The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
(Ordinary National Education Test : O - NET) ปีการศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สพป.เลย 2, 2022-06-06 22:40:57

O - NET 2564

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
(Ordinary National Education Test : O - NET) ปีการศึกษา 2564

รายงานผล

การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพืน้ ฐาน

(Ordinary National Education Test : O - NET)

ปีการศึกษา 2564

กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา
สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2

สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน

เอกสารลาดับที่ 3/ 2565



คำนำ

การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (Ordinary National Education Test : O-NET)
ซงึ่ จดั สอบใหก้ ับนกั เรียนทกี่ ำลังศึกษาในระดบั ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยศนู ยส์ อบ
แต่ละแห่งต้องมีการบริหารการทดสอบ ให้เป็นมาตรฐานเพ่ือการประกันคุณภาพว่า ระบบการบริหารการ
ทดสอบมีความชัดเจน สามารถปฏิบัติได้จริงมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับและเช่ือถือได้ ในระดับชาติและระดับ
นานาชาติ ศูนย์สอบสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 ได้ดำเนินการบริหารจัดการสอบ นักเรียน
กลุ่มเป้าหมายโรงเรียนในสังกัดตามมาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ รายงานผลการทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2564 ได้วิเคราะห์ผลการทดสอบในระดับเขตพื้นที่
การศกึ ษาทัง้ ในภาพรวม 4 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ระดบั เขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา กล่มุ พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาทัง้ 20
กลุ่ม เพื่อได้สารสนเทศท่ีเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางการศึกษา
และผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาในอันที่จะนาไปใช้ในการตรวจสอบ ทบทวนพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ขอขอบคุณโรงเรียนท่ีเป็นสนามสอบ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูบุคลากรทางการศึกษาและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายท่ี
ให้ความร่วมมือในการดำเนินการจัดการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา2564
ด้วยความโปร่งใส ได้มาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติซ่ึงได้สารสนเทศทางการสอบท่ีสามารถสะท้อน
คุณภาพการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาได้อย่างแท้จริงมีความน่าเชื่อถือและให้สถานศึกษา และหน่วยงานที่
เกี่ยวขอ้ งนำไปใชว้ างแผนและกำหนดแนวทางในการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาตอ่ ไป

ขอขอบคุณคณะครู นักเรียนและผู้บริหารโรงเรียนทุกทา่ น ที่ให้ความสำคญั กับการทดสอบทางการศึกษา
ระดบั ชาติขั้นพื้นฐานในครงั้ นี้ ขอขอบคุณคณะศกึ ษานเิ ทศก์ และบุคลากรในเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาทุกท่านท่ีได้ให้
การสนับสนนุ สำหรับการประเมนิ เพ่ือเปน็ ฐานในการพฒั นาคณุ ภาพใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาทีว่ างไว้

กลุ่มนเิ ทศตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษา



ช่อื เร่อื ง รายงานการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พนื้ ฐาน ปีการศกึ ษา 2564
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 และชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 (Ordinary National Education Test : O-Net)
ผู้รายงาน สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2
หน่วยงาน นางนพลกั ษณ์ นานวน
กลุ่มงานวัดและประเมนิ ผลการศกึ ษา
ปีทพี่ ิมพ์ กลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศึกษา
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2
มถิ ุนายน 2564

บทคดั ย่อ

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O–NET) สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาเลย เขต 2 มีวตั ถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้ันพ้นื ฐาน (O–NET)
ปีการศึกษา 2564 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขต
พ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 เพอ่ื เปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้นั พืน้ ฐาน (O–NET)
ปกี ารศึกษา 2564 ของนักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียนในสังกดั สำนักงานเขต
พน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาเลย เขต 2 และเพ่ือวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พนื้ ฐาน
(O–NET) ปีการศึกษา 2564 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ของโรงเรียนในสังกัด
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 โดยจำแนกตามสาระการเรียนรู้ มีกลุ่มเป้าหมายคือ
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ประจำปีการศึกษา 2564 จำนวน 1,393 คน จำนวน 110 โรงเรียน และ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ประจำปีการศึกษา 2564 จำนวน 640 คน จำนวน 36 โรงเรียน เคร่ืองมือที่ใช้
ในการศึกษาเป็นแบบทดสอบของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ดำเนินการสอบตาม
มาตรการห้องสอบสีขาวของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 และเป็นไปตามระเบียบ
กระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการปฏิบัติของผู้กำกับการสอบ โดยใช้ 1 กลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อ 1 สนาม
สอบ และ 1 อำเภอ ต่อ 1 สนามสอบ ซึ่งกรรมการกำกับห้องสอบของแต่ละสนามสอบมีหัวหน้าสนามสอบ
กรรมการกลางเพ่ือประสานการสอบและกรรมการคุมสอบจากครูประจำการ 2 คน ต่อ 1 ห้องสอบ โดยสลับครูคุม
สอบตา่ งโรงเรียนท้ัง 2 คน สำหรับการวิเคราะห์ขอ้ มูล ใช้การหาค่าสถิติพ้นื ฐาน ได้แก่ คะแนนเฉล่ีย และร้อยละ
ซง่ึ สรปุ ผลการศกึ ษาอภิปรายและขอ้ เสนอแนะดงั นี้

สรปุ ผลการศึกษา

1. ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O–NET)
ปีการศึกษา 2564 มีคะแนนเฉลี่ยในภาพรวมมีคะแนนเฉล่ีย 34.28 โดยมีคะแนนเฉลย่ี 4 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ดังน้ี
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีคะแนนเฉลี่ย 45.10 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มีคะแนนเฉล่ีย 32.08
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉล่ีย 30.36 และกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
(ภาษาอังกฤษ) มคี ะแนนเฉลยี่ 29.59

ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา
2564 มีคะแนนเฉลี่ยในภาพรวมมีคะแนนเฉลี่ย 29.04 โดยมีคะแนนเฉลี่ย 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ดังน้ี กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ภาษาไทย มคี ะแนนเฉลี่ย 42.52 กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ มีคะแนนเฉล่ีย 19.72 กลุ่มสาระการ



เรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ย 28.52 และกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีคะแนน
เฉลย่ี 25.39

2. ผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) กับระดับสังกัด
(สพฐ.) และระดับประเทศ พบว่า ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 มีคะแนนเฉล่ยี ในภาพรวมของผลการทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O–NET) ประจำปีการศึกษา 2564 ต่ำกว่าคะแนนเฉล่ียในภาพรวมระดับสังกัด
(สพฐ.) และระดบั ประเทศ

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีคะแนนเฉล่ียในภาพรวมของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ัน
พนื้ ฐาน (O–NET) ประจำปกี ารศึกษา 2564 ตำ่ กว่าคะแนนเฉล่ยี ในภาพรวมระดับสงั กัด (สพฐ.) และระดับประเทศ

3. ผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2564
กับผลการทดสอบปีการศึกษา 2563 พบว่า ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O–NET) ประจำปีการศึกษา 2564 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาเลย เขต 2 มีคะแนนเฉลี่ยในภาพรวมลดลง จากปีการศึกษา 2563

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O–NET) ปีการศึกษา
2562 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 มี
คะแนนเฉลี่ยในภาพรวมลดลงจากปีการศึกษา 2563

สารบัญ

คำนำ หนา้ ท่ี
บทคดั ย่อ
สารบัญ ก
สารบญั ตาราง ข

บทที่ 1 บทนำ ฉ
1.1 ความเป็นมาและความสำคญั
1
1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1
1.3 กลมุ่ เป้าหมาย 2
1.4 ขอบขา่ ยของการศึกษา 2
2
1.5 ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะได้รบั 2

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ท่ีเกีย่ วข้อง 4
2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการวดั และประเมนิ ผลทางการศึกษา 4
2.2 แนวคดิ การประเมินผลการจัดการเรียนการสอน 8
2.3 แนวคดิ เก่ยี วกับการประเมินคุณภาพการศึกษา 9

บทท่ี 3 วธิ ีดำเนนิ การวจิ ัย 14
3.1 กลมุ่ เป้าหมายของการศึกษา 14
14
3.2 เครอื่ งมือทีใ่ ชใ้ นการศึกษา 14
3.3 การเก็บรวบรวมข้อมลู 15
3.4 การวิเคราะหข์ ้อมลู และสถิตทิ ี่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล



สารบญั (ต่อ)

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู 16
บทที่ 5 4.1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O – NET) ปีการศึกษา 2564 16
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 และชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ของโรงเรียนในสงั กัด
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 17
4.2 ผลการเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พน้ื ฐาน (O–NET)
21
ปีการศึกษา 2564 ของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
31
ของโรงเรยี นในสงั กดั สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 31
35
4.3 ผลการวเิ คราะหผ์ ลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพ้ืนฐาน (O–NET) 36
ประจำปีการศึกษา 2563 ของนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 3
ของโรงเรียนในสงั กดั สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 38
โดยจำแนกตามสาระการเรียนรู้ 40
สรุปผลการวิจัย อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ 41
50
5.1 สรปุ ผลการศึกษา 62
5.2 อภปิ รายผลการศกึ ษา

5.3 ขอ้ เสนอแนะ

บรรณานกุ รม
ภาคผนวก

ภาคผนวก ข ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พ้ืนฐาน ป.6

ภาคผนวก ค ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พื้นฐาน ม.3
คณะกรรมการจัดทำเอกสาร



สารบัญตาราง หน้า
16
ตารางที่
1 ผลการทดสอบระดับชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564 นักเรยี น 17
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 ของโรงเรยี น ในสงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา
ประถมศึกษาเลย เขต 17

2 ผลการทดสอบระดบั ชาติขน้ั พื้นฐาน (O–NET) ประจำปีการศึกษา 2564 นักเรียน 18
ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ของโรงเรยี นในสงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาเลย เขต 2 19

3 ผลการทดสอบระดบั ชาตขิ ้ันพื้นฐาน (O–NET) ปกี ารศึกษา 2564 นักเรียน 20
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ของโรงเรยี น สังกดั สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาเลย เขต 2 (เปรียบเทยี บกับระดับสังกัด/ระดับประเทศ) 21
22
4 ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O–NET) ปกี ารศกึ ษา 2564 นักเรียน
ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียน สงั กดั สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาเลย เขต 2 (เปรียบเทียบกับระดับสังกัด/ระดับประเทศ)

5 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพ้ืนฐาน ปกี ารศึกษา 2564 นักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ของโรงเรยี น สงั กัดสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา
ประถมศึกษาเลย เขต 2 (เปรยี บเทียบกับปีการศึกษา 2563)

6 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพ้นื ฐาน ปกี ารศึกษา 2564 นกั เรยี น
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา
ประถมศึกษาเลย เขต 2 (เปรียบเทยี บกับปีการศึกษา 2563)

7 ตารางแสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพ้นื ฐาน (O–NET) ปีการศกึ ษา
2564 กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โดยจำแนกตามสาระการเรยี นรู้

8 ตารางแสดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้นั พ้นื ฐาน (O–NET) ปกี ารศึกษา
2564 กลุม่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ โดยจำแนกตามสาระการเรยี นรู้



สารบัญตาราง (ต่อ) หน้า
23
ตารางที่ 24
9 ตารางแสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พนื้ ฐาน (O–NET) ปีการศกึ ษา
2564 กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โดยจำแนกตามสาระการเรียนรู้ 25
10 ตารางแสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พน้ื ฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 26
2564 กลุม่ สาระการเรียนร้ภู าษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) โดยจำแนกตาม 27
สาระการเรียนรู้ 28
11 ตารางแสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พืน้ ฐาน (O–NET) ปกี ารศึกษา
2564 กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย โดยจำแนกตามสาระการเรียนรู้
12 ตารางแสดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขน้ั พ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศกึ ษา
2564 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยจำแนกตามสาระการเรียนรู้
13 ตารางแสดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขัน้ พนื้ ฐาน (O–NET) ปกี ารศกึ ษา
2564 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โดยจำแนกตามสาระการเรยี นรู้
14 ตารางแสดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขนั้ พ้นื ฐาน (O–NET) ปกี ารศึกษา
2564 กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) โดยจำแนกตาม
สาระการเรียนรู้

บทที่ 1

บทนำ

1.1 ความเป็นมาและความสำคญั

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 มาตรา 47 กำหนดให้มีระบบการประกัน
คุณภาพการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาในทุกระดับและมาตรา 48 ให้หน่วยงานต้น
สังกัด และสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าเป็นการ
ประกันคุณภาพภายใน เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาท่ีต้องดำเนินการอย่างต่อเน่ือง
โดยมีการจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปสู่การพัฒนา
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพ่ือรองรบั การประกันคุณภาพภายนอก การประเมินคุณภาพการศกึ ษา
ระดับชาติข้ันพื้นฐานจึงเป็นกระบวนการ วิธีการ เพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีจะเป็นตัวบ่งช้ีถึงผลสำเร็จในการจัดการ
ศกึ ษา ซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญส่วนหน่ึงในการประกนั คุณภาพภายใน ซ่ึงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 จึงกำหนดแนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อให้ได้ข้อมูลสารสนเทศ
ท่แี สดงพัฒนาการ ความกา้ วหน้าและความสำเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ผู้เรียนจะต้องได้รบั การพัฒนาและ
ประเมินตามตัวชวี้ ัดเพอ่ื ให้บรรลุมาตรฐานการเรยี นรู้ สะท้อนสมรรถนะสำคญั และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
ของผ้เู รียน ซง่ึ เป็นเป้าหมายหลกั ในการประเมินผลการเรยี นรเู้ ป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นโดยใชผ้ ล
การประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศท่ีแสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้าและความสำเร็จทางการเรียนของ
ผเู้ รียนตลอดจนข้อมูลที่ได้จากการประเมินจะนำไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพของผู้เรียน และคณุ ภาพการ
จัดการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละแห่งและเพ่ือเป็นข้อมูลสารสนเทศรองรับบริบทของการประเมนิ ภายนอก

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ได้รับมอบหมายให้ทำหน้าท่ีจัดการ
ทดสอบความร้ทู างการศึกษาของชาติทุกระดบั สถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
มเี ป้าหมายทจี่ ะจัดการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พนื้ ฐาน (O–NET : Ordinary National
Educational Test) ตามความสมัครใจของผู้เรียน ใน 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ของแต่ละช่วงชั้น
(ประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ในปีการศึกษา 2564 ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชา
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) เพื่อเป็นข้อมูลหน่ึงในการ
รายงานคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน และสะทอ้ นให้เห็นถึงมาตรฐานการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน มาตรฐานที่ 3
กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้กับสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเพ่ือนำไปใช้ในการพัฒนาการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย
เขต 2 ในฐานะศูนย์สอบ (O–NET: Ordinary National Educational Test) ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
และมัธยมศึกษาปีท่ี 3 จึงได้จัดทำรายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O–NET :
Ordinary National Educational Test) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ปกี ารศึกษา 2564 สำหรับเปน็ ข้อมลู สารสนเทศของสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2
ตอ่ ไป

2

1.2 วัตถปุ ระสงค์

1.2.1 เพ่ือศึกษาผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 และช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาเลย เขต 2

1.2.2 เพ่ือเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O–NET) ปีการศึกษา
2564 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขต
พื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเลย เขต 2

1.2.3 เพื่อวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564
ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2 โดยจำแนกตามสาระการเรียนรู้

1.3 กลุ่มเป้าหมาย

นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ประจำปีการศึกษา 2564 จำนวน 1,393 คน จำนวน 110
โรงเรียน และนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประจำปกี ารศึกษา 2564 จำนวน 640 คน จำนวน 36
โรงเรียน (หมายเหตุ : จำนวนนักเรียนและโรงเรียนท่ีทำการทดสอบ คือโรงเรียนท่ีแจ้งความประสงค์รับการ
ทดสอบ)

1.4 ขอบข่ายของการศึกษา

การดำเนินการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพน้ื ฐาน ปีการศึกษา 2564 ของสำนักงานเขตพนื้ ที่
การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 ในครงั้ น้ี มีขอบขา่ ยการศกึ ษา ดงั น้ี

1.4.1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน ปีการศึกษา 2564 สำนักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ประสงค์รับการทดสอบจำนวน 1,393 คน จาก
110 โรงเรียน ในวันท่ี 12 กุมภาพันธ์ 2565 จำนวน 4 วิชา ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
ภาษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ)

1.4.2 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน ปีการศึกษา 2564 ของสำนักงานเขต
พ้ืนท่ีการศึกษาประถมเลย เขต 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ประสงค์รับการทดสอบจำนวน 640 คน จาก 36
โรงเรียน ในวันท่ี 13 กุมภาพันธ์ 2565 จำนวน 4 วิชา ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ)

1.5 ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะได้รับ

1.5.1 สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 มีข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6 และช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 3 เพ่อื จะไดน้ ำผลการประเมนิ ไปใช้ประกอบ
การพจิ ารณาในการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของนักเรยี นและคุณภาพมาตรฐานการศกึ ษา

1.5.2 เป็นตัวบ่งชี้ในการกำกับ ติดตาม และควบคุมคุณภาพการจัดการศึกษาของสำนักงานเขต
พ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องอันเป็นส่วนหน่ึงของการประกัน
คุณภาพภายใน

3

1.5.3 ได้ข้อมูลสารสนเทศย้อนกลับ สำหรับใช้ในกระบวนการตัดสินใจและกำหนดแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษาในระดบั เขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาและระดบั สถานศึกษา

1.5.4 ได้ข้อมูลพื้นฐานด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน สำหรับเปรียบเทียบความก้าวหน้าของการ
จัดการศกึ ษาของสำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2

4

บทที่ 2

เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเก่ยี วข้อง

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2564 ของสำนักงานเขต
พ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 ในคร้ังนี้ ผู้ศึกษาได้ศึกษาค้นคว้าแนวคิด ทฤษฎีจากเอกสาร
งานวิจัยตลอดจน บทความทางการศึกษาเพื่อกำหนดเป็นกรอบการดำเนินงานนำเสนอในประเด็นต่างๆ
ตามลำดับ ดังน้ี

2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการวดั และประเมนิ ผลทางการศกึ ษา
2.2 แนวคิดการประเมินผลการจดั การเรยี นการสอน
2.3 แนวคิดเก่ยี วกบั การประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา

2.1 แนวคิดเกยี่ วกบั การวดั และประเมินผลทางการศกึ ษา

2.1.1 แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและประเมนิ ผลทางการศกึ ษา
ความหมายของการวัดและประเมนิ ผลทางการศกึ ษา
การประเมินผลทางการศึกษาน้ัน ในระยะแรกของวิทยาการประเมินของประเทศไทย

ใชค้ ำวา่ ประเมนิ ผล ที่มาจากคำว่า Evaluation นอกจากนัน้ การประเมินในปัจจุบนั มีการใช้คำอนื่ ๆ เช่น คำว่า
Assessment หรอื Appraisal อาจมีความแตกตา่ งกันซง่ึ อยา่ งไรกต็ ามการวัดและประเมนิ ผลทางการศกึ ษาน้ัน
เป็ นกระบวนการท่ีมีระบบแบบแผนเพ่ือที่ จะตัดสิ นใจเก่ียวกับผลสัมฤทธิ์ ของนั กเรียน ว่าเป็ น ไป ตาม
จดุ มุ่งหมายมากน้อยเพียงใด การวัดและประเมินผลจะบอกท้งั ปริมาณและคณุ ภาพร่วมด้วย การตัดสินใจ
ทางคุณค่าของพฤติกรรมตา่ งๆ ใน 2 ความหมาย คอื การลงข้อสรปุ ตีราคาพฤติกรรมของนักเรยี น ในแง่
ปรมิ าณโดยใช้การตดั สินใจ และเปน็ การตรี าคาพฤติกรรมของนักเรียนในแง่คุณภาพโดยการเก็บรวบรวม
ขอ้ มูลหลักฐานดว้ ยวิธีอืน่ ๆ ท่ีไม่ใช่วดั ด้วยเครื่องมอื วัดเชงิ ปริมาณและใช้การตัดสินใจเชิงคุณภาพ ซง่ึ ท่ีกล่าวนี้
เรียกว่า Evaluation คือการพิจารณา ตรวจสอบคุณค่าของสิ่งที่ประเมิน (วาสนา ประวาลพฤกษ์, 2544:16)
จากข้อเสนอในการประเมินผลการเรียนรู้ตามแนวของการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติพุทธศักราช 2542 จากรายงานการวิจัยของ ศิริชัย กาญจนวาสี (2543:7- 8) กล่าวว่า การวัดและ
ประเมินผลการเรยี นรถู้ ือว่าเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอนท่ีครผู ู้สอนจะต้องกระทำอย่างต่อเน่อื งทั้ง
ก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเสร็จส้ินการเรียนการสอน โดยจะต้องครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะ
ลักษณะนิสัย และคุณธรรม โดยเน้นการพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญและต้องตอบสนองต่อเป้าหมายการ
เรียนรู้ระดับบุคคลสถานศึกษา ชุมชนและประเทศ รวมทั้งมีความเป็นสากลระดับนานาชาติ ซึ่งการประเมิน
ลักษณะน้ีจะเป็นลักษณะการประเมิน ท่ีเรียกว่า Assessment แต่สำหรับการประเมินบุคลากร ที่ไม่เกี่ยวกับ
การให้การศึกษาและเป็นการประเมินที่เน้นคุณภาพการปฏิบัติงานเป็นสำคัญมีเป้าหมายเพื่อการตรวจสอบ
ให้รางวลั หรอื ปรบั ปรงุ แก้ไขการปฏิบตั งิ านนน้ั เรียกวา่ Appraisal

ดงั นั้นการวัดและประเมนิ ผลคณุ ภาพผเู้ รียนในครั้งนี้ จึงเป็นการประเมนิ ในลักษณะ
Evaluation ซึ่งเป็นกระบวนการทีช่ ี้ให้เห็นว่าการจัดการศึกษาได้บรรลุจุดมุ่งหมายท่ีระบุไว้ในหลักสูตรและการ
สอน

5

หรือไม่ จุดมุ่งหมายทางการศกึ ษาที่สำคัญคือความต้องการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของมนุษย์ ซง่ึ หมายถึง
การเปลีย่ นพฤติกรรมของนักเรยี นให้เป็นไปในทางพงึ ปรารถนา การประเมินผลจึงเป็นกระบวนการที่กำหนดว่า
มีการเปล่ียนพฤติกรรมเกิดข้ึนเพียงใด ซึ่งจุดมุ่งหมายสำคัญของการประเมิน สรุปได้คือเพ่ือตัดสินว่าเป้าหมาย
ของการศึกษาที่ได้กำหนดไว้ในรูปของจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรมน้ันประสบความสำเร็จหรือไม่ ส่วนใดที่
ประสบความสำเร็จเก็บไว้ ส่วนใดที่ไม่ประสบความสำเร็จให้ทำการปรับปรุงแก้ไขหรือตัดทิ้งและนอกจากน้ีมี
จดุ มุ่งหมายเพอื่ ประเมินความก้าวหน้าทางการศกึ ษา ในอันที่จะช่วยใหเ้ ข้าใจปัญหาและความต้องการทางการ
ศกึ ษาไดแ้ ละเพ่อื ใชข้ ้อมลู น้นั เป็นแนวทางในการที่จะปรบั ปรุงนโยบายทางการศกึ ษาท่คี นส่วนใหญ่เหน็ ด้วยได้

2.1.2 หลักของการวัดและประเมนิ ผลทางการศกึ ษา
การที่จะทำให้การวัดและประเมินผลทางการศึกษาเป็นไปอย่างถูกต้องมีประสิทธิภาพ

สอดคล้องกับจิตวิทยาการเรียนรู้นนั้ ไดม้ ีผู้เสนอแนะไว้หลายประการ ซึ่งควรแก่การยึดเป็นหลักในการปฏิบัติ
ได้แก่ ต้องทำการวัดให้ตรงกบั จุดมงุ่ หมาย เพราะการวัดและประเมินผลการศึกษาเป็นกระบวนการตรวจสอบ
ว่าการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ได้จัดให้กับผู้เรียนนั้น ผู้เรียนสามารถบรรลุตามจุดมุ่งหมายมาก
น้อยเพียงใด ดังน้ันการวัดและการประเมินผลแต่ละครั้งจึงต้องมีจุดมุ่งหมายที่แน่นอน ในการวัด และในการ
สอนก็ต้องยึดหลักสูตรเป็นหลักในการวิเคราะห์หลักสูตร แล้วจึงต้ังจุดมุ่งหมายและวัดให้ตรงกับจุดม่งุ หมาย
หากการวัดแต่ละครั้งไม่ตรงกับจุดมุ่งหมายที่จะวัดผลของการวัดก็จะไม่มีความหมาย แต่ก่อให้เกิดความ
ผิดพลาดในการนำผลการวัดไปใช้ ความผิดพลาดในการวัดไม่ตรงกับจุดมุ่งหมาย ได้แก่ การไม่ศึกษาหรือ
นิยามคุณลักษณะที่ต้องการจะวัดให้ชัดเจน บางครั้งผู้วัดไม่เข้าใจสิ่งท่ีจะวัดให้แจ่มแจ้งชัดเจนเพียงพอ
หรือเข้าใจในสิ่งที่วัดผิดทำให้วัดได้ไม่ตรงกับจุดมุ่งหมายที่ผู้วัดต้องการจะวัดข้อมูลท่ีได้จากการวัดไม่สามารถ
แปลความหมายได้อย่างม่ันใจ ดังนั้นเพื่อให้การวัดตรงกับจุดมุ่งหมายท่ีจะวัดและเป็นรูปธรรม ผู้วัดควร
นิยามหรือให้ความหมายคุณลักษณะที่จะวัดให้ชัดเจนก่อน อีกท้ังใช้เคร่ืองมือไม่สอดคล้องกับสิ่งท่ีต้องการ
จะวัด เน่ืองจากเคร่ืองมือท่ีใช้ในการวัดมีหลายชนิด เช่น แบบทดสอบ แบบสังเกต แบบสอบถาม เป็นต้น
ซึ่งเคร่ืองมือแต่ละชนิดมลี ักษณะและคุณสมบตั ิกบั การวดั คุณลกั ษณะท่ีตา่ งกนั ออกไป หากเลอื กใช้เคร่อื งมือ
ไม่เหมาะสมกับคุณลักษณะท่ีต้องการจะวัด ข้อมูลจากผลการวัดย่อมมีความเชื่อถือได้น้อยอันจะ
ก่อให้เกิดความคลาดเคลื่อนในการวัดและประเมินผลตามไปด้วย นอกจากนี้หากวัดได้ ไม่ครบถ้วน ในทาง
การศึกษาคุณลักษณะหนึ่งๆ อาจมีองคป์ ระกอบหลายอย่างการวดั ผลจึงจำเป็นต้องทำใหค้ รอบคลุมทุกส่วน
ของคุณลกั ษณะน้นั ๆ หากวัดเพยี งบางสว่ นหรือด้านใดด้านหนงึ่ หรอื หลายด้านแต่ไม่ครอบคลุมยอ่ มทำใหผ้ ล
การวัดนั้นคลาดเคล่ือนและการประเมินผลก็คลาดเคลื่อนตามไปด้วย ดังน้ันเพื่อให้การวัดผลสมบรู ณ์มากที่สุด
ควรใช้เคร่ืองมือหลายชนิดช่วยด้วยเพราะไม่มีเคร่ืองมือชนิดใดที่วัดผลได้ครบถ้วน และหากเลือกกลุ่ม
ตัวอย่างท่ีจะวัดไม่เหมาะสม การวัดเลือกกลุ่มตัวอย่างในท่ีน้ีหมายถึง กลุ่มตัวอย่างของเน้ือหาและพฤติกรรม
ท่ีต้องการจะวัด หากเลือกตัวอย่างของเนื้อหาและพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เช่น เลือกเอารายละเอียด
ปลีกย่อยมากเกินไปแทนท่ีจะใช้สาระหลักขององค์ประกอบนั้นๆ ผลการวัดที่ได้ย่อมไม่ถูกต้องตามจุด
มุ่งหมายทจ่ี ะวัดและการแปลความหมายของผลการประเมิน ย่อมขาดความเช่ือถือ และอีกประเด็นท่ีทำ
ให้การประเมินได้ข้อมูลที่มีคุณค่าคือการใช้เครื่องมือที่มีคุณภาพแม้ว่าเราจะมีจุดประสงค์ในการวัดที่
ชัดเจน เลือกเครื่องมือได้สอดคล้องกับจุดประสงค์แล้วก็ตาม แต่หากเคร่ืองมือขาดคุณภาพ ผลการวัดก็ขาด
คุณภาพตามไปด้วย และเม่ือนำผลการวัดไปประเมินผล ผลการประเมินย่อมมีโอกาสผิดพลาดได้ ดังน้ันเพื่อ
ให้ผลของการวัดมีความเช่ือถือได้จึงควรเลือกเคร่ืองมือที่มีคุณภาพ และคำนึงถึงความยุติธรรมความยุติธรรม
เป็นคุณธรรมที่สำคัญประการหนึ่งของผู้ท่ีทำหน้าท่ีประเมินผล เป็นส่ิงที่ครูต้องคำนึงถึงทุกคร้ังที่ทำการวัด

6

และประเมินผลการศึกษากล่าวคือ จะต้องวัดและประเมินผลด้วยใจเป็นกลางไม่ลำเอียงหรืออคติ ตัดสินตาม
หลักวิชา เช่น การตรวจสอบข้อสอบโดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกัน จัดกระทำ ให้ผู้ถูกวัดอยู่ภายใต้สถานการณ์
เดียวกันตัดสินการวัดโดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกันเป็นต้น หากการดำเนินการข้ันใดขั้นหนึ่งขาดความยุติธรรม
แล้วก็ยอ่ มส่งผลใหก้ ารวัดผลและประเมินผลขาดความเชอื่ ถอื ตามไปดว้ ย สำหรบั การแปลผลใหถ้ กู ตอ้ ง การวัด
และประเมินผลการศึกษามีเป้าหมายเพ่ือนำผลไปใช้อธิบายหรือเปรียบเทียบกันในคุณลักษณะน้ันๆ ดังนั้น
การแปล ผล ที่ได้จะต้องพิ จารณ าให้รอบคอบก่อน ท่ีจะล งส รุป โดยคำนึงหลักเกณฑ์ และวิ ธีการแปล
ความหมายเป็นสำคัญ พิจารณาตามหลกั ตรรกวิทยา ความสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ของการประเมินในครัง้ นั้น
ว่าเปน็ แบบองิ เกณฑห์ รือองิ กลุ่มนอกจากน้ันครจู ำเป็นต้องมีความรู้ในมาตราวดั และสถิติที่นำมาใชด้ ้วย

ดังนั้นเมื่อได้ผลจากการประเมินแล้วควรใช้ผลของการวัดและการประเมินให้คุ้มค่า การวัด
และประเมินผล แต่ละครั้งเป็นงานที่ต้องลงทุนทั้งในด้านพลังความคิดกำลังกาย เวลา และงบประมาณ
เพอ่ื ใหส้ ามารถวัดผลตามหลกั วัตถปุ ระสงค์ทตี่ ั้งไว้ หากผลการวัดทีค่ รูทำนำมาเพียงตดั สนิ ไดต้ กให้ผู้เรยี น
เท่านั้นนับว่าเป็นการลงทุนที่ไม่คุ้มค่า เพราะผลของการวัดและประเมินสามารถนำมาใช้ประโยชน์อย่าง
อื่นได้อีก เช่น ใช้สำหรับวินิจฉัยข้อบกพร่องในการเรียนรู้ของผู้เรียน เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาการเรียนรู้
ของผู้เรียนเป็นข้อมูลสำหรับการปรับปรุงและพัฒนาการสอนของครูเป็นข้อมูลสำหรับแนะแนวผู้เรียน
และผู้ปกครอง และเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาความดีความชอบของครู หรือปรับปรุงการบรหิ ารงานใน
โรงเรยี นเปน็ ตน้ (จติ ตมิ าภรณ์ สีหะวงษ,์ 2549)

2.1.3 จุดมุง่ หมายของการวัดและประเมนิ ผลทางการศกึ ษา
กล่าวได้ว่าการวัดและประเมินผลเก่ียวข้องกับกระบวนการเรียนการสอนตลอดเวลาซ่ึง

จุดม่งุ หมายของการประเมนิ น้นั ไม่ใชเ่ ฉพาะการนำผลการวดั ไปตัดสินการได้-ตก หรือใครควรจะไดเ้ กรด
อะไรเทา่ นั้น แต่ควรนำผลการประเมนิ นั้นไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนต์ อ่ การศกึ ษาในหลายๆ ลกั ษณะ อาทิ

- การวัดและประเมินผลเพ่ือค้นและพัฒนาสมรรถภาพของนักเรียน หมายถึง การวัดและ
ประเมินผลเพื่อดูว่านักเรียนบกพร่องหรือไม่เข้าใจเร่ืองใด ตอนใดแล้วครูพยายามสอนให้นักเรียนเกิด
ความรู้ มีความเจริญงอกงามตามศักยภาพของตน จุดมุ่งหมายข้อนสี้ ำคัญมากหรืออาจกล่าวไดว้ ่าเป็นปรัชญา
การวัดผลการศึกษา

- การวดั และประเมนิ ผลเพ่อื จดั ตำแหนง่ (Placement) การประเมนิ ผลแบบนี้เพื่อเปรยี บเทยี บ
ตนเองกับคนอื่นๆ โดยอาศัยกลุ่มเป็นเกณฑ์ว่าใครเด่น ด้อย ใครได้อันดับท่ี 1 ใครสอบได้ ตก หรือใครควรได้
เกรดอะไร เป็นต้น การประเมินผลวธิ ีน้ีเหมาะสำหรับการตดั สินผลการเรียนแบบอิงกลุ่ม หรือการคัดเลือกคน
เขา้ ทำงาน

- การวัดและประเมินผลเพ่ือวินิจฉัย (Diagnostic) เป็นการประเมินผลท่ีมีจุดมุ่งหมาย
เพื่อหาความบกพร่องของนักเรียนว่าวิชาที่เรียนนั้น มีจุดบกพร่องตอนใด เพ่ือท่ีจะได้นำไปปรับปรุงแก้ไข
ซ่อมเสริมสว่ นท่ีขาดหายไปให้ดียิ่งข้นึ ซึ่งในกระบวนการเรียนการสอนเรยี กว่าการวัดผลย่อย (Formative
Measurement)

- การวัดและประเมินผลเพื่อเปรียบเทยี บ (Assessment) เปน็ การประเมินผลเพ่อื เปรยี บเทียบ
ตนเองหรือเพื่อดูความงอกงามของเด็กแต่ละคนในช่วงเวลาท่ีต่างกันว่า เจริญงอกงามเพ่ิมขึ้นกว่าเดิมเพียงใด
เชน่ การเปรยี บเทียบผลก่อนเรียน (Pre-Test) และหลงั เรยี น (Post-Test)

- การวัดและประเมินผลเพื่อพยากรณ์ (Prediction) เป็นการประเมินผลเพื่อทำนาย
อนาคตต่อไปว่าจะเป็นอยา่ งไร น้ันคอื เม่อื นักเรยี นคนใดคนหนึ่งสอบแล้วสามารถร้อู นาคตไดเ้ ลยว่า ถา้ การเรยี น

7

ของนักเรียนอยู่ในลักษณะนี้ต่อไปแล้วการเรียนจะประสบผลสำเร็จหรือไม่ ซึ่งสามารถนำไปใช้ในเรื่องการ
แนะแนวการศึกษาว่านักเรียน ควรเรียนสาขาใด หรืออาชีพใดจึงจะเรียนได้สำเร็จ แบบทดสอบที่ใช้วัด
จุดมุ่งหมายข้อนี้ ได้แก่ แบบทดสอบวัดความถนัด (Aptitude Test) แบบทดสอบวัดเชาว์ปัญญา (Intelligence
Test) เปน็ ตน้

- การวัดและประเมินผลเพ่ือประเมินผล (Evaluation) เป็นการนำผลที่ได้จากการวัดไป
เปรียบเทียบกับเกณฑ์ท่ีกำหนดไว้เพื่อตัดสินสรุปให้คุณค่าของการศึกษาหลักสูตรหรือ เครื่องมือท่ีใช้ใน
การวัดผลวา่ เหมาะสมหรอื ไม่ และควรปรับปรงุ แกไ้ ขอย่างไร

จะอย่างไรก็ตาม การวัดและการประเมินผลแต่ละครั้ง อาจกำหนดจุดมุ่งหมายในการ
ประเมินผลไว้หลายข้อทัง้ นขี้ ้นึ อยกู่ บั ความตอ้ งการของผู้ดำเนนิ การนน่ั เอง

2.1.4 ประโยชน์ของการวดั และประเมินผลทางการศึกษา
การวัดและการประเมินผลทางการศึกษา มีประโยชน์ต่อกระบวนการเรียนการสอนเป็น

อย่างยิ่ง เพราะว่าเป็นเคร่ืองมืออย่างหนึ่งในการตัดสินใจของครู ผู้บริหารและนักการศึกษา ซึ่งพอจะสรุป
ประโยชน์ในดา้ นตา่ งๆ ดงั น้ี (อนนั ต์ ศรโี สภา, 2535)

- ประโยชนต์ ่อครู ช่วยให้ทราบเก่ียวกับพฤติกรรมเบ้อื งต้นของนกั เรียน ครูก็จะวา่ นักเรียน
มีความรู้พื้นฐานพร้อมท่ีจะเรียนในบทเรียนต่อไปหรือไม่ ถ้าหากว่านักเรียนคนใดยังไม่พร้อมครู ก็จะหาทาง
สอนซอ่ มเสริม นอกจากน้นั ยงั ช่วยให้ครปู รับปรุงเทคนิคการสอนให้เหมาะสมและมปี ระสิทธภิ าพอีกด้วย

- ประโยชน์ตอ่ นกั เรียนชว่ ยให้นักเรียนรู้ว่าตนเองเกง่ หรืออ่อนวิชาใด ความสามารถของตน
อยใู่ นระดบั ใด เพือ่ ท่ีจะได้ปรงั ปรงุ ตนเอง ตลอดจนแก้ไขข้อบกพรอ่ งทางการเรียนของตนใหด้ ยี ่งิ ขึ้น

- ประโยชน์ต่อการแนะแนว ช่วยให้แนะแนวการเลือกวิชาเรียน การศึกษาต่อการเลือก
ประกอบอาชีพของนักเรียน ใหส้ อดคล้องเหมาะสมกับความรูค้ วามสามารถและบุคลิกภาพตลอดจนช่วย
ใหส้ ามารถแกป้ ญั หาทางจติ วิทยา อารมณ์ สังคมและบุคลกิ ภาพต่างๆ ของนักเรยี น

- ประโยชน์ต่อการบริหาร ช่วยในการวางแผนการเรียนการสอน ตลอดจนการบริหาร
โรงเรียนช่วยให้ทราบว่าปีต่อไปจะวางแผนงานโรงเรียนอย่างไร เช่น การจัดครูเข้าสอน การส่งเสริมเด็กที่
เรยี นดี การปรบั ปรงุ รายวชิ าของโรงเรยี นให้ดีข้นึ เป็นต้น นอกจากนน้ั แล้วยังมปี ระโยชน์ต่อการคัดเลือก
บคุ คลเขา้ ทำงานใหต้ ำแหน่งตา่ งๆ ตามความเหมาะสม

- ประโยชน์ต่อการวิจัยชว่ ยวินจิ ฉยั ขอ้ บกพร่องในการบรหิ ารงานของโรงเรียนการสอนของครู
และข้อบกพร่องของนกั เรียน นอกจากนัน้ ยังนำไปสู่การวจิ ัยการทดลองตา่ งๆ อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ การศึกษา

- ประโยชน์ต่อการปกครองช่วยให้ทราบว่าเด็กในปกครองของตนน้ัน มีความเจริญงอกงาม
เปน็ อยา่ งไร เพือ่ เตรียมการสนบั สนุนในการเรยี นตอ่ ตลอดจนเลอื กอาชีพของเด็ก

และนอกจากน้ี แอนเดอร์สันและบอล (Anderson and Ball อ้างถึงใน นิศา ชูโต, 2538 :
12-13) ไดก้ ล่าวถึงประโยชน์ของการประเมนิ ไว้ดงั น้ี

- ช่วยในการตัดสินใจก่อนเริ่มดำเนินงาน ค้นหาความต้องการทดสอบแนวความคิดด้าน
เทคนคิ และแหลง่ ทนุ และความเปน็ ไปไดใ้ นการดำเนินงาน

- ช่วยสำหรับตดั สินใจว่าควรจะขยาย ดำเนนิ การต่อ หรอื ยุติการดำเนนิ งาน
- ช่วยในการตัดสินใจเก่ียวกับการปรับปรุง และเปลี่ยนแปลงการดำเนินงานในแง่มุมใด
หรือจุดใดจุดหน่ึงในช่วงระยะเวลาที่กำลังดำเนินงานอยู่ ในส่วนที่เกี่ยวโยงกับวัตถุประสงค์ บุคลากร หรือ
ระบบการให้บรกิ าร

8

- เพื่อเป็นประจักษ์พยานและเป็นเครื่องมือในการหาการสนับสนุนเก่ียวกับโครงการ
ดา้ นสาธารณชน การเมือง การเงนิ และดา้ นวชิ าชพี

- เพื่อช่วยส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจ และความรู้พน้ื ฐานในกระบวนการพัฒนาสังคมในด้าน
วิทยาการทางสังคมวิทยา จติ วิทยา และอ่นื ๆ นอกเหนือไปจากการให้ความรู้ข้อเท็จจริงและความเขา้ ใจ
เฉพาะทีเ่ กี่ยวกบั การดำเนินงาน

2.2 แนวคดิ การประเมนิ ผลการจัดการเรยี นการสอน

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในปัจจุบัน ยึดหลักการกระจายอำนาจให้โรงเรียน/สถานศึกษา
ดังน้ันสถานศึกษาจำต้องกำหนด ระเบียบ/แนวปฏิบัติเพื่อการวัดและประเมินของตนเอง โดยอาศัย
"หลักการ/ข้อกำหนดสำคัญบางประการ" ท่ีส่วนกลางกำหนดให้ เพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน ท่ัวประเทศ
แต่ทั้งน้ีไม่มีการออกระเบียบการวัดและประเมินผลโดยตรงไปจากส่วนกลาง (กระทรวงศึกษาธิการ) เพ่ือให้
โรงเรียน/สถานศึกษาใช้มาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดในหลักสูตรแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้เป็นท้ัง
เป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนและเป็นหลักเทียบเคียงเพ่ือการประเมิน นอกจากน้ีการประเมินมุ่งเน้นการ
ปรับปรุงพัฒนาผู้เรียนให้มีความก้าวหน้าในการเรียนรู้เป็นประเด็นหลักและยังมุ่งให้ ผู้เรียนได้พัฒนาเต็ม
ตามศักยภาพ รวมท้ังยังได้กำหนดให้มีการเทียบโอนผลการเรียนในระหว่างระบบการจัดการศึกษาต่างๆ
(การศึกษาในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศยั ตามมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ
พ.ศ. 2542) เพ่ือเปดิ โอกาสทางการศึกษาให้แก่ผูเ้ รยี น (บุญชู ชลษั เฐียร, 2549)

แนวทางการประเมนิ ผลการเรยี นของโรงเรียน/สถานศึกษาเปน็ ผรู้ ับผิดชอบในการ ประเมินผล
การเรียนรู้ของผเู้ รียน โรงเรียน/สถานศึกษาจำเปน็ ต้องวางระบบงานด้านการประเมินผลกำหนดรูปแบบ
การวัดและประเมินผลของตนเองด้วยกระบวนการให้ทุกฝ่ายได้มีส่วนร่วมเพื่อเป็นมาตรฐานในการ
ปฏิบัติของบุคคลากรทุกคน ที่เก่ียวข้องกระบวนการน้ีนำไปสู่การสร้างความม่ันใจ การยอมรับเก่ียวกับการ
ดำเนินงานรวมท้งั คณุ ภาพของผลการประเมินที่ได้

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานในปัจจุบันเป็นหลักสตู รอิงมาตรฐาน ดังน้ันมาตรฐานการเรียนรู้
ทีก่ ำหนดในหลักสูตรในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้จึงนำมาใช้ เป็นหลกั ในการจัดการเรียนรู้ เป็นหลักในการ
เทียบเคียงสำหรับประเมิน และเป็นตัวกลางบอกให้รู้ความก้าวหน้าพัฒนาการของผู้เรียนการรายงานผลการ
ประเมินจึงควรจัดทำในรูปแบบของการรายงานความก้าวหน้าในการเรียนรู้และระดับสัมฤทธ์ิผลของ
ผู้เรียนในลักษณะเป็นคำอธิบายเชิงคุณภาพ ท่ีเช่ือมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู้ซ่ึงจะทำให้รู้ว่าผู้เรียน มี
ความก้าวหน้าในการเรยี นรู้หรือมีความสำเร็จเพียงใด รู้สิ่งใดทำอะไรได้ข้อมูลผลการประเมนิ ที่ไดจ้ ะต้อง
นำมาใชอ้ ธิบายภาพผลสัมฤทธท์ิ ีเ่ กิดแกผ่ เู้ รยี น ได้อย่างถูกตอ้ งนา่ เชื่อถอื

ดังนั้นการประเมินจำต้องใช้เครื่องมือ และวิธีการเก็บรวบรวม ข้อมูล วิธีการหลากหลาย อาทิ
การประเมินทักษะการปฏิบัติ โครงงาน แฟ้มผลงาน แบบฝกึ หัด ด้วยการสังเกต สัมภาษณ์ ตรวจผลงาน ฯลฯ
นอกเหนือจากการใช้แบบทดสอบข้อเขียน ที่ใช้กันอย่างกว้างขว้างขณะน้ี เพ่ือให้ผู้เรียนท่ีอาจใช้วิธีการ
เรียนรู้ และวิธีแสดงออกซึ่งความสามารถซ่ึงแตกต่างกัน ได้มีโอกาสแสดงความรู้ความสามารถในเร่ืองน้ันๆ
ได้ตามศักยภาพของตน ส่งผลให้สามารถประเมินความรู้ ความสามารถของผู้เรียนได้แม่นยำ และครอบคลุม
ผลสมั ฤทธิท์ ่เี กิดข้ึนทุกด้าน ซึ่งข้อกำหนดการวดั และการประเมินผลการเรยี นรู้ตามหลักสูตรใหม่น้ัน คือ ภาระ
รับผิดชอบด้านการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรที่จำเป็นต้องดำเนินการประกอบ ด้วยการวัด
และประเมินระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษาและระดับชาติระดบั ช้ันเรียนมีจุดม่งุ หมายเพอ่ื ดูความก้าวหน้า

9

ด้านความรู้ ทักษะพัฒนาการและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรียนรายบุคคล ผลท่ีได้จะเป็นประโยชน์
ต่อการแก้ปัญหาในการเรียนช่วยเหลือผู้เรียนหรือส่งเสริมผู้เรียน ระดับสถานศึกษานั้น มีจุดมุ่งหมายเพ่ือ
สรุปผลการเรียนรู้ของผู้เรียนว่ามีผลสัมฤทธิ์ระดับใด เป็นไปตามท่ีคาดหวังหรือไม่ เม่ือส้ินภาคเรียน/ปีการ
ศึกษา/จบช่วงนั้น เพ่อื การตัดสินผลการเรยี นรายวิชาการ เลื่อนชว่ งช้ันหรือให้การรับรองส่วนระดบั ชาติ
การประเมินคุณภาพระดับชาติ มีจุดมุ่งหมายให้เป็นกระบวนการที่สร้างความม่ันใจด้านคุณภาพการศึกษา
ทั้งน้ีเพราะข้อมูลที่ได้มา คือตัวบ่งช้ีคุณภาพการศึกษาของชาติในภาพรวมดังน้ันข้อมูลจะนำไปใช้วางแผน
พัฒนาคุณภาพการศึกษา ในระดับพ้ืนท่ีและระดับสถานศึกษารวมทั้งใช้ประกอบการตัดสินใจในด้าน
นโยบายจึงกำหนดให้เป็นหน้าที่ของสถานศึกษาพึงจะต้องจัดให้ผู้เรียนในช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ประถม
ศึกษาปีท่ี 6 มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 เข้ารบั การประเมิน ขอ้ มูลจากการประเมนิ ระดับชาตินไ้ี มเ่ พยี ง
เป็นประโยชน์แก่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในภาพรวมของประเทศดังกล่าวข้างต้นแต่ยังเป็นประโยชน์
ต่อผู้เรียนโดยตรงอีกด้วยโดยเฉพาะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผลการประเมินของผู้เรียนในชั้นน้ีจะนำไปใช้
เป็นองคป์ ระกอบหน่ึงในการพิจารณารับบุคคลเขา้ ศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา

เกณฑ์การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนให้ผู้เรียนผ่านช่วงช้ันหนึ่งๆและจบหลักสูตรการศึกษา
ข้นั พนื้ ฐาน ประกอบด้วยผลการเรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม ผลการประเมิน การอ่าน การคิดวเิ คราะห์
การเขียนคุณลักษณะที่พึงประสงค์และการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามเกณฑ์ ท่ีสถานศึกษา
กำหนดผลการประเมินที่ได้ไม่ว่าจะเป็นการประเมินในระดับใด ล้วนเป็นข้อมูลที่มีค่าต่อการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาทั้งส้ิน ดังน้ันเพ่ือให้ได้ผลการประเมินที่มีคุณค่าต่อการพัฒนาอย่างแท้จริง ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายพึงได้
ยอมรับแนวคิดวัฒนธรรมการทำงานที่ถือว่าการประเมินเป็นกระบวนการพัฒนาไปสู่สิ่งท่ีดีกว่าเม่ือยอมรับ
แล้วย่อมง่ายในการปฏิบัติผู้บริหารสถานศึกษาพึงส่งเสริมให้ผู้สอนทำหน้าท่ีหลักในการดำเนินกิจกรรม
การประเมินร่วมกับผู้เกี่ยวข้องอ่ืนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรง เช่น ผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชนอย่าง
ใกล้ชิดท้ังการให้ข้อมูลเพื่อการประเมินการเป็นผู้ร่วมประเมิน และใช้ข้อมูลการประเมินอย่างคุ้มค่าสำหรับ
ตวั ผเู้ รียนเองต้องมีหน้าท่แี ละจำเป็นต้องแสดงออกซึ่งความรู้ ความสามารถอย่างเต็มท่ี เพื่อให้ผลการประเมิน
สะท้อนความสามารถที่แทจ้ รงิ ของตนการประเมนิ ผลการเรยี นตามหลักสูตรใหม่ ที่แมม้ ีกรอบความคิดรูปแบบ
และบริบทที่เปล่ียนแปลงไปแต่ก็เช่ือว่ารูปแบบและวิธีการประเมินที่ได้กล่าวมานี้จะเป็นเคร่ืองมือหนึ่งที่
ชว่ ยเหลอื ผปู้ ฏบิ ัติ การประเมนิ และผู้ใช้ผลการประเมนิ ใหป้ ฏิบัตภิ าระรับผดิ ชอบงานของตนไดผ้ ลเป็นอยา่ งดี

2.3 แนวคิดเกย่ี วกบั การประเมินคุณภาพการศกึ ษา

การบริหารจัดการศึกษา ทั้งด้านการจัดการเรียนการสอน การตัดสินผลการเรียน และการ
อนุมัติการจบหลักสูตรของผู้เรียนให้แก่สถานศึกษาน้ัน กระทรวงศึกษาธิการพึงต้องใช้มาตรการควบคุม
และรักษาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศซึ่งมีความหลากหลายทั้งในด้านปัจจัย
ความพร้อมหรือกระบวนการดำเนินงานใหไ้ ด้คุณภาพตามาตรฐานทก่ี ำหนดไว้น้ี เปน็ เครอ่ื งประกนั ความม่นั ใจ
ในคุณภาพการศึกษาที่จัดใหแ้ กป่ ระชาชนในฐานะเป็นผรู้ ับบริการการศกึ ษา และเป็นการแสดงความรับผิดชอบ
ต่อพันธกจิ การจดั การศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารที่จำเป็นต้องรายงานให้สาธารณชนรับทราบวา่ คุณภาพ
การศกึ ษาของผเู้ รยี นอยใู่ นระดับใด

กอปร.กับพระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 กำหนดให้กระจายอำนาจการบรหิ าร
และการจัดการศึกษาทั้งดา้ นวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารท่ัวไป ลงสู่เขต
พ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศึกษาโดยตรง (มาตรา 39) โดยกำหนดให้กระทรวงฯ ทำหน้าที่กำกับ ดูแล และ

10

ติดตามตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษา (มาตรา 31) ซ่ึงก่อให้เกิดปัจจัยและความเปลี่ยนแปลง
ใหมๆ่ ทอ่ี าจส่งผลกระทบต่อการบรหิ ารจดั การการศกึ ษา

ดว้ ยประการเช่นน้ี การประเมินคุณภาพการศึกษาหรอื การทดสอบแห่งชาติ จึงเป็นกลไกสำคัญต่อ
การบริหารจัดการของกระทรวงฯเพราะไม่เพียงเป็นมาตรการควบคุม และพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการ
ศกึ ษาระดับชาติ ท่ีสร้างความมั่นใจต่อคุณภาพการศึกษาแล้ว ยังเป็นกระบวนการเขา้ ถงึ ขอ้ มูลของสภาพ
การจัดการศึกษาท่ีแท้จริง ข้อมูลนี้นำมาใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพ กำหนดนโยบาย และการตัดสินใจได้อีก
ประการหนงึ่ ดว้ ย นี่คือคำตอบวา่ การประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาจำเปน็ อยา่ งยงิ่ (บุญชู ชลัษเฐียร, 2549)

2.3.1 การประเมนิ คุณภาพการศึกษาในต่างประเทศ

ในขณะท่ีการปฏิรูปการศึกษาเป็นหน่ึงในกระแสหลักของโลกาภิวัฒน์การประเมิน
มาตรฐานการศึกษาระดับประเทศโดยใช้แบบทดสอบมาตรฐานได้เกิดข้ึนในประเทศส่วนใหญ่ในโลก
ยกเว้นบางประเทศ เช่น Iceland Sweden ท่ีมีกระแสต่อต้านการตรวจสอบควบคุมการจัดการศึกษา
จากส่วนกลาง ซึ่งจากการศึกษาเอกสารจาก Websites ของหน่วยงานที่รับผิดชอบการประเมินระดับชาติ
ของประเทศต่างๆ เช่น สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย และสิงคโปร์ พบว่ามีการประเมิน 2
รูปแบบใหญ่ๆ คือ (สำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา, 2546:5–13)

2.3.1.1 การประเมนิ ระดับชาติที่ไม่มีผลต่อการตดั สินผลการเรียนของผู้เรียนเป้าหมายของ
การประเมินแบบน้ี คือ การได้ข้อมูลเก่ียวกับคุณภาพการศึกษาของชาติในลักษณะภาพรวม ผลการประเมิน
สามารถแสดงให้เห็นคุณภาพการศึกษา ณ เวลาที่ประเมินและแสดงแนวโน้มในระยะยาว โดยการวิเคราะห์
เปรียบเทียบตัวอย่างของการประเมินแบบน้ี ได้แก่ National Assessment of Educational Progress
(NAEP) ของสหรัฐอเมริกา และ Qualifications and Curriculum Authority’s (QCE) National Tests
ของสหราชอาณาจักร แต่ QCE และ NAEP ก็มีความแตกต่างท่ีสำคัญ คือ NAEP เป็นการสอบเฉพาะผู้ท่ี
เป็นกลุ่มตัวอย่าง ส่วน QCE เป็นการสอบสำหรับนักเรียนทุกคนท่ีมีอายุครบ 7 ปี 11 ปี และ 14 ปี ผลการ
สอบของ QCE จึงสามารถใช้แสดงผลสัมฤทธ์ิระดับรายบุคคลได้ ซึ่งเป็นข้อมูลที่มีประโยชน์อย่างยิ่งต่อ
ตัวผ้เู รียน ครูผสู้ อนและผปู้ กครองทีจ่ ะร่วมพฒั นาคุณภาพผ้เู รียนแต่ละคน

2.3.1.2 การประเมินระดบั ชาติเพ่อื ตดั สินผลการเรียนของผู้เรยี นระดบั ตวั ประโยคต่างๆ
เช่น การสอบ O-Level และ A-Level ของสหราชอาณาจักร การสอบ Higher School Certificate ในรัฐ
New South Wales ประเทศ Australia และการสอบ Primary School leaving Examination (PSLE),
General Certificate of Education (GNE) N-Level, GNE O–Level และ GNE A-Level ของสิงคโปร์การ
ประเมนิ รปู แบบน้ี แมจ้ ะเกดิ ในประเทศท่จี ัดการศกึ ษาแบบกระจายอำนาจแต่รัฐยังสงวนไว้ซึ่งอำนาจการ
ประเมินผลและการตัดสินผลการเรียนของผู้เรยี นในระดบั ทีเ่ ป็นตัวประโยค แต่อย่างไรกต็ ามก็ได้มกี ารนำ
ข้อมูลจากการประเมนิ ในรปู แบบนี้ไปเป็นตวั บ่งช้ีคณุ ภาพการศึกษาของชาติได้อยา่ งนา่ เช่ือถือ

ประเทศสหรฐั อเมรกิ า และสหราชอาณาจักรมีการประเมินท้ังสองแบบดำเนินการควบคู่
กันไปและเป็นอิสระต่อกัน การประเมิน NAEP เป็นโครงการของรัฐบาลกลาง และไม่มีผลต่อการได้ตกของ
ผู้เรยี น แต่ก็มีหลายรฐั ที่มกี ารจัดสอบระดับชาตเิ พ่ือตัดสินผลการเรียนของผูเ้ รียน เรยี กวา่ Exit
examination เช่น California และ South Carolina เปน็ ต้น

การประเมินระดับชาติในประเทศสหรัฐอเมริกามีแนวโน้มที่จะเปล่ียนแปลงไปเป็นแบบ
National Test ของ QCE ประเทศอังกฤษ โดยประธานาธิบดี Clinton ได้เสนอให้มีการประเมินผู้เรียน

11

ทุกคนในระดับ Grade 4 ในวิชา Reading และระดับ Grade 8 ในวิชาคณิตศาสตร์ โดยอ้างเหตุผลว่า
การประเมินโดยวธิ กี ารสุ่มตวั อย่างจะใหภ้ าพในระดบั หน่วยท่ีใหญ่ เช่น ภูมภิ าค รัฐและประเทศ แต่ไม่ได้
ให้ข้อมูลท่ีจะเป็นประโยชน์สำหรบั การพัฒนาผเู้ รยี นเป็นรายบคุ คล และประธานาธบิ ดี George W. Bush ก็ได้
ให้นโยบายในทิศทางเดียวกัน คือ ได้เสนอนโยบายด้านการศึกษาชื่อ No Child Left Behind ซ่ึงต่อมาได้
กลายเป็นกฎหมายการศึกษา ชื่อ The No Child Left Behind Act ซึ่งกำหนดให้ 1) ให้มลรัฐทั้งหลายและ
สถานศึกษาของรัฐ จัดสอบนักเรียนต้ังแต่ Grade 3 – 8 ในวิชาการอ่านและคณิตศาสตร์ทุกๆ ปี โดยใช้แบบ
ทดสอบทสี่ ร้างจากขอ้ สอบของรฐั ทีม่ ีอย่หู รอื พฒั นาขน้ึ มาใหม่โดยเร่ิมดำเนนิ การภายใน 3 ปี 2) ใหร้ ัฐบาลกลาง
(Federal Government) จัดงบประมาณสนับสนุนการพัฒนาแบบทดสอบของมลรัฐต่างๆ 3) ห้ามมิให้
มีการจัดสอบ National Test ที่รัฐบาลกลางเป็นผู้ดำเนินการหรือให้การสนับสนุน และ 4) ให้มลรัฐต่างๆ
สามารถยืดหยุ่นในการเลือกที่จะรับการประเมินโดยโครงการ MAEP หรือโครงการอ่ืนๆ ที่มีมาตรฐาน
ทางเทคนิคและวชิ าการท่เี ปน็ ทยี่ อมรับโดยท่วั ไป

ในเร่ือง National Test น้ี ได้มีนักวิชาการแสดงความคิดเห็นท้ังในเชิงเห็นด้วยและคัดค้าน
พร้อมทั้งได้ให้ข้อเสนอแนะและทางเลือกต่างๆ Jones ตั้งข้อสงสัยว่า National Test จะสอดคล้องกับการ
ปฏิรูปการศึกษาที่กำลังดำเนินอยู่หรือไม่ และแสดงความกังวลว่าการทำ National Test อาจมีผลลบต่อ
โครงการ NAEP ซ่ึง Jones เห็นว่าดำเนินการได้ผลดี เป็นท่ีน่าพอใจอยู่แล้ว ในขณะที่ Davey เห็นว่า
การประเมนิ ระดบั ชาติ เทา่ ที่เป็นอยู่ไม่วา่ จะเป็น NAEP หรือการสอบ SAT มขี ้อบกพร่องคือ NAEP หรือ
การสอบ SAT มีข้อบกพร่องคือ NAEP ประเมินเพียงไม่กี่วิชาในหลกั สูตรแต่ละคร้ัง ส่วน SAT วดั เฉพาะความ
ถนัดทางการเรียน ไม่ได้วัดตามจุดประสงค์การเรียนรู้ตามหลักสูตร และทั้ง NAEP และ SAT ไม่ได้สอบ
ผูเ้ รียนทุกคนจึงไมส่ ามารถนำผลไปใช้เพ่ือพัฒนาในระดับสถานศึกษาและผู้เรยี นได้ ดังนนั้ Davey จึงเห็น
ด้วยกับการให้มีระบบ National Test และได้เสนอความคิดเห็นว่าระบบ National Test ที่ดีควรมีลักษณะ
ต่อไปนี้คือ 1) ทำให้สามารถเปรียบเทียบผลระหว่างสถานศึกษา ภูมิภาค และรัฐได้อย่างสมเหตุสมผล 2)
ประเมินท้ังผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการตามหลักสูตรและความถนัดทางการเรียน 3) การส่งเสริมและกระตุ้นให้
สถานศึกษาให้ความสนใจอย่างจริงจังในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท่ีสำคัญท่ีหลักสูตรกำหนด 4) สามารถใช้
ผลการประเมินให้เป็นประโยชน์ทั้งในระดับชาติ ระดับสถานศึกษาและระดับผู้เรียนเป็นรายบุคคลและ
ประการสุดท้าย 5) สรา้ งแรงจงู ใจ กระตุ้นและท้าทายใหผ้ เู้ รียนทกุ คน ตงั้ ใจใฝ่หาผลสมั ฤทธิ์

2.3.2 การประเมินคุณภาพการศึกษาสำหรบั ประเทศไทย
เมื่อพิจารณาพัฒนาการด้านการวัดและประเมินผลในวงการศึกษาของไทย และข้อกำหนด

ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติเกี่ยวกับการตัดสินผลการเรียนซึ่งให้เป็นอำนาจหน้าท่ีของสถานศึกษา
ดังนั้นการประเมินผลระดับชาติในรูปการสอบ O-Level, A-Level ในประเทศอังกฤษ หรือการสอบ Exit
Examination ในบางมลรฐั ในประเทศสหรัฐอเมริกาคงเป็นทางเลือกที่เป็นไปไม่ได้ สำหรับรูปแบบที่กระทรวง
ศึกษาธิการใช้อยู่ในปัจจุบัน ค่อนข้างคล้ายคลึงกับNAEP ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีจุดอ่อนตามที่
Davey ได้กล่าวไว้นอกจากน้ีกรมวิชาการ ได้ทำการศึกษา วิเคราะห์และประเมินรูปแบบการทำ National
Test ซงึ่ สามารถสรุปออกมาได้ 3 ทางเลือกใหญ่ๆ แต่ละทางเลือกต่างก็มีข้อดีและขอ้ เสียแตกต่างกันและ
มีข้อเสนอแนะไว้ดังนี้

2.3.2.1 ข้อดีของการประเมิน
- จะเปน็ แบบสมัครใจ ใครต้องการประเมินกส็ มคั รไดใ้ ครไมส่ มัครก็ไดไ้ มผ่ ดิ กฎ

12

- มีส่ิงจูงใจในการร่วมประเมิน คือ เม่ือเด็กเข้าร่วมการประเมิน หากคะแนนดี ผ่านเกณฑ์
ก็จะมีชื่อเสียงท้ังเด็กและโรงเรียน หากคะแนนไม่ดี ไม่ผ่านเกณฑ์ โรงเรียนก็จะได้รับเงินช่วยเหลือ หรือการ
ชว่ ยเหลอื จากรฐั เพ่อื นำไปปรับปรงุ และพัฒนาใหผ้ า่ นเกณฑใ์ ห้ได้

- ประเมินก่อนจบช่วงชั้น (G4, G8) เพ่ือให้มีเวลากลับไปแก้ไขจุดบกพร่องและพัฒนาเด็ก
ไดใ้ นเวลาท่ีเหลือของการเรยี นในชว่ งนั้นๆ

- ประเมินวิชาพื้นฐานเท่านั้น โดยวิชาที่เอามาทำการประเมิน เช่น วิชาการอ่าน โดยระบุ
ชัดเจน เพราะการอ่านจะสะท้อนให้เห็นถึงจุดเน้นของวิชาและรวมถึงความสามารถของตัวผู้เรียนด้วย
และจะไม่ประเมินวิชารวมๆโดยไร้จุดหมาย และในการสอบ NT จะประเมินเฉพาะการอ่าน การเขียน
เท่าน้ัน เพราะคนจำนวนมากไม่สามารถประเมินได้หมดเช่น การฟัง การพูด จะให้เป็นหน้าท่ีของโรง เรียนใน
การประเมิน

2.3.2.2 ข้อจำกัดของการประเมิน
- วดั ได้อยา่ งจำกัด กล่าวคือ ข้อสอบจะเป็นแบบปรนยั ให้ผเู้ ขียนเลือกตอบ อันเป็นการ
จำกัดคำตอบของผู้เรียนทำให้ประเมินความสามารถท้ังหมดของผู้เรียนไม่ได้ ควรจะนำรูปแบบการ
ประเมนิ แบบอนื่ มาเสรมิ เพอ่ื ให้เป็นการประเมนิ ระดบั ชาตทิ ่ีสมบูรณ์
- ใช้งบประมาณในการจัดการประเมนิ มาก เพราะต้องประเมินคนจำนวนมาก
- บางคร้ังข้อสอบอาจยากเกินไป ไมต่ รงกับมาตรฐานของผู้เรียน
2.3.2.3 ขอ้ เสนอแนะของการประเมิน
- ควรดผู ลการปฏิบัติงาน ดูว่าผู้เรียนได้เรยี นรู้อะไรบ้าง ทำอะไรบ้าง มีพัฒนาการอย่างไร
แลว้ จะได้นำไปพัฒนาตัวผู้เรียนได้
- ผลการทดสอบจะต้องนำกลบั ไปเปน็ สว่ นสำคัญในการกำหนดนโยบายการศึกษาชาติ

14

บทท่ี 3
วิธีดำเนนิ การ

รายงานการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน ปีการศึกษา 2564 ของสำนักงานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษาประถมศึกษาเลย เขต 2 ในครัง้ น้ี มขี นั้ ตอนวธิ ดี ำเนนิ การ ได้แก่

3.1 กลุม่ เปา้ หมายของการศึกษา
3.2 เคร่อื งมือท่ใี ชใ้ นการศึกษา
3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล
3.4 การวเิ คราะห์ข้อมลู และสถิตทิ ีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูล

3.1 กลุ่มเป้าหมายของการศกึ ษา

กลุ่มเป้าหมายของการศึกษาผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2564
ของสำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเลย เขต 2 ประกอบดว้ ย

นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ประจำปีการศึกษา 2564 จำนวน 1,393 คน จำนวน 110
โรงเรียน และนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ประจำปีการศึกษา 2564 จำนวน 640 คน จำนวน 36
โรงเรียน (หมายเหตุ : จำนวนนักเรียนและโรงเรียนที่ทำการทดสอบ คือโรงเรียนท่ีแจ้งความประสงค์รับการ
ทดสอบ)
3.2 เครือ่ งมอื ท่ีใชใ้ นการศึกษา

เคร่ืองมือท่ีใช้ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2564 ของสำนักงาน
เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 ครั้งน้ีเป็นแบบทดสอบมาตรฐานของสถาบันทดสอบ
ทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) จำนวน 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยลักษณะของการทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O–NET: Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2564
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ตามมาตรฐานการเรียนรู้หลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ครอบคลุม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ซ่ึงเป็นแบบทดสอบปรนัยแบบเลือกตอบ
(Multiple Choice) 4 ตัวเลือก ปรนัยแบบจับคู่คำตอบ และแบบอัตนัยตามลักษณะ ของแบบทดสอบ
หลากหลายประเภท โดยมีสาระการเรียนรู้ที่ได้จะต้องทำการทดสอบจำนวน 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ)

3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล

เพื่อให้การเก็บรวบรวมข้อมูลของการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน ปีการศึกษา
2564 คร้ังนี้ ดำเนินการตามมาตรการการจัดสอบที่ถูกต้องของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเลย
เขต 2 มมี าตรฐานและไดข้ อ้ มลู ท่ีมีคุณภาพจึงไดด้ ำเนินการตามขน้ั ตอน ดังนี้

3.3.1 กลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาเสนอรายช่ือกรรมการกำกับห้องสอบ ของแต่ละสนามสอบ
(1 กลมุ่ พฒั นาคุณภาพการศึกษา ต่อ 1 สนามสอบ แยกเปน็ 2 ระดับ) มหี ัวหน้าสนามสอบ กรรมการกลาง
ผู้ประสานงานประจำสนามสอบ เจ้าหน้าที่และตัวแทนศูนย์สอบ เพื่อประสานงานการจัดสอบให้มีคุณภาพ
และกรรมการคุมสอบจากครูประจำการ 2 คน ต่อ 1 ห้องสอบ โดยให้สลับครูคุมสอบต่างโรงเรียน
ท้งั 2 คน

15

3.3.2 สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 แต่งต้ังคณะกรรมการ และจัด
ประชุมชี้แจงแนวปฏิบัติและอำนาจหน้าท่ีของคณะกรรมการกำกับห้องสอบ โดยดำเนินการสอบตาม
ตารางสอบและวิธกี ารตามคมู่ ือ ให้เปน็ ไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าดว้ ยการปฏิบัตขิ อง
ผู้กำกับการสอบ พ.ศ.2548

3.3.3 ดำเนินการจัดสอบพร้อมกันท้ังเขตพ้ืนที่การศึกษา โดยคณะศึกษานิเทศก์ ผู้อำนวยการ
โรงเรียนในสังกัด เป็นตัวแทนศูนย์สอบ กำกับ ติดตาม การดำเนินการจัดสอบของแต่ละสนามสอบโดย
ผู้อำนวยการกลุ่มต่างๆ ในสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาเลย เขต 2 และผูอ้ ำนวยการสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาเลย เขต 2

3.3.4 คณะกรรมการประมวลผล วิเคราะห์ และสรปุ ผลการทดสอบตามวตั ถุประสงค์ของการศกึ ษา

3.4 การวเิ คราะห์ข้อมูลและสถิตทิ ีใ่ ช้ในการวิเคราะห์ข้อมลู

การวิเคราะห์ข้อมูลคร้ังนี้หาค่าสถิติพ้ืนฐาน ได้แก่ ใช้การแจงนับความถ่ีแล้วคำนวณหา ค่าร้อยละ
(Percentage, คา่ เฉลย่ี ( X ) โดยมสี ถติ ิทใ่ี ชเ้ พ่ือหาคา่ ต่างๆ ดังน้ี

3.4.1 ค่าเฉลีย่ เลขคณิต (mean) โดยคำนวณจากสูตร (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2545: 102)

X = X
N

เมอื่ X แทน ค่าเฉล่ียของคะแนน

X แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด

N แทน จำนวนคนท้ังหมด

16

บทท่ี 4
ผลการศกึ ษา

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O–NET) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาเลย เขต 2 มีวตั ถปุ ระสงค์เพอื่ ศกึ ษาผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
(O–NET) ปีการศึกษา 2564 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ของโรงเรียนในสังกัด
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 เพ่ือเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น
พ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564 ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียนใน
สงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 และเพื่อวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ขน้ั พ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564 ของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียน
ในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 โดยจำแนกตามสาระการเรียนรู้ มกี ลุม่ เป้าหมาย
คือ นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ประจำปีการศึกษา 2564 จำนวน 1,393 คน จำนวน 110 โรงเรียน และ
นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ประจำปีการศึกษา 2564 จำนวน 640 คน จำนวน 36 โรงเรียน (หมายเหตุ :
จำนวนนักเรียนและโรงเรยี นที่ทำการทดสอบ คอื โรงเรียนทแ่ี จ้งความประสงคร์ ับการทดสอบ)

สำหรับผลการศึกษาของการรายงานผลการทดสอบระดับชาติข้ันพื้นฐาน ผู้ศึกษามีรายละเอียดของผล
การศกึ ษาดังน้ี

4.1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564 นักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถม ศึกษา
เลย เขต 2

4.2 ผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาเลย เขต 2

4.3 ผลการวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564
ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศกึ ษาเลย เขต 2 โดยจำแนกตามสาระการเรียนรู้

4.1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564 นักเรียนช้ันประถม
ศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย
เขต 2

ตารางที่ 1 ผลการทดสอบระดบั ชาติขนั้ พ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564 นักเรยี นช้ันประถมศึกษา
ปีท่ี 6 ของโรงเรียน ในสังกัดสำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาเลย เขต 2

วิชา/ประเภท ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เฉลีย่ รวม

คะแนนเฉลยี่ 45.10 32.08 30.36 29.59 34.28
ระดับเขตพนื้ ที่

17

ตารางท่ี 2 ผลการทดสอบระดับชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564 นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3
ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2

วิชา/ประเภท ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เฉลีย่ รวม

คะแนนเฉล่ีย 42.52 19.72 28.52 25.39 29.04
ระดบั เขตพ้นื ท่ี

4.2 ผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 และช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2

ตารางท่ี 3 ผลการทดสอบระดบั ชาติขั้นพื้นฐาน (O–NET) ปกี ารศึกษา 2564 นักเรยี นชั้นประถมศึกษา
ปีท่ี 6 ของโรงเรยี น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2
(เปรียบเทียบกับระดบั สังกัด/ระดับประเทศ)

วชิ า/ประเภท ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เฉลย่ี รวม

ระดบั เขตพื้นท่ี 45.10 32.08 30.36 29.59 34.28

ระดบั สพฐ. 49.54 35.85 33.68 35.46 38.63

ระดบั ประเทศ 50.38 36.83 34.31 39.22 40.18

จากตารางที่ 3 พบว่า ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564
นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 มีคะแนน
เฉล่ียในภาพรวมตำ่ กวา่ คะแนนเฉลีย่ ในภาพรวมระดบั สังกัด (สพฐ.) และระดับ ประเทศ

เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 5 กับระดับสังกัด (สพฐ.)
พบว่า ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2564 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี
ท่ี 6 สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 มีคะแนนเฉล่ียต่ำกว่าระดับสังกัด (สพฐ.) โดยมี
ผลต่าง -4.35 (คะแนนเฉลี่ยระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา = 34.28, คะแนนเฉลี่ยระดับสังกัด (สพฐ.) = 38.63) เมื่อทำ
การพิจารณาคะแนนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ต่ำกว่าระดับ สพฐ.
–4.44 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ต่ำกว่าระดับ สพฐ. –3.77 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ต่ำกว่าระดับ
สพฐ. –3.32 และกลุม่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาต่างประเทศ (อังกฤษ) ตำ่ กวา่ ระดบั สพฐ. –5.87

ผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 กับระดับ ประเทศ
พบว่า ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ประจำปีการศึกษา 2564 นักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 มีคะแนนเฉล่ียต่ำกว่า
ระดับประเทศ โดยมีผลต่าง -5.9 (คะแนนเฉล่ียระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา = 34.28, คะแนนเฉล่ียระดับประเทศ
= 40.18) เมื่อทำการพิจารณาคะแนนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ต่ำกว่า
ระดับประเทศ -5.28 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ต่ำกว่าระดับประเทศ -4.75 กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ต่ำกว่าระดับประเทศ -3.95 และกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (อังกฤษ) ต่ำกว่า
ระดับประเทศ -9.63 แสดงได้ ดงั แผนภูมิที่ 1

18

แผนภมู ทิ ี่ 1 แสดงผลการเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ันพนื้ ฐาน (O-NET)
ปีการศึกษา 2564 ระดับชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 (เปรียบเทยี บกับระดับสงั กัด/ระดับประเทศ)

ตารางท่ี 4 ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O–NET) ปกี ารศึกษา 2564 นักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษา
ปที ่ี 3 ของโรงเรียน สังกัดสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2
(เปรยี บเทียบกับระดบั สังกัด(สพฐ.)/ระดับประเทศ)

วชิ า/ประเภท ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ เฉลยี่ รวม

ระดบั เขตพ้ืนที่ 42.52 19.72 28.52 25.39 29.04

ระดบั สพฐ. 52.13 24.75 31.67 30.79 34.83

ระดบั ประเทศ 51.19 24.47 31.45 31.11 34.55

จากตารางท่ี 4 พบว่า ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 มีคะแนน
เฉลี่ยในภาพรวมต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยในภาพรวมระดบั สังกดั (สพฐ.) และระดับประเทศ

เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 กับระดับสังกัด (สพฐ.)
พบว่า ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2564 นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3
สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 มีคะแนนเฉล่ียต่ำกว่าระดับสังกัด (สพฐ.) โดยมีผลต่าง -
5.79 (คะแนนเฉล่ียระดับเขตพื้นที่การศึกษา = 29.04, คะแนนเฉลี่ยระดับสังกัด (สพฐ.) = 34.83) เมื่อทำการ
พิจารณาคะแนนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ต่ำกว่าระดับ สพฐ. -9.61
กลุม่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ต่ำกวา่ ระดับ สพฐ. -5.03 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ต่ำกว่าระดบั สพฐ.
-3.15 และกล่มุ สาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ (องั กฤษ) ตำ่ กวา่ ระดบั สพฐ. -5.40

ผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564
นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 กับระดับประเทศ พบว่า
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2564 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 สังกัด

19

สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 มีคา่ เฉลี่ยต่ำกว่าระดับประเทศ โดยมีผลต่าง -5.51 (คะแนน
เฉล่ียระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา = 29.04, คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ = 34.55) เม่ือทำการพิจารณาคะแนนในแต่
ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ต่ำกว่าระดับประเทศ -8.67 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ต่ำกว่าระดับประเทศ -4.75 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ต่ำกว่าระดับประเทศ -2.93 และกลุ่ม
สาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ (องั กฤษ) ต่ำกว่าระดับประเทศ -5.72 แสดงได้ดงั แผนภมู ิท่ี 2

แผนภมู ทิ ่ี 2 แสดงผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (O–NET)
ปีการศกึ ษา 2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 (เปรียบเทยี บกับระดับสังกัด(สพฐ.)/
ระดับประเทศ)

ตารางที่ 5 แสดงผลการเปรยี บเทียบคะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพ้ืนฐาน
(O–NET) ปกี ารศึกษา 2563 กับคะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาตขิ ้ันพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศกึ ษา 2564 ของนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6
โรงเรยี นในสังกัดสำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2

วิชา/ประเภท ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เฉลี่ยรวม
ปีการศึกษา 50.07 24.86 34.72 32.18 35.46

2563 45.10 32.08 30.36 29.59 34.28
ปกี ารศกึ ษา -4.97 +7.22 -4.36 -2.59 -1.18
ลดลง เพิ่มข้นึ ลดลง ลดลง ลดลง
2564
ผลตา่ ง

แปลผล

จากตารางท่ี 5 พบว่า พบวา่ คะแนนเฉลี่ยของผลการทดสอบทางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน (O–NET)
ปีการศึกษา 2564 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ในภาพรวม มีคะแนนเฉลี่ย 34.28 โดยมีคะแนนเฉล่ียลดลง
1.18 จากปกี ารศึกษา 2563 ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ย 35.46 เมื่อพิจารณาในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ภาษาไทยมีคะแนนเฉลี่ยลดลง 4.97 วิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยลดลง 4.36 ภาษาต่างประเทศ

20

(ภาษาอังกฤษ) มีคะแนนเฉล่ียลดลง 2.59 และคณิตศาสตร์ มีคะแนนเฉล่ียเพ่ิมขึ้น 7.22 จากปีการศึกษา 2563
แสดงไดด้ งั แผนภูมิท่ี3

แผนภูมทิ ่ี 3 แสดงผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O–NET)
ปีการศึกษา 2564 ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 (เปรียบเทียบกบั ปกี ารศึกษา 2563)

ตารางท่ี 6 ผลการเปรียบเทยี บคะแนนเฉลีย่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ั้นพน้ื ฐาน
(O–NET) ปีการศกึ ษา 2563 กบั คะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดบั ชาตขิ ้ันพ้นื ฐาน (O–NET) ปีการศกึ ษา 2564 ของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โรงเรียนในสังกดั สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2

วิชา/ประเภท ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ เฉล่ียรวม
ปกี ารศกึ ษา 46.10 19.87 26.89 26.39 29.81

2563 42.52 19.72 28.52 25.39 29.04
ปีการศกึ ษา -3.58
ลดลง -0.15 +1.63 -1.00 -0.77
2564 ลดลง เพ่มิ ขึ้น ลดลง ลดลง
ผลต่าง

แปลผล

จากตารางท่ี 6 พบว่า คะแนนเฉลี่ยของผลการทดสอบทางการศึกษาข้ันพื้นฐาน (O–NET)
ปีการศึกษา 2564 นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในภาพรวม มีคะแนนเฉลี่ย 29.04 โดยมีคะแนนเฉล่ียลดลง 0.77
จากปีการศึกษา 2563 ซ่ึงมีคะแนนเฉลี่ย 29.81 เม่ือพิจารณาในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทยมีคะแนนเฉล่ียลดลง 3.58 คณิตศาสตร์มีคะแนนเฉลี่ยลดลง 0.15 ภาษาต่างประเทศ
(ภาษาอังกฤษ) มีคะแนนเฉลี่ยลดลง 1.00 และวิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉล่ียเพ่ิมขึ้น 1.63 จากปีการศึกษา 2563
แสดงไดด้ งั แผนภมู ทิ ี่ 4

21

แผนภมู ิที่ 4 แสดงผลการเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพื้นฐาน (O–NET)
ปีการศึกษา 2564 ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 (เปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2563)

4.3 ผลการวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 และช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษาประถมศึกษาเลย เขต 5 โดยจำแนกตามสาระการเรยี นรู้

4.3.1 ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6
4.3.1.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ตารางท่ี 7 ตารางแสดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พื้นฐาน (O–NET) ปีการศกึ ษา 2564

กลุม่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย โดยจำแนกตามสาระการเรยี นรู้

(เปรยี บเทยี บกับระดับประเทศ)

สาระการเรยี นรู้ คะแนนเต็ม คะแนนเฉลยี่ ระดับเขต คะแนนเฉลี่ย

พื้นท่ี ระดบั ประเทศ

การอา่ น 100 40.8 45.15

การเขียน 100 55.0 59.45

การฟงั การดู และการพูด 100 62.14 70.46

หลักการใชภ้ าษา 100 33.91 38.80

วรรณคดี และวรรณกรรม 100 35.81 42.76

จากตารางที่ 7 พบว่า ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เมื่อทำการพิจารณาตามสาระการเรียนรู้
และเปรียบเทียบกับผลการทดสอบระดับประเทศ มีลำดับสาระการเรียนรู้ท่ีมีความจำเป็นต้องพัฒนาอย่างเร่งด่วน
ตามลำดับ ดงั นี้

1. สาระ การฟงั การดู และการพดู 2. สาระ วรรณคดี และวรรณกรรม 3. สาระ หลักการ
ใชภ้ าษาไทย 4. สาระ เขียน 5. สาระ การอา่ น แสดงไดด้ ัง แผนภมู ทิ ่ี 5

22

แผนภูมทิ ี่ 5 แสดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้นั พ้นื ฐาน (O–NET) ปกี ารศึกษา 2564
กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โดยจำแนกตามสาระการเรยี นรู้ (เปรียบเทยี บกับระดับประเทศ)

4.3.1.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์

ตารางที่ 8 ตารางแสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพน้ื ฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564

กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ โดยจำแนกตามสาระการเรียนรู้ (เปรียบเทียบกับ

ระดับประเทศ)

สาระการเรยี นรู้ คะแนนเต็ม คะแนนเฉลีย่ ระดับเขต คะแนนเฉลย่ี

พ้นื ท่ี ระดบั ประเทศ

จำนวนและพชี คณติ 100 25.73 30.92

การวัดและเรขาคณิต 100 40.34 44.25

สถติ แิ ละความนา่ จะเปน็ 100 29.84 35.50

จากตารางท่ี 8 พบว่า ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564

ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เมื่อทำการพิจารณาตามสาระการเรียนรู้

และเปรียบเทียบกับผลการทดสอบระดับประเทศ มีลำดับสาระการเรียนรู้ท่ีมีความจำเป็นต้องพัฒนาอย่าง

เร่งด่วนตามลำดับ ดงั นี้

1. สาระสถิตแิ ละความน่าจะเป็น 2. สาระจำนวนและพชี คณิต

3. สาระการวัดและเรขาคณิต

แสดงไดด้ ัง แผนภูมิที่ 6

23

แผนภมู ิที่ 6 แสดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พื้นฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564
กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์โดยจำแนกตามสาระการเรยี นรู้ (เปรยี บเทียบกบั ระดับประเทศ)

4.3.1.3 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

ตารางท่ี 9 ตารางแสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ นั้ พื้นฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โดยจำแนกตามสาระการเรยี นรู้ (เปรยี บเทียบกับ

ระดับประเทศ)

สาระการเรยี นรู้ คะแนนเต็ม คะแนนเฉล่ียระดับเขต คะแนนเฉล่ยี

พ้ืนท่ี ระดบั ประเทศ

วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ 100 35.95 41.48

วิทยาศาสตรก์ ายภาพ 100 29.40 34.44

วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ 100 26.97 28.04

เทคโนโลยี 100 31.98 35.08

จากตารางท่ี 9 พบว่า ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564

ของนักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เมื่อทำการพิจารณาตามสาระการเรียนรู้

และเปรียบเทียบกับผลการทดสอบระดับประเทศ มีลำดับสาระการเรียนรู้ท่ีมีความจำเป็นต้องพัฒนาอย่าง

เรง่ ด่วนตามลำดับ ดงั น้ี

1. สาระ วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ 2. สาระ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ

3. สาระ เทคโนโลยีสาระ 4. สาระ วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ

แสดงไดด้ งั แผนภูมิท่ี 7

24

แผนภมู ทิ ี่ 7 แสดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ัน้ พนื้ ฐาน (O–NET) ประจำปกี ารศึกษา 2564
กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โดยจำแนกตามสาระการเรียนรู้(เปรยี บเทียบกบั ระดับประเทศ)

4.3.1.4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ)

ตารางท่ี 10 ตารางแสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พื้นฐาน (O–NET) ปกี ารศกึ ษา 2564

กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) โดยจำแนกตามสาระการเรยี นรู้

(เปรยี บเทียบกับระดับประเทศ)

สาระการเรยี นรู้ คะแนนเต็ม คะแนนเฉลย่ี ระดับเขต คะแนนเฉลีย่

พ้ืนที่ ระดับประเทศ

ภาษาเพื่อการสื่อสาร 100 28.97 38.38

ภาษาและวัฒนธรรม 100 32.67 41.59

ภาษากับความสัมพนั ธ์กับ 100 28.35 40.31
ชมุ ชน และโลก

จากตารางที่ 9 พบว่า ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพนื้ ฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564

ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) เมือ่ ทำการพจิ ารณา

ตามสาระการเรยี นรู้ และเปรียบเทียบกบั ผลการทดสอบระดับประเทศ มีลำดับสาระการเรยี นรู้ท่มี ีความ

จำเป็นตอ้ งพัฒนาอย่างเรง่ ดว่ นตามลำดับ ดังน้ี

1. สาระ ภาษากับความสัมพันธก์ ับชมุ ชนและโลก 2. สาระ ภาษาเพ่ือการส่ือสาร

3. สาระ ภาษาและวฒั นธรรม แสดงไดด้ งั แผนภมู ิที่ 8

25

แผนภูมทิ ่ี 8 แสดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้ พืน้ ฐาน (O–NET) ประจำปีการศึกษา 2564
กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โดยจำแนกตามสาระการเรยี นรู้ (เปรียบเทยี บกับระดบั ประเทศ)

4.3.2 ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3
4.3.2.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ตารางท่ี 11 ตารางแสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ นั้ พื้นฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยจำแนกตามสาระการเรยี นรู้ (เปรยี บเทยี บกบั

ระดับประเทศ)

สาระการเรียนรู้ คะแนนเตม็ คะแนนเฉลี่ยระดับเขต คะแนนเฉล่ีย

พน้ื ที่ ระดับประเทศ

การอา่ น 100 43.38 52.58

การเขียน 100 38.30 47.94

การฟัง การดู และการพูด 100 68.65 78.53

หลักการใช้ภาษา 100 36.54 41.37

วรรณคดี และวรรณกรรม 100 44.44 52.27

จากตารางท่ี 11 พบว่า ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564

ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย เม่ือทำการพิจารณาตามสาระการเรียนรู้ และ

เปรียบเทียบกับผลการทดสอบระดับประเทศ มีลำดับสาระการเรียนรู้ท่ีมีความจำเป็นต้องพัฒนาอย่างเร่งด่วน

ตามลำดับ ดังน้ี

1. สาระ การฟงั การดู และการพูด 2. สาระ การเขยี น 3. สาระ การอา่ น

4. สาระ วรรณคดีและวรรณกรรม 5. สาระ หลกั การใชภ้ าษาไทย

แสดงไดด้ ัง แผนภูมิที่ 9

26

แผนภูมทิ ี่ 9 แสดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พ้นื ฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564
กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โดยจำแนกตามสาระการเรียนรู้ (เปรียบเทยี บกับระดับประเทศ)

4.3.2.2 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์

ตารางที่ 12 ตารางแสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพนื้ ฐาน (O–NET) ปีการศกึ ษา 2564

กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ โดยจำแนกตามสาระการเรียนรู้ (เปรยี บเทียบกับ

ระดับประเทศ)

สาระการเรียนรู้ คะแนนเตม็ คะแนนเฉล่ยี ระดับเขต คะแนนเฉลย่ี

พน้ื ที่ ระดบั ประเทศ

จำนวนและพชี คณติ 100 19.25 24.49

การวัดและเรขาคณิต 100 22.43 25.68

สถิติและความนา่ จะเป็น 100 15.21 21.73

จากตารางที่ 12 พบว่า ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564

ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เม่ือทำการพิจารณาตามสาระการเรียนรู้

และเปรียบเทียบกับผลการทดสอบระดับประเทศ มีลำดับสาระการเรียนรู้ที่มีความจำเป็นต้องพัฒนาอย่าง

เรง่ ด่วนตามลำดบั ดังนี้

1. สาระ สถิตแิ ละความนา่ จะเป็น 2. สาระ จำนวนและพชี คณิต

3. สาระ การวัดและเรขาคณิต

แสดงไดด้ งั แผนภมู ิท่ี 10

27

แผนภูมทิ ี่ 10 แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พน้ื ฐาน (O–NET) ปกี ารศกึ ษา 2564
กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์โดยจำแนกตามสาระการเรยี นรู้(เปรียบเทยี บกบั ระดบั ประเทศ)

4.3.2.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

ตารางท่ี 13 ตารางแสดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้ันพื้นฐาน (O–NET) ปกี ารศกึ ษา 2564

กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ โดยจำแนกตามสาระการเรียนรู้ (เปรียบเทียบกบั

ระดบั ประเทศ)

สาระการเรียนรู้ คะแนนเตม็ คะแนนเฉล่ียระดับเขต คะแนนเฉลี่ย

พืน้ ท่ี ระดบั ประเทศ

วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ 100 28.28 32.11

วทิ ยาศาสตร์กายภาพ 100 29.01 31.54

วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และ 100 26.92 28.72
อวกาศ

เทคโนโลยี 100 30.15 34.64

จากตารางที่ 13 พบว่า ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564

ของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เม่ือทำการพิจารณาตามสาระการเรยี นรู้ และ

เปรียบเทียบกับผลการทดสอบระดับประเทศ มีลำดับสาระการเรียนรู้ที่มีความจำเป็นต้องพัฒนาอย่างเร่งด่วน

ตามลำดับ ดงั นี้

1. สาระ เทคโนโลยี 2. สาระ วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ

3. สาระ วิทยาศาสตร์กายภาพ 4. สาระ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

แสดงไดด้ งั แผนภูมิที่ 11

28

แผนภูมทิ ี่ 11 แสดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ัน้ พืน้ ฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564
กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โดยจำแนกตามสาระการเรยี นรู้(เปรยี บเทียบกบั ระดับประเทศ)

4.3.2.4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ)

ตารางที่ 14 ตารางแสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พน้ื ฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) โดยจำแนกตามสาระการเรียนรู้

(เปรียบเทยี บกบั ระดบั ประเทศ)

สาระการเรยี นรู้ คะแนนเต็ม คะแนนเฉลีย่ ระดบั เขต คะแนนเฉล่ีย

พื้นท่ี ระดบั ประเทศ

ภาษาเพ่ือการสื่อสาร 100 25.47 30.74

ภาษาและวัฒนธรรม 100 25.04 32.70

จากตารางท่ี 14 พบว่า ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564

ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3 กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) เม่อื ทำการพิจารณาตาม

สาระการเรียนรู้ และเปรยี บเทียบกับผลการทดสอบระดับประเทศ มลี ำดบั สาระการเรียนรู้ท่ีมีความจำเปน็ ตอ้ ง

พฒั นาอยา่ งเร่งดว่ นตามลำดับ ดังนี้

1. สาระ ภาษาและวฒั นธรรม

2. สาระ ภาษาเพือ่ การสือ่ สาร

แสดงไดด้ งั แผนภูมิที่ 12

29

แผนภูมิท่ี 12 แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พ้ืนฐาน (O–NET) ปกี ารศึกษา 2564
กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โดยจำแนกตามสาระการเรยี นรู้ (เปรียบเทยี บกบั ระดบั ประเทศ)

31

บทท่ี 5

สรปุ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O–NET) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาเลย เขต 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน
(O–NET) ประจำปีการศึกษา 2564 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ของโรงเรียน
ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 เพ่ือเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการ
ศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564 ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 และช้ัน
มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2 และเพื่อวเิ คราะห์
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564 ของนักเรียนช้ันประถมศึกษา
ปีท่ี 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ของโรงเรยี นในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม ศึกษาเลย เขต
2 โดยจำแนกตามสาระการเรียนรู้ มีกลุ่มเป้าหมายคือ นักเรียนระดับช้ันประถม ศึกษาปีท่ี 6 ประจำปี
การศึกษา 2564 จำนวน 1,393 คน จำนวน 110 โรงเรียน และนักเรียนระดับช้ันมัธยม ศึกษาปีท่ี 3
ประจำปีการศึกษา 2564 จำนวน 640 คน จำนวน 36 โรงเรียน ผู้ศึกษาได้ทำการสรุปผลการศึกษาตาม
ละเอยี ดดังนี้

5.1 สรปุ ผลการศกึ ษา
5.2 อภิปรายผลการศกึ ษา
5.3 ขอ้ เสนอแนะและแนวทางการนำไปใช้

5.1 สรุปผลการศึกษา

5.1.1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พื้นฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564
นักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 และช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ของโรงเรียนในสังกัดสำนกั งานเขตพน้ื ที่การ
ศกึ ษาประถมศึกษาเลย เขต 2

ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O–NET)
ปีการศึกษา 2564 มีคะแนนเฉลี่ยในภาพรวมมีคะแนนเฉลี่ย 34.28 โดยมีคะแนนเฉล่ีย 4 กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีคะแนนเฉล่ีย 45.10 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มคี ะแนนเฉลี่ย 32.08 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ย 30.36 และกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มคี ะแนนเฉลี่ย 29.59

ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O–NET)
ปีการศึกษา 2564 มีคะแนนเฉลี่ยในภาพรวมมีคะแนนเฉล่ีย 29.04 โดยมีคะแนนเฉลี่ย 4 กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีคะแนนเฉล่ีย 42.52 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มีคะแนนเฉลี่ย 19.72 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ย 28.52 และกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) มีคะแนนเฉลี่ย 25.39

32

5.1.2 ผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พน้ื ฐาน (O–NET)
ปกี ารศึกษา 2564 ของนักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 และชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ของโรงเรียนในสงั กดั
สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2

5.1.2.1 เปรยี บเทียบกับระดับสังกัด สพฐ. และระดับประเทศ

ระดับช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 มีคะแนนเฉลี่ยในภาพรวมของผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O–NET) ประจำปีการศึกษา 2564 ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยในภาพรวมระดับสังกัด (สพฐ.)
แลระดับประเทศ โดยมรี ายละเอียดดังนี้

ผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O–NET)
ประจำปีการศกึ ษา 2564 นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 สังกัดสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเลย
เขต 2 กับระดบั สงั กัด (สพฐ.) พบว่า ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพ้ืนฐาน (O-NET)
ปีการศึกษา 2564 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเลย
เขต 2 มีคะแนนเฉล่ียต่ำกว่าระดับสังกัด (สพฐ.) โดยมีผลต่าง -4.35 (คะแนนเฉลี่ยระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
= 34.28, คะแนนเฉล่ียระดับสังกัด (สพฐ.) = 38.63) เมื่อทำการพิจารณาคะแนนในแต่ละกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ต่ำกว่าระดับ สพฐ. –4.44 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ต่ำกว่าระดับ สพฐ. –3.77 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ต่ำกว่าระดับ สพฐ. –3.32 และกลุ่มสาระ
การเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ (องั กฤษ) ต่ำกว่าระดบั สพฐ. –5.87

ผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้ันพื้นฐาน (O–NET) ปีการศึกษา
2564 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2
กบั ระดับประเทศ พบว่า ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พื้นฐาน (O-NET) ประจำปีการศกึ ษา 2564
นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 มีคะแนนเฉล่ียต่ำ
กว่าระดับประเทศ โดยมีผลต่าง -5.9 (คะแนนเฉลี่ยระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา = 34.28, คะแนนเฉล่ีย
ระดับประเทศ = 40.18) เม่ือทำการพิจารณาคะแนนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย ต่ำกว่าระดับประเทศ -5.28 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ต่ำกวา่ ระดับประเทศ -4.75 กลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ต่ำกว่าระดับประเทศ -3.95 และกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (อังกฤษ)
ตำ่ กวา่ ระดับประเทศ -9.63

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีคะแนนเฉลี่ยในภาพรวมของผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O–NET) ประจำปีการศึกษา 2564 ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยในภาพรวมระดับสังกัด (สพฐ.)
และระดบั ประเทศ โดยมีรายละเอยี ดดงั นี้

ผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O–NET)
ปีการศึกษา 2564 นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2
กบั ระดับสงั กัด (สพฐ.) พบว่า ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พื้นฐาน (O-NET) ประจำปีการ ศึกษา
2564 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 มีคะแนน
เฉล่ียต่ำกว่าระดับสังกัด (สพฐ.) โดยมีผลต่าง -5.79 (คะแนนเฉลี่ยระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา = 29.04,
คะแนนเฉล่ียระดับสังกัด (สพฐ.) = 34.83) เม่ือทำการพิจารณาคะแนนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ต่ำกว่าระดับ สพฐ. -9.61 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ต่ำกว่าระดับ

33

สพฐ. -5.03 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ต่ำกว่าระดับ สพฐ. -3.15 และกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาตา่ งประเทศ (องั กฤษ) ตำ่ กวา่ ระดบั สพฐ. -5.40

ผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา
2564 นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 กับ
ระดับประเทศ พบว่า ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2564 นักเรียน
ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 มีค่า เฉลี่ยต่ำกว่า
ระดับประเทศ โดยมีผลต่าง -5.51 (คะแนนเฉล่ียระดับเขตพื้นที่การศึกษา = 29.04, คะแนนเฉลี่ย
ระดับประเทศ = 34.55) เม่ือทำการพิจารณาคะแนนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย ต่ำกว่าระดับประเทศ -8.67 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ต่ำกว่าระดับประเทศ -4.75
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ต่ำกว่าระดับประเทศ -2.93 และกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
(องั กฤษ) ตำ่ กวา่ ระดับประเทศ -5.72

5.1.2.2 เปรียบเทยี บกับปีการศึกษา 2563
ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O–NET)
ปีการศึกษา 2564 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 มีคะแนนเฉล่ียใน
ภาพรวมลดลง จากปีการศึกษา 2563 โดยมีผลต่างที่ -1.18 (คะแนนเฉลี่ยเขตพื้นที่การศึกษา 2564 = 34.28,
คะแนนเฉลี่ยเขตพ้ืนที่การศึกษา 2563 = 35.46) เม่ือทำการพิจารณาคะแนนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้
พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมีคะแนนเฉลี่ยลดลง 4.97 วิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยลดลง 4.36
ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีคะแนนเฉลี่ยลดลง 2.59 และคณิตศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 7.22
จากปกี ารศกึ ษา 2563
ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O–NET)
ปกี ารศกึ ษา 2563 นักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษา
เลย เขต 2 มีคะแนนเฉลี่ยในภาพรวมลดลง 0.77 จากปีการศึกษา 2563 (คะแนนเฉลี่ยเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
2564 = 29.04, คะแนนเฉลี่ยเขตพื้นที่การศึกษา 2563 = 29.81) เม่ือพิจารณาในแต่ละกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมีคะแนนเฉล่ียลดลง 3.58 คณิตศาสตร์มีคะแนนเฉล่ียลดลง
0.15 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีคะแนนเฉลี่ยลดลง 1.00 และวิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉล่ีย
เพิ่มขนึ้ 1.63 จากปีการศึกษา 2563
5.1.3 ผลการวิเคราะหผ์ ลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ัน้ พ้ืนฐาน (O–NET)
ปีการศึกษา 2564 ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียนในสังกัด
สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 โดยจำแนกตามสาระการเรียนรู้
5.1.3.1 ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6
กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย มีสาระท่ีมีความจำเปน็ ตอ้ งพฒั นาอย่างเรง่ ดว่ น ดงั นี้
1. สาระ การฟงั การดู และการพดู
2. สาระ วรรณคดี และวรรณกรรม
3. สาระ หลกั การใช้ภาษาไทย
4. สาระ เขยี น
5. สาระ การอ่าน

34

กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ มีสาระทีม่ ีความจำเปน็ ต้องพัฒนาอย่างเรง่ ดว่ น ดงั น้ี
1. สาระสถิตแิ ละความนา่ จะเป็น
2. สาระจำนวนและพีชคณติ
3. สาระการวดั และเรขาคณิต
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ มสี าระทม่ี ีความจำเปน็ ตอ้ งพัฒนาอย่างเรง่ ด่วน ดงั นี้
1. สาระ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
2. สาระ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
3. สาระ เทคโนโลยีสาระ
4. สาระ วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีสาระท่ีมีความจำเป็นต้อง
พฒั นาอย่างเร่งดว่ น ดังนี้
1. สาระ ภาษากับความสัมพันธก์ ับชุมชนและโลก
2. สาระ ภาษาเพื่อการส่อื สาร
3. สาระ ภาษาและวัฒนธรรม

5.1.3.2 ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย มีสาระทม่ี คี วามจำเปน็ ต้องพฒั นาอย่างเรง่ ดว่ น ดงั นี้
1. สาระ การฟงั การดู และการพูด
2. สาระ การเขยี น
3. สาระ การอ่าน
4. สาระ วรรณคดีและวรรณกรรม
5. สาระ หลกั การใช้ภาษาไทย
กลุม่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ มีสาระท่มี คี วามจำเปน็ ต้องพัฒนาอย่างเร่งด่วน ดงั นี้
1. สาระ สถิตแิ ละความน่าจะเป็น
2. สาระ จำนวนและพชี คณติ
3. สาระ การวัดและเรขาคณิต
กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ มสี าระที่มีความจำเปน็ ตอ้ งพฒั นาอย่างเรง่ ดว่ น ดงั น้ี
1. สาระ เทคโนโลยี
2. สาระ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
3. สาระ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
4. สาระ วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีสาระที่มีความจำเป็นต้อง
พัฒนาอยา่ งเรง่ ดว่ น ดังน้ี
1. สาระ ภาษาและวัฒนธรรม
2. สาระ ภาษาเพ่ือการส่ือสาร

35

5.2 อภิปรายผลการศึกษา

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2564 นักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี 6 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 มีคะแนนเฉลี่ย
ในภาพรวมตำ่ กวา่ คะแนนเฉล่ียในภาพรวมระดับสังกัด (สพฐ.) และระดบั ประเทศ

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพ้ืนฐานระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2564
ของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2 เมื่อเปรียบเทยี บกับผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดบั ชาตขิ ้นั พ้ืนฐาน ปกี ารศกึ ษา 2563 โดยภาพรวมมคี ะแนนเฉลยี่ ลดลง เม่อื ทำการพจิ ารณาคะแนนในแต่
ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ มคี ะแนนเฉลี่ยเพ่ิมข้นึ จากปีการศึกษา 2563
ส่วนกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาองั กฤษ ภาษาไทย และวทิ ยาศาสตร์ มคี ะแนนเฉล่ยี ลดลง เมื่อเปรยี บเทียบผล
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐานชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 กับผลการทดสอบ
ทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พน้ื ฐานของสังกัด (สพฐ.) และระดบั ประเทศ พบว่า มีคะแนนเฉลยี่ ตำ่ กว่า สงั กดั
(สพฐ.) และระดบั ประเทศ และทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O–NET) ปีการศกึ ษา 2564 นักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 มีคะแนนเฉลีย่ ใน
ภาพรวมต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยในภาพรวมระดับสงั กัด (สพฐ.) และระดับประเทศ

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐานระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา
2564 ของสำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาเลย เขต 2 เมื่อเปรยี บเทียบกับผลการทดสอบทางการ
ศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน ปีการศึกษา 2563 โดยภาพรวมมีคะแนนเฉล่ียลดลง เมื่อพิจารณารายกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มข้ึนจากปีการศึกษา 2563 ส่วน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) และคณิตศาสตร์ มีคะแนนเฉล่ียลดลง เม่ือ
เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2564 กับ
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐานของสังกัด (สพฐ.) และระดับประเทศ พบว่า มีคะแนนเฉลี่ย
ตำ่ กว่า สังกดั (สพฐ.) และระดบั ประเทศ และทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้

จากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐานปีการศึกษา 2564 ของนักเรียนในสังกัด
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเลยเขต 2 ระดับประถมศึกษาปีท่ี 6 และมัธยมศึกษาปีท่ี 3
ลดลงจากปีการศึกษาที่ผ่านมาเล็กน้อย ท้ังนี้ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET)
ระดับประถมศึกษาปีที่ 6 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระดับประเทศมีผลการทดสอบลดลง
เช่นเดียวกัน ทั้งน้ี อาจเป็นเพราะการประเมินคุณภาพผู้เรียนครั้งน้ีได้ใช้เคร่ืองมือการประเมินที่สร้างและ
พัฒนาดว้ ยกระบวนการท่ีเปน็ มาตรฐานของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ขอ้ สอบ
มีความความยากและมีมาตรฐานในการสร้าง แบบทดสอบค่อนข้างสูง และมีความหลากหลายในรูปแบบการ
ตอบของแบบทดสอบซ่ึงแบบทดสอบทุกฉบับมีคุณภาพที่ยอมรับได้ และท่ีสำคัญแบบทดสอบท่ีวัดตาม
มาตรฐานหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ที่เน้นทาง ด้านองค์ความรู้ท่ีลึกซึ้งและมุ่งเน้นในด้านการประเมิน
การคิดระดับสูงมากกว่าโครงสร้างเนื้อหาที่ให้ความสำคัญกับพฤติกรรมความรู้ความจำ รวมทั้งปี
การศึกษา 2564 สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 ได้รับ
ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid - 19) ทำให้เกิดผลกระทบต่อการจัดการ
เรียนการสอน ทำให้กระทบถึงผลของการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน จึงเป็นผลทำให้ผลการทดสอบลดลง

36

อีกเหตุผลดังน้ันหากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในสภาพปัจจุบันท่ีอาจไม่เพียงพอสำหรับการพัฒนา
ทักษะตา่ งๆ ของนกั เรียนย่อมเปน็ ปัจจยั หลักของผลเชิงประจักษ์ที่กล่าวมา

ส่วนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐานปีการศึกษา 2564 ของนักเรียนในสังกัด
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเลยเขต 2 ระดับประถมศึกษาปีท่ี 6 ในกลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ และระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่มีคะแนนเฉลี่ยเพ่ิมข้ึนจาก
ปีการศึกษา 2563 น้ัน เน่ืองจาก สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเลยเขต 2 ให้ความสำคัญในการ
ยกระดับผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ โดยเฉพาะการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน
จนมีการสร้างนวัตกรรมในการยกระดับผลการทดสอบระดับชาติและมีการดำเนินกิจกรรมในทุกๆ ด้านเพื่อ
เป็นการเสริมสร้าง กระตุ้น พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา อาทิเช่น การพัฒนาโรงเรียนแกนนำการจัดการ
เรียนรู้แบบ Active learning การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ แบบ Pro Active พัฒนาครูด้านวิทยาศาสตร์
คำนวณ วิทยาศาสตรพ์ ลังสิบ เป็นต้น และในระหวา่ งการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค
ตดิ เช้ือไวรัสโคดรน่า 2019 เกิดความรว่ มมือระหว่างนักเรียน ครู และผ้ปู กครอง รว่ มกันสอนและสอบแบบตัว
ต่อตัว จัดหาส่ือนวัตกรรมและวิธีการในการจัดการองค์ความรู้ให้แก่ผู้เรียนท้ังในรปู แบบ ON Hand ON Site
และอื่นๆ สร้างแรงบันดาลใจให้กับนักเรยี นดว้ ยการนำเสนอวีดีทัศน์โรงเรียนท่ีมกี ารแข่งขันสูงเพ่ือให้นักเรียน
อยากเข้าเรียนและมุ่งมน่ั ตง้ั ใจในการทำข้อสอบ นำนักเรยี นเข้าร่วมเวทีการแขง่ ขันอัจฉริยภาพวิทาศาสตรแ์ ละ
คณติ ศาสตร์ และการแขง่ ขนั วชิ าการนานาชาติ เปน็ ต้น

5.3 ข้อเสนอแนะ

5.3.1 ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา
5.3.1.1 ระดับช้ันเรียน ครูผู้สอนควรค้นหาสาเหตุท่ีทำให้คุณภาพของนักเรียนของตน

ไม่เป็นที่น่าพอใจ โดยนำข้อมูลจากผลการทดสอบเป็นฐานในการกำหนดแผนการจัดการเรียนรู้ และ
สร้างนวัตกรรมท่ีมุ่งปรับปรุง แก้ไขและพัฒนาคุณภาพอย่างมีทิศทาง และมากไปกว่าน้ันควรจะเป็นการ
ส่งเสริมใหน้ ักเรยี นกลุ่มเกง่ ได้รบั การพัฒนาไดส้ งู สุดตามศักยภาพ

5.3.1.2 ระดับสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาควรระดมทรัพยากร เพ่ือสร้างการมีส่วน
ร่วมจากทุกฝ่ายโดยวิเคราะห์จุดแข็งและจุดพัฒนาของตนจากข้อมูลการประเมินคุณภาพนักเรียนเพ่ือฉาย
ภาพใหผ้ ู้เก่ยี วข้องได้ตระหนักในการสร้างความเขม้ แข็งเชิงวชิ าการในระดับท้องถิ่น อาทิ การสง่ เสริมการ
พัฒนาหลักสูตรท้องถ่ิน เน้นการอ่าน การเขียนและการส่งเสริมการอ่านเชิงวิเคราะห์และการอ่านอย่าง
มีวจิ ารณญาณ

5.3.1.3 ระดับเขตพ้ืนที่และหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง ควรตระหนักถึงความสำคัญของคุณภาพ
นักเรียนในทุกด้านและทุกสมรรถภาพของนักเรียน โดยกำหนดนโยบายในการส่งเสริมและยกระดับ
คณุ ภาพอย่างจริงจัง และควรมกี ารนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลอยา่ งต่อเนอื่ ง

5.3.2 ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การศึกษาเพิ่มเติม
5.3.2.1 ควรศึกษาถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพของนักเรียนทงั้ ปัจจัยเชงิ บวก และลบในการ

บริหารจัดการความรู้เพ่ือถอดรหัสบทเรียน สกัดความรู้อันจะนำสู่การปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพท่ีมี
ประสทิ ธภิ าพ

37

5.3.2.2 ควรศึกษาระดับการพฒั นาคุณภาพของนกั เรียนในแต่ละโรงเรียนจากผลการทดสอบ
คุณภาพในปีที่ผ่านมาเพ่ือเปรียบเทียบความก้าวหน้าของการจัดการศึกษา จะทำให้ได้มาซึ่งแผนปฏิบัติ
การสำหรับการพัฒนาของโรงเรียน

5.3.2.3 ควรศึกษาเชิงพัฒนา เพอื่ ยกระดบั คุณภาพผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรียนให้
สงู ขน้ึ โดยใช้ข้อมูลทไ่ี ดเ้ ปน็ ฐานในการจดั การส่งเสริมและพฒั นา

39

บรรณานกุ รม

สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2, สำนักงาน. รายงานผลการทดสอบ
ทาง การศึกษาระดับชาตขิ ้ันพืน้ ฐาน ปกี ารศกึ ษา 2562 . 2563.

คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาต,ิ สำนักงาน. พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และทแี่ กไ้ ข
เพ่ิมเติม (ฉบับที่ 1) พ.ศ.2545. กรงุ เทพมหานคร : สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา
แห่งชาต,ิ 2546.

จิตตมิ าภรณ์ สีหะวงษ์. หลักการวัดและประเมนิ ผลการศกึ ษา. http://www.sskru.ac.th
//index.html, 2549.

ชอบ ลชี อ. นยั พาดพงิ ที่มีต่อการวดั และประเมนิ ผลในบรบิ ทของพระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแห่งชาต.ิ
กรงุ เทพมหานคร : สำนักทดสอบทางการศึกษา, 2547.

ทดสอบทางการศึกษา,สำนัก.การประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาระดับชาติ (National Test)
กรงุ เทพมหานคร : สำนักทดสอบทางการศึกษา, 2546.

นศิ า ชูโต. http : // www.ranongculture.com/downloads/ranong culture5.doc.2538.
นิเทศและพัฒนามาตรฐานการศึกษา,สำนัก. แนวการวัดและประเมนิ ผลในช้ันเรียน
กลุ่มสาระการเรยี นรู้. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พอ์ งค์การรบั ส่งสินคา้ และพสั ดุภัณฑ์, 2545.

บญุ ชม ศรีสะอาด. การวจิ ัยเบือ้ งตน้ . พมิ พ์ครั้งที่ 7. กรงุ เทพฯ : สุวรี ิยาสาสน์ , 25-27, 2546.
. วิทยาการวจิ ยั . มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม, 2532.

บญุ ชู ชลัษเฐียร. การทดสอบแหง่ ชาติ : ก้าวสำคัญของคณุ ภาพการศึกษา.
http: //web.udru.ac.th/t-pnetwork/text07.html, 2549.
ยทุ ธนา เฉลิมชัย. อยา่ ทำใหเ้ ป็นประตทู ป่ี ดิ ตาย : การประเมินผล
http://www.thaihomeschool.com/creangden2.htm, 2549.
วาโร เพง็ สวัสด.ิ์ การประเมนิ ผลการเรยี น. สกลนคร : มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสกลนคร,2542.
วาสนา ประวาลพฤกษ.์ คมู่ ือการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการเพ่ือพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา.

กรงุ เทพมหานคร : เดอะมาสเตอร์กรปุ๊ แมเนจเม้นท์ จำกัด, 2544.
ศรีลกั ษณ์ ผลวฒั นา. การพฒั นานวัตกรรมส่อื การเรียนรูแ้ บบหนว่ ยสมบรู ณ์แบบทเี่ นน้ การเรยี นรู้

แบบกระตอื รือรน้ . กรงุ เทพมหานคร : แมค็ , 2548.
ศริ ิชยั กาญจนวาส.ี รายงานการวจิ ยั เร่ือง การประเมินการเรยี นรู้ : ขอ้ เสนอเชิงนโยบาย.

กรงุ เทพมหานคร : สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาต,ิ 2543.

ภาคผนวก

41

ภาคผนวก ก
ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พนื้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2564

(ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6)

หนาน 1/4

รสยงสนผลกสรทดสอบทสงกสรศศกษสระดบส ชสตขถ ขนส พพนข ฐสน (O-NET)
ชขสนประถมศศกษสปท ทท 6 ปท กสรศศกษส 2564

ฉบสบทท 5 - คคสสถตถ แถ ยกตสมสสระกสรเรทยนรรสสสหรสบเขตพพนข ทกท สรศศกษส

เขต สพป.เลย เขต 2 สสงกดส สสสนสกงสนคณะกรรมกสรกสรศศกษสขขนส พพนข ฐสน
วชถ ส : ภสษสไทย (61)

ระดบส จสส นวน คะแนนเฉลยท สควนเบยท งเบนมสตรฐสน คะแนนสรงสสด คะแนนตสสท สสด มธส ยฐสน ฐสนนถยม
ผรเขรสสอบ (Mean) (S.D.) (Max.) ปรนสย (อMตส iนnสย.) รวม (Mรeวdมian) (Mรวoมde)

ระดบด เขตพพนทท ปรนสย อตส นสย รวม ปรนสย อตส นสย รวม ปรนสย อตส นสย รวม
1,008 34.03 11.07 45.10 13.36 3.35 15.19 68.00 18.75 85.25 0.00 0.00 7.75 44.75 44.50*

ระดบด สงด กดด 288,214 37.96 11.58 49.54 14.30 3.40 16.25 80.00 20.00 99.25 0.00 0.00 0.00 49.25 49.00

ระดบด ประเทศ 433,211 38.75 11.63 50.38 14.48 3.55 16.53 80.00 20.00 99.75 0.00 0.00 0.00 50.25 53.00

* : มทคาค ฐานนนยมมากกวาค 1 คคา

สสระกสรเรทยนรร คะแนนเตตม เขตพพนข ทท คคสสถถตถจสสแนกตสมระดบส ประเทศ
สสงกดส

การอาค น Mean S.D. Mean S.D. Mean S.D.
การเขทยน 100.00 40.87 21.72 44.61 23.05 45.15 23.04
การฟดง การดด และการพดด 59.45
หลกด การใชภน าษาไทย 100.00 55.00 18.72 58.90 18.82 70.46 19.22
วรรณคดทและวรรณกรรม 38.80
100.00 62.14 32.50 68.69 31.54 42.76 31.25

100.00 33.91 21.40 38.12 22.37 22.57

100.00 35.81 27.61 41.26 29.91 30.49

สาระการเรทยนรดนททเขตพพนททควรเรคงพฒด นาเนทพองจากคะแนนเฉลทยของเขตพพนททตทาต กวาค คะแนนเฉลทยระดบด ประเทศไดแน กค

1.) สาระ การฟดง การดด และการพดด
2.) สาระ วรรณคดทและวรรณกรรม
3.) สาระ หลกด การใชภน าษาไทย
4.) สาระ การเขทยน
5.) สาระ การอคาน

วนด ทท 23/03/2022 18:41:47

หนาน 2/4

รสยงสนผลกสรทดสอบทสงกสรศศกษสระดบส ชสตขถ ขนส พพนข ฐสน (O-NET)
ชขสนประถมศศกษสปท ทท 6 ปท กสรศศกษส 2564

ฉบสบทท 5 - คคสสถตถ แถ ยกตสมสสระกสรเรทยนรรสสสหรสบเขตพพนข ทกท สรศศกษส

เขต สพป.เลย เขต 2 สสงกดส สสสนสกงสนคณะกรรมกสรกสรศศกษสขขนส พพนข ฐสน
วชถ ส : ภสษสองส กฤษ (63)

ระดบส จสส นวนผรเขรสสอบ คะแนนเฉลยท สค วนเบทยงเบน คะแนนสรงสสด คะแนนตสทสสสด มธส ยฐสน ฐสนนถยม
(Mean) มสตรฐสน (S.D.) (Max.) (Min.) (Median) (Mode)
ระดบด เขตพพนทท 1,007
ระดบด สงด กดด 288,108 29.59 11.33 93.75 3.13 28.13 28.13
ระดบด ประเทศ 433,055 35.46 16.55 100.00 0.00 31.25 28.13
39.22 19.77 100.00 0.00 34.38 28.13

สสระกสรเรทยนรร คะแนนเตตม เขตพพนข ทท คคสสถถตถจสส แนกตสมระดบส ประเทศ
สสงกดส

ภาษาเพพทอการสพทอสาร Mean S.D. Mean S.D. Mean S.D.
ภาษาและวฒด นธรรม 100.00 28.97 12.23 34.52 17.24 38.38 20.58
ภาษากบด ความสมด พนด ธกธ บด
ชชมชนและโลก 100.00 32.67 20.34 38.74 22.38 41.59 23.49

100.00 28.35 24.24 35.69 28.47 40.31 30.92

สาระการเรทยนรดนททเขตพพนททควรเรคงพฒด นาเนทพองจากคะแนนเฉลทยของเขตพพนททตทาต กวาค คะแนนเฉลทยระดบด ประเทศไดแน กค

1.) สาระ ภาษากบด ความสมด พนด ธธกบด ชชมชนและโลก
2.) สาระ ภาษาเพทพอการสทพอสาร
3.) สาระ ภาษาและวฒด นธรรม

วนด ทท 23/03/2022 18:41:47

หนาน 3/4

รสยงสนผลกสรทดสอบทสงกสรศศกษสระดบส ชสตขถ ขนส พพนข ฐสน (O-NET)
ชขสนประถมศศกษสปท ทท 6 ปท กสรศศกษส 2564

ฉบบส ทท 5 - คคสสถตถ แถ ยกตสมสสระกสรเรทยนรรสสสหรสบเขตพพนข ทกท สรศศกษส

เขต สพป.เลย เขต 2 สสงกดส สสสนสกงสนคณะกรรมกสรกสรศศกษสขขนส พพนข ฐสน
วชถ ส : คณตถ ศสสตรร (64)

ระดบส จสสนวนผรเขรสสอบ คะแนนเฉลยท สควนเบยท งเบน คะแนนสรงสสด คะแนนตสทส สสด มธส ยฐสน ฐสนนถยม
(Mean) มสตรฐสน (S.D.) (Max.) (Min.) (Median) (Mode)
ระดบด เขตพพนทท 1,008
ระดบด สงด กดด 288,128 32.08 11.01 85.75 7.13 33.13 33.13
ระดบด ประเทศ 433,026 35.85 13.13 100.00 7.13 33.13 33.13
36.83 14.04 100.00 7.13 33.13 33.13

สสระกสรเรทยนรร คะแนนเตมต เขตพพนข ทท คคสสถถตจถ สสแนกตสมระดบส ประเทศ
สสงกดส

จาต นวนและพทชคณนต Mean S.D. Mean S.D. Mean S.D.
การวดด และเรขาคณนต 100.00 25.73 15.78 30.14 17.63 30.92 18.27
สถนตนและความนคาจะเปป น
100.00 40.34 15.42 43.17 16.84 44.25 17.60

100.00 29.84 24.87 34.16 25.77 35.50 26.26

สาระการเรทยนรดนททเขตพพนททควรเรคงพฒด นาเนทพองจากคะแนนเฉลทยของเขตพพนททตทาต กวาค คะแนนเฉลทยระดบด ประเทศไดแน กค

1.) สาระ สถนตนและความนคาจะเปปน
2.) สาระ จาต นวนและพชท คณนต
3.) สาระ การวดด และเรขาคณนต

วนด ทท 23/03/2022 18:41:47

หนาน 4/4

รสยงสนผลกสรทดสอบทสงกสรศศกษสระดบส ชสตขถ ขนส พพนข ฐสน (O-NET)
ชขสนประถมศศกษสปท ทท 6 ปท กสรศศกษส 2564

ฉบบส ทท 5 - คคสสถตถ แถ ยกตสมสสระกสรเรทยนรรสสสหรสบเขตพพนข ทกท สรศศกษส

เขต สพป.เลย เขต 2 สสงกดส สสสนสกงสนคณะกรรมกสรกสรศศกษสขขนส พพนข ฐสน
วชถ ส : วทถ ยสศสสตรร (65)

ระดบส จสสนวนผรเขรสสอบ คะแนนเฉลยท สค วนเบทยงเบน คะแนนสรงสสด คะแนนตสทส สสด มธส ยฐสน ฐสนนถยม
(Mean) มสตรฐสน (S.D.) (Max.) (Min.) (Median) (Mode)
ระดบด เขตพพนทท 1,007
ระดบด สงด กดด 288,122 30.36 10.79 72.50 2.50 30.00 25.00
ระดบด ประเทศ 433,062 33.68 11.80 97.50 0.00 32.50 30.00
34.31 12.09 100.00 0.00 32.50 30.00

สสระกสรเรทยนรร คะแนนเตมต เขตพพนข ทท คคสสถถตจถ สส แนกตสมระดบส ประเทศ
สสงกดส

วทน ยาศาสตรธชทวภาพ Mean S.D. Mean S.D. Mean S.D.
วทน ยาศาสตรธกายภาพ 100.00 35.95 23.09 40.70 24.40 41.48 24.56
วทน ยาศาสตรธโลก และอวกาศ 34.44
เทคโนโลยท 100.00 29.40 14.40 33.66 15.44 28.04 15.70
35.08
100.00 26.97 19.16 27.97 19.98 20.07

100.00 31.98 33.13 34.02 33.94 34.08

สาระการเรทยนรดนททเขตพพนททควรเรคงพฒด นาเนพทองจากคะแนนเฉลทยของเขตพพนททตทาต กวาค คะแนนเฉลทยระดบด ประเทศไดแน กค

1.) สาระ วทน ยาศาสตรธชทวภาพ
2.) สาระ วทน ยาศาสตรธกายภาพ
3.) สาระ เทคโนโลยท
4.) สาระ วทน ยาศาสตรธโลก และอวกาศ

วนด ทท 23/03/2022 18:41:47


Click to View FlipBook Version