ค ำน ำ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2561) และได้ก าหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ เพื่อให้ สถานศึกษาน าไปใช้เป็นกรอบทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา วางแผนจัดการเรียนการสอนและจัด กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามมาตรฐานการ เรียนรู้และตัวชี้วัดที่ก าหนดให้ พร้อมทั้งด าเนินการวัดประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนให้มีคุณภาพตามหลักการ ของหลักสูตร เพื่อให้เกิดผลส าเร็จตามเจตนารมณ์ของการปฏิรูปการศึกษาไทย ดังนั้นขั้นตอนการน าหลักสูตร สถานศึกษาไปปฏิบัติจริงในชั้นเรียนของครูผู้สอน จึงจัดเป็นหัวใจส าคัญของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้บรรลุตาม เป้าหมายของหลักสูตร หลักสูตร นาฏศิลป์เพื่อสังคม ประจ าปี 2566 เล่มนี้ จัดท าขึ้นเพื่อใช้เป็นคู่มือประกอบการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนเกี่ยวกับการแสดงนาฏศิลป์ ภายใต้โครงการการพัฒนาหลักสูตรและการจัดกระบวนการ เรียนรู้เพื่อส่งเสริมความสามารถเฉพาะด้านบนฐานวัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อพัฒนานักเรียนสู่ความเป็นเลิศด้านการ แสดง ควบคู่กับการท าประโยชน์สู่สังคม ของโรงเรียนอนุบาลชุมชนภูกระดึง อ าเภอภูกระดึง จังหวัดเลย สังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 ทั้งนี้เพื่อให้บรรลุผลการจัดการเรียนรู้ ที่คาดหวังตาม สาระหลักสูตร ซึ่งประกอบด้วย ดังนี้ หน่วยที่ 1 เรื่อง ท้องถิ่นเรา เฝ้าอนุรักษ์ หน่วยที่ 2 เรื่อง พื้นฐานนาฏศิลป์น่ารู้ หน่วยที่ 3 เรื่อง ประดิษฐ์ท่าร าสร้างสรรค์ หน่วยที่ 4 เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์สู่ชุมชน หน่วยที่ 5 เรื่อง นาฏยประดิษฐ์สร้างสรรค์ หน่วยที่ 6 เรื่อง เครื่องแต่งกายประกอบการแสดง ทั้งนี้ได้ปรับให้สอดคล้องกับสภาพที่แท้จริง และยืดหยุ่นเวลาตามความเหมาะสม และครูผู้สอน เพื่อให้นักเรียนได้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ผู้เรียนจะได้เรียนรู้การใช้ชีวิตที่สมดุล ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หลักสูตรนาฏศิลป์เพื่อสังคม เล่มนี้ จะมีประโยชน์ต่อครูผู้สอนและผู้ที่ ต้องการศึกษาเพื่อใช้ในการเตรียมการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ลดเวลาในการจัดเตรียมการ เรียนรู้ของครู และช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีทักษะ กระบวนการทั้งในทางศิลปะ ทักษะทางนาฏศิลป์ และการท างานร่วมกัน รวมถึงการเรียนรู้ตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวังอย่างมีคุณภาพมากขึ้น ธนสรรค์ เมฆวัน ผู้เขียนหลักสูตร หน้า ก
สำรบัญ เรื่อง หน้ำ ค าน า....................................................................................................................... ......................................... ก สารบัญ................................................................................................................ ............................................. ข หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม.................................................................................................................................. 1 1.ความเป็นมาและความส าคัญ...................................................................................................................... 1 2.สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน........................................................................................................................ 2 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์......................................................................................................................... 2 4.กลุ่มสาระการเรียนรู้และมาตรฐานการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง........................................................................... 3 ค าอธิบายรายวิชา............................................................................................................................................. 4 การวิเคราะห์จัดกลุ่มเนื้อหาที่มีความสอดคล้องกันและสะท้อนกับผลการเรียนรู้............................................. 5 โครงสร้างรายวิชา............................................................................................................................. ................ 6 หน่วยที่ 1 เรื่อง ท้องถิ่นเรา เฝ้าอนุรักษ์.................................................................................................... 7 หน่วยที่ 2 เรื่อง พื้นฐานนาฏศิลป์น่ารู้......................................................................................................... 8 หน่วยที่ 3 เรื่อง ประดิษฐ์ท่าร าสร้างสรรค์.................................................................................................. 9 หน่วยที่ 4 เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์สู่ชุมชน............................................................................................... 10 หน่วยที่ 5 เรื่อง นาฏยประดิษฐ์สร้างสรรค์................................................................................................. 11 หน่วยที่ 6 เรื่อง เครื่องแต่งกายประกอบการแสดง.................................................................................... 12 ผู้จัดท า..................................................................................................................... ........................................ 13
หลักสูตรรำยวิชำเพิ่มเติม นำฏศิลป์ เพื่อสังคม 1.ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ. 2561-2580 เป็นแผนการพัฒนาประเทศ ที่ก าหนดกรอบและแนว ทางการพัฒนาให้หน่วยงานของรัฐทุกภาคส่วนต้องท าตาม เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ประเทศไทยที่ว่า “ประเทศไทย มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” นโยบายรัฐบาล ด้านที่ 4 คือการท านุบ ารุงศาสนา การอนุรักษ์ ฟื้นฟู ศิลปวัฒนธรรมไทย และการยอมรับ ประเพณี วัฒนธรรมที่ดีที่มีความหลากหลาย เพื่อสร้างสังคมให้มีคุณภาพ คุณธรรม และอยู่ร่วมกันได้อย่าง มีความสุข และแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560–2579 มีจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษา คือ การศึกษา เป็นเครื่องมือ/กลไกในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้เป็นคนดี มีวินัย เป็นพลเมืองที่ดี และมีคุณภาพของสังคม ประเทศและของโลก มีทักษะ ความรู้ความสามารถและสมรรถนะในการปฏิบัติงาน ด ารงชีวิตในสังคมอย่าง เป็นสุข ปรับตัวและด ารงชีวิตในสังคมได้อย่างรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจและสังคมพหุวัฒนธรรม ที่เป็นพลวัตในโลกศตวรรษที่ 21 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่จัดท า ขึ้นเพื่อให้เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาได้น าไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดท าหลักสูตรสถานศึกษา และจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีคุณภาพด้าน ความรู้และทักษะที่จ าเป็นส าหรับการด ารงชีวิตในสังคม ที่มีการเปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่ช่วยให้ผู้เรียนได้น าองค์ความรู้ ทักษะจากการเรียนรู้และประสบการณ์ของผู้เรียนมาปฏิบัติ กิจกรรมพัฒนาตนเองเพื่อเป็นคนดีมีคุณธรรมจริยธรรมมีวินัย และมีจิตส านึกสาธารณะที่ดีงาม เป็นคนมีปัญญา ในการใช้ทักษะชีวิต การคิด การสื่อสาร การแก้ปัญหา และการใช้เทคโนโลยี และเป็นคนมีความสุขในการด าเนิน ชีวิตอย่างพอเพียง โดยอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างสร้างสรรค์ (แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑, หน้า 2) ดังนั้น โรงเรียนอนุบาลชุมชนภูกระดึง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต ๒ ซึ่งเป็น โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา จึงได้จัดท ารายวิชาหลักสูตรเพิ่มเติม เรื่องนาฏศิลป์เพื่อสังคมขึ้น โดยมุ่งเน้น การพัฒนาผู้เรียนด้านวิชาการ ควบคู่กับการพัฒนาชุมชน สังคม ผ่านกิจกรรมต่างๆ ทั้งในและนอกสถานศึกษา โดยใช้กิจกรรมการแสดงด้านการแสดงนาฏศิลป์เป็นนวัตกรรมในการขับเคลื่อน ด้านการอนุรักษ์ พัฒนา สืบสาน สร้างสรรค์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม ภายใต้การบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลและการท างานเชิงรุก เพื่อให้สถานศึกษาเป็นที่ยอมรับในสังคม โดยยึดโยงกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี นโยบายรัฐบาล แผนการ ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และนโยบายส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ในการขับเคลื่อนและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง หน้า 1
2.สมรรถนะส ำคัญของผู้เรียน 2.1 สมรรถนะกำรคิดขั้นสูง -กำรคิดอย่ำงมีวิจำรณญำณ การคิดใช้เหตุผลพิจารณาไตร่ตรองอย่างรอบคอบ โดยการศึกษาข้อมูล หลักฐาน แยกแยะข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง และข้อมูลความคิดเห็น การพิจารณาความน่าเชื่อถือ เพื่อหาสาเหตุของ ปัญหา และสามารถหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา เพื่อน าไปสู่การตัดสินใจอย่างรอบคอบ -กำรคิดเชิงระบบ การคิดที่มีความเข้าใจข้อมูลทั้งหมด ที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กันเป็นหนึ่งเดียวภายใต้บริบท หรือปัจจัยของสิ่งที่ก่อให้เกิดปัญหานั้นๆ โดยมีแบบแผนที่น าไปสู่การแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุได้อย่างแท้จริง -กำรคิดสร้ำงสรรค์ การคิดที่ริเริ่ม ประเมิน ปรับปรุง และพัฒนาต่อยอดความคิด เพื่อแก้ไขปัญหาหรือ ทางเลือกที่มีประสิทธิภาพในการสร้างความก้าวหน้าในความรู้ โดยใช้จินตนาการและทักษะพื้นฐาน จากการริเริ่ม จนถึงการสังเคราะห์เพื่อให้ได้สิ่งที่หม่กว่าเดิมและมีคุณค่าต่อตนเองและสังคมมากขึ้นมากเดิม -กำรคิดแก้ปัญหำ การคิดในการระบุปัญหา รวบรวมข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหา ออกแบบการแก้ไขปัญหา เลือกและด าเนินการในการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีเกณฑ์ที่ชัดเจนและครอบคลุมทุกมิติ 2.2สมรรถนะกำรสื่อสำร สามารถตีความสารที่ส่งมาได้ทั้งความคิด ความรู้สึก เจตนาและน าพัฒนาตนเอง มีการแลกเปลี่ยนข้อมูล องค์ความรู้ ประสบการณ์ผ่านช่องทางที่หลากหลาย ทั้งสื่อบุคคล สื่อธรรมชาติ โดยปราศจากความขัดแย้ง บนพื้นฐานความเข้าใจในบริบทสังคมที่มีความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน รวมถึง การเลือกใช้กลวิธีการสื่อสารอย่างเหมาะสม ผ่านวัจนภาษาและวัจนภาษา เพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการสื่อสารโดย มีความรับผิดชอบ ต่อผลที่เกิดขึ้นในสังคมและวัฒนธรรมที่แตกต่างทั้งในระดับชุมชน ชาติและสากล 2.3 สมรรถนะกำรรวมพลังท ำงำนเป็นทีม สามารถจัดระบบและกระบวนการท างาน กิจการ และการ ด าเนินกิจกรรมใดๆของตนเองและร่วมกับผู้อื่น โดยใช้การพลังท างานเป็นทีม มีแผน ขั้นตอน ให้บรรลุส าเร็จตาม เป้าหมาย มีภาวะผู้น า มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ มีการประสานความคิดเห็นที่แตกต่างสู่การตัดสินใจและ แก้ไขปัญหาเป็นทีมอย่างรับผิดชอบร่วมกัน สร้างความสัมพันธ์ที่ดีและจัดการความขัดแย้งภายใต้สถาการณ์ที่ ยุ่งยาก 3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3.1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 3.2 ซื่อสัตย์สุจริต 3.3 มีวินัย 3.4 ใฝ่เรียนรู้ 3.5 อยู่อย่างพอเพียง 3.6 มุ่งมั่นในการท างาน 3.7 รักความเป็นไทย 3.8 มีจิตสาธารณะ 3.9 มีความกล้าแสดงออกทางสุนทรียภาพ หน้า 2
4.กลุ่มสำระกำรเรียนรู้และมำตรฐำนกำรเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศิลปะ สำระที่ 3 นำฏศิลป์ มำตรฐำน ศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอด ความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ตัวชี้วัด ศ 3.1 ม.2/1 อธิบายการบูรณาการศิลปะแขนงอื่น ๆ กับการแสดง ศ 3.1 ม.2/2 สร้างสรรค์การแสดง โดยใช้องค์ประกอบนาฏศิลป์และการละคร ศ 3.1 ม.2/3 วิเคราะห์การแสดงของตนเองและผู้อื่น โดยใช้นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครที่เหมาะสม ศ 3.1 ม.2/4 เสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงการแสดง ศ 3.1 ม.2/5 เชื่อมโยงการเรียนรู้ระหว่างนาฏศิลป์และการละครกับสาระการเรียนรู้อื่น ๆ มำตรฐำน ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ นาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ตัวชี้วัด ศ 3.2 ม.2/1 เปรียบเทียบลักษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศิลป์จากวัฒนธรรมต่างๆ ศ 3.2 ม.2/2 ระบุหรือแสดงนาฏศิลป์นาฏศิลป์พื้นบ้าน ละครไทย ละครพื้นบ้าน หรือมหรสพอื่นที่เคยนิยมกัน ในอดีต ศ 3.2 ม.2/3 อธิบายอิทธิพลของวัฒนธรรมที่มีผลต่อเนื้อหาของละคร หน้า 3
ค ำอธิบำยรำยวิชำ รหัสวิชำนำฏศิลป์ ศ 22122 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ ศิลปะ(นำฏศิลป์) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2 เวลำเรียน 40 ชั่วโมง ศึกษาประวัติความเป็นมาของชุมชน และความส าคัญของอัตลักษณ์ประจ าท้องถิ่นได้ จากแหล่งเรียนรู้ ต่างๆ ในชุมชน ผ่านศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ พิธีกรรม วิถีชีวิต การแต่งกาย และการฝึกษะปฏิบัติ ทางนาฏศิลป์ขั้นพื้นฐาน นาฏยศัพท์และภาษาท่าทางนาฏศิลป์ สู่การประดิษฐ์คิดค้นกระบวนท่าร าประกอบเพลง อย่างง่าย ทักษะการเคลื่อนไหวและการแสดงโดยเน้นการถ่ายทอดลีลาหรืออารมณ์ ผ่านการแสดงนาฏศิลป์ไทย สร้างสรรค์ชุดใหม่ๆ ที่สอดคล้องตามบริบทของชุมชนและบ่งบอกถึงอัตลักษณ์ประจ าท้องถิ่น จนถึงเป็นนาฏยประดิษฐ์ขั้นสูง สร้างสรรค์เครื่องแต่งกาย หรืออุปกรณ์ประกอบการแสดงอย่างง่ายๆ ที่สอดคล้องกับ ศิลปวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมประจ าท้องถิ่น บรรยายความรู้สึกของตนเองที่มีต่องานนาฏศิลป์อย่าง สร้างสรรค์ อธิบายสิ่งที่มีความส าคัญต่อการแสดงนาฏศิลป์ ระบุประโยชน์ ที่ได้รับจากการแสดงหรือชมการแสดง นาฏศิลป์ไทยอย่างสร้างสรรค์ โดยใช้ทักษะกระบวนการด้วยกระบวนการ ค้นคว้า ในรูปแบบของโครงงานนาฏศิลป์ ผ่านแสดงออกทาง ทักษะการปฏิบัตินาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ คุณค่านาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าการแสดงนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและ ความส าคัญขององค์ประกอบของการแสดงนาฏศิลป์ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี-นาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม รวมถึงการน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ผลกำรเรียนรู้ 1. ระบุประโยชน์ที่ได้รับจากการแสดงหรือชมการแสดงนาฏศิลป์ไทยอย่างสร้างสรรค์ 2. ตระหนักเห็นคุณค่าการแสดงนาฏศิลป์เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นและภูมิปัญญาไทย 3. บอกหรืออธิบายประวัติความเป็นมาและความส าคัญของอัตลักษณ์ประจ าท้องถิ่น 4. ปฏิบัติทักษะทางนาฏศิลป์ขั้นพื้นฐาน และการแสดงโดยเน้นการถ่ายทอดลีลาหรืออารมณ์ 5. การสร้างสรรค์ผลงานนาฏยประดิษฐ์ขั้นสูง 6. สร้างสรรค์เครื่องแต่งกาย หรืออุปกรณ์ประกอบการแสดงอย่างง่ายๆ 7. ปฏิบัติทักษะการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ชุดใหม่ๆ ที่สอดคล้องกับบริบทชุมชน 8. อธิบายสิ่งที่มีความส าคัญต่อการแสดงนาฏศิลป์ 9. ระบุประโยชน์ที่ได้รับจากการแสดงหรือชมการแสดงนาฏศิลป์ไทยอย่างสร้างสรรค์ หน้า 4
กำรวิเครำะห์จัดกลุ่มเนื้อหำที่มีควำมสอดคล้องกันและสะท้อนกับผลกำรเรียนรู้ ........... ที่ หัวเรื่อง หัวเรื่องย่อย ผลกำรเรียนรู้ 1 ประวัติความเป็นมาของ ชุมชน -อัตลักษณ์ของชุมชน -ประเพณี/พิธีกรรม -ต านาน/ความเชื่อ -วิถีชีวิต/อาชีพ -บอกหรืออธิบายประวัติความเป็นมา และความส าคัญของอัตลักษณ์ประจ า ท้องถิ่นได้ -อธิบายสิ่งที่มีความส าคัญต่อการแสดง นาฏศิลป์ได้ -ตระหนักเห็นคุณค่าการแสดงนาฏศิลป์ เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่นและภูมิปัญญาไทย 2 ทักษะนาฏศิลป์พื้นฐาน -นาฏยศัพท์ -ภาษาท่า -ปฏิบัติทักษะทางนาฏศิลป์ขั้นพื้นฐานได้ 3 การประดิษฐ์กระบวนท่าร า -ประดิษฐ์กระบวนท่าร าประกอบ เพลงอิสระ -ประดิษฐ์กระบวนท่าร าประกอบ เพลงที่สอดคล้องกับโครงงานง่ายๆ -ทักษะการเคลื่อนไหวและการแสดงโดย เน้นการถ่ายทอดลีลาหรืออารมณ์ 4 การแสดงนาฏศิลป์สู่ชุมชน -ฟ้อนส่งดวงวิญาณ (งานอวมงคล) -ฟ้อนเอิ้นขวัญ (งานมงคล) -ปฏิบัติทักษะการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุดใหม่ๆ ที่สอดคล้องกับบริบทชุมชน 5 นาฏยประดิษฐ์ -แนวคิดและแรงบันดาลใจ -รูปแบบการแสดง -กระบวนท่าร าสร้างสรรค์ -เครื่องแต่งกายที่สอดคล้อง -การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ -ระบุประโยชน์ที่ได้รับจากการแสดงหรือ ชมการแสดงนาฏศิลป์ไทยอย่าง สร้างสรรค์ -การสร้างสรรค์ผลงานนาฏยประดิษฐ์ 6 สร้างสรรค์เครื่องแต่งกาย -ถนิมพิมพ์พาภรณ์ -ศิราภรณ์ -สร้างสรรค์เครื่องแต่งกาย หรืออุปกรณ์ ประกอบการแสดงอย่างง่ายๆ หน้า 5
โครงสร้ำงรำยวิชำ รหัสวิชำ.................. กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ ศิลปะ(นำฏศิลป์) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2 เวลำเรียน 40 ชั่วโมง หน่วย ที่ ชื่อหน่วย กำรเรียนรู้ ผลกำรเรียนรู้ สำระกำรเรียนรู้ เวลำ (ชั่วโมง) น้ ำหนัก 1 ท้องถิ่นเรา เฝ้าอนุรักษ์ -บอกหรืออธิบายประวัติความเป็นมา และความส าคัญของอัตลักษณ์ ประจ าท้องถิ่นได้ -อธิบายสิ่งที่มีความส าคัญต่อการ แสดงนาฏศิลป์ได้ -ตระหนักเห็นคุณค่าการแสดง นาฏศิลป์เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นและภูมิปัญญาไทย ประวัติความเป็นมาของ ชุมชน และความส าคัญ ของอัตลักษณ์ประจ า ท้องถิ่น จากแหล่งเรียนรู้ ต่างๆ ในชุมชน ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ พิธีกรรม วิถีชีวิต การแต่งกาย 5 10 2 พื้นฐาน นาฏศิลป์น่ารู้ -ปฏิบัตินาฏยศัพท์ทางนาฏศิลป์ได้ -ปฏิบัติภาษาท่าทางนาฏศิลป์ได้ ประเภทนาฏยศัพท์และ ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ 5 10 3 ประดิษฐ์ท่าร า สร้างสรรค์ การแสดง -ปฏิบัติทักษะการเคลื่อนไหวและการ แสดงโดยเน้นการถ่ายทอดลีลาหรือ อารมณ์ โดยประดิษฐ์กระบวนท่าร า ประกอบเพลงอิสระและเพลงที่ สอดคล้องกับโครงงานง่ายๆ ได้ กระบวนท่าร าประกอบ เพลง การเคลื่อนไหวและ การแสดงโดยเน้นการ ถ่ายทอดลีลาหรืออารมณ์ ผ่านการแสดงนาฏศิลป์ 5 20 4 นาฏศิลป์ สู่ชุมชน -ปฏิบัติทักษะการแสดงนาฏศิลป์ไทย สร้างสรรค์ชุดใหม่ๆ ที่สอดคล้องกับ บริบทชุมชน ทั้งงานมงคลและงาน อวมงคลได้ การแสดงที่ใช้ส าหรับใน งานประเภทต่างๆ ที่ สามารถบริการชุมชนได้ ต่อเนื่องอย่างสม่ าเสมอ 5 20 5 นาฏยประดิษฐ์ สร้างสรรค์ -การสร้างสรรค์ผลงานนาฏยประดิษฐ์ ขั้นสูงได้ การประดิษฐ์ชุดการ แสดงนาฏศิลป์ไทย สร้างสรรค์ที่ บ่งบอกถึง อัตลักษณ์ประจ าท้องถิ่น ผ่านการด าเนินงานแบบ โครงงานนาฏศิลป์ 6 ขั้น 10 20 6 เครื่องแต่งกาย ประกอบการ แสดง -สร้างสรรค์เครื่องแต่งกาย หรือ อุปกรณ์ประกอบการแสดงอย่าง ง่ายๆ ได้ การสร้างสรรค์ เครื่องประดับต่างๆ และ อุปกรณ์ที่สอดคล้อง เหมาะสมกับการแสดง 10 20 รวม 40 100 หน้า 6
หน่วยกำ หน่วยการเรียนที่ 1 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สำระกำรเรียนรู้ เป้ำหมำยกำรเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สมรรถนะส าคัญ คุณลักษ ประ ประวัติความเป็นมา ของชุมชน และความส าคัญ ของอัตลักษณ์ประจ า ท้องถิ่น จากแหล่งเรียนรู้ ต่างๆ ในชุมชน ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ พิธีกรรม วิถีชีวิต การแต่งกาย -บอกหรืออธิบาย ประวัติความเป็นมา และความส าคัญ ของอัตลักษณ์ประจ า ท้องถิ่นได้ -อธิบายสิ่งที่มี ความส าคัญต่อการ แสดงนาฏศิลป์ได้ -ตระหนักเห็นคุณค่า การแสดงนาฏศิลป์ เป็นมรดกทาง วัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่นและภูมิ ปัญญาไทย กำรคิดขั้นสูง -การคิดอย่างมี วิจารณญาณ -การคิดอย่างเป็น ระบบ -การคิดสร้างสรรค์ กำรรวมพลัง ท ำงำนเป็นทีม 1. ซื่อสัตย์ส 2. มีวินัย 3. ใฝ่เรียนรู้ 4. มุ่งมั่นใน 5. รักความ 6. มีจิตสาธ
ำรเรียนรู้ ท้องถิ่นเรา เฝ้าอนุรักษ์ เวลา 5 ชั่วโมง หลักฐำนกำร เรียนรู้ ชิ้นงำน/ภำระงำน แนวกำรจัดกิจกรรม สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ษณะอันพึง ะสงค์ สุจริต รู้ นการท างาน มเป็นไทย ธารณะ 1.ใบงาน 2.รูปเล่มรายงาน โครงงาน 1.ครูใช้ค าถาม สื่อ เพื่อกระตุ้น ความสนใจ 2.นร.ระบุอัตลักษณ์ ที่มีในชุมชน ของตนเอง คนละ1ประเภท 3.นร.แบ่งกลุ่มเท่าๆ กัน 4.จับสลากภายใต้หัวข้อที่ ก าหนดให้ (-ประเพณี/พิธีกรรมต านาน/ความเชื่อ-วิถีชีวิต/อาชีพ) 5.แต่ละกลุ่มระดมความคิด ค้นหา อัตลักษณ์ที่มีในชุมชนของ ตนให้ได้มากที่สุด 6.แต่ละกลุ่มศึกษาค้นคว้าจาก แหล่งเรียนรู้ต่างๆ 7.จัดท ารูปเล่มรายงานและShat 8.น าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน 9.สะท้อน แลกเปลี่ยนเรียนรู้แต่ ละกลุ่ม สถำนที่ -อุทยานแห่งชาติ -วัด -ชุมชน -ห้องสมุด -ห้องคอมพิวเตอร์ -พิพิธภัณฑ์ภู กระดึง บุคคล -ปราชญ์ชาวบ้าน -ผู้เฒ่า ผู้แก่ -เจ้าหน้าที่ รูปภำพ/วีดีโอ หน้า 7
หน่วยกำ หน่วยการเรียนที่ 2 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สำระกำรเรียนรู้ เป้ำหมำยกำรเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สมรรถนะส าคัญ คุณลักษ ประ ประเภทนาฏยศัพท์และ ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ -ปฏิบัตินาฏยศัพท์ ทางนาฏศิลป์ได้ -ปฏิบัติภาษาท่าทาง นาฏศิลป์ได้ กำรคิดขั้นสูง -การคิดอย่างเป็น ระบบ -การคิดอย่างมี วิจารณญาณ กำรสื่อสำร 1. ซื่อสัตย์ส 2. มีวินัย 3. ใฝ่เรียนรู้ 4. มุ่งมั่นใน 5. รักความ 6. มีจิตสาธ
ำรเรียนรู้ พื้นฐานนาฏศิลป์น่ารู้ เวลา 5 ชั่วโมง หลักฐำนกำร เรียนรู้ ชิ้นงำน/ภำระงำน แนวกำรจัดกิจกรรม สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ษณะอันพึง ะสงค์ สุจริต รู้ นการท างาน มเป็นไทย ธารณะ 1.ใบงาน 2.ทักษะปฏิบัติ ทางนาฏศิลป์ 1.นร.ออกเป็น 2 กลุ่ม 2.นร.จ าแนกประเภทนาฏยศัพท์ และภาษาท่า จากสื่อการสอน 3.ครูอธิบายความหมายของ นาฏยศัพท์และภาษาท่าแล้ว ให้นร. จ าแนกประเภทอีกครั้ง ครูตรวจสอบความถูกต้อง 4.นร.แยกตามกลุ่มเดิม จาก หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 5.ครูผู้สอนสาธิตวิธีการปฏิบัติ นาฏยศัพท์ (จีบ/วง/เท้า) และนร. ปฏิบัติพร้อมครู 6.นร.ปฏิบัติเอง ประกอบเพลง 7.ครูผู้สอนสาธิตวิธีการปฏิบัติ ภาษาท่า (อารมณ์/อากัปกิริยา) และนร.ปฏิบัติพร้อมครู 8.ครูประเมิน นร.ผ่านกิจกรรม “ภาษาท่า มหาสนุก” สถำนที่ -ห้องนาฏศิลป์ บุคคล -ครู สื่อท ำมือ -นาฏยศัพท์ -ภาษาท่า นำฏยศัพท์เพลง “จีบ” หน้า 8
หน่วยกำ หน่วยการเรียนที่ 3 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ประดิ สำระกำรเรียนรู้ เป้ำหมำยกำรเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สมรรถนะส าคัญ คุณลักษ ประ กระบวนท่าร าประกอบ เพลง การเคลื่อนไหวและ การแสดงโดยเน้นการ ถ่ายทอดลีลาหรืออารมณ์ ผ่านการแสดงนาฏศิลป์ -ปฏิบัติทักษะการ เคลื่อนไหวและการ แสดงโดยเน้นการ ถ่ายทอดลีลาหรือ อารมณ์ โดยประดิษฐ์ กระบวนท่าร า ประกอบเพลงอิสระ และเพลงที่สอดคล้อง กับโครงงานง่ายๆ ได้ กำรคิดขั้นสูง -การคิดอย่างมี วิจารณญาณ -การคิดเชิงระบบ -การคิดสร้างสรรค์ -การคิดแก้ปัญหา กำรสื่อสำร กำรรวมพลัง ท ำงำนเป็นทีม 1.รักชาติ ศ 2.ซื่อสัตย์สุ 3.มีวินัย 4.ใฝ่เรียนรู้ 5.มุ่งมั่นในก 6.รักความเ 7.มีจิตสาธา
ำรเรียนรู้ ดิษฐ์ท่าร า สร้างสรรค์การแสดง เวลา 5 ชั่วโมง หลักฐำนกำร เรียนรู้ ชิ้นงำน/ภำระงำน แนวกำรจัดกิจกรรม สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ษณะอันพึง ะสงค์ ศาสน์ กษัตริย์ สจริต ้ การท างาน เป็นไทย ารณะ -ทักษะปฏิบัติ ประกอบเพลง อิสระ -ทักษะประกอบ เพลงที่สอดคล้อง กับโครงงานง่ายๆ 1.นร.เข้ากลุ่มเดิมตามโครงงาน 2.ครูใช้ค าถามทบทวนความรู้เดิม -โครงงานที่น าเสนอ -การใช้นาฏยศัพท์และภาษา ท่าเชื่อมโยงกับโครงงานของกลุ่ม 3.ครูชี้แจงการด าเนินกิจกรรม 4.นร.แต่ละกลุ่มฝึกซ้อมการแสดง โดยประดิษฐ์ท่าสร้างสรรค์ ประกอบเพลงอิสระอย่างง่ายๆ 5.แต่ละกลุ่มน าเสนอโดยปฏิบัติ ทักษะการแสดงประกอบเพลง ครูและกลุ่มเพื่อน เป็นผู้ประเมิน 6.ครูชี้แจงการด าเนินกิจกรรมต่อ 7.นร.แต่ละกลุ่มประดิษฐ์ท่าร าให้ สอดคล้องกับเนื้อหาโครงงานของ ตนเองโดยยึดโยงนาฏยศัพท์และ ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ 8.แต่ละกลุ่มน าเสนอโดยปฏิบัติ ทักษะการแสดงประกอบเพลง ครูและกลุ่มเพื่อน เป็นผู้ประเมิน 9.ร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้รับ สถำนที่ -ห้องนาฏศิลป์ บุคคล -ครู เพลง -เพลงอิสระ -ลายดนตรี หน้า 9
หน่วยกำ หน่วยการเรียนที่ 4 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สำระกำรเรียนรู้ เป้ำหมำยกำรเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สมรรถนะส าคัญ คุณลักษ ประ การแสดงที่ใช้ส าหรับใน งานประเภทต่างๆ ที่ สามารถบริการชุมชนได้ ต่อเนื่องอย่างสม่ าเสมอ -ปฏิบัติทักษะการ แสดงนาฏศิลป์ไทย สร้างสรรค์ชุดใหม่ๆ ที่สอดคล้องกับบริบท ชุมชน ทั้งงานมงคล และงานอวมงคลได้ กำรคิดขั้นสูง -การคิดอย่างมี วิจารณญาณ -การคิดเชิงระบบ -การคิดสร้างสรรค์ -การคิดแก้ปัญหา กำรสื่อสำร กำรรวมพลัง ท ำงำนเป็นทีม 1.รักชาติ ศ 2.ซื่อสัตย์สุ 3.มีวินัย 4.ใฝ่เรียนรู้ 5.อยู่อย่างพ 6.มุ่งมั่นในก 7.รักความเ 8.มีจิตสาธา
ำรเรียนรู้ รู้ นาฏศิลป์สู่ชุมชน เวลา 5 ชั่วโมง หลักฐำนกำร เรียนรู้ ชิ้นงำน/ภำระงำน แนวกำรจัดกิจกรรม สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ษณะอันพึง ะสงค์ ศาสน์ กษัตริย์ สจริต ้ พอเพียง การท างาน เป็นไทย ารณะ -ทักษะปฏิบัติ 1.นร.ชมการแสดง 2 ชุดที่ใช้ใน งานที่แตกต่างกัน 2.นร.อธิบายความเหมาะสมของ การแสดงแต่ละชุด 3.ครูอธิบายเพิ่มเติมต่อยอด ความรู้ให้กับนักเรียน 4.นร.แบ่งกลุ่มปฏิบัติ (ใหม่) 5.นร.ต่อท่าร า “ฟ้อนเอิ้นขวัญ” ที่ใช้ในงานมงคลจากครู 6.นร.สอบปกิบัติทักษะ 7.ครูอธิบายประวัติความเป็นมา ของการแสดงงานอวมงคล 8.นร.ต่อท่าร า “ฟ้อนส่งดวง วิญญาณ” ที่ใช้ในงานอมงคล จากครูผู้สอน 9.นร.สอบปกิบัติทักษะ 10.สรุปความรู้ที่ได้รับ สถำนที่ -ห้องนาฏศิลป์ บุคคล -ครู เพลง -เพลงฟ้อนเอิ้นขวัญ -เพลงฟ้อนส่งดวง วิญญาณ วีดีโอกำรแสดง หน้า 10
หน่วยกำ หน่วยการเรียนที่ 5 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สำระกำรเรียนรู้ เป้ำหมำยกำรเรียนรู้ ผลกำรเรียนรู้ สมรรถนะส ำคัญ คุณลักษณ ประ การประดิษฐ์ชุดการ แสดงนาฏศิลป์ไทย สร้างสรรค์ที่ บ่งบอกถึง อัตลักษณ์ประจ าท้องถิ่น ผ่านการด าเนินงานแบบ โครงงานนาฏศิลป์ 6 ขั้น -การสร้างสรรค์ผลงาน นาฏยประดิษฐ์ขั้นสูง ได้ กำรคิดขั้นสูง -การคิดอย่างมี วิจารณญาณ -การคิดเชิงระบบ -การคิดสร้างสรรค์ -การคิดแก้ปัญหา กำรสื่อสำร กำรรวมพลัง ท ำงำนเป็นทีม 1.รักชาติ ศ กษัตริย์ 2.ซื่อสัตย์สุ 3.มีวินัย 4.ใฝ่เรียนรู้ 5.อยู่อย่างพ 6.มุ่งมั่นในก 7.รักความเ 8.มีจิตสาธา
ำรเรียนรู้ นาฏยประดิษฐ์สร้างสรรค์ เวลา 10 ชั่วโมง หลักฐำนกำร เรียนรู้ ชิ้นงำน/ภำระงำน แนวกำรจัดกิจกรรม สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ณะอันพึง ะสงค์ ศาสน์ สจริต ้ พอเพียง การท างาน เป็นไทย ารณะ -ทักษะปฏิบัติ -ใบงานการ ออกแบบเครื่องแต่ง กาย 1.ครูอธิบายชี้แจงในการจัดกิจกรรม 2.นร.และครูคัดเลือกโครงงาน/ ผลงานเด่น 1 ผลงาน 3.นร.ก าหนดแนวคิดและแรงบันดาล ใจเพิ่มเติมร่วมกัน 4.นร.ระดมความคิด ออกแบบ รูปแบบการแสดงร่วมกัน 5.นร.ประดิษฐ์กระบวนท่าร า 6.ครูผู้สอนตรวจสอบความถูกต้อง ตามหลักวิชา ความเหมาะสมของ กระบวนท่าร า 7.นร.ฝึกซ้อมประกอบดนตรี 8.ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับ องค์ประกอบที่ส าคัญของการแสดง 9.นร.ออกแบบเครื่องแต่งกาย ประกอบการแสดงที่สอดคล้องกับชุด การแสดง 10.นร.สอบปฏิบัติแสดงนาฏย ประดิษฐ์สร้างสรรค์ 11.ร่วมกันสรุปสิ่งเรียนรู้ สถำนที่ -ห้องนาฏศิลป์ บุคคล -ครู ลำยเพลง หน้า 11
หน่วยกำ หน่วยการเรียนที่ 6 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ เครื สำระกำรเรียนรู้ เป้ำหมำยกำรเรียนรู้ ผลกำรเรียนรู้ สมรรถนะส ำคัญ คุณลักษณ ประ การสร้างสรรค์ เครื่องประดับต่างๆ และ อุปกรณ์ที่สอดคล้อง เหมาะสมกับการแสดง -สร้างสรรค์เครื่องแต่ง กาย หรืออุปกรณ์ ประกอบการแสดง อย่างง่ายๆ ได้ กำรคิดขั้นสูง -การคิดอย่างมี วิจารณญาณ -การคิดเชิงระบบ -การคิดสร้างสรรค์ -การคิดแก้ปัญหา กำรสื่อสำร กำรรวมพลัง ท ำงำนเป็นทีม 1.ซื่อสัตย์สุ 2.มีวินัย 3.ใฝ่เรียนรู้ 5.อยู่อย่างพ 4.มุ่งมั่นในก 5.รักความเ 6.มีจิตสาธา
ำรเรียนรู้ รื่องแต่งกายประกอบการแสดง เวลา 10 ชั่วโมง หลักฐำนกำร เรียนรู้ ชิ้นงำน/ภำระงำน แนวกำรจัดกิจกรรม สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ณะอันพึง ะสงค์ สจริต ้ พอเพียง การท างาน เป็นไทย ารณะ -ชิ้นงาน เครื่องประดับ 1.ครูใช้ค าถาม กระตุ้นความรู้เดิม 2.นร.แบ่งกลุ่มออกเท่าๆกัน 3.ครูน าผลงานการออกแบบ เครื่องประดับมาให้นร.ร่วมกัน วิจารณ์อย่างสร้างสรรค์ 4.ครูผู้สอนชี้แจงแนวในการด าเนิน กิจกรรม 3.นร.ศึกษาวิธีการท าเครื่องประดับ จากชุดฝึกกิจกรรมที่ครูท าขึ้น 4.นร.ประดิษฐ์เครื่องประดับ ประกอบการแสดง 5.นร.สรุปความรู้ในรูปแบบของ แผนผังความรู้ 6.นักเรียนระดมความคิด วางแผน การน าเสนอผลงาน 7.นักเรียนน าเสนอผลงานการ ประดิษฐ์เครื่องประดับและอุปกรณ์ ประกอบการแสดง 8.ร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้รับ สถำนที่ -ห้องนาฏศิลป์ บุคคล -ครู ชุดฝึกกิจกรรมการ ท าเครื่องประดับ ประกอบการแสดง วัสดุอุปกรณ์ในการ ประดิษฐ์ เครื่องประดับ หน้า 12
ผู้จัดท ำหลักสูตร ผลงำนเชิงประจักษ์ พ.ศ.2565 1. ชนะเลิศ กิจกรรม BEST PRACTICE ครู ระดับประเทศ เป็น (BEST OF THE BEST) ประจ าปีงบประมาณ 2565 ภายใต้โครงการโรงเรียนสุจริต ณ โรงแรมเอวาน่า กรุงเทพมหานคร 2. ชนะเลิศ รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. OBEC AWARDS ครั้งที่ 11 ระดับภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเภทครูผู้สอนยอดเยี่ยม ระดับชั้นประถมศึกษา กิจกรรมนักเรียน (ชุมนุมนาฏศิลป์) ด้านวิชาการ 3. เหรียญทอง รองชนะเลิศล าดับ 2 ครูผู้สอนกิจกรรมการประกวดแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ระดับชั้นป.1-6 ระดับชำติ ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 70 4. เหรียญทอง รองชนะเลิศ ล าดับที่ 5 ครูผู้สอนกิจกรรมการประกวดแข่งขันร าวงมาตรฐาน ระดับชั้นม.1-3 ระดับชำติ ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 70 พ.ศ.2564 5. ชนะเลิศ ระดับดีเยี่ยม ในการพัฒนานวัตกรรมการศึกษาที่เป็นแบบอย่างได้ ระดับส านักงานเขต พื้นที่การศึกษา ตามโครงการนวัตกรรมการศึกษา สู่วิถีใหม่ วิถีคุณภาพ สพป.เลย 2 สาขาศิลปะ 6. รองชนะเลิศ อันดับ 2 กิจกรรม BEST PRACTICE ครู ระดับประเทศ ประจ าปีงบประมาณ 2564 ภายใต้โครงการโรงเรียนสุจริต ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพมหานคร 7. รำงวัลเชิดชูเกียรติ “๑๐,๐๐๐ คุรุชน คนคุณธรรม” ระดับดีเยี่ยม ประเภท ครูผู้สอน ประจ าปี ๒๕๖๔ ระดับประเทศ พ.ศ.2560- 2562 8. เหรียญทอง กิจกรรมการประกวดแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ระดับชั้นป.1-6 ระดับชาติ ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 67-68 (3 ปีต่อเนื่อง) ข้อมูส่วนตัว ชื่อ-สกุล : นายธนสรรค์ เมฆวัน อายุ 30 ปี อำยุรำชกำร : 5 ปี 9 เดือน สถำนศึกษำ : โรงเรียนอนุบาลชุมชนภูกระดึง สังกัด : สพป.เลย เขต ๒ ปฏิบัติกำรสอน : กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ วิชาดนตรี-นาฏศิลป์ ระดับชั้นที่สอน : ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผู้บังคับบัญชำ : นายเด่นพงษ์ พลฉวี ต าแหน่ง ผู้อ านวยการสถานศึกษา กำรศึกษำ : ระดับปริญญาตรี ครุศาสตรบัณฑิตศึกษา สาขานาฏศิลป์ไทย (เกียรตินิยม อันดับ 2) สถำบัน : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ติดต่อ : 084-3928352 E-Mail : imos29@hotmail.com Facebook : Ta Na Mekwan Youtube : KruTanasun channel ที่อยู่ : 33 หมู่ 5 บ้านห้วยบง ต าบลโนเมือง อ าเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวล าภู 39140 Facebook Line หน้า 13