The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Eve_ Chantarat, 2020-11-22 23:39:55

เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาคอก-เขาหินดาด

รายงานการสำรวจทรัพยากรป่าไม้

รายงานการสาํ รวจและวิเคราะห์ข้อมลู ทรัพยากรป่าไม้
เขตหา้ มล่าสตั วป์ า่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด

กลุ่มสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้
สํานกั ฟน้ื ฟูและพัฒนาพ้นื ทอี่ นรุ ักษ์
กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ปา่ และพันธพุ์ ืช

รายงานการสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
เขตหา้ มล่าสตั ว์ป่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด

สว่ นสาํ รวจและวิเคราะหท์ รัพยากรป่าไม้ สํานักฟ้นื ฟูและพฒั นาพนื้ ทีอ่ นรุ กั ษ์
กรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ปา่ และพันธุพ์ ืช
พ.ศ. 2558

บทสรปุ สาํ หรับผูบ้ ริหาร

จากสถานการณป์ า่ ไม้ในปจั จุบันพบวา่ พืน้ ทป่ี ่าไม้ในประเทศเหลืออยู่เพียงประมาณร้อยละ 33.56
ของพนื้ ทีป่ ระเทศ การดําเนนิ การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไมจ้ ึงเปน็ อกี ทางหนงึ่ ท่ีทาํ ใหท้ ราบถงึ สถานภาพและศักยภาพ
ของทรพั ยากร เพอื่ นํามาใชใ้ นการดาํ เนินการตามภาระรับผิดชอบต่อไป ซึ่งกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช
ไดด้ ําเนินการมาอยา่ งต่อเนอื่ ง

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ได้จัดสรรงบประมาณ
การดําเนนิ งานและกาํ หนดจุดสํารวจเป้าหมายในพื้นท่เี ขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาคอก–เขาหินดาด ซึ่งมีเน้ือท่ี 14,718 ไร่
หรอื ประมาณ 23.55 ตารางกโิ ลเมตร ครอบคลมุ พน้ื ที่ตําบลหนิ ซ้อน ตาํ บลทา่ คล้อ ตาํ บลทา่ ตูม ตาํ บลทับกวาง
ตาํ บลชําผักแพว และตําบลท่ามะปราง อาํ เภอแก่งคอย จังหวดั สระบุรี ซ่ึงอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของสํานัก
บรหิ ารพ้ืนที่อนุรักษ์ท่ี 1 (สาขาสระบุรี) จํานวน 12 แปลง สําหรับการวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample
Plot) ท่ีมขี นาดคงที่ รูปวงกลม 3 วง ซ้อนกัน คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลําดับ และมีวงกลม
ขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยตู่ ามทิศหลกั ท้ัง 4 ทศิ

ผลการสํารวจและวิเคราะหข์ ้อมลู พบวา่ มีชนิดป่าหรอื ลกั ษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินท่ีสํารวจพบ
3 ประเภท ได้แก่ ป่าดบิ แล้ง ป่าเบญจพรรณ และพ้ืนท่วี า่ งเตรียมปลกู โดยปา่ เบญจพรรณพบมากทสี่ ุด คดิ เป็น
รอ้ ยละ 83.33 ของพน้ื ท่ีทง้ั หมด รองลงมา คือ ป่าดบิ แล้ง คิดเปน็ ร้อยละ 8.33 ของพื้นทท่ี ัง้ หมด สาํ หรับพรรณไม้
รวมทกุ ชนิดป่าพบท้งั สิน้ 36 วงศ์ มีมากกว่า 93 ชนดิ จํานวน 1,795,596 ต้น ปริมาตรไมร้ วมทงั้ หมด 232,580.19
ลกู บาศกเ์ มตร ปรมิ าตรเฉลี่ย 98.77 ลูกบาศก์เมตรต่อเฮกตาร์ และเฉล่ีย 15.80 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มีความ
หนาแนน่ ของต้นไม้เฉลย่ี 762.50 ตน้ ตอ่ เฮกตาร์ และเฉล่ยี 122 ตน้ ตอ่ ไร่ ซึ่งเมือ่ เรียงลําดับชนิดไม้จากจํานวนต้น
ท่ีพบจากมากสุดไปหาไปน้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ พลับพลา (Microcos tomentosa) ยูคาลิปตัส (Eucalyptus
camaldulensis) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) ง้ิวป่า (Bombax anceps) เขลง (Dialium cochinchinense)
ขอ่ ย (Streblus asper) ขีอ้ ้าย (Terminalia triptera) มะกอก (Spondias pinnata) ขอ่ ยหนาม (Streblus
ilicifolius) และมะกกั (Spondias bipinnata) ตามลําดับ แต่เมอื่ เรียงลําดบั ตามปริมาตรจากมากสดุ ไปหานอ้ ยสดุ
10 อันดบั แรก คือ สําโรง (Sterculia foetida) มะกอก ประดู่ ง้ิวป่า มะกัก ขี้อ้าย พลับพลา หมากเล็กหมากน้อย
(Vitex gamosepala) ยูคาลิปตัส และยมหิน (Chukrasia tabularis) ตามลําดับ โดยพบไม้ยืนต้นมากท่ีสุดใน
ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คอื ป่าดิบแล้ง

กล้าไม้ (Seedling) ที่พบในแปลงสํารวจ มีมากกว่า 48 ชนิด ซ่ึงเมื่อเรียงลําดับจากจํานวนต้นที่พบ
มากสดุ ไปหาน้อยสุด 10 อนั ดบั แรก คือ ข่อย (Streblus asper) โมกมัน (Wrightia arborea) ลําดวนดง (Mitrephora
tomentosa) ติ้วเกลี้ยง (Cratoxylum cochinchinense) หัสคุณ (Micromelum minutum) พลับพลา ง้ิวป่า
ลาย (Microcos paniculata) ประดู่ และพญามูลเหล็ก (Strychnos lucida) ตามลําดับ ป่าที่สํารวจพบจํานวน
กลา้ ไมม้ ากทีส่ ดุ คอื ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คอื ป่าดบิ แลง้

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนท่ีเขตหา้ มล่าสัตวป์ า่ เขาคอก-เขาหินดาด

ลูกไม้ (Sapling) ที่พบในแปลงสํารวจ มีมากกว่า 42 ชนิด ซ่ึงเม่ือเรียงลําดับจากจํานวนต้นท่ีพบ
มากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก คอื เสี้ยวใหญ่ (Bauhinia malabarica) ง้ิวป่า พลับพลา ประดู่ โมกมัน ยมหิน
หัสคุณ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) ตะคร้อ (Schleichera oleosa) และหมีเหม็น
(Litsea glutinosa) ตามลาํ ดับ ป่าทส่ี าํ รวจพบจาํ นวนกล้าไมม้ ากทส่ี ดุ คือ ปา่ เบญจพรรณ รองลงมา คือ ป่าดิบแลง้

ไผ่ท่ีสํารวจพบมีชนิดเดียว คือ ซาง (Dendrocalamus strictus) ซึ่งพบได้ในป่าเบญจพรรณ
ส่วนตอไม้ท่ีสํารวจพบมีลักษณะเป็นตอเก่า มีจํานวนทั้งสิ้น 3,925 ตอ มีความหนาแน่น 0.27 ตอต่อไร่ โดยพบ
ในป่าเบญจพรรณ

ส่วนผลการวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช พบว่า ชนิดไม้ที่มีความถี่ (Frequency) มากท่ีสุด คือ งิ้วป่า
รองลงมา คอื พลบั พลา ชนิดไม้ที่มีความหนาแน่น (Density) มากท่ีสุด คือ พลับพลา รองลงมา คือ ยูคาลิปตัส
ชนิดไม้ท่ีมีความเด่น (Dominance) มากที่สุด คือ สําโรง รองลงมา คือ มะกอก และชนิดไม้ท่ีมีค่าความสําคัญ
ทางนิเวศวิทยา (Importance Value Index : IVI) มากท่ีสุด คือ พลับพลา รองลงมา คือ ง้ิวป่า และข้อมูลเก่ียวกับ
ความหลากหลายทางชวี ภาพ พบว่า คา่ ความหลากหลายของชนิดพันธ์ไุ ม้ (Species Diversity) ป่าเบญจพรรณ
มีค่าเท่ากับ 3.75 ปา่ ดิบแลง้ มคี า่ เทา่ กับ 1.82 พ้ืนทีว่ ่างเตรยี มปลูกมีค่าเท่ากับ 0.94 ค่าความมากมายของชนิด
พันธ์ุไม้ (Species Richness) ปา่ เบญจพรรณมคี า่ เทา่ กับ 13.24 ป่าดิบแล้งมคี า่ เท่ากับ 2.52 พ้ืนท่ีว่างเตรียมปลูก
มคี ่าเทา่ กบั 0.87 และค่าความสมา่ํ เสมอของชนิดพันธุ์ไม้ (Species Evenness) พื้นท่ีว่างเตรียมปลูกมีค่าเท่ากับ
0.86 ป่าเบญจพรรณมีค่าเท่ากบั 0.83 ปา่ ดบิ แลง้ มคี า่ เท่ากบั 0.73

ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลโครงสร้างป่าในทกุ ชนิดปา่ หรอื ทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดิน พบว่ามีไม้ยืนต้น
ขนาดเสน้ รอบวงเพียงอก (GBH) ระหว่าง 15-45 เซนติเมตร จํานวน 1,281,447 ตน้ ไมท้ มี่ ขี นาดความโต 45-100
เซนตเิ มตร จํานวน 439,578 ต้น และไมท้ ี่มีขนาดความโตมากกว่า 100 เซนติเมตร จํานวน 74,571 ต้น รวม
จํานวนตน้ ไมท้ ้งั หมดเท่ากบั 1,795,596 ต้น

จากผลการดําเนินงานดังกล่าว ทําให้ทราบข้อมูลพื้นฐานเก่ียวกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้าน
กาํ ลังผลิตและความหลากหลายของพนั ธ์พุ ืชในพน้ื ทีต่ ่างๆ ของเขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาคอก-เขาหินดาด อีกทั้งยัง
เปน็ แนวทางในการสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้ เกยี่ วกบั รูปแบบ วิธีการสํารวจ และการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ
และแบบแผน เพ่ือเป็นแนวทางในการติดตามการเปล่ียนแปลงของทรัพยากรป่าไม้ ในพื้นท่ีเขตห้ามล่าสัตว์ป่า
เขาคอก-เขาหินดาด

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ที่เขตหา้ มล่าสัตว์ป่าเขาคอก-เขาหินดาด

สารบญั i

สารบญั หน้า
สารบัญตาราง i
สารบัญภาพ iii
คํานาํ iv
วัตถุประสงค์ 1
เป้าหมายการดาํ เนนิ การ 2
ข้อมูลทั่วไปเขตห้ามล่าสตั วป์ ่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด 2
3
ประวตั คิ วามเปน็ มา 3
การเดินทางและเส้นทางคมนาคม 3
ลักษณะทว่ั ไป 3
ลกั ษณะภูมอิ ากาศ 3
จุดเดน่ ทีน่ า่ สนใจ 4
รูปแบบและวธิ กี ารสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้ 5
การสุ่มตัวอย่าง (Sampling Design) 5
รูปรา่ งและขนาดของแปลงตัวอยา่ ง (Plot Design) 6
ขนาดของแปลงตวั อย่างและขอ้ มลู ทีท่ ําการสํารวจ 6
การวิเคราะหข์ ้อมลู การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้ 7
7
1. การคํานวณเน้ือที่ปา่ และปรมิ าณไม้ทัง้ หมดของแตล่ ะพื้นทอ่ี นรุ ักษ์ 7
2. การคํานวณปริมาตรไม้ 8
3. ข้อมลู ท่ัวไป 8
4. การวิเคราะห์ข้อมูลองคป์ ระกอบของหม่ไู ม้ 8
5. การวเิ คราะหข์ ้อมลู ชนิดและปริมาณของลูกไม้ (Sapling) และกลา้ ไม้ (Seedling) 9
9
6. การวิเคราะหข์ ้อมูลชนิดและปริมาณของไมไ้ ผ่ หวาย
7. การวิเคราะห์ขอ้ มลู สังคมพืช 10
8. วิเคราะห์ข้อมลู ความหลากหลายทางชวี ภาพ 12
ผลการสาํ รวจและวเิ คราะหข์ อ้ มูลทรพั ยากรปา่ ไม้ 12
1. การวางแปลงตวั อย่าง 13
2. พ้นื ท่ีปา่ ไม้ 18
3. ปริมาณไม้

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นท่เี ขตห้ามลา่ สตั ว์ปา่ เขาคอก-เขาหินดาด

สารบญั (ตอ่ ) ii

4. ชนดิ พันธไุ์ ม้ หนา้
5. สงั คมพชื 22
6. ความหลากหลายทางชีวภาพ 29
สรุปผลการสาํ รวจและวเิ คราะห์ข้อมลู ทรพั ยากรปา่ ไม้ 32
ปญั หาและอปุ สรรค 33
ข้อเสนอแนะ 36
เอกสารอา้ งองิ 36
ภาคผนวก 37
38

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ที่เขตหา้ มลา่ สตั ว์ป่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด

iii

สารบญั ตาราง

ตารางที่ หนา้

1 ขนาดของแปลงตัวอยา่ งและขอ้ มลู ทีท่ ําการสํารวจ 6

2 พน้ื ทป่ี า่ ไม้จําแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ ในเขตห้ามล่าสัตวป์ ่าเขาคอก-เขาหินดาด 13

(Area by Landuse Type)

3 ความหนาแน่นและปริมาตรไม้ต่อหน่วยพื้นท่ีจําแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขต 18

หา้ มลา่ สตั วป์ า่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด (Density and Volume per Area by Landuse Type)

4 ปริมาณไมท้ ัง้ หมดจําแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ทีด่ ินในเขตห้ามลา่ สตั ว์ป่า 18

เขาคอก-เขาหินดาด (Volume by Landuse Type)

5 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ั้งหมดในเขตห้ามล่าสัตวป์ ่าเขาคอก-เขาหินดาด 21

6 ปริมาณไมท้ ั้งหมดของเขตห้ามล่าสัตวป์ ่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด (30 ชนดิ แรกทมี่ ปี ริมาตรไม้สูงสุด) 24

7 ปริมาณไม้ในปา่ เบญจพรรณของเขตห้ามลา่ สัตว์ป่าเขาคอก-เขาหินดาด 25

(30 ชนิดแรกทม่ี ีปริมาตรไมส้ งู สดุ )

8 ปรมิ าณไม้ในปา่ ดิบแล้งของเขตห้ามล่าสัตว์ปา่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด 26

9 ปริมาณไม้ในพน้ื ท่ีว่างเตรียมปลกู ของเขตหา้ มลา่ สัตว์ปา่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด 26

10 ชนดิ และปริมาณของกล้าไม้ (Seedling) ทพี่ บในเขตห้ามลา่ สตั วป์ า่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด 27

11 ชนดิ และปริมาณของลูกไม้ (Sapling) ท่พี บในเขตหา้ มลา่ สตั วป์ ่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด 28

12 ดชั นีความสาํ คญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ เบญจพรรณ 30

ในเขตห้ามล่าสตั วป์ ่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด

13 ดชั นีความสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าดบิ แลง้ 31

ในเขตห้ามล่าสตั ว์ปา่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด

14 ดชั นคี วามสําคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของพนื้ ที่วา่ งเตรยี มปลูก 31

ในเขตหา้ มล่าสตั วป์ า่ เขาคอก-เขาหินดาด

15 ความหลากหลายทางชีวภาพของชนดิ พันธ์ุไม้ในเขตหา้ มล่าสตั วป์ ่าเขาคอก-เขาหินดาด 32

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนท่เี ขตห้ามล่าสัตวป์ ่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด

iv

สารบญั ภาพ หนา้
5
ภาพท่ี 12
1 ลกั ษณะและขนาดของแปลงตวั อย่าง 14
2 แผนทแ่ี สดงขอบเขตและลักษณะภูมิประเทศของเขตห้ามลา่ สัตวป์ ่าเขาคอก-เขาหินดาด 15
3 พื้นทีป่ ่าไมจ้ าํ แนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตหา้ มลา่ สัตวป์ า่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด 16
4 ลกั ษณะทวั่ ไปของป่าดิบแล้งในพน้ื ท่ีเขตห้ามลา่ สตั วป์ า่ เขาคอก-เขาหินดาด 17
5 ลกั ษณะทว่ั ไปของป่าเบญจพรรณพืน้ ที่เขตห้ามลา่ สตั ว์ป่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด 19
6 ลกั ษณะพืน้ ท่วี า่ งเตรยี มปลูกในเขตห้ามล่าสตั วป์ ่าเขาคอก-เขาหินดาด 19
7 ปริมาณไมท้ ้ังหมดทีพ่ บในเขตหา้ มล่าสตั วป์ ่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด 20
8 ปรมิ าตรไม้ทัง้ หมดท่ีพบในเขตหา้ มล่าสัตวป์ ่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด 20
9 ความหนาแน่นต่อหน่วยพื้นทีข่ องตน้ ไม้ในเขตหา้ มล่าสัตวป์ า่ เขาคอก-เขาหินดาด 21
10 ปรมิ าตรไมต้ ่อหน่วยพน้ื ที่ในเขตห้ามล่าสัตวป์ ่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด
11 การกระจายขนาดความโตของไม้ทง้ั หมดในเขตหา้ มลา่ สตั วป์ า่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ทเ่ี ขตห้ามลา่ สัตวป์ า่ เขาคอก-เขาหินดาด

1

คาํ นํา

ปจั จบุ นั ประเทศไทยมพี น้ื ทปี่ า่ ไม้เหลืออยปู่ ระมาณร้อยละ 33.56 ของพนื้ ทปี่ ระเทศ (ทม่ี า:หนงั สือ
ข้อมูลสถิติอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช, 2552) ซ่ึงพ้ืนที่ดังกล่าวส่วนใหญ่อยู่ในความรับผิดชอบของ
กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั วป์ า่ และพันธพ์ุ ืช ท่ีจะตอ้ งดําเนนิ การอนุรักษ์ สงวน และฟ้ืนฟูทรัพยากรป่าไม้ ให้สามารถ
ตอบสนองความต้องการของประชาชนในประเทศไดอ้ ย่างย่ังยืน จึงจําเป็นท่ีจะต้องทราบถึงสถานภาพและศักยภาพ
ของทรพั ยากร โดยเฉพาะทรัพยากรป่าไม้ รวมท้ังความหลากหลายทางชีวภาพที่มีอยู่ในพื้นท่ีป่าไม้ ตลอดจน
ปัจจัยทางเศรษฐกจิ และสังคมทมี่ ผี ลต่อการบกุ รุกทําลายป่า เพ่อื นํามาใชใ้ นการดาํ เนินการตามภาระรับผดิ ชอบ
ตอ่ ไป

ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพ้ืนที่อนุรักษ์ จึงได้ดําเนินการ
สํารวจพ้ืนท่ีป่าของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศ เพื่อรวบรวมเป็นฐานข้อมูลในการดําเนินงานในกิจกรรมที่มีความ
เกย่ี วข้องกับความหลากหลายทางชวี ภาพ รวมทง้ั ใช้ในการประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้
โดยมีรูปแบบและวธิ กี ารสาํ รวจแบบแปลงตวั อย่างถาวรรปู วงกลมรศั มี 17.84 เมตร และสุ่มตัวอย่างแบบสม่ําเสมอ
(Systematic Sampling) ในพน้ื ทภ่ี าพถา่ ยดาวเทียมท่ีมีการแปลสภาพว่าเปน็ ปา่ โดยใหแ้ ต่ละแปลงตวั อย่างมี
ระยะห่างเท่าๆ กัน บนเส้นกริดแผนที่ 2.5x2.5 กิโลเมตร เพื่อนําข้อมูลมาใช้ประกอบการพิจารณาในการ
ดําเนินการตามภาระรับผิดชอบต่อไป ดังน้ัน ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟื้นฟูและพัฒนา
พ้ืนท่ีอนุรักษ์ จึงดําเนินการสํารวจพื้นท่ีป่าอนุรักษ์ในเขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาคอก-เขาหินดาด เพื่อรวบรวมเป็น
ฐานข้อมูลในการดําเนินงานด้านทรัพยากรป่าไม้ในพ้ืนท่ีอนุรักษ์ รวมทั้งใช้ในการประเมินสถานภาพและศักยภาพ
ของทรัพยากรป่าไม้และทรัพยากรอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อนําไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการดําเนินการในภารกิจต่างๆ
ของกรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สัตว์ปา่ และพันธ์ุพชื ต่อไป

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนทีเ่ ขตหา้ มล่าสตั วป์ ่าเขาคอก-เขาหินดาด

2

วัตถปุ ระสงค์

1. เพื่อให้ทราบข้อมูลพ้ืนฐานเกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้านกําลังผลิต และความ
หลากหลายของพืชพนั ธุ์ในพื้นท่เี ขตห้ามล่าสัตวป์ า่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด

2. เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ เกี่ยวกับรูปแบบ วิธีการสํารวจ และการ
วิเคราะหข์ ้อมูลอย่างเปน็ ระบบและแบบแผน

3. เพ่ือเป็นแนวทางในการวางระบบตดิ ตามการเปลยี่ นแปลงของทรพั ยากรปา่ ไมใ้ นพืน้ ท่ี
4. เพ่ือให้ได้ข้อมูลพื้นฐานเก่ียวกับพรรณไม้เด่นและชนิดไม้มาใช้ในการวางแผนเพาะชํากล้าไม้
เพ่ือปลกู เสรมิ ปา่ ในแต่ละพน้ื ทอ่ี ุทยานแห่งชาติ

เปา้ หมายการดาํ เนนิ งาน

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟื้นฟูและพัฒนาพ้ืนท่ี
อนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้จัดสรรงบประมาณการดําเนินงานและกําหนดพ้ืนท่ี
สาํ รวจเป้าหมายในพืน้ ท่เี ขตหา้ มลา่ สตั ว์ป่าเขาคอก-เขาหินดาด ในท้องที่อําเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี จํานวน
12 แปลง

การสาํ รวจใช้การวางแปลงตวั อยา่ งถาวร (Permanent Sample Plot) ทมี่ ขี นาดคงที่ รูปวงกลม
3 วง ซ้อนกัน คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลําดับ และมีวงกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร
อยตู่ ามทิศหลักทัง้ 4 ทศิ โดยจุดศูนย์กลางของวงกลมท้ัง 4 ทิศ จะอยู่บนเส้นรอบวงกลมของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร
จํานวนทง้ั ส้ิน 33 แปลง และทําการเก็บขอ้ มลู การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้ต่างๆ อาทิ เช่น ชนิดไม้ ขนาดความโต
ความสูง จํานวนกลา้ ไมแ้ ละลูกไม้ ชนดิ ป่า ลกั ษณะต่างๆ ของพื้นท่ีท่ีต้นไม้ข้ึนอยู่ ข้อมูลลักษณะภูมิประเทศ เช่น
ระดบั ความสูง ความลาดชัน เป็นต้น ตลอดจนการเก็บข้อมูลองค์ประกอบร่วมของป่า เช่น ไม้ไผ่ หวาย ไม้พุ่ม
เถาวัลย์ และพชื ชัน้ ลา่ ง แลว้ นํามาวิเคราะห์และประมวลผลเพ่ือให้ทราบเน้อื ทีป่ า่ ไม้ ชนิดป่า ชนิดไม้ ปริมาณ
และความหนาแนน่ ของหมไู่ ม้ กาํ ลงั ผลิตของปา่ ตลอดจนการสืบพันธต์ุ ามธรรมชาติของหมไู่ มใ้ นป่านน้ั

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ทีเ่ ขตห้ามลา่ สตั วป์ า่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด

3

ข้อมลู ท่ัวไปเขตห้ามล่าสตั ว์ปา่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด

ประวตั ิความเปน็ มา
ปา่ มวกเหล็ก-ทบั กวาง แปลง 2 เป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ต้ังอยู่ในจังหวัดสระบุรี ที่เคยอุดมสมบูรณ์เต็ม

ไปดว้ ยไม้นานาชนิด ตอ่ มาได้ถูกบุกรุกและถูกใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ท้ังในด้านที่ถูกและผิดกฎหมาย ทําให้
ผืนปา่ ขนาดใหญ่ผืนนี้เป็นที่อยู่อาศัยและเป็นแหล่งอาหารของสัตว์ป่าขนาดใหญ่หลายชนิดในอดีต เช่น ช้างป่า
กระทงิ กวาง เกง้ นกนาํ้ ขนาดใหญ่ จระเข้น้ําจืด กระต่ายปา่ สัตว์ป่าขนาดกลางและเล็กถกู ทาํ ลายลง ทาํ ใหส้ ตั วป์ า่
ถูกจาํ กัดที่ สตั ว์ปา่ บางชนิดสญู พันธ์ไป บางชนิดยังคงมีชวี ิตอยู่ตามสภาพพ้ืนที่ป่านั้นยากต่อการดํารงชีวิต ซึ่งเป็น
สาเหตปุ า่ ลดจาํ นวนลงอย่างมาก ผืนป่าท่ีเหลืออยู่นี้เป็นท่ีรองรับนกอพพยพจากถิ่นอื่นท่ีเป็นพื้นที่กันชน (Buffer
Zone) ของอุทยานแหง่ ชาติเขาใหญ่

ป่าเขาคอก–เขาหินดาด จากการสํารวจจากเอกสารพบว่าหย่อมป่าน้ีเป็นภูเขาหินปูนเป็นท่ีอยู่อาศัย
ของสตั ว์ปา่ ถิ่นเดียว (Endemic sps) คือ หนูขนเส้ียนเขาหินปูน พบได้ที่อําเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี เท่านั้น
ในประเทศไทย นอกจากนี้ยังสํารวจพบสัตว์ป่าสงวน คือ เลียงผา และสัตว์ป่าอ่ืนๆ เช่น ลิงกัง กะบุด และนก
ท่ีหาดูได้ยาก เช่น นกจู๋เต้นเขาปูน ป่าเขาคอก (คชคีรี) เป็นภูเขาหินปูน เป็นหน้าผาสูงชันมีถ้ําที่เกิดจากหินปูน
มากมาย และมีกําแพงดนิ ก้นั เส้นทางเขา้ ออก สรา้ งเมือ่ สมัยรชั การที่ 4

ในปี พ.ศ. 2554 มปี ระกาศกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กําหนดพื้นที่ป่าเขาหินดาด
ป่าเขาคอก และป่าสงวนแห่งชาติป่ามวกเหล็ก และป่าทับกวางแปลงท่ี 2 ในท้องท่ี ตําบลหินซ้อน ตําบลท่าคล้อ
ตําบลท่าตมู ตาํ บลทบั กวาง ตาํ บลชาํ ผกั แพว และตําบลท่ามะปราง อาํ เภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ให้เป็น
เขตห้ามล่าสัตวป์ ่า

การเดนิ ทางและเส้นทางคมนาคม

การเดินทางใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 จากกรุงเทพฯ–สระบุรี เป็นระยะทาง 110 กิโลเมตร
จากจังหวัดสระบุรีใช้เส้นทางถนนมิตรภาพถึงเทศบาลตําบลทับกวาง อําเภอแก่งคอย ระยะทาง 20 กิโลเมตร
และใช้เส้นทางโปง่ กอ้ นเสา้ –เจ็ดคต ระยะทาง 9 กิโลเมตร รวมระยะทางจากกรุงเทพฯ ถึงสํานักงานเขตห้ามล่า
สตั ว์ปา่ เขาคอก–เขาหินดาด ประมาณ 139 กิโลเมตร

ลักษณะท่ัวไป

ลักษณะทางธรณีวิทยาในพืน้ ทีโ่ ดยท่ัวไปเป็นหนิ ปูน ปกคลมุ ไปดว้ ยสังคมพืชหลากหลายชนดิ มที ้ังปา่
ธรรมชาตดิ ้งั เดมิ ป่าดิบแล้ง ป่าเบญพรรณ ปา่ ไผ่ พ้นื ท่ปี า่ ปลกู เพื่อฟื้นฟสู ภาพป่าและพน้ื ท่ปี า่ ฟืน้ ตัวหลงั การบกุ รกุ

ลกั ษณะภูมิอากาศ

ลักษณะภูมอิ ากาศแบง่ เปน็ 3 ฤดู คือ ฤดูหนาว ฤดรู อ้ นและฤดฝู น โดยเปน็ ฤดูหนาวระหวา่ งเดอื น
พฤศจกิ ายน–กุมภาพันธ์ ฤดรู อ้ น ระหว่างเดือนมีนาคม–พฤษภาคม และฤดฝู น ระหว่างเดือนมิถนุ ายน–ตลุ าคม

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นทเี่ ขตหา้ มลา่ สัตว์ปา่ เขาคอก-เขาหินดาด

4

จุดเด่นทนี่ า่ สนใจ
เนื่องจากสภาพภูมปิ ระเทศของเขตห้ามลา่ สตั ว์ปา่ เขาคอก–เขาหินดาด เป็นภเู ขาหนิ ปูน เทอื กเขา

สลบั ซบั ซ้อน และสภาพสังคมพชื ท่ีแปลกตา มจี ดุ เดน่ ที่น่าสนใจ ดงั นี้
1. เขาหนิ ปูน ซง่ึ มีต้นจนั ทนผ์ าและปรงขึ้นอยเู่ ป็นจาํ นวนมาก
2. ถ้ํานิมติ มังกร (ถํา้ สะอาด) ถํ้าบักลอย และถํ้าสนั ตสิ ขุ มหี ินงอกหนิ ยอ้ ยที่สวยงาม
3. กาํ แพงดินที่ป่าเขาคอก สรา้ งเม่อื สมัยรัชกาลท่ี 4
4. ความโดนเด่นของเส้นทางและการศึกษาธรรมชาติ ตามเส้นทางธรรมชาติ ระยะทาง 2 กิโลเมตร

ระหว่างเส้นทางมีจุดเด่น คือ ต้นลําดวนป่าและบ่อนํ้าซับ มีนํ้าไหลซึมตลอดทั้งปี เพื่อใช้สูบข้ึนมาใช้อุปโภค
บรโิ ภคของพนักงานเจ้าหน้าท่ี

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นทีเ่ ขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด

5

รูปแบบและวธิ กี ารสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ในแต่ละจังหวัดท่ัวประเทศไทย ดําเนินการโดยกลุ่มสํารวจทรัพยากร
ป่าไม้ ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพ้ืนที่อนุรักษ์ และสํานักบริหารพื้นท่ี
อนรุ กั ษ์ตา่ งๆ ในสังกดั กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตว์ป่า และพนั ธุ์พชื
การสมุ่ ตวั อย่าง (Sampling Design)

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบสม่ําเสมอ (Systematic Sampling) ในพื้นที่ที่
ภาพถ่ายดาวเทียมแปลว่ามีสภาพเป็นป่า โดยให้แต่ละแปลงตัวอย่าง (Sample plot) มีระยะห่างเท่าๆ กัน
โดยกําหนดให้แต่ละแปลงตัวอย่างห่างกัน 2.5x2.5 กิโลเมตร เริ่มจากการสุ่มกําหนดแปลงตัวอย่างแรกบน
เส้นกริด แผนท่ี (Grid) ลงบนขอบเขตแผนท่ีประเทศไทยมาตราส่วน 1 : 50,000 ให้มีระยะห่างระหว่างเส้นกริด
ทั้งแนวตั้งและแนวนอนเท่ากับ 2.5x2.5 กิโลเมตร คือ ระยะช่องกริดในแผนท่ีเท่ากับ 10 ช่อง จุดตัดของเส้นกริด
ท้ังสองแนวก็จะเป็นตําแหน่งท่ีตั้งของแปลงตัวอย่างแต่ละแปลง เม่ือดําเนินการเสร็จสิ้นแล้วจะทราบจํานวน
หน่วยตัวอยา่ ง และตําแหนง่ ทต่ี ้ังของหน่วยตวั อยา่ ง โดยลกั ษณะของแปลงตัวอย่างดังภาพท่ี 1 และรูปแบบของ
การวางแปลงตัวอย่างแสดงดังภาพที่ 2 ตามลาํ ดับ

ภาพท่ี 1 ลกั ษณะและขนาดของแปลงตวั อย่าง

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนท่เี ขตหา้ มลา่ สตั วป์ า่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด

6

รูปร่างและขนาดของแปลงตวั อย่าง (Plot Design)

แปลงตัวอย่าง (Sample Plot) ที่ใช้ในการสํารวจมีทั้งแปลงตัวอย่างถาวรและแปลงตัวอย่าง
ช่ัวคราว เป็นแปลงท่ีมีขนาดคงท่ี (Fixed–Area Plot) และมรี ปู รา่ ง 2 ลกั ษณะดว้ ยกนั คือ

1. ลักษณะรปู วงกลม (Circular Plot)
1.1 รูปวงกลมท่ีมีจุดศูนย์กลางร่วมกัน รัศมีแตกต่างกัน จํานวน 3 วง คือ วงกลมรัศมี 3.99,

12.62 และ 17.84 เมตร ตามลําดับ
1.2 รูปวงกลมท่ีมีรัศมีเท่ากัน จุดศูนย์กลางต่างกัน จํานวน 4 วง รัศมี 0.631 เมตร เท่ากัน

โดยจดุ ศนู ยก์ ลางของวงกลมอยบู่ นเส้นรอบวงของวงกลมรศั มี 3.99 เมตร ตามทิศหลกั ท้ัง 4 ทิศ

2. ลักษณะแบบแนวเส้นตรง (Intersect Line) จํานวน 2 เส้น ความยาวเส้นละ 17.84 เมตร
โดยมีจุดเริ่มต้นร่วมกัน ณ จุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่างทํามุมฉากซึ่งกันและกัน ซ่ึงตัวมุม Azimuth ของเส้นท่ี 1
ไดจ้ ากการส่มุ ตัวอยา่ ง

ขนาดของแปลงตวั อย่างและข้อมลู ทีท่ าํ การสาํ รวจ

ขนาดของแปลงตัวอย่าง และขอ้ มูลที่ทาํ การสํารวจแสดงรายละเอียดไว้ในตารางท่ี 1

ตารางท่ี 1 ขนาดของแปลงตวั อยา่ งและขอ้ มูลทีท่ าํ การสาํ รวจ

รัศมขี องวงกลม หรือ จํานวน พนื้ ที่หรอื ความยาว ข้อมูลท่ีสาํ รวจ
ความยาว (เมตร)
กลา้ ไม้
0.631 4 วง 0.0005 เฮกตาร์ ลูกไม้และการปกคลุมพื้นที่ของกล้าไม้
และลกู ไม้
3.99 1 วง 0.0050 เฮกตาร์ ไมไ้ ผ่ หวายท่ยี งั ไม่เลอ้ื ย และตอไม้
ตน้ ไม้ และตรวจสอบปัจจยั ทรี่ บกวน
12.62 1 วง 0.0500 เฮกตาร์ พนื้ ท่ีปา่
17.84 1 วง 0.1000 เฮกตาร์ Coarse Woody Debris (CWD)
หวายเลื้อย และไมเ้ ถา ทีพ่ าดผ่าน
17.84 (เสน้ ตรง) 2 เสน้ 17.84 เมตร

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ทีเ่ ขตหา้ มล่าสัตว์ปา่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด

7

การวเิ คราะหข์ อ้ มูลการสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้

1. การคํานวณเนอื้ ทป่ี า่ และปรมิ าณไมท้ ้งั หมดของแต่ละพนื้ ท่อี นุรกั ษ์
1.1 ใชข้ อ้ มูลพ้ืนทีอ่ นรุ กั ษ์จากแผนที่แนบทา้ ยกฤษฎีกาของแตล่ ะพื้นท่ีอนรุ กั ษ์
1.2 ใช้สดั ส่วนจํานวนแปลงตัวอย่างที่พบในแต่ละชนิดป่า เปรียบเทียบกับจํานวนแปลงตัวอย่างที่

วางแปลงทัง้ หมดในแต่ละพน้ื ท่อี นุรกั ษ์ ทอ่ี าจจะไดข้ ้อมลู จากภาคสนาม หรือการดูจากภาพถ่ายดาวเทียมหรือ
ภาพถา่ ยทางอากาศ มาคํานวณเป็นเนื้อท่ปี ่าแต่ละชนดิ โดยนําแปลงตัวอยา่ งที่วางแผนไวม้ าคํานวณทุกแปลง

1.3 แปลงตัวอย่างท่ีไม่สามารถดําเนินการได้ ก็ต้องนํามาคํานวณด้วย โดยทําการประเมิน
ลักษณะพืน้ ท่วี ่าเปน็ หนา้ ผา น้ําตก หรอื พน้ื ทอ่ี ืน่ ๆ เพ่อื ประกอบลักษณะการใช้ประโยชน์ทีด่ นิ

1.4 ปริมาณไม้ทั้งหมดของพื้นที่อนุรักษ์ เป็นการคํานวณโดยใช้ข้อมูลเน้ืท่ีอนุรักษ์จากแผนที่แนบ
ท้ายกฤษฎีกาของแต่ละพื้นที่อนุรักษ์ ซ่ึงบางพื้นที่อนุรักษ์มีข้อมูลเน้ือท่ีคลาดเคล่ือนจากข้อเท็จจริงและส่งผล
ตอ่ การคํานวณปริมาณไมท้ ั้งหมด ทําให้การคาํ นวณปริมาณไมเ้ ป็นการประมาณเบื้องตน้
2. การคํานวณปรมิ าตรไม้

สมการปริมาตรไม้ทใ่ี ชใ้ นการประเมนิ การกักเก็บธาตุคาร์บอนในพ้ืนทีป่ า่ ไม้ แบบวิธี Volume
based approach โดยแบ่งกลุม่ ของชนิดไมเ้ ป็นจาํ นวน 7 กลมุ่ ดังน้ี

2.1 กลมุ่ ที่ 1 ไดแ้ ก่ ยาง เตง็ รัง เหียง พลวง กระบาก เคี่ยม ตะเคียน สยา ไข่เขยี ว พะยอม
จนั ทน์กะพอ้ สนสองใบ

สมการทีไ่ ด้ ln V = 2.372083 + 2.443847 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 188

2.2 กลมุ่ ที่ 2 ได้แก่ กระพ้ีจน่ั กระพีเ้ ขาควาย เกด็ ดํา เก็ดแดง เกด็ ขาว เถาวลั ยเ์ ปรยี ง พะยูง
ชงิ ชัน กระพี้ ถ่อน แดง ขะเจ๊าะ แคทราย แคฝอย และสกลุ มะเกลอื

สมการทีไ่ ด้ ln V = 2.134494 + 2.363034 ln (DBH/100)
R2 = 0.91, sample size = 135

2.3 กลมุ่ ที่ 3 ได้แก่ รกฟ้า สมอพิเภก สมอไทย หูกวาง หูกระจง ตีนนก ข้ีอา้ ย กระบก ตะคร้ํา
ตะคร้อ ตาเสือ คา้ งคาว สะเดา ยมหอม ยมหนิ กระท้อน เล่ียน มะฮอกกานี ขี้อ้าย ตะบูน ตะบัน รัก ตวิ้
สะแกแสง ปูเ่ จา้ และไมส้ กุลสา้ น เสลา อนิ ทนิล ตะแบก ชะมวง สารภี บุนนาค

สมการท่ีได้ ln V = 1.880578 + 2.053321 ln (DBH/100)
R2 = 0.89, sample size = 186

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ทีเ่ ขตหา้ มลา่ สัตว์ปา่ เขาคอก-เขาหินดาด

8

2.4 กลมุ่ ท่ี 4 ได้แก่ กางขมี้ อด คนู พฤกษ์ มะคา่ โมง นนทรี กระถินพมิ าน มะขามปา่ หลุมพอ
และสกลุ ข้ีเหลก็

สมการท่ีได้ ln V = 1.789563 + 2.025666 ln (DBH/100)
R2 = 0.90, sample size = 36

2.5 กลุ่มท่ี 5 ไดแ้ ก่ สกลุ ประดู่ เติม
สมการทีไ่ ด้ ln V = 2.037096 + 2.299618 ln (DBH/100)

R2 = 0.94, sample size = 99

2.6 กลมุ่ ที่ 6 ได้แก่ สกั ตีนนก ผ่าเสี้ยน หมากเลก็ หมากนอ้ ย ไข่เน่า กระจบั เขา กาสามปกี สวอง
สมการที่ได้ ln V = 2.119907 + 2.296511 ln (DBH/100)

R2 = 0.94, sample size = 186

2.7 กลมุ่ ท่ี 7 ได้แก่ ไมช้ นิดอื่นๆ เช่น กกุ๊ ขวา้ ว ง้วิ ปา่ ทองหลางป่า มะมว่ งปา่ ซอ้ โมกมนั
แสมสาร และไมใ้ นสกลุ ปอ กอ่ เปล้า เปน็ ต้น

สมการที่ได้ ln V = 2.250111 + 2.414209 ln (DBH/100)
R2 = 0.93, sample size = 138

โดยท่ี V คือ ปรมิ าตรสว่ นลาํ ตน้ เมอื่ ตัดโคน่ ท่คี วามสงู เหนอื ดิน (โคน) 10 เซนตเิ มตร
ถงึ ก่ิงแรกทท่ี ําเปน็ สนิ ค้าได้ มหี น่วยเปน็ ลกู บาศกเ์ มตร

DBH มีหนว่ ยเป็นเซนตเิ มตร
Ln = natural logarithm

3. ข้อมูลท่วั ไป
ขอ้ มูลทัว่ ไปทนี่ าํ ไปใช้ในการวเิ คราะห์ ไดแ้ ก่ ท่ีตั้ง ตาํ แหนง่ ช่วงเวลาท่ีเกบ็ ขอ้ มูล ผทู้ ท่ี าํ การเกบ็

ข้อมูล ความสงู จากระดบั นา้ํ ทะเล และลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ่ดี นิ เป็นต้น โดยขอ้ มูลเหล่านีจ้ ะใช้ประกอบใน
การวิเคราะห์ประเมินผลรว่ มกับข้อมูลดา้ นอน่ื ๆ เพ่ือติดตามความเปล่ยี นแปลงของพื้นท่ใี นการสาํ รวจทรัพยากร
ปา่ ไมค้ รัง้ ต่อไป
4. การวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหมู่ไม้

4.1 ความหนาแน่น
4.2 ปรมิ าตร
5. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ชนิดและปริมาณของลกู ไม้ (Sapling) และกล้าไม้ (Seedling)

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนทเี่ ขตห้ามล่าสตั ว์ป่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด

9

6. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ชนิดและปรมิ าณของไมไ้ ผ่ หวาย
6.1 ความหนาแน่นของไมไ้ ผ่ (จาํ นวนกอ และ จาํ นวนลํา)
6.2 ความหนาแน่นของหวายเสน้ ตง้ั (จํานวนตน้ )

7. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู สงั คมพชื

โดยมรี ายละเอียดการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ดงั น้ี

7.1 ความหนาแน่นของพรรณพืช (Density : D) คือ จํานวนต้นไม้ทั้งหมดของชนิดพันธุ์ที่ศึกษาที่
ปรากฏในแปลงตวั อย่างต่อหน่วยพน้ื ทีท่ ี่ทาํ การสํารวจ

D= จาํ นวนต้นของไม้ชนดิ น้นั ท้งั หมด
.

พน้ื ทีแ่ ปลงตัวอยา่ งทง้ั หมดท่ีทาํ การสาํ รวจ

7.2 ความถ่ี (Frequency : F) คือ อตั ราร้อยละของจาํ นวนแปลงตัวอย่างท่ีปรากฏพนั ธ์ุไม้
ชนิดน้นั ตอ่ จาํ นวนแปลงทท่ี ําการสาํ รวจ

F = จํานวนแปลงตัวอย่างท่พี บไม้ชนิดท่ีกําหนด X 100
จาํ นวนแปลงตัวอยา่ งท้ังหมดที่ทาํ การสาํ รวจ

7.3 ความเด่น (Dominance : Do) ใชค้ วามเดน่ ด้านพ้ืนทีห่ น้าตัด (Basal Area : BA)
หมายถึง พื้นทหี่ น้าตดั ของลาํ ต้นของต้นไมท้ ่วี ดั ระดบั อก (1.30 เมตร) ต่อพน้ื ท่ที ี่ทาํ การสาํ รวจ

Do = พื้นทีห่ นา้ ตัดทงั้ หมดของไมช้ นิดทกี่ ําหนด X 100
พื้นท่แี ปลงตวั อย่างท่ีทาํ การสาํ รวจ

7.4 ค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Relative Density : RD) คือ ค่าความสัมพัทธข์ องความ
หนาแนน่ ของไมท้ ี่ตอ้ งการต่อค่าความหนาแนน่ ของไมท้ ุกชนิดในแปลงตวั อยา่ ง คดิ เป็นร้อยละ

RD = ความหนาแนน่ ของไม้ชนดิ น้ัน X 100
ความหนาแน่นรวมของไม้ทกุ ชนดิ

7.5 คา่ ความถส่ี ัมพัทธ์ (Relative Frequency : RF) คือ ค่าความสมั พัทธ์ของความถ่ีของชนิดไม้ที่
ต้องการตอ่ ค่าความถท่ี ง้ั หมดของไมท้ กุ ชนิดในแปลงตัวอยา่ ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ

RF = ความถขี่ องไมช้ นดิ นั้น X 100
ความถร่ี วมของไมท้ กุ ชนิด

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนทีเ่ ขตหา้ มล่าสัตวป์ า่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด

10

7.6 ค่าความเด่นสัมพัทธ์ (Relative Dominance : RDo) คอื คา่ ความสมั พันธข์ องความเด่น
ในรปู พ้นื ทห่ี นา้ ตดั ของไม้ชนดิ ท่กี ําหนดต่อความเด่นรวมของไมท้ ุกชนดิ ในแปลงตัวอยา่ ง คดิ เปน็ ร้อยละ

RDo = ความเดน่ ของไมช้ นดิ น้นั X 100
ความเด่นรวมของไม้ทกุ ชนิด

7.7 ค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) คือ ผลรวมของค่า
ความสัมพทั ธ์ต่างๆ ของชนดิ ไมใ้ นสงั คม ไดแ้ ก่ ค่าความสัมพัทธด์ ้านความหนาแน่น คา่ ความสมั พัทธด์ า้ นความถี่
และค่าความสัมพทั ธด์ า้ นความเดน่

IVI = RD + RF + RDo

8. วิเคราะหข์ ้อมลู ความหลากหลายทางชีวภาพ

โดยทําการวเิ คราะหค์ า่ ต่างๆ ดังนี้

8.1 ความหลากหลายของชนิดพันธ์ุ (Species Diversity) วัดจากจํานวนชนิดพันธุ์ที่ปรากฏใน
สังคมและจํานวนต้นที่มีในแต่ละชนิดพันธุ์ โดยใช้ดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener Index of
diversity ตามวธิ กี ารของ Kreb (1972) ซง่ึ มีสูตรการคํานวณดังตอ่ ไปน้ี

s
H = ∑ (pi)(ln pi)

i=1
โดย H คอื ค่าดชั นคี วามหลากชนิดของชนดิ พันธุไ์ ม้

pi คือ สัดสว่ นระหวา่ งจาํ นวนต้นไมช้ นิดที่ i ต่อจาํ นวนตน้ ไมท้ ้ังหมด
S คือ จาํ นวนชนดิ พนั ธุ์ไมท้ ง้ั หมด

8.2 ความร่ํารวยของชนิดพนั ธ์ุ (Richness Indices) อาศัยความสัมพนั ธร์ ะหว่างจาํ นวนชนดิ กบั จํานวน
ตน้ ทัง้ หมดทท่ี าํ การสํารวจ ซ่งึ จะเพม่ิ ขนึ้ เมอ่ื เพ่มิ พ้ืนทแ่ี ปลงตวั อย่าง และดชั นีความรา่ํ รวย ทนี่ ิยมใช้กัน คอื วิธีของ
Margalef index และ Menhinick index (Margalef 1958, Menhinick 1964) โดยมีสูตรการคํานวณดงั นี้

1) Margalef index (R1)

R1 = (S-1)/ln(n)

2) Menhinick index (R2)

R2 = S/

เมือ่ S คือ จํานวนชนิดทั้งหมดในสังคม
n คือ จํานวนตน้ ทงั้ หมดทีส่ ํารวจพบ

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนทเ่ี ขตหา้ มล่าสตั วป์ า่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด

11

8.3 ความสมํ่าเสมอของชนิดพันธ์ุ (Evenness Indices) เป็นดัชนีที่ต้ังอยู่บนสมมติฐานที่ว่า ดัชนี
ความสมํา่ เสมอจะมคี ่ามากทส่ี ุดเมอ่ื ทุกชนดิ ในสงั คมมีจํานวนต้นเท่ากันทั้งหมด ซึ่งวิธีการที่นิยมใช้กันมากในหมู่
นักนเิ วศวทิ ยา คือ วิธขี อง Pielou (1975) ซ่งึ มสี ตู รการคาํ นวณดงั นี้

E = H/ ln(S) = ln (N1)/ln (N0)
เมอื่ H คือ คา่ ดชั นคี วามหลากหลายของ Shannon-Wiener

S คือ จํานวนชนดิ ทง้ั หมด (N0)
N1 คือ eH

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนทเ่ี ขตห้ามล่าสตั ว์ป่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด

12

ผลการสํารวจและวิเคราะห์ขอ้ มูลทรัพยากรปา่ ไม้

1. การวางแปลงตวั อย่าง
จากผลการดาํ เนินการวางแปลงสาํ รวจเพือ่ ประเมินสถานภาพและศกั ยภาพของทรัพยากรป่าไม้ใน

พ้นื ทเ่ี ขตห้ามลา่ สัตว์ปา่ เขาคอก-เขาหินดาด จํานวน 12 แปลง แสดงดังภาพที่ 2

ภาพท่ี 2 แผนทีแ่ สดงขอบเขตและจดุ สาํ รวจของเขตหา้ มล่าสัตว์ปา่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ที่เขตห้ามลา่ สัตว์ปา่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด

13

2. พน้ื ทปี่ า่ ไม้
จากการสํารวจ พบว่า มีพ้ืนท่ีป่าไม้จําแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินได้ 3 ประเภท ได้แก่

ปา่ ดบิ แล้ง ปา่ เบญจพรรณ และพ้ืนที่ว่างเตรียมปลูก โดยพบป่าเบญจพรรณมากสุด มีพื้นที่ 19.62 ตารางกิโลเมตร
(12,265.00 ไร)่ คิดเปน็ ร้อยละ 83.33 ของพื้นท่ีทั้งหมด รองลงมา คือ ป่าดิบแล้ง มีพ้ืนท่ี 1.96 ตารางกิโลเมตร
(1,226.50 ไร)่ คิดเปน็ ร้อยละ 8.33 ของพืน้ ทที่ ้ังหมด พ้ืนท่ีว่างเตรียมปลูกมีพ้ืนท่ี 1.96 ตารางกิโลเมตร (1,226.50 ไร่)
คิดเป็นรอ้ ยละ 8.33 ของพ้ืนที่ทั้งหมด รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 2 และภาพท่ี 3 โดยลักษณะทั่วไปของป่าดิบแล้ง
แสดงดงั ภาพท่ี 4 ลกั ษณะทัว่ ไปของปา่ เบญจพรรณแสดงดงั ภาพที่ 5 ลักษณะท่ัวไปของพืน้ ท่ีว่างเตรียมปลูกแสดง
ดงั ภาพท่ี 6

ตารางท่ี 2 พนื้ ทีป่ ่าไมจ้ ําแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ทดี่ นิ ในเขตหา้ มลา่ สตั ว์ป่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด

(Area by Landuse Type)

ลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ี่ดนิ พืน้ ท่ี ร้อยละ

(Landuse Type) ตร.กม. ไร่ เฮกตาร์ ของพนื้ ทท่ี ้ังหมด

ปา่ ดบิ แล้ง 1.96 1,226.50 196.24 8.33

(Dry Evergreen Forest)

ป่าเบญจพรรณ 19.62 12,265.00 1962.40 83.33

(Mixed Deciduous Forest)

พืน้ ทว่ี ่างเตรียมปลกู 1.96 1,226.50 196.24 8.33

(Preparatory Land for Fields Crops)

รวม 23.55 14,718.00 2,354.88 100.00

หมายเหตุ : - การคาํ นวณพน้ื ท่ปี า่ ไม้ของชนดิ ปา่ แตล่ ะชนดิ ใชส้ ดั สว่ นของข้อมูลท่ีพบจากการสาํ รวจภาคสนาม

- ร้อยละของพ้ืนทีส่ าํ รวจคาํ นวณจากขอ้ มูลแปลงที่สาํ รวจพบ ซง่ึ มีพืน้ ทดี่ งั ตารางท่ี 1

- รอ้ ยละของพื้นทที่ ้งั หมดคาํ นวณจากพ้ืนที่แนบทา้ ยกฤษฎีกาของเขตหา้ มลา่ สตั ว์ป่าเขาคอก-เขาหินดาด

ซึ่งมีพื้นทเ่ี ทา่ กบั 23.55 ตารางกิโลเมตร หรอื 14,718 ไร่

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ที่เขตห้ามลา่ สัตว์ป่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด

14

ภาพท่ี 3 พ้นื ท่ปี า่ ไมจ้ ําแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ ในเขตหา้ มลา่ สัตว์ปา่ เขาคอก-เขาหินดาด

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ทเี่ ขตหา้ มลา่ สตั ว์ปา่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด

15

ภาพท่ี 4 ลกั ษณะทว่ั ไปของป่าดิบแล้งในพื้นทเ่ี ขตหา้ มลา่ สัตวป์ ่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ท่เี ขตห้ามลา่ สตั ว์ป่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด

16

ภาพท่ี 5 ลกั ษณะท่ัวไปของปา่ เบญจพรรณพื้นทเี่ ขตห้ามลา่ สัตวป์ า่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นท่เี ขตหา้ มล่าสตั วป์ า่ เขาคอก-เขาหินดาด

17

ภาพที่ 6 ลักษณะพน้ื ทวี่ ่างเตรียมปลกู ในเขตหา้ มลา่ สัตว์ป่าเขาคอก-เขาหินดาด

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พนื้ ท่เี ขตหา้ มล่าสตั วป์ ่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด

18

3. ปริมาณไม้

จากการวิเคราะห์เก่ียวกับชนิดไม้ ปริมาณ ปริมาตร และความหนาแน่นของต้นไม้ในป่า โดยการ
สํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้ในแปลงตัวอย่างถาวร จาํ นวนท้ังสนิ้ 12 แปลง พบวา่ ชนดิ ป่าหรอื ลักษณะการใช้ประโยชน์
ทีด่ ินท่ีสาํ รวจพบทัง้ 3 ประเภท ได้แก่ ปา่ ดบิ แล้ง ป่าเบญจพรรณ และพ้ืนที่ว่างเตรียมปลูก พบไม้ยืนต้นที่มีความสูง
มากกว่า 1.30 เมตร และมีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่าหรือเท่ากับ 15 เซนติเมตรขึ้นไป มีมากกว่า
92 ชนิด รวมท้ังหมด 1,795,596 ต้น โดยจํานวนต้นในป่าแต่ละชนิดแสดงดังภาพที่ 7 ปริมาตรไม้รวมทั้งหมด
232,580.19 ลูกบาศก์เมตร โดยปริมาตรไม้ในป่าแต่ละชนิดแสดงดังภาพท่ี 8 มีความหนาแน่นของต้นไม้เฉลี่ย
122.00 ต้นต่อไร่ โดยความหนาแน่นไม้ในป่าแต่ละชนิดแสดงดังภาพที่ 9 ปริมาตรไม้ต่อหน่วยพ้ืนที่เฉลี่ย
15.80 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ โดยปริมาตรไม้ต่อหน่วยพื้นที่ในป่าแต่ละชนิดแสดงดังภาพท่ี 10 พบปริมาณไม้
มากสุดในป่าเบญจพรรณ จํานวน 1,620,942 ต้น รองลงมา คือป่าดิบแล้ง พบจํานวน 155,030 ต้น สําหรับ
ปริมาตรไม้พบมากสุดในป่าเบญจพรรณ จํานวน 212,927.33 ลูกบาศก์เมตร รองลงมา คือ ป่าดิบแล้ง จํานวน
18,614.79 ลกู บาศกเ์ มตร รายละเอยี ดแสดงดังตารางที่ 3 และ 4 ตามลําดับ

ตารางที่ 3 ความหนาแนน่ และปริมาตรไมต้ ่อหน่วยพนื้ ทจ่ี าํ แนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดนิ

ในเขตห้ามล่าสัตวป์ า่ เขาคอก-เขาหินดาด (Density and Volume per Area by Landuse Type)

ลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ ความหนาแน่น ปริมาตร

(Landuse Type) ตน้ /ไร่ ตน้ /เฮกตาร์ ลบ.ม./ไร่ ลบ.ม./เฮกตาร์

ป่าดิบแล้ง 126.40 790.00 15.18 94.86

(Dry Evergreen Forest)

ปา่ เบญจพรรณ 132.16 826.00 17.36 108.50

(Mixed Deciduous Forest)

พื้นท่ีว่างเตรียมปลกู 16.00 100.00 0.85 5.29

(Preparatory Land for Fields Crops)

เฉล่ยี 122.00 762.50 15.80 98.77

ตารางที่ 4 ปริมาณไม้ท้ังหมดจาํ แนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชน์ท่ดี นิ

ในเขตห้ามลา่ สตั วป์ ่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด (Volume by Landuse Type)

ลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี ิน ปริมาณไม้ท้งั หมด

(Landuse Type) จํานวน (ตน้ ) ปรมิ าตร (ลบ.ม.)

ปา่ ดบิ แลง้ 155,030 18,614.79

(Dry Evergreen Forest)

ปา่ เบญจพรรณ 1,620,942 212,927.33

(Mixed Deciduous Forest)

พื้นท่วี า่ งเตรยี มปลกู 19,624 1,038.08

(Preparatory Land for Fields Crops)

รวม 1,795,596 232,580.19

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นทีเ่ ขตห้ามลา่ สัตว์ปา่ เขาคอก-เขาหินดาด

19

ภาพที่ 7 ปรมิ าณไมท้ ั้งหมดท่พี บในเขตห้ามลา่ สตั วป์ า่ เขาคอก-เขาหินดาด

ภาพท่ี 8 ปรมิ าตรไม้ท้งั หมดที่พบในเขตห้ามลา่ สัตวป์ า่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนท่เี ขตหา้ มลา่ สัตว์ปา่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด

20

ภาพท่ี 9 ความหนาแนน่ ตอ่ หน่วยพนื้ ที่ของต้นไมใ้ นเขตหา้ มลา่ สตั วป์ า่ เขาคอก-เขาหินดาด

ภาพท่ี 10 ปริมาตรไม้ต่อหน่วยพน้ื ที่ในเขตห้ามลา่ สัตวป์ ่าเขาคอก-เขาหินดาด

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พนื้ ท่ีเขตห้ามลา่ สัตวป์ า่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด

21

การกระจายขนาดความโตพบว่าท่ีขนาดความโต 15-45 เซนติเมตร มีจํานวนมากท่ีสุด คือ
1,281,447 ตน้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 71.37 ของไมท้ ้งั หมด แสดงดงั ตารางท่ี 5 และภาพที่ 11

ตารางท่ี 5 การกระจายขนาดความโตของไม้ท้ังหมดในเขตห้ามลา่ สัตวป์ ่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด

ขนาดความโต (GBH) ปริมาณไม้ทง้ั หมด (ต้น) ร้อยละ (%)

15 - 45 เซนตเิ มตร 1,281,447 71.37

>45 - 100 เซนตเิ มตร 439,578 24.48

>100 เซนตเิ มตร 74,571 4.15

รวม 1,795,596 100.00

ภาพท่ี 11 การกระจายขนาดความโตของไม้ท้ังหมดในเขตห้ามลา่ สัตว์ป่าเขาคอก-เขาหินดาด

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นทเ่ี ขตหา้ มล่าสัตวป์ า่ เขาคอก-เขาหินดาด

22

4. ชนดิ พันธ์ุไม้

ชนิดพันธ์ุไม้ที่สํารวจพบในภาคสนาม จําแนกโดยใช้เจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญทางด้านพันธ์ุไม้ ช่วยจําแนก
ชนิดพันธ์ุไม้ท่ีถูกต้อง และบางคร้ังจําเป็นต้องใช้ราษฎรในพื้นท่ีซึ่งมีความรู้ในชนิดพันธ์ุไม้ประจําถ่ินช่วยในการ
เก็บขอ้ มูลและเกบ็ ตัวอย่างชนดิ พนั ธ์ุไม้ และสาํ นกั หอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตวป์ ่า และพันธ์ุพืช ช่วยจําแนก
ชื่อทางการและชื่อวิทยาศาสตร์ที่ถูกต้องอีกคร้ังหนึ่ง โดยชนิดพันธ์ุไม้ท่ีพบท้ังหมดในพื้นท่ีเขตห้ามล่าสัตว์ป่า
เขาคอก-เขาหินดาด มี 36 วงศ์ มากกว่า 93 ชนิด มีปริมาณไม้รวม 1,795,596 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 282,580.19
ลูกบาศก์เมตร มคี ่าความหนาแน่นเฉลยี่ 122 ตน้ ตอ่ ไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 15.80 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ เม่ือเรียงลําดับ
ชนิดไม้จากจํานวนตน้ ทพ่ี บจากมากสุดไปหาไปนอ้ ยสดุ 10 อนั ดบั แรก ไดแ้ ก่ พลับพลา (Microcos tomentosa)
ยูคาลิปตัส (Eucalyptus camaldulensis) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) งิ้วป่า (Bombax anceps)
เขลง (Dialium cochinchinense) ข่อย (Streblus asper) ข้ีอ้าย (Terminalia triptera) มะกอก (Spondias
pinnata) ข่อยหนาม (Streblus ilicifolius) และมะกัก (Spondias bipinnata) ตามลําดับ แต่เมื่อเรียงลําดับ
ตามปริมาตรจากมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก คือ สาํ โรง (Sterculia foetida) มะกอก ประดู่ งิ้วป่า
มะกัก ข้ีอ้าย พลับพลา หมากเล็กหมากน้อย (Vitex gamosepala) ยูคาลิปตัส และยมหิน (Chukrasia tabularis)
ตามลําดับ รายละเอยี ดแสดงดังตารางท่ี 6

ในปา่ เบญจพรรณ มีชนิดไม้มากกวา่ 88 ชนดิ มปี รมิ าณไม้รวม 1,620,942 ตน้ คดิ เป็นปริมาตรไม้รวม
212,927.33 ลูกบาศก์เมตร มคี ่าความหนาแนน่ เฉลยี่ 132 ต้นต่อไร่ มปี ริมาตรไม้เฉลย่ี 17.36 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่
ชนดิ ไม้ทมี่ ีปรมิ าตรไม้มากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ สําโรง ประดู่ ง้วิ ป่า มะกอก มะกัก ขี้อ้าย พลับพลา
หมากเลก็ หมากน้อย ยคู าลปิ ตสั และ ยมหิน รายละเอียดแสดงดังตารางท่ี 7

ในป่าดิบแล้ง มีชนิดไม้มากกว่า 12 ชนิด มีปริมาณไม้รวม 155,030 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม
18,614.79 ลกู บาศก์เมตร มีค่าความหนาแน่นเฉล่ีย 126 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉล่ีย 15.18 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่
ชนิดไม้ท่ีมีปริมาตรไม้มากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ คงคาเดือด (Arfeuillea arborescens) มะกอก ข่อย
(Streblus asper) ปอตู๊บหชู ้าง (Sterculia villosa) ทองหลางป่า (Erythrina subumbrans) กุ๊ก (Lannea
coromandelica) กําจัดต้น (Zanthoxylum limonella) ปอขี้แฮด (Miliusa lineata) มะค่าโมง (Afzelia
xylocarpa) และ Dalbergia sp. รายละเอียดแสดงดงั ตารางท่ี 8

ในพน้ื ที่วา่ งเตรยี มปลกู มีชนิดไม้มากกว่า 3 ชนิด มีปริมาณไม้รวม 19,624 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้
รวม 1,038.08 ลูกบาศก์เมตร มคี ่าความหนาแน่นเฉล่ีย 16 ต้นต่อไร่ มปี รมิ าตรไมเ้ ฉล่ยี 0.85 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่
ชนิดไม้ท่ีมีปริมาตรไม้มากที่สุด ได้แก่ ตะคร้ํา (Garuga pinnata) อินทนิลนํ้า (Lagerstroemia speciosa)
แคหางค่าง (Fernandoa adenophylla) รายละเอยี ดแสดงดังตารางท่ี 9

สาํ หรบั ไมไ้ ผ่ ในพ้นื ทเ่ี ขตหา้ มล่าสตั วป์ ่าเขาคอก-เขาหินดาด พบว่ามีไม้ไผ่อยู่ 1 ชนิด ได้แก่ ซาง
(Dendrocalamus strictus) มปี ริมาณไมไ้ ผจ่ ํานวน 3,925 กอ รวมท้ังสน้ิ 204,090 ลํา

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนท่ีเขตหา้ มลา่ สตั ว์ป่าเขาคอก-เขาหินดาด

23

ชนิดและปริมาณของกล้าไม้ท่ีพบในเขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาคอก-เขาหินดาด มีมากกว่า 48 ชนิด
รวมท้งั ส้นิ 166,804,000 ต้น มีความหนาแน่นของกล้าไม้ 11,333 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไม้ท่ีมีปริมาณมากท่ีสุด 10
อันดับแรก ได้แก่ ข่อย โมกมัน (Wrightia arborea) ลําดวนดง (Mitrephora tomentosa) ติ้วเกลี้ยง (Cratoxylum
cochinchinense) หสั คุณ (Micromelum minutum) พลบั พลา งิว้ ป่า ลาย (Microcos paniculata) ประดู่
และพญามูลเหล็ก (Strychnos lucida) ตามลําดับ รายละเอียดแสดงดงั ตารางที่ 10

ชนิดและปรมิ าณของลกู ไม้ท่พี บในเขตห้ามล่าสตั วป์ ่าเขาคอก-เขาหินดาด มีมากกว่า 57 ชนิด รวม
ทง้ั สิน้ 3,767,808 ตน้ มีความหนาแน่นของลูกไม้ 256 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไม้ที่มีปริมาณมากที่สุด 10 อันดับแรก
ไดแ้ ก่ เสีย้ วใหญ่ (Bauhinia malabarica) งิ้วป่า พลบั พลา ประดู่ โมกมนั ยมหิน หสั คุณ ตะแบกเปลือกบาง
(Lagerstroemia duperreana) ตะคร้อ (Schleichera oleosa) และหมีเหม็น (Litsea glutinosa) รายละเอียด
แสดงดงั ตารางที่ 11

ชนิดและปริมาณของตอไม้ท่ีพบในเขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาคอก-เขาหินดาด มี 1 ชนิด คือพลับพลา
รวมทงั้ ส้นิ 3,925 ตอ มคี วามหนาแน่นของตอไม้ 0.32 ตอตอ่ ไร่

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พนื้ ทเ่ี ขตห้ามลา่ สตั วป์ ่าเขาคอก-เขาหินดาด

24

ตารางท่ี 6 ปรมิ าณไม้ท้งั หมดของเขตห้ามลา่ สัตวป์ ่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด (30 ชนดิ แรกท่ีมีปริมาตรไม้สูงสุด)

ลําดบั ชนดิ พนั ธุ์ไม้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ทัง้ หมด ความหนาแน่น ปรมิ าตร

(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร่)

1 สําโรง Sterculia foetida 23,549 32,404.08 1.60 2.20

2 มะกอก Spondias pinnata 49,060 17,545.27 3.33 1.19

3 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 64,759 15,391.36 4.40 1.05

4 งิ้วปา่ Bombax anceps 62,797 13,016.88 4.27 0.88

5 มะกัก Spondias bipinnata 43,173 8,331.25 2.93 0.57

6 ข้ีอ้าย Terminalia triptera 52,985 7,732.58 3.60 0.53

7 พลับพลา Microcos tomentosa 282,586 7,626.54 19.20 0.52

8 หมากเลก็ หมากนอ้ ย Vitex gamosepala 35,323 7,132.87 2.40 0.48

9 ยคู าลิปตัส Eucalyptus camaldulensis 84,383 6,901.33 5.73 0.47

10 ยมหนิ Chukrasia tabularis 25,511 6,488.18 1.73 0.44

11 ปอตู๊บหูชา้ ง Sterculia villosa 15,699 5,873.87 1.07 0.40

12 คงคาเดอื ด Arfeuillea arborescens 21,586 5,728.52 1.47 0.39

13 เขลง Dialium cochinchinense 56,910 5,586.14 3.87 0.38

14 กระทุม่ โคก Mitragyna hirsuta 5,887 5,251.69 0.40 0.36

15 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 29,436 5,136.38 2.00 0.35

16 ลาย Microcos paniculata 31,398 4,352.13 2.13 0.30

17 ขอ่ ย Streblus asper 56,910 4,074.15 3.87 0.28

18 จันดํา Diospyros venosa 29,436 3,944.73 2.00 0.27

19 สมพง Tetrameles nudiflora 3,925 3,932.71 0.27 0.27

20 มะกอกเกล้ือน Canarium subulatum 23,549 3,760.76 1.60 0.26

21 มะกล่ําตน้ Adenanthera pavonina 3,925 3,235.51 0.27 0.22

22 ขอ่ ยหนาม Streblus ilicifolius 47,098 3,160.71 3.20 0.21

23 มะคา่ โมง Afzelia xylocarpa 11,774 2,871.00 0.80 0.20

24 มะสา้ น Dillenia aurea 7,850 2,870.10 0.53 0.20

25 ทิ้งถ่อน Albizia procera 5,887 2,618.17 0.40 0.18

26 กกุ๊ Lannea coromandelica 17,662 2,594.12 1.20 0.18

27 ปอแดง Sterculia guttata 3,925 2,499.03 0.27 0.17

28 โมกมัน Wrightia arborea 35,323 2,449.92 2.40 0.17

29 แคทราย Stereospermum neuranthum 25,511 1,967.28 1.73 0.13

30 ทองหลางป่า Erythrina subumbrans 15,699 1,967.03 1.07 0.13

31 อน่ื ๆ Others 622,081 36,135.92 42.27 2.46

รวม 1,795,596 232,580.19 122.00 15.80

หมายเหตุ : มชี นดิ พันธุ์ไม้ท่ีสาํ รวจพบมากกว่า 93 ชนดิ

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนที่เขตหา้ มลา่ สตั วป์ า่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด

25

ตารางที่ 7 ปริมาณไม้ในป่าเบญจพรรณของเขตหา้ มล่าสตั วป์ า่ เขาคอก-เขาหินดาด

(30 ชนิดแรกท่ีมีปรมิ าตรไม้สูงสดุ )

ลําดบั ชนดิ พนั ธุไ์ ม้ ชือ่ วิทยาศาสตร์ ปรมิ าณไมท้ งั้ หมด ความหนาแนน่ ปรมิ าตร
(ลบ.ม./ไร)่
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่
2.64
1 สาํ โรง Sterculia foetida 23,549 32,404.08 1.92 1.25
64,759 15,391.36 5.28 1.06
2 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 62,797 13,016.88 5.12 1.02
45,135 12,449.86 3.68 0.68
3 งิ้วปา่ Bombax anceps 43,173 8,331.25 3.52 0.63
52,985 7,732.58 4.32 0.62
4 มะกอก Spondias pinnata 282,586 7,626.54 23.04 0.58
35,323 7,132.87 2.88 0.56
5 มะกัก Spondias bipinnata 84,383 6,901.33 6.88 0.53
25,511 6,488.18 2.08 0.46
6 ข้อี า้ ย Terminalia triptera 56,910 5,586.14 4.64 0.43
5,887 5,251.69 0.48 0.42
7 พลบั พลา Microcos tomentosa 29,436 5,136.38 2.40 0.38
5,887 4,713.23 0.48 0.35
8 หมากเลก็ หมากน้อย Vitex gamosepala 31,398 4,352.13 2.56 0.32
29,436 3,944.73 2.40 0.32
9 ยคู าลิปตสั Eucalyptus camaldulensis 3,925 3,932.71 0.32 0.31
23,549 3,760.76 1.92 0.26
10 ยมหนิ Chukrasia tabularis 3,925 3,235.51 0.32 0.26
47,098 3,160.71 3.84 0.23
11 เขลง Dialium cochinchinense 7,850 2,870.10 0.64 0.23
9,812 2,804.63 0.80 0.21
12 กระทมุ่ โคก Mitragyna hirsuta 5,887 2,618.17 0.48 0.20
3,925 2,499.03 0.32 0.20
13 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 35,323 2,449.92 2.88 0.16
25,511 1,967.28 2.08 0.14
14 ปอตู๊บหูช้าง Sterculia villosa 15,699 1,741.09 1.28 0.13
27,474 1,650.12 2.24 0.12
15 ลาย Microcos paniculata 29,436 1,428.77 2.40 0.12
37,286 1,420.81 3.04 2.52
16 จนั ดาํ Diospyros venosa 465,089 30,928.53 37.92 17.36

17 สมพง Tetrameles nudiflora

18 มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum

19 มะกลํ่าต้น Adenanthera pavonina

20 ข่อยหนาม Streblus ilicifolius

21 มะสา้ น Dillenia aurea

22 มะค่าโมง Afzelia xylocarpa

23 ทงิ้ ถอ่ น Albizia procera

24 ปอแดง Sterculia guttata

25 โมกมนั Wrightia arborea

26 แคทราย Stereospermum neuranthum

27 กุ๊ก Lannea coromandelica

28 สีเสียด Acacia catechu

29 มะกา Bridelia ovata

30 เส้ียวใหญ่ Bauhinia malabarica

31 อ่นื ๆ Others

รวม 1,620,942 212,927.33 132.16

หมายเหตุ : มีชนิดพันธุไ์ ม้ที่สํารวจพบมากกว่า 88 ชนิด

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พน้ื ทเี่ ขตห้ามลา่ สัตว์ป่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด

26

ตารางท่ี 8 ปริมาณไม้ในปา่ ดิบแลง้ ของเขตหา้ มล่าสตั วป์ า่ เขาคอก-เขาหินดาด

ลําดบั ชนิดพันธไุ์ ม้ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไมท้ ้งั หมด ความหนาแน่น ปริมาตร
(ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร่)
(ต้น) (ลบ.ม.) 12.80
3.20 4.29
1 คงคาเดอื ด Arfeuillea arborescens 15,699 5,255.68 28.80 4.15
3,925 5,095.41 8.00 2.55
2 มะกอก Spondias pinnata 35,323 3,122.42 4.80 0.95
9,812 1,160.65 1.60 0.76
3 ขอ่ ย Streblus asper 5,887 1.60 0.70
1,962 928.18 1.60 0.26
4 ปอตบู๊ หูช้าง Sterculia villosa 1,962 853.04 1.60 0.21
1,962 319.19 51.20 0.05
5 ทองหลางป่า Erythrina subumbrans 1,962 253.58 6.40 1.05
62,797 66.37 4.80 0.13
6 กกุ๊ Lannea coromandelica 7,850 1,286.50 126.40 0.10
5,887 155.26 15.18
7 กาํ จัดตน้ Zanthoxylum limonella 155,030 118.50
18,614.79
8 ปอข้ีแฮด Miliusa lineata

9 มะคา่ โมง Afzelia xylocarpa

10 Dalbergia sp. Dalbergia sp.

11 F.STERCULIACEAE F.STERCULIACEAE

12 Unknown Unknown

รวม

ตารางที่ 9 ปรมิ าณไมใ้ นพนื้ ท่วี า่ งเตรยี มปลกู ของเขตหา้ มล่าสตั ว์ป่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด

ลําดบั ชนดิ พันธุ์ไม้ ช่ือวิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ทง้ั หมด ความหนาแน่น ปรมิ าตร
(ลบ.ม./ไร)่
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่
0.71
1 ตะครํา้ Garuga pinnata 9,812 870.52 8.00 0.11
2 อินทนลิ นํา้ Lagerstroemia speciosa 7,850 137.87 6.40 0.02
3 แคหางค่าง Fernandoa adenophylla 1,962 29.69 1.60 0.85

รวม 19,624 1,038.08 16.00

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พนื้ ทีเ่ ขตหา้ มลา่ สตั วป์ า่ เขาคอก-เขาหินดาด

27

ตารางท่ี 10 ชนิดและปรมิ าณของกล้าไม้ (Seedling) ทพ่ี บในเขตห้ามล่าสตั ว์ปา่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด

ลาํ ดับ ชนิดพนั ธไุ์ ม้ ชือ่ วิทยาศาสตร์ ความหนาแน่น ปรมิ าณไม้

(ตน้ /ไร)่ (ตน้ )

1 ข่อย Streblus asper 533.33 7,849,600
2 โมกมัน Wrightia arborea 533.33 7,849,600
3 ลําดวนดง Mitrephora tomentosa 373.33 5,494,720
4 ต้ิวเกล้ียง Cratoxylum cochinchinense 346.67 5,102,240

5 หสั คณุ Micromelum minutum 320.00 4,709,760
6 พลบั พลา Microcos tomentosa 266.67 3,924,800
7 งิว้ ป่า Bombax anceps 240.00 3,532,320
8 ลาย Microcos paniculata 213.33 3,139,840
9 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 213.33 3,139,840

10 พญามูลเหล็ก Strychnos lucida 186.67 2,747,360
11 เขลง Dialium cochinchinense 160.00 2,354,880

12 เข็มปา่ Ixora cibdela 133.33 1,962,400
13 เสีย้ วใหญ่ Bauhinia malabarica 133.33 1,962,400
14 ปอแก่นเทา Grewia eriocarpa 106.67 1,569,920
15 ตะครอ้ Schleichera oleosa 106.67 1,569,920
16 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 80.00 1,177,440

17 แคทราย Stereospermum neuranthum 80.00 1,177,440
18 หมีเหม็น Litsea glutinosa 80.00 1,177,440
19 ยมหิน Chukrasia tabularis 53.33 784,960
20 ตว้ิ ขน Cratoxylum formosum 53.33 784,960
21 แคหางคา่ ง Fernandoa adenophylla 53.33 784,960

22 โกงกางหชู ้าง Guettarda speciosa 53.33 784,960
23 มะเมา่ สาย Antidesma sootepense 53.33 784,960

24 มะมว่ งหวั แมงวนั Buchanania lanzan 26.67 392,480
25 สะแกแสง Cananga brandisiana 26.67 392,480
26 มันปลา Glochidion sphaerogynum 26.67 392,480
27 ขว้าว Haldina cordifolia 26.67 392,480
28 ส้มกบ Hymenodictyon orixense 26.67 392,480

29 เสลาเปลอื กบาง Lagerstroemia venusta 26.67 392,480
30 Antidesma sp. Antidesma sp. 26.67 392,480
31 อ่นื ๆ Others 6,773.33 99,689,920

รวม 11,333 166,804,000

หมายเหตุ : มชี นิดพันธุก์ ลา้ ไม้ท่ีสํารวจพบมากกวา่ 48 ชนิด

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ทเ่ี ขตหา้ มล่าสตั ว์ป่าเขาคอก-เขาหินดาด

28

ตารางท่ี 11 ชนดิ และปริมาณของลูกไม้ (Sapling) ท่พี บในเขตห้ามลา่ สัตว์ปา่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด

ลาํ ดบั ชนิดพันธุ์ไม้ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ความหนาแน่น ปรมิ าณไม้

1 เสย้ี วใหญ่ Bauhinia malabarica (ต้น/ไร่) (ต้น)
16.00 235,488
2 งว้ิ ปา่ Bombax anceps 16.00 235,488
13.33 196,240
3 พลับพลา Microcos tomentosa 13.33 196,240
10.67 156,992
4 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 8.00 117,744
8.00 117,744
5 โมกมัน Wrightia arborea 5.33 78,496
5.33 78,496
6 ยมหนิ Chukrasia tabularis 5.33 78,496
2.67 39,248
7 หัสคุณ Micromelum minutum 2.67 39,248
2.67 39,248
8 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 2.67 39,248
2.67 39,248
9 ตะคร้อ Schleichera oleosa 2.67 39,248
2.67 39,248
10 หมีเหม็น Litsea glutinosa 2.67 39,248
2.67 39,248
11 มะเม่าดง Antidesma bunius 2.67 39,248
2.67 39,248
12 มะมว่ งหัวแมงวนั Buchanania lanzan 2.67 39,248
2.67 39,248
13 สะแกแสง Cananga brandisiana 2.67 39,248
2.67 39,248
14 พุงแก Capparis siamensis 2.67 39,248
2.67 39,248
15 ต้ิวเกล้ียง Cratoxylum cochinchinense 2.67 39,248
2.67 39,248
16 ต้ิวขน Cratoxylum formosum 2.67 39,248
101.33
17 เขลง Dialium cochinchinense 256.00 1,491,424
3,767,808
18 แคหางคา่ ง Fernandoa adenophylla

19 ตะครํา้ Garuga pinnata

20 มนั ปลา Glochidion sphaerogynum

21 ปอแกน่ เทา Grewia eriocarpa

22 ลาย Microcos paniculata

23 โกงกางหชู า้ ง Guettarda speciosa

24 ขวา้ ว Haldina cordifolia

25 สม้ กบ Hymenodictyon orixense

26 เขม็ ปา่ Ixora cibdela

27 ตะแบกเกรยี บ Lagerstroemia balansae

28 เสลาเปลอื กบาง Lagerstroemia venusta

29 ลาํ ดวนดง Mitrephora tomentosa

30 กะเจียน Polyalthia cerasoides

31 อ่นื ๆ Others

รวม

หมายเหตุ : มีชนดิ พันธุ์ลูกไมท้ สี่ าํ รวจพบมากกวา่ 57 ชนิด

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ทเ่ี ขตหา้ มล่าสตั ว์ป่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด

29

5. สงั คมพืช
จากผลการสํารวจเก็บและวเิ คราะห์ขอ้ มูลสงั คมพชื ในเขตห้ามล่าสัตวป์ า่ เขาคอก-เขาหินดาด พบวา่ มี

สังคมพชื 3 ประเภท คือ ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ และพื้นท่ีว่างเตรียมปลูก จากการวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช
พบความหนาแน่นของพรรณพืช (Density) ความถี่ (Frequency) ความเด่น (Dominance) และดัชนี
ความสาํ คัญของพรรณไม้ (IVI) ดงั นี้

ในพื้นท่ีป่าเบญจพรรณ มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ พลับพลา ง้ิวป่า ประดู่ สําโรง มะกอก ยูคาลิปตัส ข้ีอ้าย เขลง มะกัก และตะแบกเปลือกบาง ตามลําดับ
รายละเอยี ดแสดงดังในตารางที่ 12

ในพ้ืนท่ีป่าดิบแล้ง มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
ข่อย คงคาเดือด มะกอก ปอตู๊บหูช้าง ทองหลางป่า กุ๊ก กําจัดต้น ปอข้ีแฮด มะค่าโมง และ Dalbergia sp.
ตามลําดับ รายละเอยี ดแสดงดังในตารางท่ี 13

ในพ้ืนท่ีว่างเตรียมปลูก มีชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด ได้แก่ ตะคร้ํา
อนิ ทนลิ น้าํ และแคหางค่าง ตามลาํ ดับ รายละเอยี ดแสดงดงั ในตารางที่ 14

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พน้ื ท่เี ขตห้ามล่าสตั วป์ ่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด

ตารางที่ 12 ดชั นคี วามสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ เบญ

ลําดบั ชนดิ พนั ธไ์ุ ม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ ความหนาแนน่ สมั พ

1 พลบั พลา Microcos tomentosa 1

2 งวิ้ ปา่ Bombax anceps

3 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus

4 สําโรง Sterculia foetida

5 มะกอก Spondias pinnata

6 ยูคาลปิ ตสั Eucalyptus camaldulensis

7 ข้อี า้ ย Terminalia triptera

8 เขลง Dialium cochinchinense

9 มะกัก Spondias bipinnata

10 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana

11 ยมหนิ Chukrasia tabularis

12 หมากเลก็ หมากนอ้ ย Vitex gamosepala

13 โมกมัน Wrightia arborea

14 มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum

15 ลาย Microcos paniculata

16 ข่อยหนาม Streblus ilicifolius

17 เสยี้ วใหญ่ Bauhinia malabarica

18 จนั ดาํ Diospyros venosa

19 กุก๊ Lannea coromandelica

20 แคทราย Stereospermum neuranthum

21 อ่ืนๆ Others 3

รวม 10

ญจพรรณในเขตหา้ มลา่ สตั วป์ า่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด

พทั ธ์ ความถสี่ ัมพทั ธ์ ความเดน่ สมั พทั ธ์ ค่าดัชนคี วามสาํ คญั
26.40
17.43 3.64 5.33 14.63
14.46
3.87 4.85 5.90 13.95
11.55
4.00 3.03 7.43 9.71
9.59
1.45 1.21 11.28 7.80
7.67
2.78 3.03 5.74 7.02
6.70
5.21 0.61 3.90 6.55
6.53
3.27 3.03 3.29 6.40
5.37
3.51 1.21 3.07 5.36
4.46
2.66 1.21 3.80 4.39
4.31
1.82 3.03 2.18 3.99
123.18
1.57 2.42 2.70 300.00

2.18 1.21 3.16

2.18 3.03 1.32

1.45 3.03 1.92

1.94 1.21 2.22

2.91 0.61 1.84

2.30 1.21 0.95

1.82 0.61 1.96

0.97 2.42 0.92

1.57 1.21 1.20

35.11 58.18 29.89

00.00 100.00 100.00

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ท่เี ขตหา้ มลา่ สตั วป์ า่ เขาคอก-เขาหินดาด

ตารางที่ 13 ดชั นคี วามสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ ดบิ

ลําดบั ชนิดพันธ์ุไม้ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ ความหนาแน่นสมั พ

1 ขอ่ ย Streblus asper 22

2 คงคาเดือด Arfeuillea arborescens 10

3 มะกอก Spondias pinnata 2

4 ปอตู๊บหูชา้ ง Sterculia villosa 6

5 ทองหลางปา่ Erythrina subumbrans 3

6 กุ๊ก Lannea coromandelica 1

7 กาํ จดั ต้น Zanthoxylum limonella 1

8 ปอข้แี ฮด Miliusa lineata 1

9 มะค่าโมง Afzelia xylocarpa 1

10 Dalbergia sp. Dalbergia sp. 40

11 F. STERCULIACEAE F. STERCULIACEAE 5

12 Unknown Unknown 3

รวม 100

ตารางที่ 14 ดชั นีความสาํ คญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของพ้นื

ลาํ ดบั ชนิดพนั ธุไ์ ม้ ช่ือวทิ ยาศาสตร์ ความหนาแนน่ สมั พ

1 ตะครํา้ Garuga pinnata 50

2 อนิ ทนลิ น้ํา Lagerstroemia speciosa 40

3 แคหางคา่ ง Fernandoa adenophylla 10

รวม 100

บแลง้ ในเขตหา้ มลา่ สตั วป์ ่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด

พัทธ์ ความถสี่ ัมพัทธ์ ความเด่นสัมพัทธ์ ค่าดัชนคี วามสําคญั
49.820
2.785 8.333 18.702 45.498
32.111
0.127 8.333 27.038 21.692
17.072
2.532 8.333 21.246 14.028
11.561
6.329 8.333 7.030 11.220
9.943
3.797 8.333 4.942 59.189
14.736
1.266 8.333 4.429 13.130
300.000
1.266 8.333 1.962

1.266 8.333 1.621

1.266 8.333 0.344

0.506 8.333 10.349

5.063 8.333 1.340

3.797 8.333 1.000

0.000 100.000 100.000

นท่วี า่ งเตรยี มปลูกในเขตหา้ มลา่ สัตวป์ า่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด

พทั ธ์ ความถี่สมั พัทธ์ ความเด่นสัมพทั ธ์ ค่าดชั นคี วามสาํ คญั

0.000 33.333 73.724 157.057

0.000 33.333 21.501 94.834

0.000 33.333 4.775 48.109

0.000 100.000 100.000 300.000

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้นื ท่เี ขตหา้ มล่าสตั ว์ป่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด

32

6. ความหลากหลายทางชวี ภาพ

จากผลการสํารวจและวิเคราะห์หาค่าดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ป่าเบญจพรรณ
มีค่าความหลากหลายของชนิดพันธ์ุ (Species Diversity) มากท่ีสุด คือ 3.75 พ้ืนที่ว่างเตรียมปลูกมีค่าความ
สม่ําเสมอของชนิดพันธุ์ (Species Evenness) มากท่ีสุด คือ 0.86 และป่าเบญจพรรณ มีค่าความมากมายของ
ชนดิ พันธุ์ (Species Richness) มากทส่ี ดุ คือ 13.24 รายละเอียดแสดงดังตารางท่ี 15

ตารางที่ 15 ความหลากหลายทางชวี ภาพของชนิดพนั ธไ์ุ ม้ในเขตหา้ มลา่ สตั วป์ ่าเขาคอก-เขาหินดาด

ลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ที่ดิน ความหลากหลายทางชวี ภาพ (Biodiversity)

(Landuse Type) ความหลากหลาย ความสม่ําเสมอ ความมากมาย

(Diversity) (Evenness) (Richness)

ปา่ เบญจพรรณ 3.75 0.83 13.24

(Mixed Deciduous Forest)

ป่าดบิ แลง้ 1.82 0.73 2.52

(Dry Evergreen Forest)

พ้นื ที่ว่างเตรยี มปลูก 0.94 0.86 0.87

(Preparatory Land for Fields Crops)

เขตห้ามลา่ สตั ว์ปา่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด 3.79 0.83 13.78

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ทเ่ี ขตหา้ มล่าสตั ว์ป่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด

33

สรปุ ผลการสํารวจและวเิ คราะหข์ ้อมลู ทรพั ยากรปา่ ไม้

จากการวางแปลงตวั อยา่ งถาวรเพื่อเก็บข้อมูลและสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ในพื้นที่เขตห้ามล่าสัตว์ป่า
เขาคอก-เขาหินดาด ซึ่งมีเน้ือที่ 14,718 ไร่ หรือประมาณ 23.55 ตารางกโิ ลเมตร ครอบคลมุ พนื้ ทต่ี ําบลหินซอ้ น
ตําบลท่าคลอ้ ตาํ บลท่าตูม ตาํ บลทับกวาง ตาํ บลชาํ ผกั แพว และตําบลท่ามะปราง อําเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี
ซงึ่ อยใู่ นความดูแลรับผิดชอบของสาํ นักบริหารพ้นื ท่อี นรุ ักษ์ที่ 1 (สาขาสระบุรี) จํานวน 12 แปลง โดยการวางแปลง
ตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ที่มีขนาดคงท่ี รูปวงกลม 3 วง ซ้อนกัน คือ วงกลมรัศมี 3.99,
12.62, 17.84 เมตร ตามลําดับ และมีวงกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยู่ตามทิศหลักท้ัง 4 ทิศ โดยจุดศูนย์กลาง
ของวงกลมทง้ั 4 ทศิ อยูบ่ นเส้นรอบวงกลมของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร และทําการเก็บข้อมูลการสํารวจทรัพยากร
ป่าไมต้ ่างๆ อาทิเช่น ชนิดไม้ ขนาดความโต ความสูง จํานวนกล้าไม้และลูกไม้ ชนิดป่า ลักษณะต่างๆ ของพื้นท่ี
ท่ตี ้นไม้ขนึ้ อยู่ ขอ้ มูลลกั ษณะภูมปิ ระเทศ เช่น ระดับความสูง ความลาดชัน เป็นต้น ตลอดจนการเก็บข้อมูล
องค์ประกอบร่วมของป่า เช่น ไม้ไผ่ หวาย ไม้พุ่ม ไม้เถา เถาวัลย์ และพืชชั้นล่าง แล้วนําข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อ
ประเมินสถานภาพทรัพยากรป่าไม้ ทั้งนี้เพ่ือให้ทราบเนื้อที่ป่าไม้ ชนิดป่า ชนิดไม้ ปริมาณและความหนาแน่น
ของหม่ไู ม้ กําลังผลิตของป่า ตลอดจนการสืบพนั ธ์ุตามธรรมชาตขิ องไม้ โดยใชโ้ ปรแกรมประมวลผลข้อมลู ระบบ
สารสนเทศการสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้ ของสว่ นสํารวจและวิเคราะหท์ รัพยากรป่าไม้ สาํ นักฟ้ืนฟูและพฒั นาพื้นที่
อนุรกั ษ์ กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สัตว์ป่า และพันธุพ์ ชื สรปุ ผลได้ดังน้ี

1. ลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ ิน
พ้ืนที่ดําเนินการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ในพ้ืนท่ีเขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาคอก-เขาหินดาด ครอบคลุม

พืน้ ท่ี รวม 23.55 ตารางกโิ ลเมตร หรือ 14,718 ไร่
พบชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินอยู่ 3 ประเภท ได้แก่ ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง

และพื้นที่ว่างเตรียมปลูก โดยป่าเบญจพรรณพบมากที่สุด มีเนื้อที่ 19.62 ตารางกิโลเมตร หรือคิดเป็นร้อยละ
83.33 ของพ้ืนที่ทั้งหมด ส่วนป่าดิบแล้งและพื้นท่ีว่างเตรียมปลูก มีเน้ือที่เท่ากัน คือชนิดละ 1.96 ตาราง
กิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 8.33 ของพ้นื ทที่ ัง้ หมด

2. ชนิดพนั ธุ์และปรมิ าณไมย้ ืนตน้ (Trees)
จากการวเิ คราะห์ขอ้ มลู เก่ียวกับชนดิ ไม้ ปริมาณ ปริมาตร และความหนาแน่นของต้นไม้ ในแปลง

ตัวอยา่ งถาวร พืน้ ท่เี ขตห้ามลา่ สตั วป์ ่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด จาํ นวนทั้งส้ิน 12 แปลง พบไม้ยืนต้นที่มีความสูงมากกว่า
1.30 เมตร และมเี ส้นรอบวงเพยี งอก (GBH) มากกว่าหรือเท่ากับ 15 เซนติเมตรขึ้นไป มีจํานวนทั้งหมด 1,795,596 ต้น
โดยเป็นไมท้ ม่ี ีความโต 15-45 เซนตเิ มตร จํานวน 1,281,447 ต้น คิดเป็นร้อยละ 71.37 ของปริมาณไม้ท้ังหมด
ไมท้ มี่ ีขนาดความโต 45-100 เซนติเมตร จาํ นวน 439,578 ตน้ คิดเปน็ ร้อยละ 24.48 ของไม้ทั้งหมด และไม้ท่ีมี
ขนาดความโตมากกวา่ 100 เซนติเมตร จาํ นวน 74,571 ต้น คดิ เป็นร้อยละ 4.15 ของไมท้ ั้งหมด

สําหรบั ชนิดพันธไ์ุ มท้ ่ีพบในแปลงสาํ รวจ มี 36 วงศ์ มากกว่า 93 ชนิด เม่ือเรียงลําดับจากจํานวน
ต้นที่พบจากมากสุดไปหาไปน้อยสุด 10 อันดับแรก คือ พลับพลา ยูคาลิปตัส ประดู่ งิ้วป่า เขลง ข่อย ขี้อ้าย

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ที่เขตหา้ มล่าสัตวป์ า่ เขาคอก-เขาหินดาด

34

มะกอก ข่อยหนาม และมะกัก แต่เมื่อเรียงลําดับตามปริมาตรจากมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก คือ
สําโรง มะกอก ประดู่ งิ้วป่า มะกัก ข้ีอ้าย พลบั พลา หมากเลก็ หมากนอ้ ย ยูคาลิปตสั และยมหนิ ตามลาํ ดบั

3. ชนิดพนั ธแ์ุ ละปรมิ าณกลา้ ไม้ (Seedling) และลูกไม้ (Sapling)
จากการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับกล้าไม้ (Seedling) และลูกไม้ (Sapling) ซ่ึงเป็นกําลังการผลิต

ไม้ที่สําคัญท่ีจะขึ้นมาทดแทนสังคมพืชไม้ยืนต้นต่อไปในอนาคตรวมทุกชนิดป่าหรือทุกลักษณะการใช้ประโยชน์
ที่ดินท่ีได้ทําการสํารวจ พบว่า มีชนิดของกล้าไม้ (Seeding) มากกว่า 48 ชนิด รวมจํานวนทั้งหมด
166,804,000 ตน้ ซ่ึงเม่อื เรียงลําดบั จากจาํ นวนตน้ ที่พบมากสดุ ไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ขอ่ ย โมกมัน
ลําดวนดง ติ้วเกล้ียง หัสคุณ พลบั พลา ง้วิ ปา่ ลาย ประดู่ และพญามูลเหล็ก ตามลําดับ โดยสํารวจพบจํานวนกล้า
ไม้มากท่ีสุดในป่าเบญจพรรณ รองลงมา คือ ป่าป่าดิบแลง้

การวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับลูกไม้ (Sapling) ที่พบในแปลงสํารวจมีมากกว่า 57 ชนิด รวมจํานวน
ท้งั หมด 3,767,808 ตน้ ซงึ่ เมอื่ เรยี งลําดบั จากจาํ นวนต้นท่ีพบมากสดุ ไปหาน้อยสุด 10 อนั ดบั แรก ไดแ้ ก่ เสยี้ วใหญ่
งว้ิ ป่า พลับพลา ประดู่ โมกมนั ยมหนิ หสั คุณ ตะแบกเปลอื กบาง ตะคร้อ และหมีเหม็น ตามลําดับ โดยสํารวจ
พบจาํ นวนลกู ไมม้ ากที่สุดในปา่ เบญจพรรณ รองลงมา คือ ป่าดิบแลง้

4. ชนิดพนั ธุ์และปริมาณของไมไ้ ผ่ หวาย และไม้กอ
จากการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณของไม้ไผ่ในแต่ละชนิดและแต่ละกอรวมทุกชนิดป่า หรือ

ทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน พบไม้ไผ่ในแปลงสํารวจ จํานวน 1 ชนิด คือ ซาง (Dendrocalamus strictus)
มีจํานวน 3,925 กอ รวม ท้ังสิ้น 204,090 ลํา ในป่าเบญจพรรณ ส่วนตอไม้ท่ีสํารวจพบ มีจํานวน 1 ชนิด คือ
พลบั พลา รวมจํานวนทง้ั ส้นิ 3,925 ตอ มีคา่ ความหนาแน่นของตอไม้เฉลย่ี 0.32 ตอตอ่ ไร่ ในป่าเบญจพรรณ

5. คา่ ดรรชนคี วามสําคญั ทางนเิ วศวทิ ยา
จากผลการสาํ รวจเกบ็ และวเิ คราะหข์ ้อมูลสังคมพชื ในเขตหา้ มลา่ สตั วป์ า่ เขาคอก-เขาหินดาด พบว่า

มีสังคมพืช 3 ประเภท คือ ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และพ้ืนที่ว่างเตรียมปลูก และจากวิเคราะห์ข้อมูลสังคม
พืช สรปุ ไดด้ ังน้ี

ในพื้นที่ป่าเบญจพรรณ มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ พลับพลา งิ้วป่า ประดู่ สําโรง มะกอก ยคู าลิปตัส ขอี้ ้าย เขลง มะกกั และตะแบกเปลอื กบาง

ในพนื้ ทป่ี ่าดิบแลง้ มีชนิดไม้ทีม่ คี า่ ดชั นีความสําคญั ของชนิดไม้ (IVI) สูงสดุ 10 อนั ดับแรก ไดแ้ ก่
ข่อย คงคาเดอื ด มะกอก ปอตู๊บหูชา้ ง ทองหลางปา่ ก๊กุ กําจดั ตน้ ปอขแี้ ฮด มะคา่ โมง และ Dalbergia sp.

ในพื้นท่ีว่างเตรียมปลูก มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด ได้แก่ ตะครํ้า
อนิ ทนลิ นํา้ และแคหางค่าง

6. ความหลากหลายทางชีวภาพ
ขอ้ มูลเกย่ี วกบั ความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า คา่ ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ไม้ (Species

Diversity) ป่าเบญจพรรณมีค่าเท่ากับ 3.75 ป่าดิบแล้งมีค่าเท่ากับ 1.82 พื้นที่ว่างเตรียมปลูกมีค่าเท่ากับ 0.94

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนท่เี ขตหา้ มล่าสตั วป์ า่ เขาคอก-เขาหนิ ดาด

35

ค่าความมากมายของชนิดพันธ์ุไม้ (Species Richness) ป่าเบญจพรรณมีค่าเท่ากับ13.24 ป่าดิบแล้งมีค่าเท่ากับ
2.52 และพ้ืนที่ว่างเตรียมปลูกมีค่าเท่ากับ 0.87 และค่าความสม่ําเสมอของชนิดพันธ์ุไม้ (Species Evenness)
พ้ืนทว่ี ่างเตรยี มปลกู มีคา่ เทา่ กับ 0.86 ป่าเบญจพรรณมีคา่ เท่ากบั 0.83 และป่าดิบแลง้ มคี ่าเทา่ กับ 0.73
7. ขนาดความโตของต้นไม้

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลโครงสร้างป่าในทุกชนิดป่าหรือทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดิน พบว่า มีไม้
ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) ที่ความโต 15-45 เซนติเมตร มีจํานวน 1,281,447 ต้น คิดเป็นร้อยละ
71.37 ของปริมาณไม้ทั้งหมด ไม้ที่มีขนาดความโต 45-100 เซนติเมตร มีจํานวน 439,578 ต้น คิดเป็นร้อยละ
24.48 ของไม้ทั้งหมด และไม้ที่มีขนาดความโตมากกว่า 100 เซนติเมตร มีจํานวน 74,571 ต้น คิดเป็นร้อยละ
4.15 ของไมท้ ั้งหมด

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ทเี่ ขตหา้ มล่าสตั วป์ ่าเขาคอก-เขาหินดาด

36

ปัญหาและอุปสรรค
ปญั หาและอปุ สรรคในการดําเนนิ งานที่พบ ได้แก่
1. ชนิดไม้ยืนต้นและไม้พื้นล่างในป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้งบางพ้ืนที่ในอุทยานแห่งชาติ
ภูเก้า-ภูพานคํา ยากต่อการจําแนกชนิดไม้ อีกทั้งช่วงเวลาดําเนินงานสํารวจเป็นช่วงท่ีต้นไม้กําลังผลัดใบ ทําให้มี
ตน้ ไมห้ ลายชนิดทีย่ งั ไม่ทราบชนิด
2. ในการดําเนินงานสํารวจทรัพยากรป่าไม้ภาคสนาม ได้มีการแบ่งสายการดําเนินงานซ่ึงทําให้
งานแล้วเสร็จเร็วข้ึน เนื่องจากจํานวนจุดสํารวจมีจํานวนมาก อาจทําให้เกิดความคลาดเคลื่อนในการสํารวจ
ข้อมูลได้ เนื่องจากอุปกรณ์ท่ีใช้ในการสํารวจของแต่ละทีมมีไม่เหมือนกัน ความเชี่ยวชาญหรือความชํานาญ
ในการจาํ แนกชนิดไม้ของแต่ละบคุ คลไม่เท่ากนั ซง่ึ อาจทาํ ใหช้ นดิ ไมท้ นี่ ํามาวเิ คราะห์ข้อมูลมีความคลาดเคลือ่ นได้
3. ข้อมูลอ้างอิงสําหรับไม้พื้นล่างซึ่งเป็นสังคมพืชท่ีจะข้ึนมาทดแทนสังคมป่านั้นๆ ในอนาคต
ข้างหน้ายงั มอี ยู่นอ้ ย ทําให้ยากตอ่ การจาํ แนกชนดิ ไม้พื้นลา่ ง
4. ในช่วงท่ีดําเนินการสํารวจภาคสนามพบร่องรอยการกระทําผิดเกี่ยวกับการลักลอบตัดไม้
ในพ้นื ที่ ซ่งึ อาจเกิดอันตรายตอ่ ทีมสํารวจได้

ข้อเสนอแนะ
เพื่อให้การดําเนินงานสํารวจทรัพยากรป่าไม้ในโอกาสต่อไปมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น จึงมี
ขอ้ เสนอแนะดังนี้

1. กลุ่มสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟื้นฟูและ
พัฒนาพ้ืนท่ีอนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ควรมีการจัดทําคู่มือสําหรับการจําแนกชนิดไม้
ในแต่ละพื้นที่หรือใส่ภาพประกอบไม้แต่ละชนิดในฐานข้อมูลพรรณไม้ เพ่ือใช้เป็นฐานในการจําแนกชนิดไม้ให้
ตรงรหสั CODE พรรณไม้มากขน้ึ

2. ในการปฏิบัติงานภาคสนาม ควรชี้แจงและทําความเข้าใจกับชาวบ้านเก่ียวกับภารกิจที่
ปฏิบัติ

3. ในการตดิ ตามการเปลยี่ นแปลงพ้ืนทีป่ ่าหรอื ทรัพยากรปา่ ไมใ้ นอกี 4 ปขี า้ งหน้า ควร
พยายามหาหมุดเดมิ ท่ไี ดท้ ําการตอกไว้ตรงจุดศูนยก์ ลางแปลงตัวอย่างให้เจอ และเนน้ การสาํ รวจกบั ตน้ ไมต้ ้น
เดิมทม่ี ีปา้ ยหมายเลขตอกติดไว้เพ่ือดกู าํ ลังผลิตของปา่ และความสามารถในการเก็บกกั คารบ์ อนในพืน้ ทีป่ ่านั้นๆ
วา่ เพิ่มข้ึนหรอื ไม่ อย่างไร หรอื ถูกรบกวนมากนอ้ ยแคไ่ หน

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พ้นื ทเี่ ขตหา้ มล่าสตั วป์ า่ เขาคอก-เขาหินดาด

37

เอกสารอา้ งองิ
กอ่ งกานดา ชยามฤต. 2541. คมู่ อื การจาํ แนกพรรณไม.้ สว่ นพฤกษศาสตร์ สํานกั วชิ าการป่าไม้ กรมปา่ ไม,้

กรงุ เทพฯ. 235 น.
กรมป่าไม้ และองค์การไมเ้ ขตร้อนระหว่างประเทศ (ITTO). 2544. คมู่ ือการเกบ็ ข้อมูลด้านการสํารวจทรัพยากรป่าไม้

โครงการศกึ ษาเพ่ือจัดทําระบบ ติดตาม ตรวจสอบ การจัดการทรัพยากรป่าไม้แบบย่งั ยืน
สาํ หรบั ประเทศไทย, สํานักวชิ าการป่าไม้ กรมปา่ ไม้, กรงุ เทพฯ. 44 น.
ชวลติ นยิ มธรรม. 2545. ทรพั ยากรป่าไมข้ องประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ สาํ นักวิชาการปา่ ไม้
กรมปา่ ไม,้ กรงุ เทพฯ. 10 น.
สามารถ มขุ สมบตั ิ และ ธญั นรนิ ทร์ ณ นคร. 2538. การใช้ Spiegel Relaskop เพอื่ จัดสรา้ งตารางปรมิ าตรไม้
บริเวณปา่ สาธิตเซคเตอร์แม่แตง อําเภองาว จังหวดั ลาํ ปาง, สาํ นกั วชิ าการป่าไม้ กรมป่าไม้,
กรงุ เทพฯ. 55 น.
วชิ าญ ตราช.ู 2548. แนวทางการสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้ในพ้ืนทีป่ ่าอนุรกั ษ.์ สว่ นวิเคราะหท์ รัพยากรป่าไม้
สาํ นกั วิชาการปา่ ไม้ กรมป่าไม้, กรงุ เทพฯ. 95 น.
สว่ นพฤกษศาสตร.์ 2544. ชื่อพรรณไมแ้ ห่งประเทศไทย เตม็ สมติ ินนั ท์ ฉบับแก้ไขเพิม่ เตมิ สํานกั วชิ าการป่าไม้
กรมป่าไม้, กรงุ เทพฯ. 810 น.

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ท่ีเขตห้ามลา่ สตั วป์ ่าเขาคอก-เขาหินดาด

38

ภาคผนวก

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นทีเ่ ขตห้ามลา่ สตั ว์ป่าเขาคอก-เขาหนิ ดาด



ตารางผนวกท่ี 1 ชนิดและปรมิ าณไมท้ ่พี บทั้งหมดของเขตห้ามลา่ สัตวป์ ่าเขาคอก-เขาหินดาด

ลัก

ลาํ ดับ ชนิดพนั ธุไ์ ม้ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ ป่าดบิ แล้ง

จํานวน (ตน้ ) ปรมิ าตร (ลบ.ม.) จาํ นว

1 สาํ โรง Sterculia foetida

2 มะกอก Spondias pinnata 3,925 5,095.41

3 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus

4 งิว้ ป่า Bombax anceps

5 มะกัก Spondias bipinnata

6 ขี้อ้าย Terminalia triptera

7 พลับพลา Microcos tomentosa

8 หมากเลก็ หมากนอ้ ย Vitex gamosepala

9 ยูคาลปิ Eucalyptus camaldulensis

10 ยมหนิ Chukrasia tabularis

11 ปอตบู๊ หูช้าง Sterculia villosa 9,812 1,160.65

12 คงคาเดือด Arfeuillea arborescens 15,699 5,255.68

13 เขลง Dialium cochinchinense

14 กระทุ่มโคก Mitragyna hirsuta

15 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana

16 ลาย Microcos paniculata

17 ข่อย Streblus asper 35,323 3,122.42

18 จันดาํ Diospyros venosa

19 สมพง Tetrameles nudiflora

20 มะกอกเกล้ือน Canarium subulatum


Click to View FlipBook Version