The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมเล่มคู่มือโครงงานพิเศษ-15.11.61

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by narat23092540, 2022-07-04 00:53:36

รวมเล่มคู่มือโครงงานพิเศษ-15.11.61

รวมเล่มคู่มือโครงงานพิเศษ-15.11.61

(1)

คำนำ

เอกสารคู่มือการจัดทาโครงงานพิเศษ ระดับปริญญาตรีฉบับน้ี จัดทาข้ึนเพ่ือใช้เป็นแนวทาง
ในการจัดทาโครงงานพิเศษให้แก่นักศึกษา ระดับปริญญาตรี ตามหลักสูตรของคณะเทคโนโลยี
คหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้นักศึกษาได้รับ
ทราบและเข้าใจข้ันตอนของการจัดทาโครงงานพิเศษ อย่างถูกต้อง ท้ังน้ีได้แนบเอกสารแบบฟอร์ม
และตวั อยา่ งไว้ในค่มู ือฉบับนี้แล้ว

ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารคู่มือการจัดทาโครงงานพิเศษ ระดับปริญญาตรีฉบับน้ี
จะเป็นประโยชน์แก่ท่านบ้างไม่มากก็น้อย และหากมีข้อเสนอแนะใดๆ เพิ่มเติมอันจะเป็นประโยชน์
ฝ่ายวิชาการและวิจัยยินดีรับไว้พิจารณา กรุณาแจ้งความจานงได้ที่ ชั้น 3 อาคารเรือนปัญญา
ฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
โทร. 02-665-3777 โทรศัพท์ภายใน 5531,5236 จักขอบพระคณุ ย่งิ

ฝ่ายวิชาการและวจิ ยั
ตลุ าคม 2561

สำรบญั (2)

คานา แนวทางในการจัดทาโครงงานพิเศษ หน้ำ
สารบญั ส่วนประกอบโครงงานพเิ ศษ
บทที่ 1 2.1 สว่ นนา (1)
บทที่ 2 2.2 ส่วนเนอื้ หา (2)
2.3 สว่ นประกอบท้ายเรอ่ื ง 1
บทท่ี 3 รปู แบบการพมิ พ์ 4
3.1 ขอ้ กาหนดการพมิ พ์ 4
บทที่ 4 3.2 การตงั้ คา่ หน้ากระดาษ 5
บทที่ 5 3.3 การลาดับเลขหนา้ 8
3.4 การพิมพ์ลาดบั หวั ข้อ การยอ่ หนา้ และการเว้นระยะหา่ งบรรทัด 10
3.5 การเวน้ ระยะการพมิ พ์หลังเคร่ืองหมายวรรคตอน 10
3.6 การเวน้ ระยะระหวา่ งบรรทดั 10
3.7 การพมิ พต์ ารางและภาพประกอบ 11
3.8 การพมิ พ์ชื่อทางวิทยาศาสตร์ 11
การเขียนอ้างองิ ในเลม่ 12
4.1 หลักการเขียนอ้างอิงในเนื้อหา 12
4.2 รูปแบบการอ้างอิง 12
การเขียนเอกสารอ้างอิงท้ายเล่ม 13
5.1 หลักเกณฑท์ ่วั ไปในการเขียนเอกสารอา้ งอิง 14
5.2 รูปแบบการเขยี นเอกสารอา้ งองิ ทา้ ยเล่ม 14
14
ภาคผนวก 18
ภาคผนวก ก ตวั อย่างสว่ นประกอบของโครงรา่ งโครงงานพิเศษ 18
ภาคผนวก ข แบบฟอรม์ ประกอบการทาโครงงานพิเศษ 21
ภาคผนวก ค ตวั อย่างสันปก
ภาคผนวก ง ข้อกาหนดในการจดั ทา CD-ROM ฉบบั เตม็ (Full Text) 28
52
61
65

บทท่ี 1

แนวทางในการจัดทาโครงงานพิเศษ

ตามหลักสูตรคหกรรมศาสตรบัณฑิต คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร นักศึกษาจะต้องลงเรียนในรายวิชาโครงงานพิเศษ เพื่อศึกษาหัวข้อวิจัย
ที่เกี่ยวข้องกับงานคหกรรมศาสตร์ หรือสาขาท่ีเก่ียวข้อง ซ่ึงเป็นการประยุกต์การออกแบบวิจัย
เพ่ือเพ่ิมพูนความรู้ของนักศึกษาจากการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ตามความถนัดของผู้ศึกษา โดยผล
จากการศึกษาเป็นสิ่งที่มีคุณค่าอันเกิดจากการรวบรวมความคิดอย่างมีเหตุผล และสามารถใช้เป็น
ข้อมูลอ้างอิงสาหรับผู้สนใจศึกษาต่อไป โดยหัวข้อท่ีจะทาการศึกษาจะต้องมีการปรึกษากับอาจารย์ที่
ปรกึ ษาโครงงานพิเศษ กอ่ นทาโครงงานพเิ ศษ

ดังนั้นการนาเสนอผลการศึกษาโครงงานพิเศษ จึงมีความสาคัญสาหรับนักศึกษาในระดับ
ปริญญาตรีของคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ในการทา
โครงงานพิเศษมคี าแนะนา ดงั น้ี

1. นกั ศกึ ษาควรมีความพร้อม และรจู้ ักศึกษาข้ันตอนการจดั ทาโครงงานพเิ ศษอยา่ งละเอยี ด
2. มีความรู้พื้นฐานในเรื่องที่จะศึกษา เพ่ือสามารถวางแผนตัดสินใจ เลือกใช้ความรู้เทคนิค
วธิ กี าร หรอื เครือ่ งมอื ทใี่ ช้ใหส้ อดคลอ้ งเหมาะสมกบั เร่ืองท่ีศึกษา
3. มคี วามรอบรูใ้ นสาขาวิชาอ่ืนที่เกย่ี วขอ้ ง เพอ่ื นามาใชเ้ ปน็ ข้อมูลในเรือ่ งท่ีตอ้ งการศึกษา
4. ศึกษาวิธีการเรียบเรียง การเขียนโครงงานพิเศษตามคู่มือการจัดทาโครงงานพิเศษให้
เขา้ ใจ
5. การเรียบเรียง การใช้คา การเขียนตัวสะกด คาศัพท์ทางวชิ าการต่างๆ ไมค่ วรใช้ภาษาพูด
ภาษากากวม ุมุมเุออย หรือภาษาท่ีผู้เรียบเรียงเข้าใจเอง ควรเรียบเรียงด้วยความตั้งใจ แสดงความคิด
ตามลาดับเนื้อหาอย่างมีเหตุผล ใช้ภาษาท่ีถกู ต้องตามหลักไวยากรณ์ นักศึกษาควรอา่ น ตรวจสอบการ
เรียบเรียงก่อนส่งอาจารย์ท่ีปรึกษาโครงงานพิเศษ การเรียบเรียงเนื้อเรื่องให้ดี น่าอ่าน และเข้าใจง่าย
ต้องคานึงถงึ เร่ืองต่าง ๆ ดงั ตอ่ ไปนี้

5.1 ความถกู ตอ้ งของขอ้ มูลไม่ว่าจะเป็นการคดั ลอก หรือสรุปความจากข้อมูลต้องไม่
ผิดเพ้ยี นจากเน้ือความเดิม และตอ้ งมคี วามถูกต้องของภาษาทใ่ี ช้ในเรื่องการสะกด การันต์ การเลอื กใช้
คา การเรยี บเรียงข้อความต้องเป็นไปตามหลกั การเขยี นที่ดี

5.2 ใชภ้ าษามาตรฐานในการเรียบเรียงเนื้อเร่ือง เลือกใชค้ าสามัญ หรอื คาธรรมดา
ซึ่งส่ือความหมายจะดีที่สุด ไม่ใช้ภาษาถ่ิน คาแสลง หรือคาย่อ เว้นแต่จาเป็นเช่น ยกเป็นตัวอย่าง
ประกอบการอธิบาย เปน็ ต้น

5.3 มีความสม่าเสมอในการใช้คา เช่น ถ้าในรายงานใช้คาว่า เด็กเล็ก ที่หมายถึง
เด็กอายุน้อย ก็ต้องใช้คาว่าเดก็ เล็กทุกครั้ง มิใช่ใช้เด็กเล็กบ้าง ใช้เด็กน้อยบ้างสลับกันไปเพราะจะทาให้
ผอู้ ่านสับสน

2

5.4 การใช้คาภาษาต่างประเทศ ตอ้ งใชต้ ามท่ีไดม้ ีการบัญญัติศพั ท์ไว้ หากต้องเขยี น
คาภาษาต่างประเทศด้วยพยัญชนะไทย ให้วงเล็บภาษาต่างประเทศไว้ข้างท้ายเฉพาะครั้งแรกที่ปรากฏ
สว่ นศัพท์วิชาการทร่ี ู้จักแพรห่ ลายแล้วไมต่ ้องใส่วงเล็บภาษาอังกฤษ

5.5 ควรใช้ประโยคเดยี วเปน็ หลัก ไม่ควรใช้ประโยคท่ียืดยาว และซบั ซอ้ น
5.6 เรียบเรียงเนื้อเร่ืองด้วยภาษาที่อ่านง่าย โครงสร้างประโยคไม่ซับซ้อน ส่ือสาร
ไดช้ ดั เจน ตรงประเดน็
5.7 เนื้อเรอ่ื งมีความกลมกลนื กนั ตั้งแต่ต้นจนจบ มีการเสนอแนวคิดที่ชดั เจน
5.8 มีการย่อหน้า เพ่ือให้เน้ือเรื่องบางตอนมีลักษณะเด่น และเพื่อช่วยพักสายตา
ของผู้อา่ น
5.9 มีการใช้วรรคตอน เช่น การเว้นวรรค เพ่ือแยกประโยคให้ชัดเจน ทาให้ผู้อ่าน
เข้าใจเนอื้ เรอื่ งง่ายขนึ้
6. การเขยี นเอกสารอ้างอิงในโครงงานพิเศษ เป็นส่ิงจาเป็น เพ่ือเป็นการสนับสนุนข้อมูลทีไ่ ด้
ศกึ ษา สร้างความน่าเชื่อถือในการศึกษาค้นควา้ และเป็นการให้เกียรตแิ ก่เจา้ ของข้อมูล เป็นหลกั ฐานท่ี
แสดงการอา้ งอิงอยา่ งถกู ตอ้ ง
7. เรื่องท่ีศึกษาจะต้องไม่ซ้าซ้อนกับเร่ืองท่ีผู้อ่ืนศึกษาไว้แล้ว เม่ือหัวข้อโครงงานพิเศษของ
นักศึกษาได้รับอนุมัติให้ดาเนินการศึกษาจากกรรมการ ควรรีบดาเนินการเรียบเรียงโครงงานพิเศษ
โดยการค้นคว้า ทดลอง หรือวิธีการใด ๆ ตามระเบียบวิธีวิจัย เพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีถูกต้อง น่าเชื่อถือ มี
คณุ คา่ และเกิดประโยชน์ต่อไป โดยมีลาดบั ข้ันตอนการทาโครงงานพิเศษดงั แผนภมู ิที่ 1.1

3

ย่ืนเสนอหวั ขอ้ และโครงร่างโครงงานพเิ ศษตอ่ อาจารยท์ ่ีปรึกษา แบบุอรม์ ทคศ.001-1
ผา่ น ไมผ่ า่ น แบบุอร์ม ทคศ.001-2

ย่ืนคาร้องเสนอโครงรา่ งโครงงานพเิ ศษ

ยน่ื คาร้องขอสอบโครงงานพิเศษ (3 บท) พรอ้ มสง่ โครงร่างตอ่ คณะกรรมการ แบบุอรม์ ทคศ.003
สอบโครงรา่ ง 5 วนั ก่อนสอบ

นกั ศึกษาดาเนินการทาโครงงานพเิ ศษ

ยื่นคาร้องขอสอบโครงงานพิเศษ (5 บท) พรอ้ มส่งเลม่ โครงงานพิเศษ
ต่อคณะกรรมการสอบ 5 วันก่อนสอบ

นกั ศึกษาดาเนินการสอบ ตามวันเวลาทีก่ าหนด แบบุอร์ม ทคศ.004
ผา่ น ไมผ่ า่ น

แก้ไขเลม่ และจดั สง่ เลม่ ฉบบั สมบรู ณ์

แผนภูมทิ ี่ 1.1 ขน้ั ตอนการทาโครงงานพเิ ศษ
หมายเหตุ : สามารถดาวน์โหลดแบบุอรม์ ไดท้ เ่ี วบ็ ไซตข์ องคณะ

บทท่ี 2

สว่ นประกอบโครงงานพิเศษ

ในการจัดทารูปเล่มโครงงานพิเศษ มีส่วนประกอบ 3 ส่วน คือ ส่วนนา ส่วนเนื้อหา และ
ส่วนประกอบท้ายเรื่องโดยทุกส่วนจะตอ้ งถกู ต้องครบถ้วนตามคู่มือการจัดทาโครงงานพิเศษท่ีสาขาวิชา
กาหนดให้ใช้ ดงั นี้

2.1 สว่ นนา

ประกอบด้วยรายละเอียดตา่ งๆ ดงั น้ี
2.1.1 ปกนอก (front cover)
เป็นปกแข็ง สีตามท่ีสาขาวิชากาหนด พิมพ์ข้อความด้วยอักษร สีทอง แบบปั๊มลงบนเนื้อ
กระดาษท้ังปก กาหนดใหม้ ีสัญลกั ษณ์ และข้อความเรียงตามลาดบั จากด้านบนลงด้านล่าง ดังนี้

2.1.1.1 ตรามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ขนาดกว้าง 2.50 ซม.
สงู 4.50 ซม. ขอบบนของตรามหาวิทยาลัยห่างจากขอบกระดาษลงมา 3.70 ซม. หรอื 1.5 นว้ิ )

2.1.1.2 ชือ่ โครงงานพเิ ศษระบเุ ป็นภาษาไทย
2.1.1.3 ชื่อโครงงานพิเศษระบุเป็นภาษาอังกฤษให้ใช้ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ในอักษรตัว
แรกของคาแรก และของทุกๆ คาเสมอ ยกเว้นคาบุพบท และคาสันธาน เว้นแต่คาบุพบท และ
คาสันธานดังกล่าวจะเป็นคาแรกของช่ือ โดยชื่อโครงงานพิเศษให้พิมพ์ไว้กลางหน้ากระดาษ ห่างจาก
ตรา 1 บรรทัด กรณีที่มีความยาวเกินกว่า 1 บรรทัด บรรทัดถัดไปให้พิมพ์เป็นรปู หน้าจ่ัวกลับหัว ทั้งน้ี
ควรพจิ ารณาตดั คาให้มีความเหมาะสมด้วย
2.1.1.4 ชื่อ นามสกุล ผู้เขียนโครงงานพิเศษระบุเป็นภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
ด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด ไม่ต้องใส่คานาหน้านาม แต่ถ้ามียศฐานันดรศักด์ิ ราชทินนามหรือสมณศักด์ิ
ก็ใหร้ ะบไุ วโ้ ดยใช้อกั ษรย่อหนา้ ช่ือ ให้พมิ พไ์ วก้ ลางหนา้ กระดาษ
2.1.1.5 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ให้ระบุเป็นภาษาไทย อยู่ก่ึงกลางหน้ากระดาษ
ระหว่างชอ่ื ผู้เขยี นกับชอ่ื มหาวิทยาลัย
2.1.1.6 ชื่อมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร อยู่ก่งึ กลางหน้ากระดาษ
2.1.1.7 ปี พ.ศ. ท่ีส่งเล่ม (เลขอารบิค) อยู่กึ่งกลางหน้ากระดาษ ให้ระบุปีท่ีสาเร็จ
การศึกษาโดยไม่ต้องระบคุ าวา่ พทุ ธศกั ราช หรอื พ.ศ. นาหนา้
2.1.1.8 สันปก พิมพ์ชื่อ นามสกุลผู้แต่งด้วยอักษรสีทอง (ไม่ต้องใส่คานาหน้าชื่อ)
ตามด้วยชอ่ื โครงงานพิเศษ (ภาษาไทย) และปีที่สาเร็จการศกึ ษา จัดระยะให้อยู่ห่างจากขอบสันปกตาม
แนวต้ัง 2.50 ซม. พิมพ์ตามความยาวของสันปก (ดังภาคผนวก) ในกรณีผู้เขียน 2 คน ให้พิมพ์เฉพาะ
ช่ือ และใหใ้ ชเ้ ครือ่ งหมายยัติภงั ค์ ( - ) ระหว่างชื่อทง้ั 2 คน
2.1.2 ใบรองปก (blank page) เป็นกระดาษปอนด์สีขาวเหมือนเดิมคั่น 1 แผ่น ถัดจาก
ปกนอก และค่นั ก่อนปกหลงั 1 แผ่น รวมเป็น 2 แผ่น

5

2.1.3 ปกใน (title page) พิมพ์ข้อความเช่นเดียวกันกับปกนอก โดยเพิ่มคาว่า ลิขสิทธิ์
ของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร อยูถ่ ดั จากปี พ.ศ. เวน้ ระยะหา่ ง 1 บรรทัด

2.1.4 ใบอนุมัติโครงงานพิเศษ (approval page) ประกอบด้วยช่ือโครงงานพิเศษ ช่ือ
นามสกุล ผู้เขียน ช่ือปริญญา สาขาวิชา คณะที่ศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา และคณะกรรมการสอบ
โครงงานพิเศษ

2.1.5 บทคัดย่อ (abstract) เป็นการสรุปเน้ือหาโครงงานพิเศษ ที่กระชับ ชัดเจน ทาให้
ผู้อ่านทราบถึงเนื้อหาได้อย่างรวดเรว็ ถูกต้อง และง่ายต่อการทาความเข้าใจ โดยการเขียนบทคัดย่อที่ดี
ควรมีลกั ษณะเป็นความเรียง ประกอบด้วย ช่ือเรือ่ ง วัตถุประสงค์ ขอบเขตของการศกึ ษา วิธดี าเนินการ
เช่น การเก็บรวบรวมข้อมูล จานวนกลุ่มท่ีศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยโดยสังเขป และคา
สาคัญ การเขียนต้องเขียนให้สั้นที่สุดไม่ควรเกิน 300 คา หรือควรไม่เกิน 1 หน้ากระดาษ A4 โดยต้อง
จัดพิมพ์ทัง้ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ (ดังภาคผนวก) โดยเรียงลาดบั ของบทคัดย่อภาษาไทยขนึ้ ก่อน
และตามด้วยบทคัดย่อภาษาองั กฤษถา้ เขียนเป็นภาษาต่างประเทศอื่นให้พิมพ์บทคดั ยอ่ เพ่มิ ตามภาษาท่ี
ใช้ด้วย โดยคาสาคัญ เป็นคาหลักที่ใช้ในการทาโครงงานพิเศษ เพ่ือสื่อความหมายในเร่ืองที่ศึกษาไม่
น้อยกว่า 2 คา

2.1.6 กิตติกรรมประกาศ (acknowledgement) เป็นการเขียนแสดงความขอบคุณ
บุคคล หรือหน่วยงานที่ให้ความอนุเคราะห์ช่วยเหลือ สนับสนุนเป็นแหล่งทุนให้งานสาเร็จ ไม่เขียนยืด
ยาว หรือยกยอมากเกินไป ไม่ควรเกิน 1 หน้ากระดาษ A4 ในท้ายกิตติกรรมประกาศให้พิมพ์ช่ือ
นามสกุลผู้เขียน โดยพมิ พ์เยอ้ื งไปทางขวามอื ของข้อความ (ดงั ภาคผนวก)

2.1.7 สารบัญ (table of contents) เป็นการแสดงตาแหน่ง และลาดับของหัวข้อเรื่อง
ทั้งหมดที่มีอยู่ในเล่ม พิมพ์คาว่า “สารบัญ” อยู่ก่ึงกลางหน้ากระดาษ ระบุเลขที่บท และชื่อบทพร้อม
หมายเลขหนา้ ตามทปี่ รากฏในโครงงานพิเศษ

2.1.8 สารบัญตาราง (list of tables) เป็นส่วนแสดงลาดับหน้าของตารางทั้งหมดท่ีมี
อยู่ในโครงงานพิเศษ โดยพิมพ์คาว่า “สารบัญตาราง” อยู่กลางหน้ากระดาษ (ดังภาคผนวก) กรณีที่มี
ตารางในภาคผนวกให้พิมพ์รายการตารางภาคผนวกตอ่ ในสารบญั ตาราง

2.1.9. สารบัญแผนภูมิ (list of chart content) เปน็ ส่วนท่ีแสดงลาดบั หน้าของแผนภูมิ
ทง้ั หมดท่มี อี ยู่ในโครงงานพิเศษ

2.1.10 สารบัญภาพ (list of figures) เป็นส่วนที่แสดงลาดับหน้าของภาพท้ังหมดที่มีอยู่
ในโครงงานพิเศษ โดยพิมพ์คาว่า “สารบัญภาพ” อยู่กลางหน้ากระดาษ (ดังภาคผนวก) กรณีท่ีมีภาพ
ในภาคผนวกให้พิมพ์รายการภาพในภาคผนวกต่อจากสารบัญภาพ

2.2 สว่ นเนือ้ หา

เน้ือหา หรอื เนื้อความของเรื่องให้แบ่งออกเป็นบทอย่างชัดเจน ส่ิงสาคัญของเนื้อเรอื่ งในแต่
ละบทควรมีการอ้างอิงในเนื้อหาด้วยเสมอ เพ่ือบอกถึงแหล่งท่ีมาของข้อความท่ีนาเสนอหรือท่ีนามา
ประกอบในเนื้อเรื่องท่ีผู้ศึกษาต้องการนาเสนอ การอ้างอิงนับว่าเป็นส่ิงที่สาคัญ เพราะเป็นการแสดง
หลักฐานประกอบการเขียน และการจัดทาโครงงานพิเศษ ในการสร้างความน่าเชื่อถือต่องานเขียนน้ี
และสามารถนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ รงิ

6

ส่วนเน้อื หาสามารถแบ่งออกเป็น 5 บท โดยมีรายละเอียดดงั นี้
2.2.1 บทที่ 1 บทนา (introduction)

เป็นเนอื้ หาทผ่ี า่ นการนาเสนอเพอ่ื พจิ ารณาโครงร่างมาแลว้ และได้ทาการปรับแก้ตาม
คาแนะนาของคณะกรรมการที่ปรึกษา เน้อื หาประกอบดว้ ย

2.2.1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา กล่าวถึงปัญหา ความจาเป็น
ความสาคัญ แรงจูงใจที่ต้องศึกษา แนวคิด ที่ศึกษานามาซ่ึงประโยชน์อย่างไร ควรมีการอ้างอิงข้อมูล
ทฤษฎี หลกั การ ขอ้ เทจ็ จริงสนับสนุนความจาเปน็ ทีต่ ้องศึกษา

2.2.1.2 วัตถุประสงค์ เป็นการระบุส่ิงที่ต้องการศึกษาท่ีเป็นรูปธรรม สามารถ
ทดสอบได้โดย แยกเป็นข้อ ๆ ให้ชัดเจน เพ่ือเป็นแนวในการศึกษาให้ตรงเป้าหมาย สามารถ
ดาเนนิ งานได้อย่างถูกตอ้ ง

2.2.1.3 ขอบเขตของการศึกษา คือ การกาหนดส่ิงท่ีต้องการศึกษาประกอบด้วย
สว่ นสาคญั 2 ส่วน คอื

1) ขอบเขตดา้ นประชากร คือ กลุม่ ประชากรทจี่ ะใชใ้ นการศกึ ษา
2) ขอบเขตด้านเนื้อหา คือ การสืบค้นเน้ือหาที่เก่ียวข้องหรือสัมพันธ์กับ
โครงงานพิเศษ (คอื เนอื้ หาทป่ี รากฎอย่ใู นบทที่ 2 )
2.2.1.4 ข้อตกลงเบื้องต้น (ถ้ามี) เป็นข้อมูลความเป็นจริง โดยอาศัยทฤษฎี
หลกั เกณฑ์ และกฎตา่ ง ๆ เพือ่ ตอ้ งการให้ผ้อู า่ นยอมรับโดยไมต่ ้องทดลองพิสูจน์
2.2.1.5 นิยามศัพท์ (ถ้ามี) เป็นการให้ความหมายของคาท่ีใช้ในการศึกษา โดย
เป็นการเฉพาะเจาะจงในประเด็นที่เกี่ยวขอ้ งกับการศกึ ษา คือ ความหมายระหว่างผู้ศึกษาและผู้อ่านให้
เขา้ ใจตรงกันให้มากที่สุด อาจเป็นคาส้นั ๆ ขอ้ ความยาว ๆ การเขียนนยิ ามศัพทม์ ี 2 ลักษณะ คือ
1) การนิยามแบบทั่วไป เป็นการนิยามตามความหมายของศัพท์ปกติ
ตามที่ระบุในพจนานุกรม สารานุกรม ตารา หรือผู้ศึกษาให้คานิยามเอง ในกรณีไม่มีผู้นิยามมาก่อน
หรอื การนิยามท่ีมีผูน้ ยิ ามไว้แล้ว แต่ยงั ไมด่ พี อ
2) การนิยามบทปฏิบัติการ เป็นการนิยามท่ีให้ความหมาย พร้อมบอกวิธี
ในการวัด ตรวจสอบ สงั เกต ฯลฯ ไวด้ ว้ ย
2.1.1.6 ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ เป็นการคาดคะเนส่วนที่คาดว่าจะได้จาก
การศกึ ษาโครงงานพิเศษ โดยคาดว่าผลจากการศึกษานาไปใชป้ ระโยชน์อย่างไร เม่ือบรรลุวัตถุประสงค์
แล้ว จะไดป้ ระโยชน์อะไรและใครไดร้ ับประโยชนน์ ั้น แต่ไมใ่ ชก่ ารเขยี นตามจากวัตถุประสงค์
2.2.2 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กยี่ วข้อง (literature review)
เป็นส่วนท่ีใช้อธิบายงานที่เกิดขึ้นก่อน และเกี่ยวข้องกับงานนี้ ตลอดจนการค้นคว้า
ทฤษฎี แนวคิด เพ่ือเป็นการแสดงความรอบรู้ที่ เก่ียวข้องกับงาน โดยการค้นคว้าเอกสารงานวิจยั และ
องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง เพ่ือเป็นการแสดงให้เห็นว่าเร่ืองที่ศึกษากาลังดาเนินการศึกษานี้มีใคร หรือ
หน่วยงานใดเคยทาการวิจัย หรือศึกษาในแง่มุมต่างๆ หรือไม่ ใช้วิธีการอย่างไร และผลงานเหล่าน้ัน
เปน็ อย่างไร เน้อื หาประกอบดว้ ย
2.2.2.1 แนวคิดทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้อง เป็นส่วนสนับสนุนท่ีผู้ศึกษา จัดวางโครงเร่ืองท่ี
เป็นเนื้อหาสาระสาคัญเก่ียวข้องกับส่ิงที่ศึกษา ช่วยให้เกิดแนวทางในการคิดวิเคราะห์ หรือให้ข้อมูลท่ี

7

เป็นประโยชน์ต่อการดาเนินการศึกษา โดยเรียบเรียงเป็นภาษาเขียน โดยไม่จาเป็นต้องคัดลอกทุก
ตัวอักษร อาจใช้การอ่านทาความเข้าใจ และเรียบเรียงใหม่เป็นสานวนของตนเอง ซ่ึงต้องมีการอ้างอิง
ขอ้ มลู ทสี่ ืบคน้ การเลือกขอ้ มูลท่ใี ช้ในการศึกษาคน้ ควา้ มขี ้อแนะนา ดงั นี้

1) เป็นเรื่องท่ีสอดคล้องกับเรื่องที่ศึกษา มีความทันสมัย และเป็น
ความรู้ใหม่

2) เป็นเอกสารท่ีอาจจะมีภาพประกอบ ตาราง แผนภาพ แผนภูมิ
ถูกตอ้ งชัดเจน

3) มีความน่าเช่ือถือ โดยดูจากประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญของผู้เขียน
รวมถงึ สานกั พิมพท์ ี่เช่ือถือได้

4) แหล่งศึกษาข้อมูล เช่น ตารา พจนานุกรม สารานุกรม คู่มือ หนังสือ
การสบื ค้นด้วยคอมพวิ เตอร์

2.2.2.2 ผลงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง เป็นส่วนศึกษาผลการศึกษาที่ผ่านมาที่มีผู้ศึกษาไว้
ก่อนหน้าเกี่ยวข้องกับเร่ืองที่กาลังศึกษาท้ังในและต่างประเทศ เพื่อศึกษาว่ามีผู้ศึกษาไว้แล้วมากน้อย
เพียงใด ผลเปน็ อย่างไร ปอ้ งกันการศึกษาซ้ากบั ผู้อ่ืน เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินการวิจยั ออกแบบ
เครอ่ื งมือ วิเคราะห์ผล อภิปรายผล และสรปุ ผลการศกึ ษา โดยการเลือกข้อมูลท่ีใชค้ ้นควา้ จากวารสาร
วิจัย บทความวิจัย

2.2.3 บทที่ 3 วิธีดาเนินการ
คือ การบอกให้ทราบรายละเอียดที่เก่ียวกับวิธีการดาเนินการในการศึกษาโครงงาน

พเิ ศษ โดยโครงงานพเิ ศษจะแบง่ ออกเป็น 3 ลกั ษณะและมวี ธิ ีการดาเนินการ ดังนี้
2.2.3.1 โครงงานพเิ ศษเชงิ ทดลอง ประกอบดว้ ย
1) วสั ดแุ ละอปุ กรณ์
2) วิธีการ
3) สถานทดี่ าเนนิ การ
4) ระยะเวลาดาเนินการ
2.2.3.2 โครงงานพเิ ศษเชิงพัฒนาผลติ ภัณฑ์ ประกอบด้วย
1) แนวคิดในการออกแบบ
2) การออกแบบหรือทดลองผลติ ผลติ ภณั ฑ์
3) การกาหนดผู้เช่ยี วชาญ สรา้ งแบบสอบถาม วเิ คราะหข์ ้อมูล หรือ สรุปผล
การทดลอง
4) ข้ันตอนการประดษิ ฐ์ผลิตภณั ฑ์
5) ศึกษาตน้ ทนุ ผลิตภณั ฑ์ (ถา้ มี)
6) การเก็บรวบรวมข้อมลู ประกอบด้วย
6.1) วิธกี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
6.2) สถติ ทิ ใ่ี ช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู

8

2.2.3.3 โครงงานพเิ ศษเชิงสงั คม ประกอบด้วย
1) ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง
2) เครอื่ งมอื ทีใ่ ชใ้ นการศกึ ษา
3) การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
4) สถิติท่ใี ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมลู

2.2.4 บทที่ 4 ผลการศกึ ษาและอภปิ รายผล
เปน็ บทท่ีอธิบายผลทไี่ ดจ้ ากการทดลอง หรือผลทีไ่ ด้จากการศกึ ษาโดยแสดงเป็นตาราง

ภาพประกอบ แผนภูมิ เป็นต้น เพื่อช่วยให้เข้าใจง่าย สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ท่ีระบุ แสดงการ
วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปในรูปตารางหรือรายงานผลการค้นคว้าทดลอง หรือการศึกษาตามลาดับ
ขั้นตอน โดยเน้ือหาประกอบด้วย ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล เป็นการแปลความหมายจากผลการวิเคราะห์
ข้อมลู ดว้ ยค่าสถิติ และมีการอภปิ รายผล

2.2.5 บทที่ 5 สรปุ ผลและขอ้ เสนอแนะ
เป็นบทสุดทา้ ย ผู้เขยี นจะต้องสรปุ ผล และใหข้ ้อคิดเหน็ โดยใช้ความรู้ และประสบการณ์

ท่ไี ดจ้ ากการศึกษาน้ี เนอื้ หาประกอบด้วย
2.2.5.1 สรุปผล กล่าวถึงผลการศึกษาอย่างย่อ ประกอบด้วย วัตถุประสงค์

วิธีดาเนินการ ผลการศึกษาแต่ละข้ันตอน โดยอธิบายให้เข้าใจว่าผลจากการทดลอง หรือผลจาก
การศึกษาข้อมูลบรรลุวัตถุประสงค์ท่ีกาหนดไว้หรือไม่ อย่างไร พร้อมท้ังอธิบายเหตุผล หรือสาเหตุที่
สง่ ผลกระทบต่อผลของการทดลอง หรือการศึกษา

2.2.5.2 ข้อเสนอแนะ กล่าวถึงแนวทาง และข้อเสนอท่ีได้จากการศึกษารวมถึงการ
พัฒนาคร้ังต่อไป เช่น สามารถขยายผลการศึกษาต่อไปได้ อย่างไร หรือเป็นประโยชน์ในการศึกษา
ตอ่ ไป

2.3 สว่ นประกอบท้ายเรอ่ื ง

ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 3 ส่วน คือ เอกสารอ้างอิง ภาคผนวก ประวัติการศึกษา
รายละเอยี ดแสดงดงั ตอ่ ไปน้ี

2.3.1 เอกสารอา้ งองิ (references)
ในโครงงานพิเศษต้องมีการอ้างเอกสารอ้างอิง เช่น ชื่อหนังสือ สิ่งพิมพ์ โสตวัสดุ

รวมถึงข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ ตลอดจนวิธีการที่ได้มาซ่ึงข้อมูลเพ่ือประกอบการเขียนเร่ืองนั้นๆ
เพ่ือให้ผู้อื่นศึกษาค้นคว้าต่อไปได้ และทาให้ข้อมูลท่ีค้นคว้ามีความน่าเชื่อถือเป็นการแสดงให้เห็นการ
สบื ค้นขอ้ มูลในปริมาณที่เพยี งพอ และเป็นระบบ

2.3.2 ภาคผนวก (appendix)
เป็นส่วนแสดงรายละเอียดเพ่ิมเติมของการศึกษา เช่น แบบสอบถาม แบบ

ประเมินผล แบบทดสอบ เป็นต้น เป็นข้อมูลที่ใช้เขียนโครงงานพิเศษ แต่ไม่ได้อ้างอิงโดยตรง ซ่ึงเป็น
เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูล หรือสูตรคานวณต่างๆ การใส่ภาคผนวกขึ้นอยู่กับความจาเป็น และความ
เหมาะสมของข้อมูลที่นาเสนอ หน้าแรกของภาคผนวกให้ข้ึนหน้าใหม่ ให้พิมพ์คาว่า “ภาคผนวก” อยู่

9

ก่ึงกลางหน้ากระดาษ ไม่ต้องพิมพ์เลขหน้าแต่นับหน้า รายละเอียดในภาคผนวกให้แสดงในหน้าถัดไป
ในกรณีทม่ี หี ลายภาคผนวกใหใ้ ช้เป็น ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ตามลาดบั

2.3.3 ประวตั กิ ารศึกษา (curriculum vitae)
ควรมีความยาวไม่เกิน 1 หน้ากระดาษ A4 ประกอบด้วยข้อความต่าง ๆ ตามลาดับ

ดงั น้ี
2.3.3.1 คานาหน้าช่อื ช่อื นามสกลุ (ถ้ามยี ศฐานนั ดรศักด์ิราชทนิ นาม สมณศักดิ์ ให้

ใส่ไวด้ ้วย)
2.3.3.2 วนั เดอื น ปีเกิด
2.3.3.3 ทีอ่ ย่ปู ัจจุบัน
2.3.3.4 ประวัติการศึกษา วุฒิการศึกษา ชื่อสถาบัน และปีที่สาเร็จการศึกษา

(เร่ิมจากการศึกษาปัจจบุ ันไล่ลงตามลาดับ)
- วุฒิการศึกษา (ป.ตรี/ปวส./ปวช./ม.6)
- ชื่อสถาบนั
- ปีทส่ี าเร็จการศึกษา

2.3.3.5 ประสบการณ์ เชน่ สหกิจศกึ ษา กจิ กรรม
2.3.3.6 ผลงานดเี ดน่ (ถา้ ม)ี

บทท่ี 3

รปู แบบการพมิ พ์

รูปแบบการพิมพ์ และการจัดทาโครงงานพิเศษของคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร กาหนดไว้ดังนี้

3.1 ขอ้ กาหนดการพิมพ์

3.1.1 กระดาษท่ีใช้พมิ พ์
ต้องใช้กระดาษปอนดส์ ีขาวไม่มีลายเส้นบรรทดั ขนาดมาตรฐาน A4 น้าหนักไม่น้อยกว่า

80 แกรม ใช้พิมพ์เพียงด้านเดียวด้วยตัวอักษรสีดา เม่ือเข้าเล่มข้อมูลท่ีพิมพ์จะอยู่หน้าขวาเสมอ ท้ังน้ี
รวมถึงชุดทีเ่ ปน็ สาเนาด้วย

3.1.2 พมิ พด์ ว้ ยคอมพวิ เตอรโ์ ปรแกรม Microsoft Word
ลักษณะของตัวพิมพ์ (font) ให้ใช้อักษรแบบ Thai SarabunPSK ตลอดทั้งเล่ม

ทง้ั ตัวเลขอารบิกและตัวอักษร ตามขนาดท่ีกาหนด ดังตารางที่ 3.1

ตารางท่ี 3.1 ขนาดและรปู แบบอักษรการพิมพ์ ขนาด รปู แบบ

รายการ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ตวั หนา
ตวั หนา
ชื่อโครงงานพเิ ศษ (ปกนอกและปกใน) 20 จุด 20 จุด ตัวหนา
บทท่ี ช่อื เร่ืองประจาบท (หัวขอ้ ใหญ)่ 20 จดุ 20 จดุ ตัวหนา
หวั ขอ้ สาคัญ (หวั ขอ้ ชิดซา้ ย) 18 จดุ 18 จุด ตัวธรรมดา
หัวข้อรอง 16 จดุ 16 จดุ
หัวขอ้ ย่อย เนือ้ หา 16 จุด 16 จดุ

3.1.3 กรณีพมิ พ์คาสดุ ทา้ ย
กรณีพิมพ์คาสุดท้ายไม่จบและต้องข้ึนบรรทัดใหม่ ให้ยกคาน้ันไปพิมพ์ในบรรทัด

ต่อไปทงั้ คา เช่น องั กฤษ ห้ามพิมพแ์ ยกคนละบรรทดั เช่น องั -กฤษ เป็นต้น

3.2 การตั้งค่าหนา้ กระดาษ

3.2.1 การกาหนดระยะการพิมพห์ นา้ ท่วั ไป
ขอบด้านบน และขอบด้านซ้าย 1.5 น้ิว หรือ 3.7 เซนติเมตร และกาหนดขอบ

ดา้ นขวา และขอบด้านลา่ ง 1 น้ิว หรือ 2.5 เซนติเมตร
3.2.2 การกาหนดระยะการพิมพข์ องการขึ้นบทใหม่
การข้ึนบทใหม่ รวมถึง กิตติกรรมประกาศ สารบัญ บทท่ี เอกสารอ้างอิง ให้กาหนด

ระยะจากขอบด้านบน 1.5 น้ิว

11

3.3 การลาดบั เลขหนา้

การพิมพ์เลขหน้าให้พิมพ์ไว้ท่ีมุมขวามือของกระดาษ โดยห่างจากริมกระดาษส่วนบนและขอบ
ขวามอื ด้านละ 1 นิว้ หรือ 2.5 เซนติเมตร ขนาดอักษร 16 จุด ตัวธรรมดา

การลาดับเลขหน้าให้เรียงจากส่วนนา ส่วนเนื้อหา และส่วนประกอบท้ายเร่ือง โดยกาหนดเลข
หนา้ ดังน้ี

3.3.1 ส่วนนา
ลาดับหน้าเริ่มจากบทคัดย่อ ใช้ตัวเลขอารบิคและมีวงเล็บกากับ เช่น (1) (2) (3)........

โดยเรมิ่ นับตัง้ แต่บทคดั ย่อเปน็ หน้าแรกและนบั ทกุ ๆ หนา้ ต่อไปจนถงึ หน้าสดุ ท้ายของส่วนนา
3.3.2 สว่ นเน้อื หา และสว่ นทา้ ย
ลาดับหนา้ เรม่ิ จากหนา้ แรกของบทท่ี 1 โดยใช้ตวั เลข อารบิค 1 2 3…..จนจบภาคผนวก

โดยพิมพ์ไว้มุมบนขวามือห่างจากขอบกระดาษด้านบนขวามือ 1 น้ิว หรือ 2.5 เซนติเมตร ยกเว้นหน้า
แรกของแต่ละบทท่ีมีชื่อบท หน้าแรกของบทคัดย่อ หน้าแรกของเอกสารอ้างอิง หน้าแรกภาคผนวก
ไม่ต้องใสเ่ ลขหนา้ แต่ให้นับจานวนหนา้ รวมไปดว้ ย

3.4 การพิมพ์ลาดบั หวั ข้อการย่อหน้า และการเว้นระยะระหวา่ งบรรทัด

3.4.1 ข้อความท่ีเปน็ ช่ือเร่ืองประจาบท (หวั ข้อใหญ)่
ให้พิมพ์กลางหน้ากระดาษ ด้วยอักษรขนาด 20 จุด ตัวหนา ไม่ขีดเส้นใต้ เช่น คานา

กิตติกรรมประกาศ สารบญั บทที่ ชื่อบท เอกสารอ้างอิง ในการพิมพ์บทท่ีกับชื่อเร่ืองประจาบทให้พิมพ์
เว้นระยะห่าง 1 บรรทัด

3.4.2 ข้อความทเี่ ปน็ หัวข้อสาคญั (หัวข้อชิดซ้าย)
ให้พิมพ์ชิดขอบด้านซ้ายมือ ด้วยอักษรขนาด 18 จุด ตัวหนา พิมพ์เว้นห่างจากบรรทัด

บน 1 บรรทดั การพิมพบ์ รรทดั ต่อไปไม่ต้องเว้นบรรทัด
3.4.3 ขอ้ ความท่เี ป็นหัวขอ้ รอง
ให้พิมพ์ย่อหน้าจากขอบด้านซ้ายสุด โดยนับเว้น 7 ตัวอักษร เริ่มพิมพ์ตัวอักษรท่ี 8 ใช้

ตวั อกั ษรขนาด 16 จุด ตวั หนา เช่น 2.1.2 การแบ่งชว่ งอายุของวยั ร่นุ หากมีการแบง่ หวั ข้อรองมากกว่า
3 ระดบั ใหใ้ ส่ตวั เลขกากับ เปน็ ต้น

3.4.4 ขอ้ ความท่ีเป็นหวั ขอ้ ย่อย
ให้พิมพ์ในระดับย่อหน้า กากับหัวข้อย่อยด้วยตัวเลข 4 ระดับ เช่น 2.1.2.1 คุณสมบัติ

ของแป้งมัน เป็นต้น พิมพ์ใหต้ รงกับข้อความของหวั ข้อรองโดยใช้ตัวอักษรขนาด 16 จดุ ตัวธรรมดา ไม่
ต้องพมิ พ์เว้นห่างจากบรรทัดบน และการพิมพ์บรรทัดต่อไปไม่ต้องเว้นบรรทัด การพิมพ์หัวข้อในระดับ
ใดหัวขอ้ ระดับนน้ั ต้องมี 2 หวั ขอ้ เป็นอยา่ งน้อย หากมีการขึ้นหวั ข้อใหม่ ถ้ามที ่ีวา่ งสาหรบั พิมพ์ข้อความ
ตอ่ ไปได้ไม่เกิน 2 บรรทดั ใหข้ ึ้นบรรทดั ใหม่ในหน้าถดั ไป

12

ตัวอยา่ ง การใช้ระบบตัวเลขในบทท่ี 2
2.1 หวั ขอ้ ใหญ่

2.1.1 หวั ข้อรอง
2.1.2 หัวข้อรอง

2.1.2.1 หัวขอ้ ย่อย
2.1.2.2 หัวข้อยอ่ ย

1) หวั ข้อยอ่ ย ยอ่ ย

3.5 การเวน้ ระยะการพมิ พห์ ลังเครื่องหมายวรรคตอน

หลงั เครอื่ งหมายมหัพภาค (. Period) เวน้ 2 เคาะ

หลังเครื่องหมายจุลภาค (, Comma) เวน้ 1 เคาะ

หลังเครอื่ งหมายอฒั ภาค (; Semi-colon) เว้น 1 เคาะ

หลงั เครือ่ งหมายทวิภาค (: Colons) เวน้ 1 เคาะ

3.6 การเว้นระยะระหว่างบรรทดั

3.6.1 การเวน้ ระยะบรรทัด ระหวา่ งบทท่กี ับช่ือเร่อื งประจาบท ใหเ้ ว้นระยะ 1 บรรทดั
3.6.2 การเว้นระยะบรรทัดระหว่างหัวข้อสาคัญ (หัวข้อชิดซ้าย) ข้อความท่ีตามมา ไม่เว้น
ระยะ 1 บรรทดั
3.6.3 การเว้นระยะบรรทัดระหว่างด้านบนและด้านล่างของตารางกับเนื้อความโครงงาน
พิเศษ (กรณตี ารางหรอื ภาพอย่ใู นหน้าเดียวกับเน้ือความ) ใหเ้ วน้ ระยะ 1 บรรทดั

3.7 การพมิ พต์ าราง และภาพประกอบ

การเสนอตาราง หรือภาพประกอบ ควรกล่าวนาก่อนในเน้ือเรื่อง และเม่ือเสนอตาราง หรือ
ภาพประกอบแล้วควรอธบิ าย และตีความหมายตัวเลขในตารางให้เข้าใจ พรอ้ มชใี้ ห้เห็นประเด็นสาคัญ
ทันที อย่าให้ข้อความท่ีอธิบายขอ้ มูลน้ันอยูถ่ ัดไปอีก 2–3 หน้า หากเป็นเช่นน้ันควรใช้คาว่า “ดังตาราง
ท่.ี ....”

3.7.1 ลาดับท่ี หรือเลขหมายประจาตาราง
เป็นส่วนท่ีแสดงลาดับของตารางให้ใส่คาว่า “ตารางท่ี” ตามด้วยเลขลาดับที่ของ

ตารางไว้ริมซ้ายมือสุดของกระดาษ โดยใช้ตัวอักษรหนา และเว้นขอบกระดาษตามระเบียบ โดยแยก
ตามบท เชน่ ตารางท่ี 2 ในบทที่ 3 คือ ตารางที่ 3.2

3.7.2 ชอื่ ตารางและภาพ
ควรอยู่หน้าเดียวกับตารางและภาพประกอบนั้น ให้พิมพ์ต่อจากเลขลาดับที่ของ

ตารางโดยเว้น 2 ตัวอักษร กรณีช่ือยาวกว่า 1 บรรทัดให้พิมพ์อักษรตัวแรกของบรรทัดท่ี 2 ให้ตรงกับ
ตัวแรกของช่ือตาราง หากมีคาอธิบายที่ต้องการบอกรายละเอียดให้ชัดเจน ให้ใส่ไว้ในหมายเหตุท้าย
ตาราง ในการพิมพ์ข้อความชื่อไม่ต้องใส่คาว่า “แสดง” นาหน้า ชื่อตารางกับเส้นหัวตาราง เว้น
ระยะหา่ ง 1 บรรทัด

13

3.7.2.1 ช่ือตารางเขียนไว้ส่วนบนของตารางใส่คาว่า “ตารางที่” ไว้ชิดริมกระดาษ
ดา้ นซา้ ย

3.7.2.2 ช่ือภาพประกอบให้เขียนไว้ใต้แผนภูมิน้ันใส่คาว่า “ภาพที่” ไว้ก่ึงกลางภาพ
ใส่หมายเลขของตารางหรือหมายเลขของภาพเรยี งลาดบั ตอ่ กันไป

3.7.3 การตีเสน้ ตาราง
ตเี ส้นบนสุดและเสน้ ลา่ งสุด ด้านซ้ายและด้านขวาของตารางไมต่ ีเส้น ถ้าตารางนั้นไม่

สามารถนาเสนอให้จบในหน้าเดียว ไม่ต้องขีดเส้นใต้เม่ือจบหน้ากระดาษ และข้ึนหน้าใหม่ให้ใช้คาว่า
“ตารางท่ี 4.2 (ต่อ) หรือ ภาพที่ 4.2 (ต่อ)” เท่าน้ัน (ตามภาคผนวก) โดยไม่ต้องเขียนช่ือตาราง หรือ
ภาพประกอบอีก ให้ระบุช่ือตารางไว้บนตาราง โดยพิมพ์คาว่า “ตารางท่ี” ชิดขอบกระดาษด้านซ้าย
ตามด้วยลาดับท่ีของตาราง ส่วนช่ือตารางให้พิมพ์ต่อจากเลขท่ีตาราง โดยเว้น 2 เคาะ กรณีชื่อตาราง
ยาวเกิน 1 บรรทดั ให้พิมพต์ วั อกั ษาตัวแรกของบรรทัดให้ตรงกับอักษรตวั แรกของชื่อตาราง

3.7.4 การอา้ งอิงตาราง อ้างอิงแผนภูมิ และอ้างองิ ภาพ
ให้อ้างอิงตามแบบการอ้างอิงในเน้ือหา การอ้างอิงตาราง แผนภูมิ และภาพใช้คาว่า

ที่มา : พิมพช์ ่ือผู้แตง่ (ปี พ.ศ.) ไว้ใตต้ าราง, แผนภมู ิ และภาพ กาหนดตาแหน่งให้ตรงกับคาว่าตารางที่,
แผนภมู ิท่ี และภาพท่ี

3.7.5 หมายเหตขุ องตารางและภาพ (ถ้าม)ี ให้อย่กู ่อนคาว่า “ทีม่ า” ให้ตรงกับ ภาพท่ี
3.7.6 หน่วยของตาราง

ทาได้ 2 แบบ คือ แสดงหน่วยไว้ในวงเล็บ และพิมพ์ต่อท้ายหัวข้อตาราง และพิมพ์
แยกบรรทดั หัวขอ้ ตารางโดยให้อยใู่ นบรรทดั ถัดไป และอยู่ตรงกลางของหัวข้อตาราง

3.7.7 ตาราง และภาพในภาคผนวก
ใช้รูปแบบเดียวกับตารางและภาพในส่วนของเนื้อหาแต่ให้ใส่ลาดับที่ของตารางและ

ภาพแยกตามภาคผนวกยอ่ ย เช่น ตารางภาคผนวก ก.1

3.8 การพิมพ์ชอ่ื ทางวิทยาศาสตร์

การพิมพ์ชื่อทางวิทยาศาสตร์ของสิ่งมีชีวิต ได้แก่ จุลชีพ พืช สัตว์ ให้ใช้ตามประมวลนาม
ศาสตรส์ ากล (International Code of Nomenclature) เพื่อทาให้เด่นชดั แตกต่างจากตัวอักษร หรือ
ข้อความอื่นๆ โดยให้ พิมพ์ตัวเอน ช่ือวิทยาศาสตร์เป็นไปตามการตั้งชื่อระบบทวินาม (Binominal
Nomenclature) ประกอบด้วยคา 2 คา คาแรกเปน็ ช่ือ Genus (Generic name) ข้ึนต้นดว้ ยอักษรตัว
ใหญ่ คาหลังเป็น Specific epithet โดยพิมพ์เว้นวรรคห่าง 1 เคาะ จากคาแรก และข้ึนต้นด้วยอักษร
ตัวเล็ก ท้ังน้ีอาจตามด้วย Infraspecific epithet หรือช่ือบุคคล ตามความเหมาะสมของแต่ละ
สาขาวชิ า เชน่

จลุ ชีพ เชน่ Escherichia coli, Bacillus subtills
พืช เชน่ Oryza sativa L., Zea mays L.
สัตว์ เชน่ Crassostrea commercialis Iredal & Routhly

บทที่ 4

การเขียนอ้างองิ ในเลม่

การเขียนอ้างอิงในโครงงานพิเศษของคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลพ ระนคร ใช้แบบ APA Style (American Psychological Association)
ในการระบุแหล่งท่ีมาของข้อมูล เพือ่ เป็นการใหเ้ กียรติแก่เจ้าของข้อมูลเหล่านั้น และเพื่อเป็นประโยชน์
แกผ่ ู้อา่ นทจี่ ะศึกษาค้นคว้าเพิม่ เติม โดยใชก้ ารอา้ งอิงแบบแทรกในเนอื้ หาระบบนามปี ดังนี้

4.1 หลกั การเขยี นอ้างอิงในเนื้อหา

เอกสารท่ีนามาอ้างอิงในเนือ้ หา จะต้องตรงกับเอกสารอ้างองิ ท้ายเลม่ โดยใช้ระบบการเขียน
เอกสารอ้างอิง ระบบชื่อ และปีที่พิมพ์ สาหรับการเขียนเอกสารอ้างอิงภาษาไทยใช้ชื่อ ส่วน
เอกสารอ้างอิงภาษาต่างประเทศใช้ชื่อ สกุล การเขียนอ้างอิงในเนื้อหามี 2 แบบ คือ การเขียนอ้างอิง
หนา้ ข้อความ และการเขียนอ้างอิงหลงั ขอ้ ความทีไ่ ดส้ รปุ ใจความหรือคัดลอกข้อความมา

4.2 รูปแบบการเขียนอา้ งอิง

4.2.1 ผ้เู ขยี นคนเดียว ใหอ้ า้ งช่อื ผูเ้ ขยี น ตามดว้ ยปี ในวงเลบ็ หนา้ ขอ้ ความท่อี ้าง
เช่น ลกั ขณา (2540) กลา่ วว่า.................................................................................................. ...............
หรอื Abling (2001) อธิบายวา่ ...............................................................................................................
หรือ ข้อความท่ีอ้างตามด้วยชอื่ และปีในวงเลบ็ โดยมจี ุลภาคค่นั
เชน่ .............................................................................................................................. (ลกั ขณา, 2540)
หรือ......................................................................................................................... ......(Abling, 2001)

4.2.2 ผู้เขียน 2 คน ให้ใช้ชอื่ ทัง้ 2 คน ตามด้วยปี ในวงเล็บ หน้าข้อความท่อี ้าง
เชน่ บุษรา และกฤตพร (2545) รายงานวา่ ............................................................................................
หรือ Tatham and Seaman (2003) กล่าวว่า......................................................................................
หรือ ข้อความที่อ้างตามด้วยช่ือและปีในวงเล็บ โดยมจี ุลภาคคัน่
เช่น...............................................................................................................(บุษรา และกฤตพร, 2545)
หรือ....................................................................................................... (Tatham and Seaman,
2003)

4.2.3 ผู้เขียน 3 คนขึ้นไป ให้ใส่ชื่อคนแรกตามด้วยคาว่า และคณะ จากนั้นตามด้วยปีใน
วงเล็บ หน้าขอ้ ความท่ีอ้าง
เชน่ วลัย และคณะ (2551) รายงานวา่ ...................................................................................................
หรอื Armstrong et al. (2007) กลา่ ววา่ ...............................................................................................

15

หรอื ขอ้ ความที่อา้ งตามด้วยชือ่ คนแรก ตามด้วยคาวา่ และคณะ จากน้ันตามดว้ ยปีในวงเลบ็ โดยมี
จุลภาคค่ัน
เชน่ .....................................................................................................................(วลัย และคณะ, 2551)
หรอื ............................................................................................................... (Armstrong et al.,
2007)

4.2.4 กรณไี ม่ปรากฏช่อื ผูเ้ ขียน แต่มีช่ือหนว่ ยงาน ให้ใช้ชอ่ื หน่วยงานหรอื บุคคลหรอื กลมุ่
บุคคลเป็นผ้รู ับผดิ ชอบเผยแพร่แทนช่ือผเู้ ขยี นได้และตามด้วยปี ในวงเลบ็ หนา้ ขอ้ ความท่ีอา้ ง
เช่น กรมอนามัย (2551) รายงานว่า....................................................................................................
หรอื Department of Health (2551) รายงานว่า................................................................................
หรือ ข้อความที่อา้ งตามดว้ ยชือ่ และปีในวงเลบ็ โดยมีจลุ ภาคค่ัน
เชน่ ……………………………………………..……………………..…………… (กรมอนามัย, 2551)
หรอื ........................................................................................... (Department of Health, 2007)

4.2.5 กรณีไม่ปรากฏช่ือผเู้ ขียน ชอ่ื หนว่ ยงาน หรอื กลุ่มบุคคลที่เผยแพร่ ใหใ้ ช้ชือ่ เรือ่ ง
หรือช่อื บทความแทน หากเป็นชอื่ เรอ่ื งให้ใช้ ตวั หนา หากเป็นชื่อบทความใหใ้ ส่ไวใ้ นเครื่องหมาย
อญั ประกาศ และตามดว้ ยปี ในวงเลบ็ หน้าขอ้ ความที่อา้ ง
เชน่ “ฟืน้ ตานานคนโทบ้านต้นนา้ ล้านนา” (2547) ไดใ้ ห้รายละเอยี ดว่า..............................................
หรือ “The Moon Festival” (2547) ไดใ้ หร้ ายละเอียดว่า...................................................................
หรอื ข้อความท่ีอ้างตามด้วยชอื่ เร่อื ง หรือชือ่ บทความและปีในวงเล็บ โดยมีจลุ ภาคคั่น
เชน่ ………………………………………..…..…….(“ฟ้ืนตานานคนโทบา้ นตน้ น้าลา้ นนา”, 2547)
หรือ................................................................................................... (“The Moon Festival”, 2003)

4.2.6 กรณีมชี ่ือผเู้ ขียน แตไ่ มม่ ีปีทพี่ ิมพ์ ให้ใช้ ม.ป.ป. (ไม่ปรากฏปีทีพ่ ิมพ์) หรอื n.d. ใน
เอกสารภาษาองั กฤษ ในวงเล็บ หน้าข้อความที่อ้าง
เช่น อโนทัย (ม.ป.ป.) กล่าววา่ ................................................................................................................
หรอื Drudi (n.d.) รายงานวา่ .................................................................................................................
หรือ ขอ้ ความที่อ้างตามดว้ ยชื่อและ ม.ป.ป.หรือ n.d. ในวงเล็บ โดยมีจุลภาคคัน่
เช่น...……………………………………………………….(อโนทยั , ม.ป.ป.)
หรอื …………………………………...…………………….(Drudi, n.d.)

4.2.7 กรณีที่ใชน้ ามแฝง ใหใ้ ช้คาวา่ นามแฝง หรอื “pseud” ในเอกสารภาษาอังกฤษ
หลงั ชอ่ื นามแฝง โดยใชเ้ ครือ่ งหมายจุลภาคค่นั และตามดว้ ยปี ในวงเลบ็ หนา้ ขอ้ ความทีอ่ ้าง
เชน่ แมไ่ ก่, นามแฝง (2524) กล่าวว่า....................................................................................................
หรือ Jubjub, pseud (1999) กลา่ วว่า...................................................................................................
หรอื ขอ้ ความที่อา้ งตามด้วยช่อื นามแฝง และปีในวงเลบ็ โดยมจี ลุ ภาคคนั่
เชน่ ………………………...………………….……………………..……….(แมไ่ ก,่ กนามแฝง. 2524)
หรือ…………………………………………………………..…………..… .( Jubjub, pseud. 1999)

4.2.8 กรณีอ้างอิงผ้เู ขยี นหลายคน หลายเล่ม ใหเ้ รยี งลาดับ ปี พ.ศ. โดยปีล่าสุดอย่หู ลงั สุด
คน่ั ด้วยเครอ่ื งหมายอัฒภาค ในวงเลบ็ หน้าข้อความที่อา้ ง

16

เช่น (สุนิสา 2538; ลดั ดา 2542; กฤตกิ า 2551) รายงานว่า.................................................................
หรือ (Channay 2005; Dobbins 2006; Henry 2007) รายงานว่า......................................................
หรอื ขอ้ ความท่ีอา้ งตามด้วยชื่อและปีในวงเล็บ โดยมีอัฒภาคคั่น
เชน่ ......................................................................................(สนุ ิสา 2538; ลัดดา 2542; กฤติกา 2551)
หรือ………………………………….....…………………….… (Channay 2005; Dobbins 2006; Henry 2007)

4.2.9 การเขียนอ้างอิงเอกสารแปลจากภาษาอ่ืน ให้ใส่ช่ือผู้แต่ง ตามด้วย แปลโดย หรือ
Translated by และตามด้วยปี ในวงเลบ็ หนา้ ข้อความท่ีอ้าง
เชน่ Norton แปลโดย เฉลิมพล (2547) รายงานว่า..............................................................................
หรือ Takamura Translated by Johnson (1999)…………….…………………………………………………….…
หรอื ข้อความท่ีอา้ งตามด้วยชื่อผแู้ ตง่ ตามดว้ ยแปลโดยหรือ Translated by และปใี นวงเลบ็ โดยมี
จุลภาคคน่ั
เชน่ ................................................................................................. (Norton แปลโดย เฉลมิ พล, 2547)
หรือ………………………………………………………(Takamura Translated by Johnson, 1999)

4.2.10 การเขียนอ้างอิงจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ให้ใช้แบบเดียวกับการเขียนเอกสารอ้างอิง
เอกสาร และตามด้วยปี ในวงเลบ็ หนา้ ขอ้ ความทีอ่ า้ ง
เชน่ จันจีรา (2552) ระบุว่า....................................................................................................................
หรือ Dolan (2009) ระบุว่า......................................................................................................
หรือ ขอ้ ความท่ีอ้างตามดว้ ยช่อื และปีในวงเลบ็
เชน่ ......................................................................................................................... ........จนั จีรา (2552)
หรือ…………………………………………………………………………… Dolan (2009)

4.2.11 การเขียนอา้ งอิงข้อมูลตารางหรือภาพ ใหร้ ะบุชื่อผู้แตง่ นอกวงเลบ็ และระบุปีที่
พมิ พใ์ นวงเล็บ และใช้คาที่มาใต้ตารางหรอื ภาพ ดังนี้

ที่มา: สดุ าวรรณ (2546)
ท่ีมา: กรมสง่ เสริมการสง่ ออก (2551) เปน็ ต้น
4.2.12 การเขียนอ้างอิงจากเอกสารอันดับรอง หรือเอกสารทุติยภูมิ เป็นเอกสารที่ไม่ได้
เขียนขึ้นจากต้นกาเนิดความคิดหรือทฤษฎีของผู้เขียนโดยตรง แต่เป็นงานเขียนท่ีได้ศึกษาค้นคว้า
รวบรวมทฤษฎีความรูจ้ ากนักวชิ าการทา่ นตา่ ง ๆ จากเอกสารปฐมภมู ิ โดยปกติหากสามารถหาเอกสาร
ปฐมภูมิเจ้าของทฤษฎีหรือความคิดน้ันได้ จะอ้างองิ จากเอกสารปฐมภมู ิดังกล่าว หากไมส่ ามารถหาได้
จาเป็นต้องอ้างอิงจากเอกสารอนั ดับรอง หรือเอกสารทตุ ยิ ภมู ิน้ี จะมีวธิ ีการเขียนอา้ งอิงได้ 2 รปู แบบ
ดงั น้ี
4.2.12.1 กรณีข้ึนต้นด้วยการอ้างอิงจากเอกสารปฐมภูมิ ให้เขียนอ้างอิงเอกสาร
ปฐมภูมิ ตามด้วยคาว่า อ้างถึงใน (ผลงานภาษาไทย) หรือ quoted in (ผลงานภาษาต่างประเทศ)
ตามดว้ ยการอา้ งอิงเอกสารอันดับรอง หรอื เอกสารทตุ ิยภูมิ ตวั อย่างเช่น

บญั ญตั ิ (2527) อา้ งอิงใน นจิ ศริ ิ (2543) ได้กล่าวว่า........................................
ห รื อ Pruthi ( 1980) quoted in Frazier. and Westhoff ( 1988)
ไดก้ ล่าวว่า.........................................................................................................................

17

หรอื ..................................................................................................................
..................................................................................................(บญั ญตั ,ิ 2527 อา้ งถึงใน นิจศิร,ิ 2543)
หรือ.............................................................................................................................................
...............................................................................................(Pruthi, 1980 quoted in Frazier and
Westhoff, 1988)

4.2.12.2 กรณขี น้ึ ตน้ ดว้ ยการอา้ งอิงจากเอกสารอนั ดบั รอง หรอื เอกสารทตุ ยิ ภูมิ ให้
เขียนอา้ งอิงเอกสารอนั ดบั รองหรอื เอกสารทุตยิ ภมู ิ ตามดว้ ยคาวา่ อ้างจาก (ผลงานภาษาไทย) หรือ
quoting (ผลงานภาษาตา่ งประเทศ) ตามดว้ ยการอา้ งเอกสารปฐมภมู ิ ตัวอย่างเชน่

นิจศริ ิ (2543) อ้างจาก บัญญตั ิ (2527) กลา่ ววา่ .....................................
............................................................................................................................. .................................

หรอื Frazier and Westhoff (1988) quoting Pruthi (1980) กลา่ วว่า
...................................................................................................................... ......

หรือ...............................................................................................................
...................................................................................................(นิจศิร,ิ 2543 อา้ งจาก บัญญัติ, 2527)

หรอื ..............................................................................................................
.....................................................................................................(Frazier and Westh off, 1988
quoting Pruthi, 1980)

บทท่ี 5

การเขยี นเอกสารอา้ งองิ ทา้ ยเล่ม

เอกสารอ้างอิงเป็นส่วนสาคัญในการเขียนงานทางวิชาการ เพราะเป็นแหล่งที่มาของข้อมูล
ท้ังหมดที่ผู้เขียนได้รวบรวม สรุปเน้ือความเพื่อนามาเรียบเรียงในโครงงานพิเศษ เมื่อได้อ้างอิงไว้ใน
เน้ือหาแล้วผู้เขียนต้องนามาเขียนเป็นเอกสารอ้างอิงท้ายเล่มด้วยเสมอเพื่อแสดงถึงการเคารพใน
ทรัพย์สินทางปัญญาให้กับนักวิชาการท่ีเราไปศึกษาค้นคว้าหาความรู้มา และเพื่อแสดงถึงความ
น่าเชื่อถือของข้อมูล ตลอดจนแสดงถึงความพยายามและต้ังใจในการศึกษาค้นคว้าของผู้เขียนได้เป็น
อยา่ งดีอกี ดว้ ย

เนื่องจากเอกสารท่ีนามาใช้ในการเขียนเอกสารอ้างอิงมีหลากหลายประเภท รูปแบบการ
เขียนเอกสารอ้างอิงท้ายเล่ม จะแตกต่างกันตามประเภทของเอกสารที่นามาอ้างอิง เช่น หนังสือ
บทความ วารสาร วิทยานิพนธ์ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ซึ่งมีหลักการและรูปแบบในการเขียน
ดงั นี้

5.1 หลกั เกณฑ์ท่ัวไปในการเขยี นเอกสารอา้ งองิ

5.1.1 ให้ใช้คาว่า เอกสารอ้างอิง ไว้กลางหน้ากระดาษ ขนาดตัวอักษร 20 จุด ตัวหนา
ไมต่ อ้ งขดี เสน้ ใต้ ห่างจากขอบกระดาษดา้ นบน 1.5 น้วิ

5.1.2 การเรียงลาดับ การเรียงลาดับรายการเอกสาร วัสดุสารนิเทศที่ใช้ค้นคว้า
ในเอกสารอ้างอิงไม่ต้องเขียนเลขลาดับที่กากับ ให้จัดเรียงตามตัวอักษรของช่ือผู้แต่ง โดยเร่ิมจาก
เอกสารอ้างอิงของวัสดุสารนิเทศท่ีเปน็ ภาษาไทยก่อนแล้วตามดว้ ยภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศ
เอกสารอ้างอิงหลายชื่อเร่ืองท่ีมีผู้แต่งคนเดียวกันหรือชุดเดียวกัน ให้เรียงลาดับ ตามปีท่ีพิมพ์ของ
วสั ดุนนั้ ๆ โดยเรียงลาดับจากปีทพ่ี ิมพ์คร้ังหลงั สุดไวก้ อ่ น

5.1.3 การลงรายการสว่ นตา่ งๆ ของเอกสารอา้ งอิง มีหลักการดังน้ี
5.1.3.1 ช่ือผู้แต่ง การลงรายการผู้แต่งในเอกสารอ้างอิงให้ลงตามที่ปรากฏ

ในหน้าปกของผลงานน้ันๆ สาหรับหนังสือแปลให้ถือเป็นเอกสารภาษาไทยและการถอดชื่อผู้แต่งเป็น
ภาษาไทยให้ใชเ้ กณฑ์ตามพจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน

1) ผ้แู ต่งท่เี ป็นคนไทย ให้ลงชอื่ นามสกลุ โดยไม่ต้องใส่คานาหนา้ ชื่อ หรอื ยศ
ตาแหน่ง วุฒิการศึกษา ยกเว้นคานาหน้าช่ือที่เป็นฐานันดรศักด์ิ และบรรดาศักดิ์ ให้ลงต่อจากชื่อ
นามสกลุ โดยใช้เครื่องหมายจุลภาค ( , ) คั่น สว่ นพระท่ีมสี มณศกั ดิ์ให้เขยี นตามปกติ ตวั อยา่ งเช่น

กนกพร โลหะจันทร.์
เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ าร,ี สมเด็จพระ.
คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว.
อนมุ านราชธน, พระยา.

19

พระเทพวิสุทธเิ มธ.ี
2) ผู้แต่งชาวต่างประเทศ ให้ลงรายการตามที่ปรากฏในผลงานโดยใช้อักษร
โรมันและกลับช่อื สกลุ มาไวข้ ้างหน้า คั่นด้วยเคร่ืองหมายจุลภาค ( , ) ตามด้วยชอ่ื ต้น และชื่อกลาง (ถ้า
ม)ี ตัวอย่างเช่น

Dolan, E.
Russell, J. D.
3) ผู้แต่ง 2 คน ใช้คาว่า “และ” (สาหรับผลงานภาษาไทย) หรือ “and”
(สาหรับผลงานภาษาต่างประเทศ) เช่ือมระหว่างชื่อผู้แตง่ คนท่ี 1 กับคนท่ี 2 ตัวอย่างเชน่
สทุ ิน อาจกล้า และ สทุ น กลา้ หาญ.
Fujikura, T. and Toshiyoba, M.
4) ผแู้ ตง่ 3 คน หรือมากกวา่ 3 คน ใชค้ าวา่ “และ” (สาหรับผลงาน
ภาษาไทย) หรอื “and” (สาหรบั ผลงานภาษาต่างประเทศ) เชอ่ื มระหวา่ งช่อื ผู้แตง่ คนรองสดุ ท้าย
และคนสดุ ทา้ ย ตวั อย่างเช่น
สุทนิ อาจกล้า, อาจอง สุพรรณ และ สุทน กล้าหาญ.
Fujikura, T., Brica, J. and Toshiyoba, M.
5) ผู้แต่งท่ีเป็นหน่วยงาน หรือนิติบุคคล ให้ลงรายการตามท่ีปรากฏในวัสดุ
นัน้ ตวั อยา่ งเช่น
กรมวิชาการเกษตร
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
สมาคมพนั ธ์ุพืชแหง่ ประเทศไทย
6) ผู้แต่งท่ีเป็นผู้รวบรวม (Complier) หรือบรรณาธิการ (Editor) ตามทีร่ ะบุ
ไวใ้ นหนา้ ปกในของเอกสาร ให้ใชค้ าวา่ “ผู้รวบรวม” (สาหรับผลงานภาษาไทย) หรอื “comp.” หรอื
“บรรณาธกิ าร” (สาหรบั ผลงานภาษาไทย) และ ed. (สาหรับผลงานภาษาต่างประเทศ ในกรณที มี่ ี
บรรณาธิการหลายคนใชค้ าว่า eds.) ไวท้ า้ ยชือ่ ผ้แู ต่งนนั้ ๆ โดยคั่นดว้ ยเคร่ืองหมายจุลภาค ( , )
ตวั อย่างเชน่
ขจร สุขพานิช, ผรู้ วบรวม.
Famingo, S., comp.
ดุจเดอื น ดาวชยั , บรรณาธกิ าร.
Tommy, C., ed.
Fujikura, T., Brica, J. and Toshiyoba, M., eds.
7) ในกรณีที่ไม่ปรากฏช่ือผู้แต่ง ช่ือผู้รวบรวม ช่ือบรรณาธิการ หรือชื่อ
หนว่ ยงานท่ีจัดพิมพ์ ให้ใช้ช่ือเรอ่ื ง หรอื ช่ือบทความแทนช่อื ผู้แต่ง
5.1.3.2 ปีท่ีพิมพ์ การลงรายการปีที่พิมพ์ ให้ระบุเฉพาะตัวเลขของปีท่ีพิมพ์ในลาดับ
ท่ีหลังชื่อผู้แต่ง กรณีไม่ปรากฏปีท่ีพิมพ์ให้ใส่อักษรย่อ “ ม.ป.ป.” (ไม่ปรากฏปีท่ีพิมพ์สาหรับผลงาน
ภาษาไทย) หรือ n.d. (no date ไม่ปรากฏปพี มิ พส์ าหรับผลงานภาษาต่างประเทศ)

20

5.1.3.3 ชอื่ เร่ือง ใหล้ งรายการชื่อเรอื่ งตามที่ปรากฏในหน้าปกในของเอกสาร สาหรับ
ชื่อเร่ืองภาษาต่างประเทศให้ใช้ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ข้ึนต้นทุกคา ยกเว้นคาบุพบท (Preposition)
คาสันธาน (Conjunction) คานาหน้านาม (Article: a, and, the) ซึ่งมิใช่คาแรกของชื่อเรื่อง และให้
พิมพด์ ว้ ยตวั หนา ตวั อย่างเชน่

Dictionary of Computer and Internet
5.1.3.4 คร้ังที่พิมพ์ ให้ระบคุ ร้ังที่พมิ พ์ตั้งแตค่ รั้งท่ี 2 ขึ้นไป โดยลงต่อจากช่ือเร่ือง
ตัวอยา่ งเชน่

พมิ พค์ รัง้ ที่ 2 (สาหรบั ผลงานภาษาไทย) หรือใช้ 2nd ed. (สาหรบั ผลงาน
ภาษาตา่ งประเทศ)

พิมพค์ รง้ั ท่ี 3 (สาหรบั ผลงานภาษาไทย) หรอื ใช้ 3rd ed. (สาหรบั
ผลงานภาษาตา่ งประเทศ)

พมิ พ์ครง้ั ที่ 4 (สาหรับผลงานภาษาไทย) หรอื ใช้ 4th ed. (สาหรับ
ผลงานภาษาต่างประเทศ)

5.1.3.5 สานักพิมพ์ ให้ลงช่ือสานักพิมพ์ตามท่ีปรากฏอยู่ในหน้าปกในของเอกสาร
โดยไม่ต้องใส่คาว่า สานักพิมพ์ ในกรณีท่ีมีท้ังชื่อสานักพิมพ์และโรงพิมพ์ ให้ใส่เฉพาะสานักพิมพ์
เท่าน้ัน หากไม่พบชื่อสานักพิมพ์ให้ใช้ช่ือโรงพิมพ์แทน ในกรณีท่ีไม่ปรากฏท้ังชื่อสานักพิมพ์
และโรงพิมพ์ ให้ใส่ “ม.ป.ท.” (ไม่ปรากฏสถานท่ีพิมพ์ สาหรับผลงานภาษาไทย) หรือ “n.p.”
(no place สาหรับผลงานภาษาตา่ งประเทศ) ตัวอย่างเช่น

สานกั พมิ พแ์ พรพ่ ทิ ยา ใหใ้ ช้ว่า แพรพ่ ิทยา
สานกั พมิ พ์สขุ ภาพใจ ใหใ้ ช้ว่า สุขภาพใจ
การอ้างอิงหนังสือพิมพ์ท่ีเป็นโรงพิมพ์ ให้ระบุคาว่า โรงพิมพ์ ในการอ้างอิง
ด้วย เช่น
โรงพมิ พจ์ ฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย
โรงพิมพบ์ ึงหง่ีเฮียง
5.1.3.6 สถานที่พิมพ์ ให้ระบชุ ่ือเมอื งหรือจังหวัดที่สานักพิมพ์หรือโรงพมิ พ์ตง้ั อยู่ โดย
ใชช้ อื่ ตามที่ปรากฏอยู่ในหนา้ ปกในของเอกสาร ในกรณีที่มีมากกวา่ หน่ึงเมอื งให้ใสเ่ ฉพาะช่ือเมืองแรกที่
ปรากฏเท่าน้ัน หากไม่พบช่ือเมืองให้ใส่อักษรย่อ “ม.ป.ท.” (ไม่ปรากฏสถานท่ีพิมพ์สาหรับผลงาน
ภาษาไทย) หรือ “n.p.” (no place สาหรับผลงานภาษาต่างประเทศ)

21

5.2 รปู แบบการเขียนเอกสารอา้ งองิ ท้ายเล่ม

5.2.1 รูปแบบการเขยี นเอกสารอา้ งองิ สาหรบั หนงั สอื

ชอ่ื //นามสกลุ .//ปีท่ีพมิ พ.์ //ช่อื เรอื่ ง.//ครัง้ ทพี่ มิ พ์ (ถา้ ม)ี .
///////ช่อื สานกั พมิ พ์, /ช่อื สถานท่ีพิมพ.์
ตัวอยา่ ง
ผู้แตง่ 1 คน นอ้ งนุช ดวงใจ. 2550. ผ้ากะเหร่ียง. ศรเี มอื งการพมิ พ,์ ลาปาง.
William, K. A. 1998. Fiber to Fabrics. 2nd ed. Yoshi Book, Tokyo.
ผแู้ ตง่ 2 คน นุชนารถ ดวงทพิ ย์ และ ดวงใจ สุวรรณ. 2550. ผา้ กะเหร่ียง เย้า และมเู ซอ.

เมืองทองการพมิ พ์, ลาปาง.
William, K. A. and Groge, L. 1999. Fabric for Kid. Alexandra

Printing, Hong Kong.
ผู้แตง่ 3 คน กมลทิพย์ ดอี ุดมใจ, มณนี ุช ทิพย์อทุ ัย และ ดวงวิไล วรรณารักษ.์ 2548.

การตกแต่งผา้ ชนเผา่ ไทย. พิมพค์ ร้งั ท่ี 2. กนกวรรณการพมิ พ,์
แมฮ่ ่องสอน.
Joseph, A., Samson, K. A. and Viviean, L. 1989. Play with
Fabric. 8th ed. A and J Printing, New York.
ผแู้ ตง่ มากกวา่ 3 คน
วิรตั น์ สขุ สงบ, ศรินทพิ ย์ พงษศ์ าศวตั , สิทธิ์ ธีรสรณ์ และ อรวี จันทร์บาง.
2549. การเขียนเพอ่ื การสอื่ สาร. ไทยการพมิ พ,์ กรุงเทพฯ.
Calton, J., Dobbins, L. H., Hillgard, E. R. and Sewell, W. H.
1989. Read and Write. Senior Book, Capetown.
ผู้แต่งที่เปน็ บรรณาธิการ
เหมือนฝัน วนั ดีใจ, บรรณาธิการ. 2547. นาใจ : สิ่งเลอื นหายจากใจคน.
พมิ พ์คร้ังท่ี 9. สนุกสนาน, กรงุ เทพฯ.
Bamboo, R., comp. 1999. Born in Thailand. Great and Good,
Ottawa.
ผแู้ ต่งท่ีเปน็ หน่วยงาน
กรมการฝกึ หัดครู. หนว่ ยศกึ ษานเิ ทศก.์ 2549. การเรียนร้เู พือ่ อนาคต.
หน่วยศึกษานเิ ทศก์ กรมการฝกึ หัดครู, กรงุ เทพฯ.
American Museum of Natural History. 1999. Annual Report 1997-
1998. American Museum of Natural History, New York.
ไม่ปรากฏช่ือผู้แตง่
การเมืองเร่อื งขาขนั . 2549. อักษรไทย, กรุงเทพฯ.
Joke in Japan. 1997. Hirokunniya, Tokyo.

22

ไมป่ รากฏสถานท่พี ิมพ์
วลัยกร ออ้ นนาดี. 2548. ประวตั บิ ุคคลสาคญั . สยามการพิมพ์, ม.ป.ท.
Mulan, P. 1997. Style of Bags. Creat and Think, n.p.

ไมป่ รากฏช่อื เมืองและสานักพมิ พ์
ปยิ ะมาศ สังการ. 2548. การดูแลผสู้ งู อายุ. ม.ป.ท.
Pollan, P. D. 1990. Shine of Fabric. Kraft and Crate, n.p.

5.2.2 รูปแบบการเขยี นเอกสารอา้ งองิ สาหรบั หนังสอื แปล

ตวั อย่าง ผู้แตง่ .//ปีที่พมิ พ.์ //ชื่อเรอื่ ง.//แปลโดย ผแู้ ปล.//สานกั พิมพ์,
///////เมืองที่พิมพ์.

แมร่,ี แอนน์. 2549. กว่าจะเป็นผืนผ้า. แปลโดย อรณี กุศลกรรม. ดวงรตั น์
การพิมพ์, กรุงเทพฯ.

Francis, M. 1999. Fabric in Garden. Translated by Thomas, A. D.
Konkuya. Yokohama.

5.2.3 รูปแบบการเขียนเอกสารอา้ งอิงสาหรบั บทความในวารสาร

ตัวอย่าง ผู้แต่ง.//ปีท่พี ิมพ์.//“ช่ือบทความ.” //ช่ือวารสาร.//
///////ปีที่พิมพ,์ ฉบบั ท่ี (เดือนของวารสาร) / : /หนา้ ท่บี ทความ

ปรากฏ.

ขจรเกียรติ ปีนะรัตน.์ 2549. “อยากสวย...คณุ ชว่ ยได้.” บ้านเรือน. 50, 8
(สงิ หาคม) : 12-15.

Rogers, L. 2006. “Beauty for Today.” Princess. 125, 5
(December) : 16.

Lucus, G. 2007. “Today and Tomorrow .” Earth. 25, 2
(March-April) : 116-118.

5.2.4 รปู แบบการเขยี นเอกสารอา้ งอิงสาหรับบทความในหนังสือรวมบทความ

ช่อื ผู้เขียนบทความ.//ปีทีพ่ มิ พ์.//“ชือ่ บทความ.” //ใน ช่อื หนังสอื .
///////หนา้ .//ช่อื บรรณาธิการ (ถา้ มี). //สานักพมิ พ์หรอื โรงพมิ พ์, เมืองที่พิมพ์.

23

มี “fhij” สาหรับบทความ/ในวารสาร วทิ ยานิพนธ์ หนงั สอื สอ่ื สิ่งพิมพ์ สารานุกรม
ตวั เขม้ ท่ี ชื่อเรื่อง ช่ือวารสาร ชอื่ หนงั สือ (เข้มทีต่ ัวหลักของแหล่ง)

การเขียนเอกสารอ้างอิงสาหรับบทความในหนังสือภาษาต่างประเทศ คาว่า “ใน”
ให้ใช้ คาว่า “in” สาหรับ “ผู้รวบรวม” ให้ใช้คาว่า “complier” สาหรับบรรณาธิการให้ใช้คาว่า
“editor” และหนา้ ท่ีบทความปรากฏใหใ้ ช้ p. (กรณีมี 1 หน้า) หรอื pp. (กรณีมีหลายหนา้ )

ตัวอย่าง

กุลนัฐ ดวงพชิ ยั . 2550. “เสื้อผา้ กับราศ.ี ” ใน รวมบทความเพอ่ื
พฒั นาตน. หน้า 25-26. ประภาส อวยชัย, บรรณาธกิ าร.
สามดวงชัยการพิมพ์, กรงุ เทพฯ.

Herbert, A. 1998. “Hello Monaco.” in Travel. pp. 23-25.
Mcdonald, P., editor. Good Book, New York.

5.2.5 รูปแบบการเขียนเอกสารอา้ งอิงสาหรับบทความจากหนงั สอื พิมพ์

ตวั อยา่ ง ชื่อผเู้ ขยี นบทความ.//ปที พ่ี ิมพ์.//“ชอ่ื บทความ.” //ช่อื หนงั สอื พิมพ์/
///////(วันที่ เดือน) / : /หน้าทีบ่ ทความปรากฏ.

เจนใจ กายสิทธ์.ิ 2551. “การสร้างลายพิมพด์ ว้ ยใบไม้.” ไทยรัฐ
(29 กมุ ภาพนั ธ์) : 4.

Mandela, N. 2008. “Pre-beauty.” Times (29 Feb.) : 23-24.

5.2.6 รูปแบบการเขยี นเอกสารอ้างอิงสาหรับบทความในสารานุกรม

ตวั อยา่ ง ช่ือผู้แตง่ .//ปีท่ีพิมพ์.//“ช่อื บทความ.” //ชือ่ สารานุกรม.// เล่มที่ /:/
///////เลขหนา้ .

เกษรี สขุ สวุ รรณ. 2549. “การถักแห.” สารานุกรมไทยฉบับเยาวชน.
13 : 234-240.

Karen, L. 2006. “Station Beauty.” Encyclopedia of Human.
15 : 540-560.

5.2.7 รูปแบบการเขยี นเอกสารอา้ งอิงสาหรบั วทิ ยานพิ นธ์

ผู้เขยี นวิทยานพิ นธ์.//ปีท่พี ิมพ์.//“ช่ือวิทยานพิ นธ์.” //
///////วทิ ยานพิ นธป์ ริญญาโท.// ชอ่ื ภาควชิ า/คณะ,/ชอ่ื มหาวิทยาลยั .

24

ตัวอยา่ ง

ลักขณา ธนาวรรณกิจ. 2550. “ความพึงพอใจทม่ี ีต่อผลิตภัณฑผ์ า้ จกราชบุรี.”
วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาโท. ภาควชิ าคหกรรมศาสตร์ บัณฑติ วิทยาลัย,
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์

Phuenpipob, C. 2007. “Utilization of Reprocessed Milk
from UHT Milk Production at The Chitralada Dairy.” The
Degree of Master of Science (Food and Nutrition for
Development), Faculty of Graduate Studies, Mahidol University .

5.2.8 รปู แบบการเขียนเอกสารอา้ งอิงสาหรับจุลสาร เอกสารอัดสาเนา และเอกสารท่ี
ไม่ได้ตีพิมพอ์ น่ื ๆ

ให้ใช้แบบแผนเดียวกับหนังสือ ยกเว้นชื่อเร่ือง ให้ใส่ไว้ในเครื่องหมายอัญประกาศ
และวงเล็บคาว่า “จุลสาร” หรือ “อัดสาเนา” (สาหรับจุลสาร เอกสารอัดสาเนา และเอกสารที่ไม่ได้
ตีพิมพ์อ่ืน ๆ ที่เป็นภาษาไทย) และ “ Pamphlet” หรือ “Mimeographed” (สาหรับจุลสาร
เอกสารอดั สาเนา และเอกสารทีไ่ มไ่ ดต้ ีพมิ พอ์ ่นื ๆ ทเ่ี ป็นภาษาต่างประเทศ) ไวท้ ้ายรายการ

ตัวอยา่ ง

สานักงานคณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแหง่ ชาติ. 2546 “สิทธิส่วนบุคคลกบั
ฐานข้อมูลในคอมพิวเตอร์.” สานกั งานคณะกรรมการสทิ ธิมนษุ ยชน
แหง่ ชาติ, กรงุ เทพฯ. (จลุ สาร).

สัตยา วงศส์ าโรจน์. 2522. “สภาวะการทางานในโรงงานตดั เย็บเสือ้ ผ้า.”
กองวเิ คราะห์ผลกระทบจากส่ิงแวดล้อม สานกั งาน
คณะกรรมการส่งิ แวดลอ้ มแห่งชาต,ิ กรงุ เทพฯ. (อดั สาเนา).

5.2.9 รูปแบบการเขียนเอกสารอ้างอิงจากการสัมภาษณ์

ตัวอย่าง ผู้ใหส้ มั ภาษณ.์ //ปที ส่ี มั ภาษณ์.//ตาแหน่ง (ถา้ ม)ี . //สมั ภาษณ์,/วันท่ี
///////เดือน.

กิจจา สวสั ดชี ัยกลุ . 2550. ผูใ้ หญบ่ ้าน. สมั ภาษณ์, 2 มกราคม.

5.2.10 รูปแบบการเขียนเอกสารอ้างอิงจากส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์

ชอ่ื ผู้แต่ง.//ปที ีผ่ ลติ .//ชอ่ื เรือ่ ง.//[ประเภทของสือ่ ].
///////ผ้ผู ลติ , เมอื งท่ผี ลิต.

25

ตัวอย่าง

วาสนา กรุงเกษม. 2549. ผา้ ไทยลายทอ. [CD-ROM]. ก้าวหน้าพัฒนา,
กรงุ เทพฯ.

5.2.11 รปู แบบการเขียนเอกสารอ้างอิงจากสอ่ื อนิ เทอรเ์ นต็

ตัวอย่าง ช่อื ผูแ้ ต่ง.//ปีท่ีผลิต.//ช่ือเรอื่ ง.//[ประเภทของสือ่ ] /เข้าถงึ ได้จาก:
///////แหล่งข้อมูล, วัน เดือน ปีที่สืบคน้ .

เกษมกจิ พชิ ิตชัยชุมพล. 2550. เสน้ สายลายทอ. [ออนไลน์] เข้าถึงไดจ้ าก:
http://www.yippy.com/1256-textiles, 28 มกราคม 2552.

Coconut, W. and Scoobs, P. J. 2007. Fabrics. [Online]
Available from: http://www.choowup.com/1256.345-textiles,
1 July 2009.

5.2.12 รปู แบบการเขยี นเอกสารอา้ งอิงจากเอกสารอันดับรอง หรือเอกสารทตุ ยิ ภูมิ
เอกสารอันดับรอง หรอื เอกสารทุติยภูมิ เป็นเอกสารที่ไม่ได้เขียนข้ึนจากต้นกาเนิด

ความคิดหรือทฤษฎีของผู้เขียนโดยตรง แต่เป็นงานเขียนที่ได้ศึกษาค้นคว้า รวบรวมทฤษฎีความรู้จาก
นักวิชาการท่านต่าง ๆ จากเอกสารปฐมภูมิ โดยปกติหากสามารถหาเอกสารปฐมภูมิเจ้าของทฤษฎี
หรือความคิดน้ันได้ จะอ้างอิงจากเอกสารปฐมภูมิดังกล่าว หากไม่สามารถหาได้ จาเป็นต้องอ้างอิง
จากเอกสารอนั ดบั รอง หรือเอกสารทุตยิ ภูมิน้ี จะมวี ธิ กี ารเขียนเอกสารอา้ งองิ ได้ 2 รปู แบบ

5.2.12.1 กรณขี ึน้ ตน้ ด้วยเอกสารอ้างอิงปฐมภูมิ ใหเ้ ขียนเอกสารอ้างอิงจาก
เอกสารปฐมภูมิ เชอื่ มดว้ ยคาวา่ อา้ งถึงใน (ผลงานภาษาไทย) หรอื quoted in (ผลงาน
ภาษาตา่ งประเทศ) ตามดว้ ยเอกสารอ้างอิงจากเอกสารอนั ดบั รองหรือเอกสารทุตยิ ภมู ิ ตัวอย่างเชน่

บัญญัติ สุขศรงี าม. 2527. เคร่ืองเทศทใี่ ช้เปน็ สมนุ ไพร.
เลม่ 2. บรู พาสาสน,์ กรงุ เทพฯ. อ้างถงึ ใน นจิ ศริ ิ เรืองรงั ษ.ี
2543. เครอ่ื งเทศ. โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , กรงุ เทพฯ.

Pruthi, J. S. 1980. Spices and Condiments :
Chemistry, Microbiology, Technology. Academic
Press, New York. quoted in Frazier, W. C. and
Westhoff, D. C. 1988. Food Microbiology. 4th ed.
McGraw-Hill Book Company, Singapore.

26

5.2.12.2 กรณีขึ้นต้นด้วยเอกสารอ้างอิงอนั ดับรอง หรือเอกสารทุติยภูมิ ให้เขียน
เอกสารอ้างองิ จากเอกสารอันดบั รอง หรอื เอกสารทุตยิ ภูมิ เชื่อมด้วยคาวา่ อ้างจาก (ผลงานภาษาไทย)
หรือ quoting (ผลงานภาษาต่างประเทศ) ตามดว้ ยเอกสารอา้ งองิ จากเอกสารปฐมภูมิ ตวั อยา่ งเช่น

นจิ ศิริ เรืองรงั ษ.ี 2543. เคร่ืองเทศ. โรงพิมพ์จฬุ าลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั , กรุงเทพฯ. อ้างจาก บญั ญัติ สขุ ศรีงาม.
2527. เครื่องเทศที่ใชเ้ ป็นสมนุ ไพร เลม่ 2.
บูรพาสาสน,์ กรุงเทพฯ.

Frazier, W. C. and Westhoff, D. C. 1988. Food
Microbiology. 4th ed.McGraw-Hill Book
Company, Singapore. quoting
Pruthi, J. S. 1980. Spices and Condiments:
Chemistry, Microbiology, Technology.
Academic Press, New York.

5.2.13 รปู แบบการเขยี นเอกสารอ้างอิงจากมาตรฐาน ข้อกาหนด มผช./อย.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์. 2550.
มาตรฐานผลติ ภณั ฑข์ ้าวเกรียบ (มก.–ธ.ก.ส. 008/2550).
การประกนั คณุ ภาพและมาตรฐานของผลติ ภณั ฑ์หน่ึงตาบล
หนึ่งผลิตภัณฑ์ ภายใตค้ วามร่วมมอื มก.-ธ.ก.ส., กรงุ เทพฯ.

27

20 จดุ ตวั หนา

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก ตัวอยา่ งสว่ นประกอบของโครงรา่ งโครงงานพเิ ศษ 18 จุด ตวั หนา
ภาคผนวก ข แบบฟอร์มประกอบการทาโครงงานพเิ ศษ
ภาคผนวก ค ตัวอยา่ งสนั ปก
ภาคผนวก ง ข้อกาหนดในการจดั ทา CD-ROM ฉบับเต็ม (Full Text)

28

ภาคผนวก ก 18 จุด ตวั หนา
ตัวอย่างสว่ นประกอบของโครงรา่ งโครงงานพเิ ศษ

ขอบบน 1.5 นวิ้ ตัวอย่างการกาหนดระยะการพมิ พ์หนา้ ทั่วไป
29

ขอบลา่ ง 1 นิ้ว

ขอบซา้ ย ขอบขวา
1.5 น้วิ 1 น้วิ

ขอบล่าง
1 นิว้

ขอบบน 1.5 นิ้ว ตวั อยา่ งการพมิ พ์ลาดับหัวข้อ
30

บทท่ี 1 เว้น 1 บรรทัด
บทนา เว้น 2 บรรทดั

นบั 7 ตวั อกั ษร 1.1 หัวข้อสาคัญ (หวั ข้อชดิ ซา้ ย) 18 จุด, หนา
เริ่มพิมพต์ ัวอักษร
ที่ 8 หรอื 0.5 นว้ิ เว้น 1 บรรทัด

ขอบซา้ ย 1234657ข้อความ.................................................................................................................................
1.5 น้ิว ............................................................1..6....จ..ดุ ..,...ห..น...า.................................................................................

1.1.1//หัวข้อรอง
ขอ้ ความ………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………16…จ…ุด…,…บ…าง………………………………………………………………………
1.1.2//หัวข้อรอง
ข้อความ………………………………………………………….………………………………………. ขอบขวา

……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1 นว้ิ
1.1.2.1// หวั ขอ้ ยอ่ ย ข้อความ.............................................................................

.............................................................................................................................................................
1.1.2.2// หัวข้อยอ่ ย ข้อความ................................................................................

............................................................................................................................................................ .
1)// หัวขอ้ ย่อย ย่อย ข้อความ...............................................................

.............................................................................................................................................................
2)// หัวขอ้ ย่อย ยอ่ ย ข้อความ.............................................................

.............................................................................................................................................................

เว้น 1 บรรทัด

1.2 หวั ข้อสาคัญ (หัวข้อชดิ ซา้ ย)

ขอ้ ความ............................................................................................................................
............................................................................................................................. .............................

1.2.1//หัวข้อรอง
ข้อความ............................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................
1.2.2//หวั ข้อรอง
ขอ้ ความ............................................................................................................

ขอบลา่ ง 1 นวิ้

1. แบบฟอร์มปกนอก ขอบบน 31
1.5 น้วิ

2.5 เซนตเิ มตร

4.5 เซนตเิ มตร

20 จุด ตัวหนา เว้น 1 บรรทัด ขอบขวา
1.5 นิ้ว
ขอบซ้าย พิมพช์ ่ือโครงงานพิเศษภาษาไทย
1.5 น้ิว พิมพ์ช่อื โครงงานพเิ ศษภาษาอังกฤษ

เว้น 2 บรรทัด

พิมพช์ อื่ นามสกลุ ผ้เู ขยี นภาษาไทย 18 จดุ ตวั หนา
พมิ พ์ช่ือ นามสกลุ ผเู้ ขยี นภาษาองั กฤษ

เว้น 3 บรรทัด

18 จดุ ตวั หนา

โครงงานพิเศษนี้เป็นส่วนหนงึ่ ของการศึกษาตามหลักสตู ร ชอ่ื หลกั สูตร
ช่ือสาขาวิชา ชอื่ คณะ
ชือ่ มหาวทิ ยาลัย

ปีการศึกษาทีค่ าดว่าจะสาเรจ็ การศกึ ษา

ขอบล่าง
1.5 นิ้ว

ตัวอย่างปกนอก 32

การใชแ้ ป้งขา้ วโพดม่วงในผลิตภณั ฑ์ขนมปงั
Using Purple Corn Flour Instead
of Bread Products

พลอย ฝ่ายสเี พชร
PLOY FAISIPHET
กนกวรรณ โก้ดี
KANOKWAN KODEE

โครงงานพิเศษน้ีเปน็ สว่ นหน่ึงของการศกึ ษาตามหลักสตู รคหกรรมศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาอตุ สาหกรรมการบรกิ ารอาหาร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
2555

1. แบบฟอร์มปกใน ขอบบน 33
1.5 น้ิว

2.5 เซนตเิ มตร

4.5 เซนตเิ มตร

20 จุด ตัวหนา เวน้ 1 บรรทัด ขอบขวา
ขอบซา้ ย 1.5 นิ้ว
1.5 น้วิ พมิ พช์ ่ือโครงงานพเิ ศษภาษาไทย
พมิ พช์ ่ือโครงงานพเิ ศษภาษาองั กฤษ
18 จุด ตวั หนา
เวน้ 2 บรรทดั

พมิ พช์ ่อื นามสกลุ ผเู้ ขียนภาษาไทย 18 จุด ตวั หนา
พิมพ์ช่ือ นามสกุลผเู้ ขยี นภาษาองั กฤษ

เวน้ 3 บรรทัด

โครงงานพิเศษนี้เปน็ สว่ นหน่ึงของการศกึ ษาตามหลกั สูตร ชอ่ื หลกั สตู ร
ชือ่ สาขาวชิ า ชอ่ื คณะ
ชอ่ื มหาวทิ ยาลัย

ปีการศกึ ษาทค่ี าดว่าจะสาเรจ็ การศึกษา

ลิขสทิ ธขิ์ องมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร

ขอบลา่ ง
1.5 นวิ้

ตัวอย่างปกใน

34

การใช้แปง้ ข้าวโพดมว่ งในผลิตภัณฑ์ขนมปัง
Using Purple Corn Flour Instead
of Bread Products

พลอย ฝา่ ยสเี พชร
PLOY FAISIPHET
กนกวรรณ โกด้ ี
KANOKWAN KODEE

โครงงานพิเศษน้ีเป็นส่วนหน่ึงของการศกึ ษาตามหลักสตู รคหกรรมศาสตรบณั ฑติ
สาขาวิชาอตุ สาหกรรมการบริการอาหาร คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
2555
ลขิ สทิ ธิ์ของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

3. แบบฟอร์มใบอนุมตั ิโครงงานพเิ ศษ 35

ชอ่ื โครงงานพเิ ศษ (พิมพช์ อื่ โครงงานพิเศษ)

ช่อื นามสกุล (พิมพช์ ื่อ-นามสกลุ ผู้เขียน)
ช่อื ปรญิ ญา (คหกรรมศาสตรบณั ฑิต/วิทยาศาสตรบัณฑิต/เทคโนโลยบี ัณฑิต)
ปกี ารศึกษา (พิมพป์ ีการศึกษา)
อาจารยท์ ีป่ รกึ ษา (พมิ พ์ชื่ออาจารยท์ ่ีปรึกษาโครงงานพเิ ศษ)

คณะกรรมการสอบโครงงานพิเศษไดใ้ ห้ความเห็นชอบโครงงานพิเศษฉบบั น้ีแลว้

.……………………….….……………………………......................….....ประธานกรรมการ
(ชือ่ ประธานกรรมการ)

…...…………………………………………………………........................กรรมการ
(ชอ่ื กรรมการร่วม)

..…………………………………………………………............................กรรมการ
(ชอื่ อาจารย์ที่ปรกึ ษาโครงงานพิเศษ)

โครงงานพเิ ศษฉบบั นี้เป็นส่วนหนึง่ ของการศึกษาตามหลกั สูตร.......................................................
สาขาวชิ า...................................................... คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร

………………………………..…………………........... ……………..……………………………...................
(ชอ่ื หวั หนา้ สาขาวชิ า) (นางปิยะธิดา สหี ะวฒั นกลุ )

หวั หน้าสาขาวชิ า............................................. คณบดคี ณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์
วันท่ี…………….เดือน……………. พ.ศ. …………… วนั ที่…….…..เดอื น……..…...พ.ศ. ……………..

ตวั อยา่ งใบอนุมัตโิ ครงงานพิเศษ

36

ชื่อโครงงานพเิ ศษ การใช้แป้งข้าวโพดมว่ งในผลติ ภณั ฑ์ขนมปัง
ชอ่ื นามสกุล พลอย ฝา่ ยสเี พชร และกนกวรรณ โก้ดี
ชอ่ื ปริญญา คหกรรมศาสตรบัณฑิต
ปีการศกึ ษา 2555
อาจารย์ทปี่ รกึ ษา ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ณนนท์ แดงสังวาลย์

คณะกรรมการสอบโครงงานพิเศษได้ให้ความเหน็ ชอบโครงงานพเิ ศษฉบับนแ้ี ลว้

.……………………….….……………………………......................….....ประธานกรรมการ
(ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ปรชั ญา แพมงคล)

…...…………………………………………………………........................กรรมการ
(นางสาวศันสนยี ์ ทิมทอง)

…...…………………………………………………………........................กรรมการ
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ณนนท์ แดงสงั วาลย์)

โครงงานพิเศษฉบบั นีเ้ ปน็ ส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลกั สูตรคหกรรมศาสตรบณั ฑิต
สาขาวิชาอุตสาหกรรมการบริการอาหาร คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร

…………………………………..…………………........... ……………..……………………………...................
(ผู้ชว่ ยศาสตราจารยป์ รชั ญา แพมงคล) (นางปยิ ะธดิ า สีหะวัฒนกลุ )

หัวหนา้ สาขาวิชาอุตสาหกรรมการบริการอาหาร คณบดคี ณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
วนั ที่…………….เดอื น……………. พ.ศ. …………… วนั ท่ี…….…..เดือน……..…...พ.ศ. ……………..

4. ตัวอยา่ งบทคัดยอ่ ภาษาไทย 37

ชอ่ื โครงงานพิเศษ ทัศนคตขิ องผู้ใหบ้ ริการการจดั เลยี้ งรปู แบบบปุ เฟต์โรงแรมรอยลั คลิฟ
โฮเต็ล กรปุ๊
ช่อื นามสกุล เกศกัญญา ไอศเดช และจิรศักดิ์ เพง็ สาราญ
ช่อื ปริญญา
สาขาวิชาและคณะ คหกรรมศาสตรบัณฑิต
ปีการศกึ ษา
อุตสาหกรรมการบรกิ ารอาหาร เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์

2555 20 จุด, ตวั หนา

บทคดั ยอ่

การบริการถือเป็นธุรกิจที่มีบทบาทความสาคัญในการพัฒนาและรักษาเสถียรภาพทาง
เศรษฐกิจของประเทศ โรงแรมในเครือรอยัล คลิฟ ได้ดาเนินการปรับภาพลักษณ์ใหม่เพื่อตอบรับการ
ขยายตัวของอุตสาหกรรมการทอ่ งเที่ยวแบบยง่ั ยืนในอนาคต และมกี ารบริการที่เหนือความคาดหมาย
ทัศนคติต่องานบริการที่ดีเป็นการช่วยเหลือ ผู้ทางานบริการเป็นผู้ให้ จึงต้องมีความคิดและความรู้สึก
ต่องานบริการในทางท่ีชอบดังนั้นผู้ศึกษาจึงได้ศึกษาทัศนคติพนักงานท่ีปฏิบัติหน้าท่ีให้บริการด้าน
อาหารและเครื่องดื่มในห้องอาหารพาโนรามาเรสเทอรอง เน่ืองจากห้องอาหารพาโนรามาเรสเทอรอง
จัดเป็นห้องอาหารหลักของโรงแรมที่ให้บริการอาหาร และเครื่องดื่มในรูปแบบบุฟเฟต์ แก่ผู้มาใช้
บริการ การบริการในกลุ่มประชากรท่ีปฏิบัติงานภายในห้องอาหารนี้ จะทาให้ได้ข้อมูลที่สามารถ
นามาใชใ้ นการประกอบแนวทางการพฒั นาทัศนคติของผู้ให้บริการการจัดเลี้ยงรูปแบบบฟุ เฟต์ และนา
ข้อมูลที่ได้มาใช้เป็นข้อมูลสาหรับวางแผนในการพัฒนาในด้านการจัดเลี้ยงอาหารของโรงแรมให้มี
ประสทิ ธภิ าพมากข้ึน ในการศกึ ษาเร่อื งนใ้ี ชว้ ิธีเจาะจงไปยังพนักงานทปี่ ฏบิ ัติงานในห้องอาหารพาโนรา
มาเรสเทอรอง โรงแรมรอยัลคลิฟ โฮเต็ล กรุ๊ป โดยใช้แบบสอบถามเกี่ยวกับผใู้ ห้บริการในการจัดเล้ียง
รปู แบบบุฟเฟต์ของโรงแรม จานวนทั้งหมด 50 คน นาผลที่ได้มาวิเคราะห์ผลทางสถิติเพื่อคานวณหา
คา่ ความถี่ รอ้ ยละ ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน

ผลการศึกษาพบว่าพนักงานเป็นเพศหญิง มีทัศนคติของผู้ให้บริการอยู่ในระดับมาก ได้แก่
ด้านความรู้เกี่ยวกับการจัดเลี้ยงรูปแบบบุฟเฟต์ของพนักงานอยู่ในเกณฑ์ท่ีผ่านท้ังนี้อาจเน่ืองจาก
พนักงานมีความเข้าใจในการปฏิบัติงาน และมีประสบการณ์ในการจัดเลี้ยงรูปแบบบุฟเฟต์พอสมควร
รอ้ ยละ 77.78 ด้านความคิดพนักงานบริการมีทัศนคติในการปฏิบัติงานด้านการบริการในภาพรวมอยู่

ในระดับมาก (xˉ =3.98) พนักงานบรกิ ารมีทศั นคติในการปฏิบัตงิ านด้านการจัดเลี้ยงในภาพรวมอยใู่ น

ระดบั มาก (xˉ =4.14) และด้านพฤตกิ รรมพนักงานบรกิ ารมีทัศนคติในการปฏบิ ัติงานด้านผลตอบแทน

และสวสั ดกิ ารภาพรวมอยู่ในระดับมาก (xˉ =3.93)
คาสาคญั : ทัศนคติ การจดั เลี้ยง บุฟเฟต์

5. ตัวอย่างบทคดั ย่อภาษาองั กฤษ

38

Special project The attitudes of the buffet catering service provider

Authors royal cliff hotels group
Degree Kheskanya Aiesadesh and Jirasak Pengsamran
Major program Bachelor of Home Economics
Faculty Food Service Industry
Academic year Home Economics Technology
2012

20 จดุ , ตัวหนา

ABSTRACT

Service is the most important part of any business for improving the
organization economic stabilization of the country. In addition, Royal Cliff Hotels
Group also improves the image of the organization for sustainable tourism industry
development in the future and creating excellent service for customer. Moreover,
the best attitude of staffs in the organization is an essential to move forward the
organization. Therefore, attitudes of food and beverage staffs in Panorama restaurant
was studied by the researchers because the Panorama restaurant is a main restaurant
of the hotel which provides food and beverage buffet catering services. In addition,
the survey of the staffs in the restaurant was studied for staffs’ attitude development
and using the result to develop buffet catering service of the restaurant. In this study,
50 specific staffs who work in the Panorama restaurant was examined by using
questionnaires to analyze statistical data for calculating frequency, percentage,
average and standard deviation.

The study result shows that female staff has excellent attitude. There are the
knowledge of buffet catering is good indicated. In order that because of 77.78
percent of female staff has been understood how to each tack and experience in

buffet catering. In case of staff’s attitude of services is in excellent level (xˉ =3.89). In

case of staff’s attitude of work for catering is in excellent level (xˉ =4.14). And in case

of staff’s behaviors and attitude of reward and welfare is in excellent level (xˉ =3.93).

Keywords : Attitude, Catering, Buffet

6. ตวั อยา่ งกติ ติกรรมประกาศ

20 จดุ , ตัวหนา 39

กติ ติกรรมประกาศ เว้น 1 บรรทดั

โครงงานพิเศษฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดีผู้ศึกษาขอขอบคุณ ......(ช่ืออาจารย์ที่
ปรึกษา).............. อาจารย์ท่ีปรึกษาที่ให้ความช่วยเหลือและคาแนะนาด้วยดีเสมอมา ขอขอบคุณ
..................และ.......................ที่เสียสละเวลามาเป็นคณะกรรมการสอบโครงงานพิเศษ พร้อมทั้งให้
คาแนะนาที่เปน็ ประโยชน์

ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ซึ่งสนับสนุนในด้านการเงินและให้กาลังใจเสมอมาจน
สาเรจ็ การศึกษา

ชื่อ นามสกุลผเู้ ขียน

7.ฟอรม์ การเขยี นสารบัญ 40
20 จุด ตัวหนา
หน้า
สารบญั เว้น 1 บรรทดั (1)
(2)
บทคัดย่อภาษาไทย (3)
บทคัดย่อภาษาองั กฤษ (4)
กติ ตกิ รรมประกาศ (5)
สารบญั (6)
สารบญั ตาราง 1
สารบญั ภาพ 1
บทท่ี*1** บทนา 5
10
1.1** หวั ขอ้ สาคญั 15
1.2 หัวข้อสาคญั 15
บทท่ี 2 ช่อื 20
2.1 หัวข้อสาคญั 20
2.2 หัวขอ้ สาคัญ 25
บทท่ี 3 ชอ่ื บท 30
3.1 หวั ข้อสาคญั 30
3.2 หัวขอ้ สาคญั 35
บทที่ 4 ชอื่ บท 40
4.1 หวั ข้อสาคัญ 50
4.2 หวั ข้อสาคญั 55
บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 60
เอกสารอา้ งองิ
ภาคผนวก
ประวัติผู้ศกึ ษา
หมายเหตุ ถ้าไมจ่ บใน 1 หน้า หนา้ ถัดไปให้พมิ พค์ าวา่ " สารบญั (ต่อ) "

ตัวอย่างการเขยี นสารบัญ 41

สารบัญ หนา้

บทคดั ย่อภาษาไทย (1)
บทคัดย่อภาษาองั กฤษ (2)
กติ ตกิ รรมประกาศ (3)
สารบัญ (4)
สารบญั ตาราง (5)
สารบัญภาพ (6)
บทที่ 1 บทนา 1
1
1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา 6
1.2 วัตถุประสงค์ 6
1.3 ขอบเขตของการศกึ ษา 8
1.4 นยิ ามศพั ท์ 9
1.5 ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะได้รบั 10
บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กีย่ วข้อง 10
2.1 …………………………… 15
2.2 ………………………….. 55
บทที่ 3 วิธีดาเนนิ การ 55
3.1 ………………………………… 55
3.2 ……………………………… 65
บทที่ 4 ผลการศึกษาและอภิปรายผล 66
4.1 ผลการศึกษา

สารบัญ (ตอ่ ) 42

บทท่ี 5 สรุปผลและขอ้ เสนอแนะ หน้า
5.1 สรปุ ผลการศึกษา
5.2 ข้อเสนอแนะ 71
72
เอกสารอา้ งองิ 74
ภาคผนวก 76
90
ภาคผนวก ก ……………………………………….……………………………. 91
ภาคผนวก ข ............................................................................... 92
ภาคผนวก ค ............................................................................... 136
ภาคผนวก ง ............................................................................... 137
ประวตั ิการศึกษา 144

8.ฟอร์มการเขยี นสารบญั ตาราง 43

สารบญั ตาราง เว้น 1 บรรทดั

ตารางท่ี หน้า

***1.1**…………………………………………………………………………………………………………………..… 7

1.2 ……………………………………………………………………………………………………………………... 9

2.1 …………………………………………………………………………………………………………………….... 23

2.2 ……………………………………………………………………………………………………………………... 24

3.1 …………………………………………………………………………………………………………………..…. 29

3.2 …………………………………………………….………………………………………………………………… 30

4.1 ………………………………………………………………………………………………………………………. 34

4.2 ………………………………………………………………………………………………………………………. 38

ก.1 ………………………………………………………………………………………………………………………. 40

ก.2 ………………………………………………………………………………………………………………………. 46

ข.1 ………………………………………………………………………………………………………………………. 49

หมายเหตุ ถ้าไมจ่ บใน 1 หนา้ หน้าถดั ไปให้พมิ พค์ าวา่ " สารบญั ตาราง (ต่อ) "

ตวั อยา่ งสารบัญตาราง 44

สารบญั ตาราง หนา้
30
ตารางท่ี 31
2.1 เปรยี บคุณคา่ ทางโภชนาการของขา้ วโพดแฟนซสี ีม่วง 31
ขา้ วโพดเหลอื งและข้าวโพดฝกั อ่อน 37
2.2 เปรียบเทียบปรมิ าณเกลือแรบ่ างชนดิ ของขา้ วโพดแฟนซสี ีมว่ ง 41
ข้าวโพดเหลอื งและข้าวโพดฝักอ่อน 42
2.3 เปรียบเทยี บปรมิ าณวิตามินบางชนิดของข้าวโพดแฟนซสี ีมว่ ง
ข้าวโพดเหลอื งและข้าวโพดฝักอ่อน
3.1 นา้ หนกั ส่วนผสมของแปง้ ข้าวโพดมว่ งในการทาขนมปงั ขา้ วโพดมว่ ง
4.1 ผลการผลิตแปง้ ขา้ วโพดม่วงโดยใชเ้ ครื่องบดผสมอาหารจานวน 5 ครั้ง
และร่อนผ่านตะแกรงรอ่ นแป้ง
4.2 น้าหนกั สว่ นผสมของแปง้ ข้าวโพดมว่ งในการทาขนมปังขา้ วโพดม่วง

9.ฟอร์มการเขียนสารบญั ภาพ 45

สารบัญภาพ

ภาพที่ หน้า
***1.1**…………………………………………………………………………………………………………………..… 7

1.2 ……………………………………………………………………………………………………………………... 9
2.1 …………………………………………………………………………………………………………………….... 23
2.2 ……………………………………………………………………………………………………………………... 24
3.1 …………………………………………………………………………………………………………………..…. 29
3.2 …………………………………………………….………………………………………………………………… 30
4.1 ………………………………………………………………………………………………………………………. 34
4.2 ………………………………………………………………………………………………………………………. 38
ก.1 ………………………………………………………………………………………………………………………. 40
ก.2 ………………………………………………………………………………………………………………………. 46
ข.1 ………………………………………………………………………………………………………………………. 49
หมายเหตุ ถา้ ไม่จบใน 1 หนา้ หน้าถดั ไปให้พิมพค์ าวา่ " สารบญั ภาพ (ต่อ) "

ตัวอย่างสารบญั ภาพ 46

สารบญั ภาพ หน้า
42
ภาพท่ี 42
4.1 ข้าวโพดมว่ งหลังการอบ 12 ช่ัวโมง 44
4.2 แปง้ ขา้ วโพดมว่ ง 44
4.3 ขนมปังใชแ้ ปง้ ขา้ วโพดมว่ ง 20% 44
4.4 ขนมปงั ใช้แปง้ ขา้ วโพดม่วง 30% 44
4.5 ขนมปังใชแ้ ปง้ ข้าวโพดม่วง 40%
4.6 เปรยี บเทียบผลิตภัณฑ์ขนมปงั ข้าวโพดม่วง

ตวั อย่างการพมิ พ์ตาราง 47

ตารางท่ี 4.2 คะแนนการทดสอบความชอบของผทู้ ดสอบที่มตี อ่ ผลิตภณั ฑข์ นมปังข้าวโพดมว่ ง

ต่างกัน 3 ระดบั

คุณลักษณะผลติ ภัณฑ์ ปรมิ าณแปง้ ขา้ วโพดม่วง (%)

20 30 40

ลกั ษณะท่ปี รากฏ 7.65±4.09a 7.05±1.55b 7.50±1.65c

สี 7.33±1.39a 6.97±1.55b 6.11±1.80c

กลนิ่ ns 7.04±1.35 7.47±6.80 6.66±1.80
6.95±1.42a 6.71±1.49ab 6.62±1.67b
รสชาติ

เนอ้ื สมั ผัส 7.05±1.42a 6.60±1.61b 6.63±1.72b

ความชอบโดยรวม 7.27±1.36a 6.95±1.42b 6.80±1.64b

หมายเหตุ : ตวั อักษรในแนวนอนเดยี วกนั ทม่ี ีอกั ษรต่างกนั หมายถงึ ค่าทม่ี ีความแตกต่างกนั ที่ระดบั ความเชือ่ มน่ั 95%

ตารางที่ 2.1 เปรยี บคุณค่าทางโภชนาการของข้าวโพดแฟนซีสีมว่ ง ขา้ วโพดเหลอื งและขา้ วโพด

ฝักอ่อน

คุณคา่ ทาง ชนดิ ข้าวโพด

โภชนาการ ขา้ วโพด ขา้ วโพด ขา้ วโพดเหลือง ข้าวโพดฝักอ่อน
(%) แฟนซสี ีมว่ ง แฟนซสี มี ว่ ง

(68 วนั ) (72 วัน)

Moisture 69.60 57.96 73.40 91.80

Protein 3.71 4.12 3.40 2.30

Fat 1.33 1.89 1.40 0.30

Ash 0.72 0.49 0.70 0.30

Dietary Fiber 2.06 3.57 0.70 2.10

Total

Carbohydrate 24.64 35.54 21.10 5.30

Total Calories 125.37 175.65 111.00 33.00

Calorles 11.97 17.01 12.60 2.70

ท่ีมา : นิพัฒน์ และจนั ทรเ์ พญ็ (2555)


Click to View FlipBook Version