The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบเรียนภาษาไทยในอดีต (จินดามณีฉบับพระโหราธิบดี) (ฉบับนักศึกษา)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by warunya.aj, 2024-01-01 06:03:44

แบบเรียนภาษาไทยในอดีต (จินดามณีฉบับพระโหราธิบดี) (ฉบับนักศึกษา)

แบบเรียนภาษาไทยในอดีต (จินดามณีฉบับพระโหราธิบดี) (ฉบับนักศึกษา)

วิชาวรรณกรรมแบบเรียนภาษาไทย THG4113 หัวข้อ แบบเรียนภาษาไทยในอดีต จินดามณีฉบับพระโหราธิบดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุณญา อัจฉริยบดี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


แบบเรียนภาษาไทยใน สมัยกรุงศรีอยุธยา ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุณญา อัจฉริยบดี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


1. จินดามณี 2. จินดามนี 3. จินดามุนี ชื่อแบบเรียนภาษาไทย เล่มแรกของไทยชื่อใดกันแน่ ??? ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุณญา อัจฉริยบดี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


หนังสือจินดามณี ของกรมศิลปากร (2543, น. 148) ที่เข้าใจว่าชื่อหนังสือนั้น ที่ถูกน่าจะเป็นจินดามณี อย่างเดียว ก็เพราะค าว่า จินดามณีนี้เป็นชื่อของ แก้วสารพัตรนึกอย่างหนึ่ง ซึ่งเชื่อกันมาแต่โบราณ ว่า ถ้าใครมีอยู่แล้วอาจนึกอะไรให้ได้ผลส าเร็จตามใจ นึกของผู้เป็นเจ้าของฉันใด ท่านผู้แต่งตั้งนามของ หนังสือนี้ ก็ฉันนั้น คือน่าจะตั้งใจให้มีความหมายว่า ถ้ากุลบุตรผู้ใดเรียนได้ตามหนังสือเล่มนี้แล้วก็จะรู้ แตกฉานในอักษรศาสตร์ของไทยได้เหมือนหนึ่งมี แก้วสารพัตรนึก คือจินดามณี ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุณญา อัจฉริยบดี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


ดง ั น ้ น ั ช ่ ื อของหนง ั สอ ื จง ึ น ่ าจะสร ุ ปไดว่า คือ ้ จินดามณี ซึ่งหมายถึงแก้วสารพัดนึก ลิขิตวิจิตรด้วย ศุภอรรถ ด่างมณีจินดารัตน เลอศแล้ว อันมีศิริสวัสดิ โสภาคย์ ใครรู้คือได้แก้ว ค่าแท้ควรเมือง ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุณญา อัจฉริยบดี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


ประเภทของหนังสือจินดามณี 1. หมายความว่ามีเนื้อความแตกต่างไป จากฉบับพระโหราธิบดี มี 2 ฉบับ คือ ฉบับสมเด็จพระบรมวงศ์เธอกรม พระยาด ารงราชานุภาพ ประทาน 1 เล่ม กับฉบับของหอสมุด 1 เล่ม ทั้ง 2 เล่มเป็นสมุดไทยด าเส้นรง 2. หมายความว่ามีเนื้อความส่วนใหญ่พ้อง หรือเหมือนกันฉบับพระโหราธิบดี มี4 ฉบับ คือ ซึ่งเป็นสมุดไทยด าเส้นรง (ผู้คัดลอก) มี 2 เล่มสมุดไทยด า (ผู้คัดลอก) และ ฉบับความกรม สมเด็จพระปรมาน ุ ช ิ ตช ิโนรส มี 2 เล่มสมุดไทยด า ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุณญา อัจฉริยบดี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


ประเภทของหนังสือจินดามณี 3. จ ิ น ด า มณ ี ฉ บ ั บ พระน ิ พนธก ์ รมหลวง วงศาธ ิ ราชสน ิ ท 4. เป็นฉบับที่พิมพ์หลาย ๆ เรื่อง รวมไว้ในเล่มเดียวกัน มีประถม ก กา แจกลูก จินดามณีประถม มาลา และปทานุกรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุณญา อัจฉริยบดี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


ในที่นี้จะอธิบายแบบเรียนจินดามณี 2 เล่ม ได้แก่ จินดามณีฉบับพระโหราธิบดี จินดามณีฉบับแผ่นดินพระเจ้าบรมโกศ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุณญา อัจฉริยบดี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


ความรู้เกี่ยวกับจินดามณีฉบับพระโหราธิบดี เป็นแบบเรียนที่ใช้ในการเรียนการสอนตั้งแต่สมัยของ พระองค์เกรงว่าประชาชนจะเปลี่ยนศาสนาและนิยมชาติตะวันตก จึง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระโหราธิบดีแต่งต าราเรียน “จินดามณี” ขึ้น ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุณญา อัจฉริยบดี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


ความร ้ เ ู ก ี ย ่ วกบ ั จ ิ นดามณ ี ฉบบ ั พระโหราธ ิ บดี (ต ่ อ) “จินดามณีฉบับพระโหราธิบดี” ท ่ ีใช ้ อยู่ใน ปั จจ ุ บน ั เป็ นฉบบ ั ท ่ ย ีั งมเ ี น ้ ื อหาไม ่สมมบูรณ การเรียบเรียงจึงได้จากความทรงจ าของบาง คน ประกอบการผสมมสม ่ วนท ่ ี หลงเหล ื อมาไว ้ เป็นเล่ม ท าให้เนื้อหาไม่ต่อเนื่องกันเท ่ าท ่ ค ี วร ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุณญา อัจฉริยบดี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


รายละเอียดในแบบเรียนจินดามณีฉบับพระโหราธิบดี มีดังนี้ เนื้ อหาและการเรียบเรียง เน ้ ื อหาท ่ ี เป็ นประโยชนใ์ นการ อักษรศัพท์ที่ว่าด้วย อักษรศัพท์ที่ว่าด้วย อักษรศัพท์ที่ว่าด้วย ค าที่ใช้ ส ศ ษ (ร้อยเป็ นค าประพันธ์) ใ ( ตัว) ไ ( ตัว) การใช้ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุณญา อัจฉริยบดี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


ตัวอย่างอักษรศัพท์ที่ว่าด้วยค าพ้องเสียง พระบาท บาตรพระสงฆ บาศเชือกคล้อง เงินบาท บาดอาวุธ อุบาทวะ ตัวอย่างอักษรศัพท์ที่ว่าด้วยความหมายของค าศัพท์ พรรฒ ว่าจ าเรอญ พรรษ ว่าฝน พรรษ ว่าปีว่าอายุศม ต ั วอยา ่ งอ ั กษรศ ั พทท ์ ว ี ่ ่ าดว ้ ยคา ไวพจน ์ ช้าง คเชนทร คชินทร นาคินทร นาเคษ นาเคนทร กริน คช คชา สาร หัตถี หัษดี บุรุษ บุรุษา บุรุษโษ บุริสมสมะ บุริสมัสมสมะ มานุษ มนุษย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุณญา อัจฉริยบดี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


ตัวอย่างการใช้ค า ส ศ ษ ๏ สมมบูรรณสมาครแลสมิน ธุสมมุทสมมสมมร สมารถีสมมรรถแลสมลอน แลตรัสมสมละสมมาคม ๏ ไพศาขศิขรพิเศศ แลศับทศรัทธา ศัตรูแลศุขศุทธอา ศรภขไศยรัศมี ๏ อักษรรากษษแลยัก ษแลเกษบุษบา พฤกษาฤๅษีบุรุษมา นุษยภิกษุเหาะหรรษ์ ส ศ ษ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุณญา อัจฉริยบดี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


๏ หนึ่งโสดคือไม้ม้วน ไม้มลายอเนกา ประกอบเป็นฉันทา ผู้พิเศศอย่าหลงใหล ๏ ใฝ่ ใจแลให้ทาน ทังนอกในแลใหม่ใส ใครใคร่แลยองใย อันใดใช้แลใหลหลง ๏ ใส่กลสใพ้ใบ้ ทังใต้เหนือแลใหญ่ยง ใกล้ใบแลใช่จง ญี่สิบม้วนคือวาจา การใช้ไม้ม้วน 20 ค า ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุณญา อัจฉริยบดี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


๏ ไส้พุงแลตับไต แลเหงื่อไคอเนกา แก้ไขวไวอา ไศรยได้คดีดี ๏ ไคคาวแลเรนไร วิไนยไฉนแลไม้ตรี ไฉไลแลไพล่หนี แลไหล่ไพลแลแกว่งไกว ๏ ไศลไข้แลไกษร แลสไบแลลูกไพ ผักไห่แลไม้ไซร แลไอสูรยแหล่หลาย การใช้ไม้มลาย 80 ค า ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุณญา อัจฉริยบดี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


การใช้ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ๏ อนึ่งจึ่งให้ใช้ ฤฤๅใสม่โดยด ากล ฦฦๅก็อ าพล โวหารชอบสมถารการ บุทคลผู้ใดจเขียนหนังสมือกาพยโคลงพากยฉันท ให้ดูอักษร ๔ คือ ฤฤๅฦฦๅ นี้ให้ ชอบกับกลอนควรจึ่งใสม่ มิชอบกลอนอย่าใสม่ ไม่ รู้อ่านก็มิฟัดเลย รู้อ่านก็ฟัดกันแล ผู้รู้เขียนให้เขียนดั่งนี้ ชอบฤทธิให้ใสม่ฤทธิชอบริทธิ ให้ใสม่ริทธิ ชอบพฤนทร ให้ ใสม่พฤนทร ชอบพรินทร ให้ใสม่พรินทร ชอบ รึ ตัวนี้ ให้ใสม่ตัวนี้ ชอบ ฤ ตัวนี้ให้ใสม่ตัว นี้ ชอบ รืตัวนี้ ให้ใสม่ตัวนี้ ชอบ ฤๅ ตัวนี้ ให้ใสม่ตัวนี้ ชอบ ลึตัวนี้ ให้ใสม่ตัวนี้ ชอบ ฦ ตัวนี้ ให้ใสม่ตัวนี้ ชอบ ลือ ตัวนี้ ให้ใสม่ตัวนี้ ชอบ ฦๅ ตัวนี้ ให้ใสม่ตัวนี้ ตามอักษร จึ่งจ ฟัดกันเป็นกลอนแล ถึงข้าศึกชอบกลอนแล ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุณญา อัจฉริยบดี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


ที่กล่าวว่าเนื้อหาส่วนนี้เป็นประโยชน์ในการแต่ง ค าประพันธ์นอกจากจะท าให้รู้จักค าศัพท์ และ ความหมายของค าจ านวนมากจากหัวข้ออักษรศัพท์ และการใช้ ส ศ ษ ใ ไ แล้ว ค าอธิบายในตอนท้ายของแต่ละหัวข้อยังระบุไว้ถึง ประโยชน์เพื่อการแต่งค าประพันธ์ให้ไพเราะ สัมผัสได้ คล้องจองกัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุณญา อัจฉริยบดี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


เน ้ ื อหาดา ้ นอก ั ขรว ิ ธ ีไทย อักษร 3 หมู่ มีการแจกลูกโดยละเอียด คือ น า พยัญชนะทุกตัวประสมสระทุกเสียง มีการผัน วรรณยุกต์อักษรทั้ง 3 หมู่ (ผันเฉพาะเสียง สามัญ เอก โท) เริ่มจากอักษรสูงและมีการบอก วิธีอ่านด้วย ที่น่าสนใจ คือ เช่น อธิบายการ ผันวรรณยุกต์ของอักษรกลางว่าออกเสียงขึ้น-ลง เหมือน ดังนี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุณญา อัจฉริยบดี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


อักษรกลาง ๙ แม่นั้นคือ ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ นี้ค าต้นให้อ่านเปนค ากลางแล้ว จึงอ่านขึ้นไปตามไม้เอก แล้วลงไปตามไม้โทด่งงรูปจั่วนั้น ก่า จ่า ด่า ต่า บ่า กา ก้า จา จ้า ดา ด้า ตา ต้า บา บ้า อธ ิ บายการผน ั วรรณยก ุ ตข ์ องอก ั ษรกลางวา ่ ออกเส ี ยงข ้ น ึ-ลง เหมือนรูปจว ั ่ ดง ั น ้ ี ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุณญา อัจฉริยบดี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


เนื้อหาด้านอักขรวิธีไทย (ต่อ) อักษรควบกล ้า มาตราตัวสะกด ค าเป็น-ค าตาย วิธีเขียนเครื่องหมายวรรณยุกต์ เครื่องหมายต่าง ๆ (โดยแต่งเป็นค าประพันธ์) ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุณญา อัจฉริยบดี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


๏ ส ศ ษ ญ ย ใครถวิล พินทุ์ ชอบรู้ ใ ไ ใส่โดยจิน ดาแม่น คือว่าท่ารนั้นผู้ ฉลาดแท้เมธา ฯ ๏ เปนเสมียนรอบรู้ วิสัญช์ พินเอกพินโททัณฑ- ฆาฏคู้ ฝนทองอีกฟองมัน นฤคหิต นั้นนา แปดสิ่งนี้ใครรู้ จึงให้เป็นเสมียร ฯ การเรียนรู้เครื่องหมายต่าง ๆ ส าคัญส าหรับผู้ท าหน้าที่ เสมียนในเวลาน ั ้ น ซ ่ ึ ง หมายถึง หรือเรียกอีกชื่อว่า ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุณญา อัจฉริยบดี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุณญา อัจฉริยบดี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


มาตราตัวสะกด 7 มาตรา ๏ นนพกอก่อเหง้า อักษร แจกจ าอุธาหอร แห่งหั้น กดกบกกม้วยมรณ สามแม่ กนกงกมเกอยนั้น ชีพได้นามตรี ฯ ๏ ส จ ต ถ ท ใช้ ต่างกด กน ญ ร ล ฬ ด แต่งต้งง พ ป ภ ท่านสมมต ต่างกบ แลนา ข ค ต่างกกจั้ง แจกให้เหนแสดง ฯ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุณญา อัจฉริยบดี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


เน ้ ื อหาท ่ ี เก ่ ี ยวกบ ั การแตง ่ คา ประพน ั ธป์ ระเภทตา ่ ง ๆ ในที่นี้ กล่าวเฉพาะค าประพันธ์ประเภทโคลงกับฉันท์เท่านั้น โดยยกแผนผังตัวอย่างโคลงจากลิลิตพระลอ อธิบายวิธีแต่งโคลงสุภาพโดยใช้ค าประพันธ์ประเภทโคลงสี่สุภาพ มีตัวอย่างโคลงลาวจ านวนมาก ตัวอย่างโคลงห้า โคลงกลบท กลอักษร จากนั้นจึงอธิบายการแต่งฉันท์ (โดยอธิบายจากคัมภีร์วุตโตทัย) มีตัวอย่างค าประพันธ์ประเภทฉันท์หลายตัวอย่าง เนื้ อหาเกี่ยวกับรหัสอักษร (ให้ลองถอดรหัสความจากโคลงที่ก าหนด) ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุณญา อัจฉริยบดี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


เนื้อหาเกี่ยวกับรหัสอักษร เช่น ฤๅษีแปลงสาร ๏ ลิตขิศอิศรเท้ไ ฤนลบา งงฟถี่นวท่วข่ารสา มนู่หน้าหเ รรมคาทุศรเสนถา งงยะลุงถึยลเ มอ าตยฤศรนจพจ้าเ นนี่เช้าอพื่เดใ ถอดรหัสเป็น ๏ ลิขิตอิศเรศไท้ นฤบาล ฟงงถี่ท่วนข่าวสาร หนุ่มเหน้า มรรคาทุเรศสถาน ยงงลุะถึงเลย อ ามฤตยรศพจนเจ้า เนิ่นช้าเพื่อใด ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุณญา อัจฉริยบดี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


ข้อสังเกตและแนวคิดจากการพิจารณาเนื้อหาและการเรียบเรียงจินดามณีฉบับ พระโหราธิบดี 1. วิธีการขึ้ นต้นด้วยบทไหว้ครู ยังคงรักษาขนบนิยมในการแต่งค า ประพันธ์ 2. เนื้ อหาที่กล่าวถึงการแจกลูกตามมาตราตัวสะกดต่าง ๆ สังเกตได้ว่า แตกต่างกับปัจจุบัน เนื่องจากไม่มีมาตรา ส่วนตัวสะกดในมาตรา จะรวมค าที่สะกดด้วยตัว “ว” หรือมาตราแม่เกอวในปัจจุบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุณญา อัจฉริยบดี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


ข้อสังเกตและแนวคิดจากการพิจารณาเนื้อหาและการเรียบเรียงจินดามณี ฉบับพระโหราธิบดี 3. เนื้ อหาและการน าเสนอเนื้ อหามักน ามาร้อยเป็ นค าประพันธ์ ซึ่งแสดงให้เห็น ว่าเป็ นยุคที่นิยมด้านการกวี และเน้นประโยชน์ให้ผู้ที่ท าหน้าที่ทางหนังสือใน ราชส านัก หรือที่เรียกว่า อาลักษณ์ 4. เนื้ อหาที่กล่าวถึงหัวข้อรหัสอักษร อักษรเลข ให้ผู้เรียนมีโอกาสฝึกทดสอบ ถอดรหัสอักษร นับเป็ นวิธีการที่ทันสมัย ให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิด และยังแสดง ความสามารถของผู้แต่งด้วย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุณญา อัจฉริยบดี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา


Click to View FlipBook Version