้างในปี 2523 เป็นแหล่งน้ําที่มีทิวทัศน์ร่มร่ืน และเป็นแหล่งนํ้าของ
สัตว์ป่า
- อา่ งเกบ็ นาํ้ ซับปลากั้ง สรา้ งเม่ือปี พ.ศ. 2539 เป็นโครงการชลประทานขนาดเล็ก สําหรับอุปโภค
และบรโิ ภคของราษฎรในทอ้ งที่อาํ เภอวหิ ารแดง จังหวดั สระบุรี เป็นทตี่ ้งั ของหนว่ ยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ที่ สห.1
(ซับปลากั้ง) บริเวณโดยรอบอ่างเก็บนาํ้ มีทวิ ทัศน์สวยงาม เหมาะสําหรับผู้ที่ช่ืนชอบธรรมชาติเข้ามาใช้บริการ
กางเต็นทพ์ กั แรม (ควรจดั เตรียมเต็นท์และอาหารไปเอง) มีเส้นทางเดินป่าซับปลาก้ัง – น้ําตกสามหล่ัน ระยะทาง
ประมาณ 4.5 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินประมาณ 2.5 ช่ัวโมงครึ่ง โดยมีจุดเร่ิมต้นจากอ่างเก็บนํ้าซับปลากั้ง ผ่าน
น้าํ ตกแผงม้า อา่ งเก็บนํ้าเขาไม้นวล อา่ งเกบ็ น้าํ เขาสามหลั่น น้าํ ตกสามหลนั่ ไปสิน้ สดุ บรเิ วณทท่ี ําการอุทยานฯ
แหล่งทอ่ งเทยี่ วทางประวัตศิ าสตร์
- ซากเจดยี โ์ บราณบนยอดเขาเรดาห์ อยู่ห่างจากท่ีทําการอุทยานฯ ประมาณ 5 กิโลเมตร คาดว่า
ก่อสร้างขึน้ ในสมัยกรุงศรอี ยุธยา ปจั จุบันยังมรี ่องรอยปรากฏอยู่
- อนุสรณส์ ถานสงครามโลกคร้งั ท่ี 2 (ถ้ําเขาแดง) อยู่หา่ งจากทท่ี าํ การอุทยานฯ ประมาณ 2 กิโลเมตร
สรา้ งโดยกองทัพญีป่ นุ่ ในสมยั สงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นถา้ํ ทขี่ ุดเจาะลกึ เข้าไปในภูเขา
- อโุ มงค์รถไฟพระพุทธฉาย อยหู่ า่ งจากทที่ ําการอทุ ยานฯ ประมาณ 12 กโิ ลเมตร เปน็ อุโมงค์รถไฟ
ชนิดรางเดยี ว มคี วามกว้างประมาณ 7 เมตร สงู 7 เมตร ยางประมาณ 1,197 เมตร สร้างเม่ือปี 2537 เป็นอุโมงค์
รถไฟท่ยี าวทส่ี ุดในประเทศไทยที่สร้างโดยคนไทย
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ที่อุทยานแหง่ ชาตินาํ้ ตกสามหลนั่
8
รปู แบบและวิธีการสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไมใ้ นแตล่ ะจังหวัดทวั่ ประเทศไทย ดาํ เนินการโดยกลุ่มสํารวจทรัพยากรป่าไม้
สว่ นสาํ รวจและวเิ คราะห์ทรัพยากรปา่ ไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพื้นท่ีอนุรักษ์ และสํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษ์ต่างๆ
ในสงั กัดกรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สัตว์ป่า และพันธพ์ุ ืช
การสุม่ ตวั อยา่ ง (Sampling Design)
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบสม่ําเสมอ (Systematic Sampling) ในพื้นที่ที่
ภาพถ่ายดาวเทียมแปลว่ามีสภาพเป็นป่า โดยให้แต่ละแปลงตัวอย่าง (Sample plot) มีระยะห่างเท่าๆ กัน
โดยกําหนดให้แต่ละแปลงห่างกัน 2.5x2.5 กิโลเมตร เริ่มจากการสุ่มกําหนดแปลงตัวอย่างแรกบนเส้นกริดแผนท่ี
(Grid) ลงบนขอบเขตแผนทป่ี ระเทศไทยมาตราส่วน 1:50,000 ใหม้ ีระยะห่างระหว่างเส้นกรดิ ท้งั แนวตงั้ และแนวนอน
เท่ากับ 2.5x2.5 กิโลเมตร คือ ระยะช่องกริดในแผนท่ีเท่ากับ 10 ช่อง จุดตัดของเส้นกริดท้ังสองแนวก็จะเป็น
ตาํ แหนง่ ทตี่ ้ังของแปลงตัวอยา่ งแต่ละแปลง เมอื่ ดําเนินการเสร็จส้ินแล้วจะทราบจํานวนหน่วยตัวอย่าง และตําแหน่ง
ที่ตั้งของหน่วยตัวอย่าง โดยลักษณะของแปลงตัวอย่างดังภาพท่ี 1 และรูปแบบของการวางแปลงตัวอย่างแสดง
ดงั ภาพท่ี 2 ตามลาํ ดบั
ภาพท่ี 3 ลกั ษณะและขนาดของแปลงตวั อย่าง
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นท่อี ุทยานแหง่ ชาติน้ําตกสามหลน่ั
9
รูปรา่ งและขนาดของแปลงตวั อย่าง (Plot Design)
แปลงตัวอย่าง (Sample Plot) ที่ใชใ้ นการสํารวจมีทง้ั แปลงตัวอย่างถาวรและแปลงตัวอย่างช่ัวคราว
เปน็ แปลงทมี่ ีขนาดคงท่ี (Fixed–Area Plot) และมีรูปรา่ ง 2 ลกั ษณะดว้ ยกนั คือ
1. ลกั ษณะรปู วงกลม (Circular Plot)
1.1 รูปวงกลมทม่ี ีจุดศนู ยก์ ลางร่วมกัน รัศมีแตกต่างกัน จํานวน 3 วง คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62
และ 17.84 เมตร ตามลาํ ดับ
1.2 รปู วงกลมทีม่ รี ัศมีเท่ากนั จุดศูนย์กลางต่างกัน จํานวน 4 วง รัศมี 0.631 เมตร เท่ากัน โดยจุด
ศูนยก์ ลางของวงกลมอยบู่ นเส้นรอบวงของวงกลมรศั มี 3.99 เมตร ตามทศิ หลักท้งั 4 ทิศ
2. ลักษณะแบบแนวเส้นตรง (Intersect Line) จํานวน 2 เส้น ความยาวเส้นละ 17.84 เมตร
โดยมีจุดเร่ิมต้นร่วมกัน ณ จุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่างทํามุมฉากซึ่งกันและกัน ซ่ึงตัวมุม Azimuth ของเส้นที่ 1
ได้จากการสมุ่ ตัวอยา่ ง
ขนาดของแปลงตัวอย่างและข้อมลู ท่ที าํ การสาํ รวจ
ขนาดของแปลงตวั อย่าง และขอ้ มลู ทท่ี าํ การสํารวจแสดงรายละเอยี ดไว้ในตารางท่ี 1
ตารางท่ี 1 ขนาดของแปลงตวั อย่างและข้อมลู ทท่ี าํ การสาํ รวจ
รัศมขี องวงกลม หรอื จํานวน พ้นื ท่ี หรือ ความยาว ข้อมลู ท่สี ํารวจ
ความยาว (เมตร)
0.631 4 วง 0.0005 เฮกตาร์ กล้าไม้
3.99 1 วง 0.0050 เฮกตาร์ ลกู ไม้และการปกคลมุ พ้ืนที่ของกล้าไม้ และลกู ไม้
12.62 1 วง 0.0500 เฮกตาร์ ไม้ไผ่ หวายทีย่ ังไมเ่ ลอ้ื ย และตอไม้
17.84 1 วง 0.1000 เฮกตาร์ ตน้ ไม้ และตรวจสอบปัจจยั ท่ีรบกวนพืน้ ที่ปา่
17.84 (เสน้ ตรง) 2 เสน้ 17.84 เมตร Coarse Woody Debris (CWD) หวายเล้อื ย
และไม้เถา ทพ่ี าดผา่ น
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พ้นื ท่ีอุทยานแห่งชาตนิ ํา้ ตกสามหลัน่
10
การวเิ คราะห์ข้อมลู การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
1. การคํานวณเนื้อที่ปา่ และปริมาณไม้ท้ังหมดของแตล่ ะพื้นทีอ่ นุรักษ์
1.1 ใชข้ ้อมูลพื้นที่อนรุ กั ษ์จากแผนท่แี นบท้ายกฤษฎีกาของแต่ละพนื้ ทีอ่ นุรักษ์
1.2 ใช้สดั สว่ นจํานวนแปลงตัวอย่างที่พบในแต่ละชนิดป่า เปรียบเทียบกับจํานวนแปลงตัวอย่างท่ี
วางแปลงท้ังหมดในแต่ละพื้นท่ีอนุรักษ์ ท่ีอาจจะได้ขอ้ มลู จากภาคสนาม หรือการดูจากภาพถ่ายดาวเทียมหรือ
ภาพถ่ายทางอากาศ มาคํานวณเปน็ เน้อื ที่ปา่ แตล่ ะชนิดโดยนาํ แปลงตวั อย่างทว่ี างแผนไว้มาคาํ นวณทุกแปลง
1.3 แปลงตัวอย่างท่ีไม่สามารถดําเนินการได้ ก็ต้องนํามาคํานวณด้วย โดยทําการประเมินลักษณะ
พืน้ ท่วี า่ เป็น หน้าผา น้าํ ตก หรือพ้นื ท่อี ื่นๆ เพื่อประกอบลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน
1.4 ปริมาณไม้ทั้งหมดของพ้ืนที่อนุรักษ์ เป็นการคํานวณโดยใช้ข้อมูลเน้ือที่อนุรักษ์จากแผนท่ี
แนบท้ายกฤษฎีกาของแต่ละพื้นท่ีอนุรักษ์ ซ่ึงบางพ้ืนท่ีอนุรักษ์มีข้อมูลเน้ือท่ีคลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริงและ
สง่ ผลต่อการคาํ นวณปริมาณไมท้ ้งั หมด ทําใหก้ ารคาํ นวณปรมิ าณไม้เป็นการประมาณเบือ้ งต้น
2. การคาํ นวณปริมาตรไม้
สมการปริมาตรไม้ที่ใช้ในการประเมินการกักเก็บธาตุคาร์บอนในพ้ืนที่ป่าไม้ แบบวิธี Volume
based approach โดยแบ่งกล่มุ ของชนิดไม้เป็นจาํ นวน 7 กลมุ่ ดังนี้
2.1 กลุ่มท่ี 1 ได้แก่ ยาง เต็ง รัง เหียง พลวง กระบาก เค่ียม ตะเคียน สยา ไข่เขียว พะยอม
จันทนก์ ะพ้อ สนสองใบ
สมการทีไ่ ด้ ln V = 2.372083 + 2.443847 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 188
2.2 กลมุ่ ที่ 2 ไดแ้ ก่ กระพจ้ี ่นั กระพ้เี ขาควาย เกด็ ดาํ เก็ดแดง เก็ดขาว เถาวัลยเ์ ปรียง พะยูง
ชงิ ชัน กระพ้ี ถ่อน แดง ขะเจา๊ ะ แคทราย แคฝอย และสกลุ มะเกลอื
สมการที่ได้ ln V = 2.134494 + 2.363034 ln (DBH/100)
R2 = 0.91, sample size = 135
2.3 กลมุ่ ที่ 3 ไดแ้ ก่ รกฟา้ สมอพิเภก สมอไทย หูกวาง หกู ระจง ตีนนก ขอ้ี ้าย กระบก ตะครํ้า
ตะครอ้ ตาเสือ ค้างคาว สะเดา ยมหอม ยมหิน กระทอ้ น เลีย่ น มะฮอกกานี ข้อี ้าย ตะบูน ตะบัน รัก ตวิ้
สะแกแสง ปูเ่ จา้ และไมส้ กุลสา้ น เสลา อนิ ทนิล ตะแบก ชะมวง สารภี บนุ นาค
สมการท่ไี ด้ ln V = 1.880578 + 2.053321 ln (DBH/100)
R2 = 0.89, sample size = 186
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นท่ีอทุ ยานแห่งชาตินา้ํ ตกสามหล่นั
11
2.4 กล่มุ ที่ 4 ไดแ้ ก่ กางขม้ี อด คูน พฤกษ์ มะค่าโมง นนทรี กระถินพมิ าน มะขามป่า หลุมพอ
และสกลุ ขเี้ หลก็
สมการที่ได้ ln V = 1.789563 + 2.025666 ln (DBH/100)
R2 = 0.90, sample size = 36
2.5 กลุ่มท่ี 5 ได้แก่ สกุลประดู่ เติม
สมการทไ่ี ด้ ln V = 2.037096 + 2.299618 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 99
2.6 กลุ่มท่ี 6 ไดแ้ ก่ สกั ตนี นก ผ่าเสยี้ น หมากเลก็ หมากนอ้ ย ไข่เนา่ กระจบั เขา กาสามปกี สวอง
สมการที่ได้ ln V = 2.119907 + 2.296511 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 186
2.7 กลมุ่ ที่ 7 ได้แก่ ไมช้ นดิ อนื่ ๆ เชน่ กุ๊ก ขว้าว งิว้ ป่า ทองหลางป่า มะมว่ งป่า ซ้อ โมกมัน
แสมสาร และไมใ้ นสกลุ ปอ กอ่ เปล้า เป็นตน้
สมการท่ีได้ ln V = 2.250111 + 2.414209 ln (DBH/100)
R2 = 0.93, sample size = 138
โดยท่ี V คอื ปริมาตรสว่ นลําตน้ เมอื่ ตดั โค่นที่ความสูงเหนอื ดิน (โคน) 10 เซนตเิ มตร
ถงึ กง่ิ แรกทท่ี ําเปน็ สนิ คา้ ได้ มหี นว่ ยเปน็ ลูกบาศก์เมตร
DBH มีหน่วยเปน็ เซนติเมตร
Ln = natural logarithm
3. ขอ้ มูลทว่ั ไป
ข้อมูลทัว่ ไปทนี่ ําไปใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ที่ตั้ง ตําแหน่ง ช่วงเวลาท่ีเก็บข้อมูล ผู้ที่ทําการเก็บข้อมูล
ความสูงจากระดับนํ้าทะเล และลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน เป็นต้น โดยข้อมูลเหล่าน้ี จะใช้ประกอบในการ
วเิ คราะหป์ ระเมินผลรว่ มกับข้อมูลด้านอื่นๆ เพื่อติดตามความเปลี่ยนแปลงของพ้ืนท่ีในการสํารวจทรัพยากรป่าไม้
ครั้งตอ่ ไป
4. การวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหมู่ไม้
4.1 ความหนาแนน่
4.2 ปรมิ าตร
5. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลชนดิ และปริมาณของลูกไม้ (Sapling) และกล้าไม้ (Seedling)
6. การวเิ คราะห์ข้อมลู ชนดิ และปริมาณของไมไ้ ผ่ หวาย
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้นื ท่ีอุทยานแห่งชาติน้ําตกสามหลัน่
12
6.1 ความหนาแนน่ ของไม้ไผ่ (จาํ นวนกอ และ จํานวนลํา)
6.2 ความหนาแนน่ ของหวายเส้นต้ัง (จํานวนต้น)
7. การวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพชื
โดยมรี ายละเอียดการวิเคราะห์ข้อมลู ดังนี้
7.1 ความหนาแน่นของพรรณพืช (Density : D) คือ จํานวนต้นไม้ทั้งหมดของชนิดพันธ์ุท่ีศึกษาท่ี
ปรากฏในแปลงตัวอย่างตอ่ หน่วยพ้ืนท่ที ี่ทําการสํารวจ
D= จํานวนตน้ ของไมช้ นิดนั้นท้งั หมด
.
พืน้ ทีแ่ ปลงตวั อยา่ งทั้งหมดท่ที ําการสํารวจ
7.2 ความถ่ี (Frequency : F) คือ อัตราร้อยละของจํานวนแปลงตัวอย่าง ที่ปรากฏพันธุ์ไม้ชนิดนั้น
ตอ่ จํานวนแปลงท่ที ําการสํารวจ
F = จาํ นวนแปลงตวั อยา่ งทพ่ี บไม้ชนดิ ทกี่ าํ หนด X 100
จาํ นวนแปลงตวั อยา่ งทงั้ หมดท่ีทําการสํารวจ
7.3 ความเด่น (Dominance : Do) ใช้ความเด่นด้านพ้ืนที่หน้าตัด (Basal Area : BA) หมายถึง
พืน้ ทห่ี น้าตดั ของลาํ ต้นของตน้ ไมท้ ี่วัดระดับอก (1.30 เมตร) ต่อพื้นทีท่ ่ีทําการสาํ รวจ
Do = พื้นทห่ี น้าตดั ทั้งหมดของไม้ชนดิ ทก่ี ําหนด X 100
พื้นท่แี ปลงตวั อย่างทท่ี าํ การสํารวจ
7.4 ค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Relative Density : RD) คือ ค่าความสัมพัทธ์ของความหนาแน่น
ของไมท้ ีต่ ้องการตอ่ ค่าความหนาแน่นของไมท้ กุ ชนิดในแปลงตวั อย่าง คิดเป็นร้อยละ
RD = ความหนาแน่นของไม้ชนิดนนั้ X 100
ความหนาแนน่ รวมของไมท้ กุ ชนดิ
7.5 ค่าความถ่ีสัมพัทธ์ (Relative Frequency : RF) คือ ค่าความสัมพัทธ์ของความถ่ีของชนิดไม้
ที่ต้องการตอ่ ค่าความถีท่ ง้ั หมดของไมท้ กุ ชนิดในแปลงตัวอย่าง คิดเป็นรอ้ ยละ
RF = ความถีข่ องไม้ชนิดนั้น X 100
ความถร่ี วมของไมท้ กุ ชนิด
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พน้ื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาตนิ า้ํ ตกสามหลั่น
13
7.6 ค่าความเด่นสัมพัทธ์ (Relative Dominance : RDo) คือ ค่าความสัมพันธ์ของความเด่น
ในรปู พื้นทห่ี นา้ ตัดของไม้ชนดิ ทกี่ าํ หนดต่อความเด่นรวมของไม้ทุกชนิดในแปลงตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ
RDo = ความเด่นของไม้ชนิดนั้น X 100
ความเดน่ รวมของไมท้ กุ ชนิด
7.7 ค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) คือ ผลรวมของค่า
ความสัมพัทธ์ต่างๆ ของชนดิ ไม้ในสงั คม ไดแ้ ก่ ค่าความสมั พทั ธด์ ้านความหนาแนน่ คา่ ความสมั พัทธ์ดา้ นความถ่ี
และค่าความสัมพทั ธด์ ้านความเด่น
IVI = RD + RF + RDo
8. วเิ คราะหข์ อ้ มลู ความหลากหลายทางชีวภาพ
โดยทําการวเิ คราะห์คา่ ตา่ งๆ ดังน้ี
8.1 ความหลากหลายของชนิดพันธ์ุ (Species Diversity) วัดจากจํานวนชนิดพันธ์ุท่ีปรากฏใน
สังคมและจํานวนต้นท่ีมีในแต่ละชนิดพันธ์ุ โดยใช้ดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener Index of
diversity ตามวิธกี ารของ Kreb (1972) ซงึ่ มสี ตู รการคํานวณดงั ตอ่ ไปนี้
s
H = ∑ (pi)(ln pi)
i=1
โดย H คือ ค่าดัชนีความหลากชนิดของชนิดพนั ธไ์ุ ม้
pi คอื สัดส่วนระหว่างจํานวนต้นไมช้ นิดที่ i ตอ่ จํานวนต้นไม้ทง้ั หมด
S คือ จํานวนชนิดพนั ธไุ์ ม้ทงั้ หมด
8.2 ความร่ํารวยของชนิดพันธ์ุ (Richness Indices) อาศัยความสัมพันธ์ระหว่างจํานวนชนิดกับ
จํานวนต้นทั้งหมดที่ทําการสํารวจ ซึ่งจะเพิ่มขึ้นเม่ือเพิ่มพ้ืนท่ีแปลงตัวอย่าง และดัชนีความรํ่ารวย ท่ีนิยมใช้กัน
คือ วิธีของ Margalef Index และ Menhinick Index (Margalef 1958, Menhinick 1964) โดยมีสูตรการ
คาํ นวณดงั น้ี
1) Margalef Index (R1)
R1 = (S-1)/ln(n)
2) Menhinick Index (R2)
R2 = S/
เมือ่ S คอื จาํ นวนชนิดทัง้ หมดในสงั คม
n คอื จํานวนตน้ ทัง้ หมดท่สี ํารวจพบ
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาตินา้ํ ตกสามหล่นั
14
8.3 ความสมํ่าเสมอของชนิดพันธ์ุ (Evenness Indices) เป็นดัชนีท่ีต้ังอยู่บนสมมติฐานที่ว่า ดัชนี
ความสมา่ํ เสมอจะมีค่ามากทีส่ ดุ เม่อื ทุกชนิดในสงั คมมีจํานวนต้นเท่ากันท้ังหมด ซ่ึงวิธีการที่นิยมใช้กันมากในหมู่
นกั นิเวศวิทยา คือ วธิ ขี อง Pielou (1975) ซ่งึ มีสูตรการคํานวณดังนี้
E = H/ ln(S) = ln (N1)/ln (N0)
เมื่อ H คอื ค่าดัชนคี วามหลากหลายของ Shannon-Wiener
S คอื จาํ นวนชนดิ ทงั้ หมด (N0)
N1 คอื eH
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้นื ทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาตนิ ้ําตกสามหล่ัน
15
ผลการสาํ รวจและวเิ คราะห์ข้อมูลทรพั ยากรปา่ ไม้
1. การวางแปลงตวั อยา่ ง
จากผลการดําเนินการวางแปลงสํารวจ เพ่ือประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้
ในพ้นื ทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาตินํ้าตกสามหลั่น จาํ นวน 16 แปลง แสดงดังภาพที่ 4
ภาพที่ 4 แผนทแี่ สดงขอบเขตและจุดสาํ รวจของอทุ ยานแหง่ ชาตนิ า้ํ ตกสามหลน่ั
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นท่อี ุทยานแห่งชาตินํา้ ตกสามหลั่น
16
2. พนื้ ทปี่ า่ ไม้
จากการสาํ รวจ พบวา่ มีพื้นท่ีป่าไม้จําแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินได้ 2 ประเภท ได้แก่
ป่าดิบแลง้ และป่าเบญจพรรณ โดยพบปา่ เบญจพรรณมากสุด มีพ้ืนท่ี 67.81 ตารางกิโลเมตร (42,379.64 ไร่)
คดิ เป็นร้อยละ 87.50 ของพน้ื ที่ท้ังหมด และป่าดิบแล้ง มีพื้นท่ี 9.69 ตารางกิโลเมตร (6,054.23 ไร่) คิดเป็น
ร้อยละ 12.50 ของพืน้ ทีท่ ง้ั หมด รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 2 และภาพที่ 5 โดยลักษณะท่ัวไปของป่าดิบแล้ง
แสดงดงั ภาพที่ 6 ลกั ษณะทัว่ ไปของป่าเบญจพรรณแสดงดังภาพท่ี 7
ตารางที่ 2 พ้นื ท่ีปา่ ไม้จาํ แนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ทีด่ นิ ในอทุ ยานแห่งชาตนิ ํ้าตกสามหลน่ั
(Area by Landuse Type)
ลกั ษณะการใช้ประโยชน์ท่ดี นิ พ้ืนที่ ร้อยละของพื้นที่
(Landuse Type) ตร.กม. ไร่ เฮกตาร์ ทัง้ หมด
ป่าดิบแลง้ 9.69 6,054.23 968.68 12.50
(Dry Evergreen Forest)
ปา่ เบญจพรรณ 67.81 42,369.64 6,780.74 87.50
(Mixed Deciduous Forest)
รวม 77.49 48,433.87 7,749.42 100.00
หมายเหตุ : - การคํานวณพืน้ ทีป่ ่าไมข้ องชนิดป่าแต่ละชนิด ใช้สัดสว่ นของขอ้ มลู ท่พี บจากการสาํ รวจภาคสนาม
- รอ้ ยละของพนื้ ท่สี ํารวจ คํานวณจากขอ้ มลู แปลงทส่ี ํารวจพบ ซงึ่ มีพืน้ ทด่ี งั ตารางที่ 1
- ร้อยละของพนื้ ท่ที ้ังหมด คํานวณจากพ้ืนทีแ่ นบทา้ ยกฤษฎกี าของอทุ ยานแหง่ ชาตินาํ้ ตกสามหลั่น
ซึ่งมพี ืน้ ท่เี ทา่ กบั 77.49 ตารางกิโลเมตร หรือ 48,433.87 ไร่
ภาพท่ี 5 จาํ นวนรอ้ ยละของพน้ื ทป่ี า่ ไมจ้ าํ แนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ทด่ี นิ
ในอุทยานแห่งชาตินํ้าตกสามหล่นั
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้นื ท่ีอทุ ยานแห่งชาตนิ า้ํ ตกสามหลนั่
17
ภาพท่ี 6 ลักษณะทัว่ ไปของป่าดิบแลง้ ในพนื้ ที่อุทยานแห่งชาตนิ าํ้ ตกสามหลน่ั
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนที่อุทยานแหง่ ชาตินํา้ ตกสามหลน่ั
18
ภาพท่ี 7 ลกั ษณะทั่วไปของป่าเบญจพรรณพนื้ ทีอ่ ุทยานแหง่ ชาตนิ ้ําตกสามหลนั่
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พน้ื ท่อี ุทยานแห่งชาตนิ ้าํ ตกสามหลนั่
19
3. ปรมิ าณไม้
จากการวิเคราะหเ์ กีย่ วกับชนิดไม้ ปริมาณ ปริมาตร และความหนาแน่นของต้นไม้ในป่า โดยการ
สาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้ในแปลงตัวอย่างถาวร จํานวนทง้ั สิน้ 16 แปลง พบว่า มีชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์
ท่ดี ินทสี่ าํ รวจพบ 2 ประเภท ได้แก่ ปา่ ดบิ แลง้ และป่าเบญจพรรณ พบไมย้ ืนตน้ ที่มีความสูงมากกวา่ 1.30 เมตร
และมีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่าหรอื เทา่ กับ 15 เซนติเมตรขึ้นไป มีมากกว่า 103 ชนิด รวมทั้งหมด
5,264,762 ตน้ โดยจํานวนต้นในป่าแตล่ ะชนดิ แสดงดังภาพที่ 8 ปริมาตรไม้รวมทั้งหมด 724,648.68 ลูกบาศก์เมตร
โดยปริมาตรไม้ในป่าแต่ละชนิด แสดงดังภาพท่ี 9 มีความหนาแน่นของต้นไม้เฉล่ีย 109 ต้นต่อไร่ โดยความ
หนาแน่นไม้ในป่าแต่ละชนิด แสดงดังภาพที่ 10 ปริมาตรไม้ต่อหน่วยพื้นที่เฉลี่ย 14.96 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่
โดยปริมาตรไม้ต่อหน่วยพื้นที่ในป่าแต่ละชนิด แสดงดังภาพที่ 11 พบปริมาณไม้มากสุดในป่าเบญจพรรณ
จํานวน 4,586,687 ตน้ และป่าดบิ แล้ง พบจํานวน 678,074 ต้น สําหรับปริมาตรไม้พบมากสุดในป่าเบญจพรรณ
จาํ นวน 608,441.20 ลูกบาศก์เมตร และป่าดิบแล้ง จํานวน 116,207.48 ลูกบาศก์เมตร รายละเอียดแสดงดัง
ตารางที่ 3 และ 4 ตามลําดบั
ตารางท่ี 3 ความหนาแนน่ และปริมาตรไม้ตอ่ หน่วยพน้ื ท่ีจาํ แนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ทด่ี ิน
ในอุทยานแห่งชาตินา้ํ ตกสามหล่นั (Density and Volume per Area by Landuse Type)
ลักษณะการใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ ความหนาแน่น ปรมิ าตร
(Landuse Type) ตน้ /ไร่ ต้น/เฮกตาร์ ลบ.ม./ไร่ ลบ.ม./เฮกตาร์
ปา่ ดิบแลง้ 112 700 19.19 119.97
(Dry Evergreen Forest)
ป่าเบญจพรรณ 108 676 14.36 89.73
(Mixed Deciduous Forest)
เฉลย่ี 109 679 14.96 93.51
ตารางที่ 4 ปรมิ าณไมท้ งั้ หมดจาํ แนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ ในอุทยานแห่งชาตินาํ้ ตกสามหลน่ั
(Volume by Landuse Type)
ลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดิน ปรมิ าณไม้ทัง้ หมด
(Landuse Type) จาํ นวน (ตน้ ) ปรมิ าตร (ลบ.ม.)
ปา่ ดิบแล้ง 678,074 116,207.48
(Dry Evergreen Forest)
ปา่ เบญจพรรณ 4,586,687 608,441.20
(Mixed Deciduous Forest)
รวม 5,264,762 724,648.68
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พนื้ ท่อี ุทยานแห่งชาตนิ ้ําตกสามหล่ัน
20
ภาพท่ี 8 ปริมาณไมท้ งั้ หมดท่พี บในอุทยานแหง่ ชาตนิ าํ้ ตกสามหลนั่
ภาพท่ี 9 ปรมิ าตรไม้ทง้ั หมดท่พี บในอทุ ยานแห่งชาตนิ ้ําตกสามหลน่ั
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นทีอ่ ุทยานแห่งชาตนิ าํ้ ตกสามหลนั่
21
ภาพที่ 10 ความหนาแนน่ ตอ่ หน่วยพน้ื ท่ขี องต้นไม้ในอุทยานแหง่ ชาตนิ ํา้ ตกสามหลนั่
ภาพท่ี 11 ปริมาตรไม้ต่อหนว่ ยพน้ื ทใ่ี นอุทยานแห่งชาตนิ ้ําตกสามหลนั่
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ทีอ่ ุทยานแห่งชาตนิ าํ้ ตกสามหล่ัน
22
การกระจายขนาดความโต พบว่า ต้นไม้ที่มีขนาดความโต 15-45 เซนติเมตร มีจํานวนมากท่ีสุด
คอื 3,651,914 ต้น คิดเปน็ ร้อยละ 69.37 ของไมท้ ัง้ หมด แสดงดงั ตารางที่ 5 และภาพที่ 12
ตารางท่ี 5 การกระจายขนาดความโตของไม้ทั้งหมดในเขตอุทยานแห่งชาตนิ ํ้าตกสามหลัน่
ขนาดความโต (GBH) ปริมาณไมท้ ง้ั หมด (ตน้ ) รอ้ ยละ (%)
15 - 45 ซม. 3,651,914 69.37
>45 - 100 ซม. 1,394,895 26.49
>100 ซม. 217,952 4.14
รวม 5,264,762 100.00
ภาพท่ี 12 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ั้งหมดในอทุ ยานแห่งชาตนิ ้ําตกสามหล่ัน
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พน้ื ทอี่ ุทยานแห่งชาตินาํ้ ตกสามหลัน่
23
4. ชนิดพนั ธ์ไุ ม้
ชนดิ พันธ์ไุ มท้ ่ีสํารวจพบในภาคสนาม จาํ แนกโดยใช้เจา้ หนา้ ที่ผู้เช่ียวชาญทางด้านพันธ์ุไม้ ช่วยจําแนก
ชนดิ พนั ธ์ุไมท้ ีถ่ ูกต้อง และบางครง้ั จาํ เปน็ ต้องใช้ราษฎรในพืน้ ท่ี ซ่ึงมีความรู้ในชนิดพันธ์ุไม้ประจําถิ่นช่วยในการ
เก็บข้อมูลและเก็บตัวอย่างชนิดพันธุ์ไม้ และสาํ นักหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ชว่ ยจําแนกชื่อทางการและชอ่ื วทิ ยาศาสตรท์ ี่ถกู ตอ้ งอีกคร้ังหน่ึง โดยชนิดพันธุ์ไม้ท่ีพบท้ังหมดในพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติ
น้ําตกสามหล่นั มี 39 วงศ์ มากกว่า 103 ชนดิ มีปริมาณไม้รวม 5,264,762 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 724,648.68
ลูกบาศกเ์ มตร มีคา่ ความหนาแน่นเฉล่ีย 109 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 14.96 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ เมื่อเรียง
ลําดับชนิดไม้จากจํานวนต้นที่พบจากมากสุดไปหาไปน้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ โมกมัน (Wrightia arborea)
พลบั พลา (Microcos tomentosa) แคหางค่าง (Fernandoa adenophylla) ลาย (Microcos paniculata)
กระถิน (Leucaena leucocephala) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) ข่อย (Streblus asper) งิ้วป่า
(Bombax anceps) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) และ แคทราย (Stereospermum
neuranthum) ตามลําดับ แต่เม่ือเรียงลําดับตามปริมาตรจากมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก คือ ประดู่
งิ้วป่า โมกมัน ทองหลางป่า (Erythrina subumbrans) มะค่าโมง (Afzelia xylocarpa) แสมสาร (Senna
garrettiana) ตะแบกเปลอื กบาง ขีห้ นอน (Zollingeria dongnaiensis) พลับพลา และสม้ กบ (Hymenodictyon
orixense) ตามลําดบั รายละเอียดแสดงดงั ตารางท่ี 6
ในปา่ เบญจพรรณ มีปริมาณไม้รวม 4,586,687 ตน้ คิดเป็นปรมิ าตรไมร้ วม 608,441.20 ลูกบาศกเ์ มตร
มีค่าความหนาแนน่ เฉล่ีย 108 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 14.36 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาตรไม้
มากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ประดู่ โมกมัน งิ้วป่า ทองหลางป่า มะค่าโมง แสมสาร ข้ีหนอน ส้มกบ
ตะแบกเปลอื กบาง และพลับพลา รายละเอยี ดแสดงดงั ตารางที่ 7
ในป่าดิบแล้ง มปี รมิ าณไม้รวม 678,074 ต้น คดิ เป็นปริมาตรไม้รวม 116,207.48 ลูกบาศก์เมตร
มคี า่ ความหนาแนน่ เฉล่ีย 112 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 19.19 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาตรไม้
มากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ปอแดง (Sterculia guttata) ประดู่ เขลง (Dialium cochinchinense) ง้ิวป่า
แคหางค่าง สะแกแสง (Cananga brandisiana) สมอพิเภก (Terminalia bellirica) ท้ิงถ่อน (Albizia procera)
คาํ แสด (Mallotus philippensis) และตะแบกเปลือกบาง รายละเอียดแสดงดงั ตารางที่ 8
ชนดิ และปริมาณของกล้าไม้ทั้งหมด ที่พบในอุทยานแห่งชาตินํ้าตกสามหลั่น มีมากกว่า 67 ชนิด
รวมท้ังสนิ้ 520,179,764 ต้น มีความหนาแนน่ ของกล้าไม้ 10,740 ตน้ ต่อไร่ โดยมีกล้าไม้ของไม้ยืนต้นมากกว่า
43 ชนดิ มีจํานวน 267,354,962 ต้น มีความหนาแนน่ 5,520 ต้นตอ่ ไร่ ชนิดกล้าไม้ของไม้ยืนต้นที่มีปริมาณ
มากที่สุด 10 อันดบั แรก ไดแ้ ก่ พลบั พลา เสยี้ วใหญ่ (Bauhinia malabarica) ข่อย เข็มป่า (Ixora cibdela)
ปอแก่นเทา หัสคุณ (Micromelum minutum) โมกมนั แคหางค่าง พลองกินลูก (Memecylon ovatum)
และมะคา่ โมง ตามลาํ ดับ รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 9 และมกี ล้าไม้ชนิดอ่นื ๆ อีกมากกว่า 24 ชนิด มีจํานวน
252,824,801 ต้น มีความหนาแนน่ 5,220 ตน้ ต่อไร่ รายรายละเอียดแสดงดงั ตารางท่ี 10
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ท่อี ุทยานแห่งชาตนิ ้าํ ตกสามหลั่น
24
ชนิดและปริมาณของลูกไม้ทั้งหมด ท่ีพบในอุทยานแห่งชาตินํา้ ตกสามหลั่น มีมากกว่า 38 ชนิด
รวมท้ังสิ้น 18,404,871 ตน้ มีความหนาแนน่ ของลูกไม้ 380 ต้นตอ่ ไร่ โดยมีลูกไม้ของไม้ยืนต้นมากกว่า 34 ชนิด
มีจํานวน 16,951,855 ต้น มีความหนาแน่น 350 ต้นต่อไร่ ชนิดลูกไม้ของไม้ยืนต้นที่มีปริมาณมากที่สุด
10 อันดับแรก ได้แก่ พลบั พลา แคหางค่าง กระถิน พลองกนิ ลูก โมกมัน เสี้ยวใหญ่ ตะแบกเปลือกบาง ลําดวนดง
ข่อย และมะค่าโมง ตามลําดับ รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 11 และมีลูกไม้ชนิดอ่ืนๆ อีกมากกว่า 4 ชนิด มีจํานวน
1,453,016 ต้น มีความหนาแนน่ 30 ตน้ ต่อไร่ รายรายละเอียดแสดงดงั ตารางที่ 12
สาํ หรับไผ่ ในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติน้ําตกสามหล่ัน พบว่ามีไผ่อยู่ 3 ชนิด ได้แก่ ไผ่ซางดอย
(Dendrocalamus membranaceus) ไผ่รวก (Thyrsostachys siamensis) และซาง (Dendrocalamus
strictus) มีปรมิ าณไผจ่ าํ นวน 697,448 กอ รวมท้ังส้ิน 12,960,904 ลาํ รายละเอยี ดแสดงดังตารางที่ 13
ชนิดและปรมิ าณของตอไม้ ที่พบในอุทยานแห่งชาตนิ าํ้ ตกสามหล่ัน มีทัง้ หมด 4 ชนิด รวมท้ังส้ิน
38,747 ตอ มคี วามหนาแนน่ ของตอไม้ 0.80 ตอต่อไร่ รายละเอียดแสดงดงั ตารางท่ี 14
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทีอ่ ุทยานแหง่ ชาตนิ ํ้าตกสามหล่นั
25
ตารางท่ี 6 ปรมิ าณไมท้ งั้ หมดของอุทยานแห่งชาตินาํ้ ตกสามหลนั่ (30 ชนดิ แรกทีม่ ปี รมิ าตรไม้สงู สดุ )
ลาํ ดบั ชนดิ พนั ธ์ไุ ม้ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ความหนาแน่น ปรมิ าตร ปริมาณไม้ ปริมาตรไม้
(ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร่) (ต้น) (ลบ.ม.)
1 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 3.80 1.46 184,049 70,519.19
3.60 0.83 174,362 40,225.69
2 งวิ้ ปา่ Bombax anceps 10.70 0.72 518,242 35,035.10
0.70 0.71 33,904 34,191.53
3 โมกมนั Wrightia arborea 1.00 0.70 48,434 33,985.85
2.10 0.45 101,711 21,656.19
4 ทองหลางปา่ Erythrina subumbrans 2.50 0.43 121,085 20,869.60
2.40 0.42 116,241 20,187.51
5 มะคา่ โมง Afzelia xylocarpa 9.50 0.42 460,122 20,176.68
1.10 0.41 53,277 19,879.50
6 แสมสาร Senna garrettiana 2.10 0.38 101,711 18,171.32
1.00 0.36 48,434 17,279.30
7 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 4.40 0.33 213,109 15,896.64
2.40 0.26 116,241 12,595.89
8 ขห้ี นอน Zollingeria dongnaiensis 0.70 0.25 33,904 12,070.10
0.50 0.24 24,217 11,844.74
9 พลับพลา Microcos tomentosa 0.60 0.23 29,060 11,273.94
1.10 0.23 53,277 11,249.08
10 สม้ กบ Hymenodictyon orixense 4.80 0.20 232,483 9,822.12
1.60 0.20 77,494 9,512.82
11 เขลง Dialium cochinchinense 0.60 0.19 29,060 9,282.91
1.10 0.19 53,277 9,193.44
12 ปอแดง Sterculia guttata 0.60 0.19 29,060 9,124.83
0.10 0.18 4,843 8,479.68
13 กระถิน Leucaena leucocephala 0.70 0.16 33,904 7,822.05
0.20 0.16 9,687 7,533.13
14 แคทราย Stereospermum neuranthum 5.00 0.14 242,169 7,021.14
1.50 0.13 72,651 6,282.77
15 มะกอก Spondias pinnata 1.40 0.12 67,807 6,046.42
1.30 0.12 62,964 5,695.65
16 สตั บรรณ Alstonia scholaris 39.60 4.16 1,917,981 201,723.89
17 อะราง Peltophorum dasyrachis
18 ข้ีมอด Dalbergia lakhonensis
19 ลาย Microcos paniculata
20 กุ๊ก Lannea coromandelica
21 สะแกแสง Cananga brandisiana
22 ขี้อ้าย Terminalia triptera
23 สมอพเิ ภก Terminalia bellirica
24 แหนนา Terminalia glaucifolia
25 ตะครํ้า Garuga pinnata
26 ยมหนิ Chukrasia tabularis
27 แคหางคา่ ง Fernandoa adenophylla
28 เสี้ยวใหญ่ Bauhinia malabarica
29 มะฝอ่ Trewia nudiflora
30 สวอง Vitex limonifolia
31 อนื่ ๆ Others
รวม 109.00 14.96 5,264,762 724,648.68
หมายเหตุ : มชี นิดพนั ธ์ไุ ม้ทส่ี าํ รวจพบมากกว่า 103 ชนิด
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นท่อี ทุ ยานแหง่ ชาตนิ ้าํ ตกสามหลนั่
26
ตารางที่ 7 ปรมิ าณไมใ้ นปา่ เบญจพรรณของอทุ ยานแหง่ ชาตนิ าํ้ ตกสามหลัน่ (30 ชนิดแรกที่มปี รมิ าตรไม้สงู สุด)
ลาํ ดบั ชนดิ พันธุไ์ ม้ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ ความหนาแน่น ปรมิ าตร ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้
(ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร่) (ต้น) (ลบ.ม.)
1 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 4.00 169,519 54,070.82
3.77 1.28 159,832 35,514.90
2 งว้ิ ป่า Bombax anceps 11.31 0.84 479,495 34,484.16
0.80 0.81 33,904 34,191.53
3 โมกมนั Wrightia arborea 1.03 0.81 43,590 33,560.08
2.40 0.79 101,711 21,656.19
4 ทองหลางป่า Erythrina subumbrans 2.63 0.51 111,398 20,140.11
1.14 0.48 48,434 19,518.45
5 มะคา่ โมง Afzelia xylocarpa 2.29 0.46 96,868 19,453.13
9.83 0.46 416,531 19,000.23
6 แสมสาร Senna garrettiana 5.03 0.45 213,109 15,896.64
2.63 0.38 111,398 12,547.04
7 ข้หี นอน Zollingeria dongnaiensis 0.80 0.30 33,904 12,070.10
0.57 0.28 24,217 11,844.74
8 สม้ กบ Hymenodictyon orixense 0.69 0.28 29,060 11,273.94
1.26 0.27 53,277 11,249.08
9 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 5.49 0.27 232,483 9,822.12
1.83 0.23 77,494 9,512.82
10 พลบั พลา Microcos tomentosa 1.14 0.22 48,434 8,929.10
0.11 0.21 4,843 8,479.68
11 กระถนิ Leucaena leucocephala 0.80 0.20 33,904 7,822.05
0.23 0.18 9,687 7,533.13
12 แคทราย Stereospermum neuranthum 0.46 0.18 19,374 6,840.27
0.57 0.16 24,217 6,782.89
13 มะกอก Spondias pinnata 1.71 0.16 72,651 6,282.77
1.60 0.15 67,807 6,046.42
14 สตั บรรณ Alstonia scholaris 1.49 0.14 62,964 5,695.65
0.46 0.13 19,374 5,441.64
15 อะราง Peltophorum dasyrachis 1.71 0.13 72,651 5,368.37
1.49 0.13 62,964 5,022.32
16 ข้มี อด Dalbergia lakhonensis 38.97 0.12 142,390.85
108.00 3.36 1,651,595 608,441.20
17 ลาย Microcos paniculata 14.36 4,586,687
18 ก๊กุ Lannea coromandelica
19 ขอี้ า้ ย Terminalia triptera
20 แหนนา Terminalia glaucifolia
21 ตะคราํ้ Garuga pinnata
22 ยมหิน Chukrasia tabularis
23 สมอพิเภก Terminalia bellirica
24 สะแกแสง Cananga brandisiana
25 เสย้ี วใหญ่ Bauhinia malabarica
26 มะฝอ่ Trewia nudiflora
27 สวอง Vitex limonifolia
28 กาสามปกี Vitex peduncularis
29 หมเี หม็น Litsea glutinosa
30 เขลง Dialium cochinchinense
31 อนื่ ๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มีชนดิ พนั ธุไ์ ม้ทีส่ ํารวจพบมากกว่า 93 ชนดิ
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นที่อทุ ยานแหง่ ชาตินา้ํ ตกสามหลนั่
27
ตารางที่ 8 ปรมิ าณไมใ้ นปา่ ดิบแลง้ ของอทุ ยานแหง่ ชาตนิ ํ้าตกสามหล่ัน (30 ชนดิ แรกท่ีมีปรมิ าตรไม้สูงสุด)
ลําดับ ชนิดพนั ธ์ไุ ม้ ช่ือวทิ ยาศาสตร์ ความหนาแน่น ปรมิ าตร ปรมิ าณไม้ ปริมาตรไม้
(ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร่) (ต้น) (ลบ.ม.)
1 ปอแดง Sterculia guttata 8 48,434 17,279.30
2 2.85 14,530 16,448.38
2 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 6 2.72 38,747 13,148.99
2 2.17 14,530 4,710.79
3 เขลง Dialium cochinchinense 11 0.78 67,807 3,413.86
1 0.56 4,843 2,500.02
4 งิว้ ปา่ Bombax anceps 2 0.41 9,687 2,284.56
1 0.38 4,843 1,595.78
5 แคหางค่าง Fernandoa adenophylla 5 0.26 29,060 1,568.18
4 0.26 24,217 1,416.47
6 สะแกแสง Cananga brandisiana 4 0.23 24,217 1,382.18
4 0.23 24,217 1,241.58
7 สมอพเิ ภก Terminalia bellirica 7 0.21 43,590 1,176.45
2 0.19 9,687
8 ท้ิงถ่อน Albizia procera 2 0.14 9,687 847.12
2 0.10 9,687 603.08
9 คาํ แสด Mallotus philippensis 6 0.09 38,747 556.84
1 0.09 4,843 550.93
10 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 1 0.07 4,843 425.77
2 0.06 14,530 377.79
11 มะดูก Siphonodon celastrineus 1 0.06 4,843 375.78
1 0.06 4,843 361.05
12 โมกใหญ่ Holarrhena pubescens 2 0.06 9,687 336.76
1 0.05 4,843 320.57
13 พลับพลา Microcos tomentosa 2 0.04 14,530 264.34
1 0.03 4,843 189.71
14 ผ่าเสีย้ น Vitex canescens 1 0.03 4,843 159.69
2 0.03 14,530 155.88
15 สีเสยี ด Acacia catechu 2 0.02 9,687 122.42
2 0.02 9,687 114.56
16 ลาํ ดวนดง Mitrephora tomentosa 26 0.02 154,988 101.46
112 6.97 678,074 42,177.19
17 โมกมัน Wrightia arborea 19.19 116,207.48
18 มะคา่ โมง Afzelia xylocarpa
19 มะกกั Spondias bipinnata
20 มะเดือ่ ปล้อง Ficus hispida
21 ส้มกบ Hymenodictyon orixense
22 กําจดั ตน้ Zanthoxylum limonella
23 มะเกลอื Diospyros mollis
24 ขอี้ ้าย Terminalia triptera
25 ข่อย Streblus asper
26 กาสามปกี Vitex peduncularis
27 ตะโกพนม Diospyros castanea
28 มะหวด Lepisanthes rubiginosa
29 หสั คณุ Micromelum minutum
30 คา้ งคาว Aglaia edulis
31 อ่ืน Others
รวม
หมายเหตุ : มีชนิดพนั ธไ์ุ ม้ทสี่ าํ รวจพบมากกวา่ 39 ชนิด
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พนื้ ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาตนิ ํ้าตกสามหล่นั
28
ตารางที่ 9 ชนิดและปรมิ าณกลา้ ไม้ของไมย้ ืนต้น (Seedling) ทพ่ี บในอทุ ยานแหง่ ชาตินาํ้ ตกสามหล่นั
ลาํ ดับ ชนดิ พันธุ์ไม้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ความหนาแนน่ จาํ นวนทง้ั หมด
(ต้น/ไร)่ (ตน้ )
1 พลบั พลา Microcos tomentosa 660 31,966,354
620 30,028,999
2 เสยี้ วใหญ่ Bauhinia malabarica 480 23,248,258
320 15,498,838
3 ข่อย Streblus asper 220 10,655,451
220 10,655,451
4 เข็มป่า Ixora cibdela 200 9,686,774
180 8,718,097
5 ปอแกน่ เทา Grewia eriocarpa 140 6,780,742
120 5,812,064
6 หัสคณุ Micromelum minutum 120 5,812,064
100 4,843,387
7 โมกมัน Wrightia arborea 100 4,843,387
100 4,843,387
8 แคหางค่าง Fernandoa adenophylla 80 3,874,710
60 2,906,032
9 พลองกินลกู Memecylon ovatum 60 2,906,032
60 2,906,032
10 มะค่าโมง Afzelia xylocarpa 60 2,906,032
60 2,906,032
11 ลาํ ไยปา่ Paranephelium xestophyllum 60 2,906,032
60 2,906,032
12 งวิ้ Bombax ceiba 60 2,906,032
40 1,937,355
13 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 40 1,937,355
40 1,937,355
14 คอแลน Nephelium hypoleucum 40 1,937,355
40 1,937,355
15 คําแสด Mallotus philippensis 40 1,937,355
40 1,937,355
16 มะขามแป Archidendron clypearia 1,100 53,277,257
5,520
17 มะนาวผี Atalantia monophylla 267,354,962
18 เขลง Dialium cochinchinense
19 ลาย Microcos paniculata
20 ลําดวนดง Mitrephora tomentosa
21 ปออเี กง้ Pterocymbium tinctorium
22 มะเม่าสาย Antidesma sootepense
23 ตาเปด็ ตาไก่ Ardisia fulva var. ciliata
24 เปลา้ ใหญ่ Croton roxburghii
25 ปอฝ้าย Firmiana colorata
26 มะหวด Lepisanthes rubiginosa
27 มะกอก Spondias pinnata
28 แดง Xylia xylocarpa var. kerri
29 ปลาไหลเผอื ก Eurycoma longifolia
30 หมเี หมน็ Litsea glutinosa
31 อนื่ ๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มชี นิดพันธ์กุ ลา้ ไมท้ ี่สาํ รวจพบมากกว่า 43 ชนดิ
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาตินาํ้ ตกสามหลน่ั
29
ตารางที่ 10 ชนิดและปรมิ าณกลา้ ไม้ชนิดอน่ื ๆ ทพี่ บในอทุ ยานแหง่ ชาตนิ ้าํ ตกสามหลนั่
ลาํ ดับ ชนิดพันธไุ์ ม้ ชอื่ วิทยาศาสตร์ ความหนาแนน่ จาํ นวนทง้ั หมด
(ตน้ /ไร)่ (ต้น)
1 หญา้ คมบาง Rhynchospora corymbosa 1,560 75,556,837
2 อังกาบ Barleria cristata 900 43,590,483
3 วา่ นขันหมาก Aglaonema simplex 620 30,028,999
4 หญ้าไข่เหา Panicum incomtum 300 14,530,161
5 ปอปิด Helicteres isora 300 14,530,161
6 มะลิเถา Jasminum attenuatum 280 13,561,484
7 เถายา่ นาง Tiliacora triandra 160 7,749,419
8 ไผก่ ะแสนดํา Schizostachyum mekongensis 160 7,749,419
9 เครือเขานํ้า Tetrastigma leucostaphyllum 140 6,780,742
10 เส้ยี วเครอื Phanera glauca 140 6,780,742
11 คนทา Harrisonia perforata 120 5,812,064
12 เครือเขามวกขาว Parameria laevigata 80 3,874,710
13 หญา้ ขัด Sida rhombifolia 80 3,874,710
14 ซาง Dendrocalamus strictus 60 2,906,032
15 ไผไ่ ร่ Gigantochloa albociliata 40 1,937,355
16 ขยัน Lysiphyllum strychnifolia 40 1,937,355
17 เครือออน Congea tomentosa 40 1,937,355
18 กอมก้อห้วย Anisomeles indica 40 1,937,355
19 สาบเสือ Chromolaena odoratum 40 1,937,355
20 ลําดวน Melodorum fruticosum 40 1,937,355
21 เฟ่ืองฟ้า Bougainvillea spectabilis 20 968,677
22 เถาพันซ้าย Spatholobus parviflorus 20 968,677
23 พลับพลงึ Crinum asiaticum 20 968,677
24 สาบหมา Ageratina adenophora 20 968,677
252,824,801
รวม 5,220
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ท่ีอุทยานแห่งชาตนิ ้ําตกสามหลัน่
30
ตารางที่ 11 ชนิดและปรมิ าณลกู ไม้ของไมย้ นื ตน้ (Sapling) ท่พี บในอทุ ยานแหง่ ชาติน้ําตกสามหลัน่
ลําดับ ชนดิ พนั ธุ์ไม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ ความหนาแนน่ จํานวนทง้ั หมด
(ต้น/ไร่) (ตน้ )
1 พลบั พลา Microcos tomentosa 38 1,840,487
34 1,646,752
2 แคหางคา่ ง Fernandoa adenophylla 26 1,259,281
20 968,677
3 กระถนิ Leucaena leucocephala 18 871,810
16 774,942
4 พลองกินลกู Memecylon ovatum 16 774,942
14 678,074
5 โมกมนั Wrightia arborea 14 678,074
12 581,206
6 เสี้ยวใหญ่ Bauhinia malabarica 10 484,339
10 484,339
7 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 8 387,471
8 387,471
8 ลาํ ดวนดง Mitrephora tomentosa 8 387,471
8 387,471
9 ข่อย Streblus asper 6 290,603
6 290,603
10 มะคา่ โมง Afzelia xylocarpa 6 290,603
4 193,735
11 เขม็ ปา่ Ixora cibdela 4 193,735
4 193,735
12 มะหวด Lepisanthes rubiginosa 4 193,735
2 96,868
13 ตวิ้ ขน Cratoxylum formosum 2 96,868
2 96,868
14 คอแลน Nephelium hypoleucum 2 96,868
2 96,868
15 ตนี นก Vitex pinnata 2 96,868
8 387,471
16 แกว้ Murraya paniculata 36 1,743,619
350
17 ง้วิ Bombax ceiba 16,951,855
18 คําแสด Mallotus philippensis
19 มะดกู Siphonodon celastrineus
20 กางขม้ี อด Albizia odoratissima
21 มะเมา่ ดง Antidesma bunius
22 เปลา้ ใหญ่ Croton roxburghii
23 ปอแก่นเทา Grewia eriocarpa
24 คงคาเดือด Arfeuillea arborescens
25 ยางนา Dipterocarpus alatus
26 ปอฝ้าย Firmiana colorata
27 ลําไยปา่ Paranephelium xestophyllum
28 ปออีเกง้ Pterocymbium tinctorium
29 หัสคุณ Micromelum minutum
30 Diospyros sp. Diospyros sp.
31 อ่นื ๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มีชนดิ พันธลุ์ กู ไมท้ ี่สาํ รวจพบมากกวา่ 34 ชนดิ
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ที่อุทยานแห่งชาตินา้ํ ตกสามหลน่ั
31
ตารางที่ 12 ชนดิ และปริมาณลกู ไม้ชนดิ อืน่ ๆ ทพ่ี บในอทุ ยานแห่งชาตนิ ้าํ ตกสามหลน่ั
ลําดับ ชนดิ พันธ์ไุ ม้ ชือ่ วิทยาศาสตร์ ความหนาแน่น จาํ นวนทงั้ หมด
(ต้น)
(ต้น/ไร่) 678,074
290,603
1 คนทา Harrisonia perforata 14 290,603
193,735
2 กอมกอ้ หว้ ย Anisomeles indica 6 1,453,016
3 กล้วยปา่ Musa acuminata 6
4 ลาํ ดวน Melodorum fruticosum 4
รวม 30
ตารางที่ 13 ชนิดและปริมาณไผ่ หวาย และไมก้ อ ทพี่ บในอทุ ยานแห่งชาตนิ าํ้ ตกสามหลนั่
ลําดับ ชนิดพนั ธ์ุไม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ จาํ นวนทงั้ หมด
กอ ลาํ
1 ไผ่ซางดอย Dendrocalamus membranaceus 261,543 7,051,971
2 ซาง Dendrocalamus strictus 145,302 2,470,127
3 ไผร่ วก Thyrsostachys siamensis 290,603 3,438,805
รวม 697,448 12,960,904
ตารางท่ี 14 ชนิดและปรมิ าณของตอไม้ (Stump) ท่พี บในอุทยานแหง่ ชาตนิ ํ้าตกสามหลน่ั
ลาํ ดบั ชนิดพนั ธ์ุไม้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ความหนาแนน่ ปริมาณตอทั้งหมด
(ตอ/ไร)่ (ตอ)
1 สเี สียด Acacia catechu 0.20 9,687
2 ทง้ิ ถอ่ น Albizia procera 0.20 9,687
3 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 0.20 9,687
4 Unknown Unknown 0.20 9,687
รวม 0.80 38,747
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ที่อุทยานแห่งชาตนิ าํ้ ตกสามหลนั่
32
5. สงั คมพชื
จากผลการสาํ รวจเก็บและวเิ คราะห์ข้อมูลสังคมพชื ในอุทยานแห่งชาตินาํ้ ตกสามหลั่น พบวา่ มีสังคมพืช
3 ประเภท คือ ป่าดบิ แล้ง ปา่ เบญจพรรณ และพื้นทีว่ ่างเตรียมปลูก จากการวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช พบความ
หนาแน่นของพรรณพืช (Density) ความถี่ (Frequency) ความเด่น (Dominance) และดัชนีความสําคัญของ
พรรณไม้ (IVI) ดังนี้
ในพนื้ ท่ีป่าเบญจพรรณ มีชนดิ ไมท้ มี่ ีคา่ ดชั นีความสาํ คัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
โมกมัน พลับพลา ประดู่ งิ้วป่า กระถิน ลาย แคหางค่าง ข่อย แสมสาร และขี้หนอน ตามลําดับ รายละเอียด
แสดงดังในตารางท่ี 15
ในพื้นที่ป่าดิบแล้ง มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
ปอแดง เขลง ประดู่ แคหางคา่ ง พลบั พลา โมกมนั คําแสด ตะแบกเปลือกบาง งิ้วปา่ และมะดูก (Siphonodon
celastrineus) ตามลําดบั รายละเอยี ดแสดงดังในตารางท่ี 16
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนท่อี ุทยานแห่งชาตินา้ํ ตกสามหลั่น
ตารางที่ 15 ดชั นคี วามสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ เบญ
ลําดับ ชนดิ พันธุไ์ ม้ ชือ่ วิทยาศาสตร์ ความหนาแนน่ สัมพ
1 โมกมนั Wrightia arborea
2 พลับพลา Microcos tomentosa
3 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus
4 งิ้วป่า Bombax anceps
5 กระถิน Leucaena leucocephala
6 ลาย Microcos paniculata
7 แคหางค่าง Fernandoa adenophylla
8 ขอ่ ย Streblus asper
9 แสมสาร Senna garrettiana
10 ขห้ี นอน Zollingeria dongnaiensis
11 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana
12 ทองหลางปา่ Erythrina subumbrans
13 แคทราย Stereospermum neuranthum
14 มะค่าโมง Afzelia xylocarpa
15 กกุ๊ Lannea coromandelica
16 มะหวด Lepisanthes rubiginosa
17 ส้มกบ Hymenodictyon orixense
18 มะกอก Spondias pinnata
19 ลาํ ดวน Melodorum fruticosum
20 เขลง Dialium cochinchinense
21 อ่นื ๆ Others
รวม 10
ญจพรรณในอทุ ยานแหง่ ชาตนิ าํ้ ตกสามหลนั่ (20 อนั ดบั แรก)
พทั ธ์ ความถส่ี ัมพัทธ์ ความเดน่ สัมพัทธ์ ค่าดชั นคี วามสัมคญั
10.45 3.20 6.60 20.25
9.08 3.20 4.10 16.38
3.70 3.20 8.61 15.50
3.48 3.65 5.15 12.29
4.65 1.83 3.19 9.67
5.07 1.37 2.06 8.50
3.80 3.20 0.92 7.92
3.70 3.20 0.86 7.75
2.22 1.83 3.64 7.68
2.43 1.83 3.43 7.68
2.11 2.28 2.80 7.19
0.74 2.28 4.12 7.14
2.43 2.28 2.24 6.96
0.95 0.91 4.91 6.78
1.69 1.83 1.76 5.28
1.80 2.74 0.73 5.26
1.06 0.91 2.94 4.91
0.74 2.28 1.75 4.77
2.11 1.37 0.75 4.23
1.37 1.83 0.99 4.19
36.43 54.79 38.44 129.67
00.00 100.00 100.00 300.00
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
อุทยานแห่งชาตินาํ้ ตกสามหลนั่
ตารางท่ี 16 ดชั นคี วามสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ ดบิ
ลาํ ดับ ชนิดพนั ธไ์ุ ม้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ความหนาแน่นสัมพ
1 ปอแดง Sterculia guttata
2 เขลง Dialium cochinchinense
3 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus
4 แคหางคา่ ง Fernandoa adenophylla
5 พลับพลา Microcos tomentosa
6 โมกมัน Wrightia arborea
7 คาํ แสด Mallotus philippensis
8 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana
9 ง้วิ ป่า Bombax anceps
10 มะดูก Siphonodon celastrineus
11 โมกใหญ่ Holarrhena pubescens
12 ขอ่ ย Streblus asper
13 สมอพเิ ภก Terminalia bellirica
14 สะแกแสง Cananga brandisiana
15 มะเดือ่ ปลอ้ ง Ficus hispida
16 มะหวด Lepisanthes rubiginosa
17 ผ่าเสยี้ น Vitex canescens
18 ทิง้ ถอ่ น Albizia procera
19 สีเสยี ด Acacia catechu
20 ลําดวนดง Mitrephora tomentosa
21 อื่นๆ Others
รวม 10
บแลง้ ในอทุ ยานแหง่ ชาตนิ า้ํ ตกสามหลน่ั (20 อนั ดบั แรก)
พทั ธ์ ความถ่สี ัมพทั ธ์ ความเด่นสมั พัทธ์ ค่าดชั นีความสัมคญั
24.81
7.14 2.22 15.44 17.99
5.71 2.22 10.05 17.70
2.14 2.22 13.34 16.37
10.00 2.22 4.15 12.49
6.43 4.44 1.62 11.03
5.71 4.44 0.87 10.61
4.29 4.44 1.88 9.22
3.57 4.44 1.20 8.69
2.14 2.22 4.33 7.45
3.57 2.22 1.66 7.36
3.57 2.22 1.57 6.89
2.14 4.44 0.30 5.53
1.43 2.22 1.88 4.95
0.71 2.22 2.01 4.90
2.14 2.22 0.54 4.58
2.14 2.22 0.21 4.55
1.43 2.22 0.90 4.42
0.71 2.22 1.48 4.39
1.43 2.22 0.74 4.33
1.43 2.22 0.68 111.74
32.14 44.44 35.16 300.00
00.00 100.00 100.00
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
อทุ ยานแหง่ ชาติน้าํ ตกสามหลั่น
35
6. ความหลากหลายทางชีวภาพ
จากผลการสํารวจและวเิ คราะห์หาค่าดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ป่าเบญจพรรณมีค่า
ความหลากหลายของชนิดพนั ธ์ุ (Species Diversity) มากทีส่ ดุ คือ 3.75 พ้ืนทวี่ ่างเตรียมปลูกมีค่าความสม่ําเสมอ
ของชนิดพันธ์ุ (Species Evenness) มากท่ีสุด คือ 0.86 และป่าเบญจพรรณ มีค่าความมากมายของชนิดพันธุ์
(Species Richness) มากท่ีสุด คอื 13.24 รายละเอยี ดแสดงดังตารางที่ 17
ตารางท่ี 17 ความหลากหลายทางชีวภาพของชนิดพนั ธ์ไุ ม้ในอทุ ยานแหง่ ชาตนิ ํ้าตกสามหลน่ั
ลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ทด่ี ิน ความหลากหลายทางชวี ภาพ (Biodiversity)
(Landuse Type) ความหลากหลาย ความสมํ่าเสมอ ความมากมาย
(Diversity) (Evenness) (Richness)
ป่าเบญจพรรณ 3.78 0.83 13.37
(Mixed Deciduous Forest)
ป่าดิบแลง้ 3.23 0.88 7.47
(Dry Evergreen Forest)
อุทยานแห่งชาตินํา้ ตกสามหล่ัน 3.89 0.84 14.50
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
อทุ ยานแหง่ ชาตินํ้าตกสามหลัน่
36
สรปุ ผลการสาํ รวจและวเิ คราะห์ขอ้ มลู ทรพั ยากรป่าไม้
จากการวางแปลงตัวอย่างถาวร เพ่ือเก็บข้อมูลและสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ในพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติ
นํ้าตกสามหล่ัน ซึ่งมีเนื้อท่ี 48,433.87 ไร่ หรือประมาณ 77.49 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพ้ืนที่อําเภอแก่งคอย
อาํ เภอหนองแค อาํ เภอวิหารแดง และอําเภอเมือง จังหวัดสระบุรี ซ่ึงอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของสํานักบริหาร
พ้นื ทอี่ นรุ ักษ์ท่ี 1 (สาขาสระบุรี) จํานวนทั้งหมด 16 แปลง โดยการวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample
Plot) ที่มขี นาดคงท่ี รูปวงกลม 3 วง ซ้อนกนั คอื วงกลมรศั มี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลําดบั และมวี งกลม
ขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยตู่ ามทิศหลักท้งั 4 ทิศ โดยจุดศูนย์กลางของวงกลมทั้ง 4 ทิศ อยู่บนเส้นรอบวงกลม
ของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร และทําการเก็บขอ้ มูลการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ต่างๆ อาทิเช่น ชนิดไม้ ขนาดความโต
ความสูง จํานวนกล้าไม้และลูกไม้ ชนิดป่า ลักษณะต่างๆ ของพื้นที่ที่ต้นไม้ขึ้นอยู่ ข้อมูลลักษณะภูมิประเทศ เช่น
ระดบั ความสงู ความลาดชนั เป็นตน้ ตลอดจนการเก็บข้อมูลองค์ประกอบร่วมของป่า เช่น ไม้ไผ่ หวาย ไม้พุ่ม
ไมเ้ ถา เถาวัลย์ และพชื ช้ันล่าง แล้วนาํ ขอ้ มลู มาวเิ คราะหเ์ พื่อประเมนิ สถานภาพทรพั ยากรป่าไม้ ท้ังน้ีเพื่อให้ทราบ
เนือ้ ทีป่ า่ ไม้ ชนดิ ป่า ชนิดไม้ ปรมิ าณและความหนาแน่นของหมู่ไม้ กําลังผลิตของป่า ตลอดจนการสืบพันธุ์ตาม
ธรรมชาตขิ องไม้ โดยใช้โปรแกรมประมวลผลขอ้ มลู ระบบสารสนเทศการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ของส่วนสํารวจ
และวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพ้ืนท่ีอนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช
สรปุ ผลได้ดังน้ี
1. ลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ
พื้นที่ดําเนินการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ในพ้ืนที่อุทยานแห่งชาตินํ้าตกสามหลั่น ครอบคลุมพื้นท่ี รวม
48,433.87 ไร่ หรอื ประมาณ 77.49 ตารางกโิ ลเมตร พบชนิดป่าหรอื ลกั ษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินอยู่ 2 ประเภท
ได้แก่ ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง โดยป่าเบญจพรรณพบมากที่สุด มีเน้ือที่ 67.81 ตารางกิโลเมตร หรือ
คิดเป็นร้อยละ 87.50 ของพื้นท่ีท้ังหมด ป่าดิบแล้ง มีเนื้อที่ 9.69 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 12.50 ของ
พืน้ ที่ท้งั หมด
2. ชนดิ พนั ธแ์ุ ละปริมาณไมย้ ืนตน้ (Trees)
จากการวิเคราะหข์ ้อมูลเก่ียวกบั ชนิดไม้ ปริมาณ ปริมาตร และความหนาแน่นของต้นไม้ ในแปลง
ตวั อย่างถาวร พน้ื ทอี่ ุทยานแห่งชาตนิ ้ําตกสามหล่นั จาํ นวนทงั้ สิน้ 16 แปลง พบไมย้ นื ตน้ ที่มคี วามสูงมากกว่า 1.30
เมตร และมีเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่าหรือเท่ากับ 15 เซนติเมตรขึ้นไป มีจํานวนท้ังหมด 5,264,762 ต้น
โดยเปน็ ไม้ท่ีมีความโต 15-45 เซนตเิ มตร จํานวน 3,651,914 ต้น คิดเป็นร้อยละ 69.37 ของปริมาณไม้ท้ังหมด
ไม้ท่ีมีขนาดความโต 45-100 เซนติเมตร จํานวน 1,394,895 ต้น คิดเป็นร้อยละ 26.49 ของไม้ท้ังหมด และไม้
ท่มี ีขนาดความโตมากกว่า 100 เซนตเิ มตร จาํ นวน 217,952 ต้น คิดเป็นร้อยละ 4.14 ของไม้ทง้ั หมด
สาํ หรบั ชนิดพันธไ์ุ มท้ ่พี บในแปลงสาํ รวจ มี 39 วงศ์ มากกว่า 103 ชนิด เม่ือเรียงลําดับจากจํานวน
ต้นที่พบจากมากสุดไปหาไปน้อยสุด 10 อันดับแรก คือ โมกมัน พลับพลา แคหางค่าง ลาย กระถิน ประดู่
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
อุทยานแห่งชาติน้ําตกสามหลน่ั
37
งิว้ ปา่ ตะแบกเปลือกบาง และแคทราย ตามลําดับ แต่เม่ือเรียงลําดับตามปริมาตรจากมากสุดไปหาน้อยสุด 10
อันดับแรก คือ ประดู่ ง้วิ ปา่ โมกมนั ทองหลางปา่ มะคา่ โมง แสมสาร ตะแบกเปลือกบาง ข้หี นอน พลับพลา
และส้มกบ ตามลาํ ดบั
3. ชนิดพนั ธแุ์ ละปริมาณกลา้ ไม้ (Seedling) และลกู ไม้ (Sapling)
จากการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับกล้าไม้ (Seedling) และลูกไม้ (Sapling) ซึ่งเป็นกําลังการผลิตไม้
ที่สาํ คัญท่จี ะขึน้ มาทดแทนสังคมพืชไม้ยนื ต้นต่อไปในอนาคตรวมทุกชนิดป่าหรือทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดิน
ท่ไี ด้ทําการสาํ รวจ พบวา่ มชี นดิ ของกลา้ ไม้ (Seedling) มากกว่า มีมากกว่า 67 ชนิด รวมทัง้ สน้ิ 520,179,764 ต้น
โดยมกี ลา้ ไม้ของไม้ยืนตน้ มากกว่า 43 ชนิด มีจํานวน 267,354,962 ต้น ชนิดกล้าไม้ของไม้ยืนต้นที่มีปริมาณมาก
ที่สุด 10 อนั ดับแรก ไดแ้ ก่ พลบั พลา เส้ยี วใหญ่ ข่อย เขม็ ปา่ ปอแกน่ เทา หัสคณุ โมกมัน แคหางคา่ ง พลองกินลูก
และมะคา่ โมง ตามลําดบั โดยสํารวจพบจาํ นวนกลา้ ไมม้ ากท่ีสุดในป่าเบญจพรรณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับลูกไม้ (Sapling) ท่ีพบในแปลงสํารวจมีมากกว่า 38 ชนิด รวมท้ังสิ้น
18,404,871 ต้น โดยมลี กู ไมข้ องไม้ยืนต้นมากกวา่ 34 ชนิด มีจาํ นวน 16,951,855 ต้น ชนิดลูกไมข้ องไมย้ นื ตน้ ทม่ี ี
ปริมาณมากทสี่ ุด 10 อนั ดบั แรก ได้แก่ พลับพลา แคหางค่าง กระถิน พลองกินลูก โมกมัน เส้ียวใหญ่ ตะแบกเปลือกบาง
ลาํ ดวนดง ขอ่ ย และมะค่าโมง ตามลาํ ดับ โดยสํารวจพบจํานวนลูกไม้มากทส่ี ดุ ในป่าเบญจพรรณ
4. ชนดิ พนั ธแ์ุ ละปรมิ าณของไผ่ หวาย และไม้กอ
จากการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณของไผ่ในแต่ละชนิดและแต่ละกอรวมทุกชนิดป่า หรือทุก
ลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดิน พบไผ่ในแปลงสํารวจ จํานวน 3 ชนิด ได้แก่ ไผ่ซางดอย ไผ่รวก และซาง มีปริมาณไผ่
จาํ นวน 697,448 กอ รวมทงั้ สน้ิ 12,960,904 ลํา ซ่งึ พบได้ในปา่ เบญจพรรณ
ตอไม้ท่ีสํารวจพบ มีจํานวน 4 ชนิด รวมจํานวนทั้งส้ิน 38,747 ตอ มีค่าความหนาแน่นของตอไม้
เฉล่ยี 0.80 ตอต่อไร่
5. คา่ ดัชนคี วามสาํ คญั ทางนิเวศวิทยา
จากผลการสาํ รวจเกบ็ และวเิ คราะหข์ อ้ มลู สงั คมพืชในอุทยานแห่งชาติน้ําตกสามหล่นั พบว่ามีสังคมพืช
2 ประเภท คือ ป่าเบญจพรรณ และปา่ ดิบแลง้ และจากวเิ คราะห์ขอ้ มลู สังคมพืช สรปุ ไดด้ งั น้ี
ในพ้นื ทปี่ ่าเบญจพรรณ มีชนดิ ไมท้ ีม่ ีคา่ ดัชนคี วามสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
โมกมนั พลับพลา ประดู่ งวิ้ ปา่ กระถิน ลาย แคหางค่าง ข่อย แสมสาร และข้ีหนอน
ในพ้ืนที่ป่าดิบแล้ง มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
ปอแดง เขลง ประดู่ แคหางคา่ ง พลบั พลา โมกมัน คาํ แสด ตะแบกเปลอื กบาง ง้ิวปา่ และมะดูก
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
อุทยานแห่งชาตินํ้าตกสามหลัน่
38
6. ความหลากหลายทางชีวภาพ
ข้อมูลเก่ียวกับความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ค่าความหลากหลายของชนิดพันธุ์ไม้ (Species
Diversity) ป่าเบญจพรรณมคี ่าเท่ากบั 3.78 ปา่ ดิบแลง้ มีคา่ เทา่ กบั 3.23 ค่าความมากมายของชนิดพันธ์ุไม้ (Species
Richness) ป่าเบญจพรรณมีค่าเท่ากับ 13.37 ป่าดิบแล้งมีค่าเท่ากับ 7.47 และค่าความสม่ําเสมอของชนิดพันธ์ุไม้
(Species Evenness) ป่าเบญจพรรณมีคา่ เทา่ กบั 0.83 ป่าดบิ แล้งมีคา่ เท่ากับ 0.88
7. ขนาดความโตของต้นไม้
ผลการวิเคราะห์ข้อมลู โครงสร้างป่าในทกุ ชนดิ ป่าหรือทกุ ลกั ษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน พบว่ามีไม้ยืนต้น
ขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) ทค่ี วามโต 15-45 เซนตเิ มตร 3,651,914 ตน้ คดิ เป็นรอ้ ยละ 69.37 ของปริมาณ
ไมท้ ้ังหมด ไม้ทีม่ ขี นาดความโต 45-100 เซนตเิ มตร จํานวน 1,394,895 ตน้ คิดเป็นร้อยละ 26.49 ของไม้ท้ังหมด
และไม้ท่ีมีขนาดความโตมากกว่า 100 เซนติเมตร จํานวน 217,952 ต้น คิดเป็นร้อยละ 4.14 ของไม้ท้ังหมด
แสดงใหเ้ ห็นว่าสภาพพ้นื ท่ีจะมไี ม้ขนาดเลก็ ถึงปานกลางจํานวนมาก ไมข้ นาดใหญม่ จี าํ นวนนอ้ ย
8. ปจั จัยท่ีมผี ลกระทบต่อพนื้ ท่ปี า่
จากการสาํ รวจผลกระทบทีเ่ กิดขนึ้ ในแปลงตัวอยา่ ง พบว่า โดยรวมแล้วพื้นที่อุทยานแห่งชาติน้ําตก
สามหลั่น อยู่ในระดับเตือนภัย (Warning) เน่ืองจากโครงสร้างและองค์ประกอบบางส่วนของทรัพยากรป่าไม้
ถูกรบกวนทําให้การทําหน้าท่ีของระบบไม่สมบูรณ์ โดยในระหว่างการทางเดินเข้าแปลงสํารวจพบร่องรอยการ
บุกรุกของชาวบ้านในชุมชน มีการปลูกพืชทางการเกษตรและนําสัตว์เล้ียงไปเล้ียงในบริเวณป่า มีการลักลอบ
ล่าสัตว์ขนาดเล็ก และมรี ่องรอยของแมลงกัดกนิ พชื
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
อุทยานแห่งชาตินา้ํ ตกสามหลัน่
39
ปญั หาและอุปสรรค
ปญั หาและอปุ สรรคในการดาํ เนนิ งานท่ีพบ ได้แก่
1. มแี ปลงสาํ รวจบางแปลงเป็นแปลงสํารวจเก่า ท่ีได้เคยมีการทําการสํารวจแล้วในอดีต แต่ไม่ได้มี
การฝังหมุดกลางแปลง และไม่ได้ติดป้ายหมายเลขต้นไม้ ทําให้ใช้เวลาในการหาตําแหน่งจุดกลางแปลง
เพอ่ื ทีจ่ ะวางแปลงใหต้ รงกนั
2. มีฝนตกขณะทําการสํารวจ ทําให้เครื่องมือวัดระยะทั้งเครื่องยิงแสงและเครื่องยิงเสียงไม่
สามารถใชง้ านได้เต็มประสทิ ธิภาพ ทําให้เกิดความล่าช้าและอาจมคี วามคลาดเคลื่อน
3. ชาวบ้านในชุมชนรอบพ้ืนที่บางคน มีข้อพิพาทกับเจ้าหน้าที่ในการบุกรุกพ้ืนท่ีป่า และพบ
ร่องรอยการนั่งซุม่ เพือ่ ล่าสตั ว์ รวมถึงร่องรอยกระสุนปืน ทําให้เกิดความเส่ียงต่อการเข้าใจผิดและเผชิญหน้ากัน
ระหว่างการสาํ รวจ
ขอ้ เสนอแนะ
1. ในแต่ละทีมสํารวจ ควรมีเจ้าหน้าที่ท่ีชํานาญเส้นทางในพ้ืนท่ี และมีความรู้เร่ืองชนิดไม้เบ้ืองต้น
เพอ่ื ง่ายต่อการเดนิ ทางเขา้ แปลง และช่วยในการระบชุ นิดพันธุ์ไม้
2. ควรมีอุปกรณ์ในการวัดระยะท่ีสามารถใช้ได้ทุกสภาพอากาศ เพื่อความรวดเร็วและแม่นยํา
ในการทํางาน
3. ควรมีการทําความเข้าใจกับชาวบ้านในชุมชนรอบพ้ืนท่ีก่อน ถึงจุดประสงค์ของการมาทํางาน
ในแตล่ ะคร้ัง
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
อุทยานแห่งชาตินา้ํ ตกสามหลัน่
40
เอกสารอ้างอิง
กอ่ งกานดา ชยามฤต. 2541. คมู่ อื การจาํ แนกพรรณไม.้ ส่วนพฤกษศาสตร์ สํานกั วชิ าการป่าไม้ กรมปา่ ไม้,
กรุงเทพฯ. 235 น.
กรมป่าไม้ และองคก์ ารไมเ้ ขตร้อนระหว่างประเทศ (ITTO). 2544. คมู่ อื การเก็บขอ้ มูลด้านการสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
โครงการศกึ ษาเพ่อื จัดทาํ ระบบ ตดิ ตาม ตรวจสอบ การจดั การทรพั ยากรปา่ ไมแ้ บบยงั่ ยืน
สาํ หรบั ประเทศไทย, สํานักวชิ าการปา่ ไม้ กรมป่าไม,้ กรงุ เทพฯ. 44 น.
ชวลติ นิยมธรรม. 2545. ทรพั ยากรป่าไมข้ องประเทศไทย. สว่ นพฤกษศาสตร์ สาํ นกั วชิ าการป่าไม้
กรมป่าไม,้ กรงุ เทพฯ. 10 น.
สามารถ มุขสมบตั ิ และ ธญั นรินทร์ ณ นคร. 2538. การใช้ Spiegel Relaskop เพ่ือจดั สรา้ งตารางปริมาตรไม้
บรเิ วณป่าสาธิตเซคเตอร์แมแ่ ตง อําเภองาว จังหวดั ลําปาง, สํานักวิชาการป่าไม้ กรมปา่ ไม,้
กรงุ เทพฯ. 55 น.
วิชาญ ตราช.ู 2548. แนวทางการสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้ในพ้นื ที่ป่าอนรุ กั ษ.์ สว่ นวิเคราะหท์ รัพยากรป่าไม้
สาํ นกั วชิ าการปา่ ไม้ กรมป่าไม้, กรงุ เทพฯ. 95 น.
สว่ นพฤกษศาสตร์. 2544. ชื่อพรรณไมแ้ หง่ ประเทศไทย เตม็ สมิตนิ นั ท์ ฉบบั แก้ไขเพิม่ เติม สาํ นกั วชิ าการปา่ ไม้
กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ. 810 น.
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
อุทยานแห่งชาตินา้ํ ตกสามหลั่น
41
ภาคผนวก
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
อทุ ยานแห่งชาติน้าํ ตกสามหล่ัน