แนวทางการนิเทศภายในโรงเรียน ที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เอกสาร สพป.พัทลุง เขต ๑ ที่ 12/2566 กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑
แนวทางการนิเทศภายในโรงเรียน ที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 1 ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค ำน ำ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำพัทลุง เขต ๑ เป็นหน่วยงำน ทำงกำรศึกษำที่มีภำรกิจหลักในกำรสนับสนุน ส่งเสริมสถำนศึกษำ ให้มีคุณภำพตำมมำตรฐำน กำรศึกษำชำติตำมแนวทำงกำรปฏิรูปประเทศด้ำนกำรศึกษำ ให้ปฏิรูปกำรเรียนกำรสอน เพื่อตอบสนองกำรเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 โดยให้มีกำรปรับปรุงหลักสูตร ปรับปรุงกำรจัด กำรเรียนกำรสอน และกำรประเมินผล เพื่อกำรเรียนรู้ที่มุ่งเน้นสมรรถนะ พัฒนำผู้เรียนให้เกิดทักษะ กระบวนกำรคิดวิเครำะห์ คิดสร้ำงสรรค์ ทักษะกำรแก้ปัญหำ กำรตั้งค ำถำมและแสวงหำควำมรู้ ด้วยตนเอง ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีบทบำทในกำรเรียนรู้มำกขึ้น ครูลดวิธีกำรสอนด้วยกำรบอกเล่ำ กำรให้ข้อควำมรู้แก่ผู้เรียนโดยตรงไปเป็นกำรสอนแบบมีส่วนร่วม จัดกระบวนกำรเรียนรู้และกิจกรรม ที่ท ำให้ผู้เรียนกระตือรือร้นในกำรเรียนรู้และปฏิบัติกิจกรรมกำรเรียนรู้อย่ำงหลำกหลำย ให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นกำรจัดกำรเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) โดยครูสำมำรถน ำกำรเรียนรู้ เชิงรุกไปใช้ในกำรจัดกำรเรียนกำรสอนในกลุ่มสำระกำรเรียนรู้หรือรำยวิชำ รวมถึงกิจกรรมพัฒนำ ผู้เรียนอื่น ๆ กำรนิเทศกำรศึกษำเป็นกิจกรรมส ำคัญในกำรให้ค ำแนะน ำ ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน กำรจัดกำรเรียนรู้เชิงรุก เป็นกำรนิเทศเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกำรสอนของครูให้เป็นโค้ช (Coach) หรือผู้แนะน ำกำรเรียนรู้ เปลี่ยนแปลงรูปแบบและวิธีกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้และจัดกิจกรรม ส่งเสริมกำรเรียนรู้อื่น ๆ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำพัทลุง เขต ๑ ได้จัดท ำแนวทำง กำรนิเทศภำยในโรงเรียนที่ส่งเสริมกำรจัดกำรเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อเป็นแนวทำง ในกำรนิเทศ ติดตำม ช่วยเหลือ แนะน ำกำรจัดกำรเรียนรู้เชิงรุกของผู้เกี่ยวข้องต่อไป ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำพัทลุง เขต ๑ หวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำแนวทำงกำรนิเทศ ภำยในโรงเรียนที่ส่งเสริมกำรจัดกำรเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) จะเป็นประโยชน์แก่บุคลำกร ทำงกำรศึกษำทุกท่ำน และขอขอบคุณคณะกรรมกำรจัดท ำแนวทำงกำรนิเทศฯ ที่ได้ด ำเนินกำรจัดท ำ เอกสำรฉบับนี้จนส ำเร็จลุล่วงด้วยดี ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำพัทลุง เขต ๑
สารบัญ เรื่อง หน้า ส่วนที่ ๑ บทน า 1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา 1 วัตถุประสงค์ 2 เป้าหมาย 3 ประโยชน์ที่ได้รับ 3 ส่วนที่ ๒ เอกสารที่เกี่ยวข้อง 4 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการนิเทศภายในโรงเรียน 4 การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 19 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (PLC) 28 แนวทางการจัดท าผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) 33 ส่วนที่ 3 แนวทางการขับเคลื่อนการนิเทศภายในโรงเรียน ที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 40 ระดับส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา 40 ระดับสถานศึกษา 41 ส่วนที่ ๔ เครื่องมือนิเทศภายในโรงเรียนในการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 44 แบบตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการจัดการเรียนรู้เชิงรุก 45 แบบประเมินพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 47 แบบบันทึกการนิเทศการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 49 ตัวอย่างแผนการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC 51 ตัวอย่างแบบบันทึกการขอจัดตั้งกลุ่มชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) 53 บรรณานุกรม 54 ภาคผนวก QR Code เครื่องมือนิเทศและตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก 56 57 QR Code ตัวชี้วัดระหว่างทางและตัวชี้วัดปลายทางหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 57 ค าสั่งที่ 218/๒๕๖6 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินงานโครงการพัฒนา การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning 58 คณะผู้จัดท า 62
สารบัญภาพ เรื่อง หน้า ภาพที่ 1 กระบวนการนิเทศภายใน 12 ภาพที่ 2 ทักษะและการศึกษาแห่งอนาคต: การศึกษา 2030 24 ภาพที่ 3 ทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม 25 ภาพที่ 4 Flow Chart ขั้นตอนการน ารูปแบบ PLC ไปใช้ในสถานศึกษา 32 ภาพที่ 5 ขั้นตอนการจัดท าผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) 36
ส่วนที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ การศึกษาในยุคสังคมแห่งการเรียนรู้เป็นเครื่องมือส าคัญในการพัฒนาศักยภาพของคน ให้มีความรู้ความสามารถ มีทักษะในการแก้ปัญหาและด าเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข ซึ่งพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา มาตรา 22 กล่าวถึงหลักการส าคัญในการจัดการศึกษา ที่เน้นให้ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความส าคัญ ที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติเต็มตามศักยภาพ การปฏิรูปการศึกษาในปัจจุบันจึงมีจุดมุ่งหมายที่จะจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี มีความสามารถและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุขซึ่งสอดคล้องกับการด าเนินงาน ของกระทรวงศึกษาธิการด้านการปฏิรูปกระบวนการเรียนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง ในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ก าหนดให้มีการปรับเปลี่ยนบทบาทครูให้เป็นครูยุคใหม่ พัฒนาระบบการเรียนรู้ ตลอดชีวิต พัฒนาระบบการเรียนรู้เชิงบูรณาการที่เน้นลงมือปฏิบัติ การสะท้อนความคิด/ทบทวน ไตร่ตรอง โดยเน้นการเรียนการสอนที่เสริมสร้างทักษะชีวิตและน ามาใช้ต่อยอดในการประกอบอาชีพได้จริง ปรับเปลี่ยนบทบาทเป็นครูยุคใหม่ จัดการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมผู้เรียนให้เกิดทักษะแห่งอนาคต ในศตวรรษที่ ๒๑ โดยครูต้องปรับปรุงวิธีจัดการเรียนรู้ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ส่งเสริมให้ผู้เรียน เกิดทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม มีทักษะชีวิตและการท างาน ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี ซึ่งวิธีจัดการเรียนรู้ของครูยุคใหม่จะต้องเป็นไปโดยยึดผู้เรียนเป็นส าคัญ ผ่านการจัดการเรียนรู้ เชิงรุก (Active learning) ซึ่งเป็นการเรียนที่เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ กระตุ้นให้ผู้เรียน เกิดกระบวนการคิดขั้นสูงด้วยการวิเคราะห์ประเมินค่า และสร้างสรรค์ ไม่ได้เป็นแต่ผู้ฟัง ผู้เรียนต้อง อ่าน เขียน ตั้งค าถาม อภิปรายร่วมกัน และลงมือปฏิบัติจริง (หน่วยศึกษานิเทศก์: บทน า) จากการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ครั้งที่ ๑ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ประเด็นการนิเทศภายในโรงเรียนที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) โดยใช้ รูปแบบสังเกตการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนของโรงเรียนในสังกัดทุกโรง พบว่า ครูส่วนหนึ่งยังจัด กิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติโดยไม่ผ่านการคิดขั้นสูง และการใช้ความสามารถ ในการ สื่อสาร เช่น การน าเสนอ การสรุปองค์ความรู้ด้วยตนเอง รวมทั้งการสร้างชิ้นงานหรือปฏิบัติตามภาระงาน ไม่เป็นไปตามที่ก าหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้นอกจากนี้ การวัดและประเมินผลยังไม่ครอบคลุม ด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติ และยังไม่พัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะที่ต้องการ ดังนั้น เพื่อเป็นการ พัฒนาศักยภาพการจัดการเรียนรู้ให้ครูเป็นครูยุคใหม่และจัดการศึกษาให้เกิดคุณภาพแก่ผู้เรียน ที่เป็นไปตามมาตรฐานการจัดการศึกษาชาติต่อไป จึงจ าเป็นอย่างยิ่งที่ต้องน ากระบวนการในการ ขับเคลื่อนที่ส าคัญ ได้แก่ กระบวนการนิเทศภายในโรงเรียนซึ่งเป็นกระบวนการที่มีจุดมุ่งหมายในการ ด าเนินงานเพื่อช่วยเหลือ แนะน า ร่วมพัฒนาและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ให้ครูสามารถปฏิบัติหน้าที่ ได้ตามวัตถุประสงค์ และนอกจากนี้ครูทุกคนในโรงเรียนต้องได้รับการเพิ่มพูนความรู้ ประสบการณ์
2 ในการพัฒนางาน เพื่อให้สามารถปรับปรุงการเรียนการสอนของตนเองได้ดียิ่งขึ้นอยู่เสมอ สามารถน า ความรู้ที่ได้ไปใช้ให้เป็นประโยชน์ในการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องต่อไป การด าเนินงาน การนิเทศภายในโรงเรียนจึงจ าเป็นต้องได้รับการพัฒนาให้เป็นระบบที่ยั่งยืน กล่าวคือ ผู้บริหาร โรงเรียนหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายในฐานะผู้นิเทศ ท าหน้าเพื่อพัฒนาคุณภาพและเปลี่ยนแปลง การท างานของครูให้ได้มาซึ่งสัมฤทธิ์ผลสูงสุดในด้านการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียน จึงจ าเป็นที่โรงเรียน จะต้องมีการด าเนินงานการนิเทศภายในที่เข้มแข็ง มีแผนการด าเนินงานที่ชัดเจน มีสื่อ เครื่องมือ ที่สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายการนิเทศ และเป็นรูปธรรมตลอดจนมีการด าเนินการอย่างต่อเนื่อง และสม่ าเสมอ จนกลายเป็นวัฒนธรรมองค์กรอันจะส่งผลให้คุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน และผลการเรียนรู้ของผู้เรียนพัฒนาเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น จึงเป็นหน้าที่ของผู้บริหารโรงเรียน และบุคลากรทุกฝ่ายในโรงเรียนที่จะต้องร่วมมือกันด าเนินการพัฒนางานทุกด้านในโรงเรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านวิชาการซึ่งเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งผลให้ผู้เรียน มีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาชาติ ตลอดจนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และมีสมรรถนะ ส าคัญตามที่ก าหนดไว้ในหลักสูตรต่อไป ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 1 มีภารกิจในการก ากับ ดูแล ประสาน สนับสนุนการจัดการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา ให้ประชากรวัยเรียนได้รับการศึกษา อย่างทั่วถึง เสมอภาค เท่าเทียม มีคุณภาพ มีความรู้คู่คุณธรรมและจริยธรรม โดยมีทิศทางการจัด การศึกษาที่ตอบสนองต่อนโยบายของรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ และส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้เขตพื้นที่การศึกษามีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล การจัดการศึกษา ให้สอดคล้องกับหลักการจัดการศึกษา แนวการจัดการศึกษา และคุณภาพมาตรฐานการศึกษา โดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ของโรงเรียนในสังกัดเป็นส าคัญ ด้วยเหตุผลดังกล่าวเพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ครู ในสังกัดมีการด าเนินงานการนิเทศภายในที่สามารถน าสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม โดยมีเป้าหมาย ในการให้ครูผู้สอนปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการเรียนรู้จากรูปแบบเดิมไปเป็นการจัดการเรียนรู้แบบ Active learning จึงได้จัดท าแนวทางการนิเทศภายในโรงเรียนที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) ขึ้น ทั้งนี้เพื่อมุ่งหวังให้ผู้ที่ท าหน้าที่ในการนิเทศภายในโรงเรียนน าไปประยุกต์ใช้ เป็นแนวทางในการด าเนินงานการนิเทศภายในโรงเรียนเพื่อปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดการเรียนรู้ของ ครูให้เป็นครูยุคใหม่ เน้นให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับการเรียนรู้ เกิดกระบวนการคิดขั้นสูง พัฒนาผู้เรียน ให้เกิดทักษะที่จ าเป็นต่อการใช้ชีวิตประจ าวันได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้เกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการด าเนินงานการนิเทศภายในโรงเรียนที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 2. เพื่อเป็นเครื่องมือในการด าเนินงานการนิเทศภายในโรงเรียนที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ เชิงรุก (Active learning) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อพัฒนาครูผู้สอนให้มีทักษะการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 4. เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาชาติ
3 เป้ำหมำย 1. เชิงปริมาณ 1.1 ผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้เกี่ยวข้องทุกคนในสังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการด าเนินงาน การนิเทศภายในโรงเรียนที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) 1.2 ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนในสังกัด มีทักษะการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 2. เชิงคุณภาพ 2.1 ผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้เกี่ยวข้องทุกคนในสังกัด ด าเนินงานการนิเทศภายในโรงเรียนที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 2.2 ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนในสังกัด สามารถจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาชาติ ประโยชน์ที่ได้รับ 1. สถานศึกษามีการด าเนินงานการนิเทศภายในโรงเรียนเป็นไปตามมาตรฐาน การนิเทศภายในโรงเรียน 2. ครูผู้สอนมีการพัฒนาทักษะด้านการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 3. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุงเขต 1 มี Best Practice ด้านการจัดการเรียนรู้เชิงรุก 4. ผู้เรียนมีสมรรถนะส าคัญเป็นไปตามหลักสูตร
4 ส่วนที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการนิเทศภายในโรงเรียน การนิเทศการศึกษาในระดับสถานศึกษาคือกิจกรรมส าคัญในการสนับสนุนการเรียนการสอน ภายในโรงเรียน ให้ด าเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพของผู้บริหารสถานศึกษา ซึ่งเป็นหน้าที่ ที่ส าคัญอย่างหนึ่งของผู้บริหารสถานศึกษาต้องด าเนินการให้เกิดขึ้นภายในโรงเรียน และครู ได้ปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนภายในชั้นเรียน และโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมทั้ง เป็นกระบวนการประกันคุณภาพของโรงเรียนว่า โรงเรียนสามารถบริหารจัดการภายในโรงเรียนจนถึง เป้าหมายสุดท้ายคือ คุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานหลักสูตรและเป้าหมายที่ตั้งไว้ (หน่วยศึกษานิเทศก์ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน : ๙) ดังนั้น การนิเทศภายในโรงเรียนจึงเป็นยุทธวิธี ที่ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้องควรหาแนวทางด าเนินการให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2562) ได้ก าหนดมาตรฐานในการนิเทศภายใน สถานศึกษาไว้ 5 มาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานที่ 1 โรงเรียนก าหนดผู้รับผิดชอบงานนิเทศภายในโรงเรียนและมีค าสั่งแต่งตั้งเป็น ลายลักษณ์อักษร 1) ให้มีคณะบุคคลรับผิดชอบงานนิเทศภายในโรงเรียนและมีค าสั่งแต่งตั้ง 2) บุคลากรที่ได้รับการแต่งตั้งมีคุณสมบัติเหมาะสม 3) มีการก าหนดภาระงานและความรับผิดชอบไว้ชัดเจน 4) บุคลากรที่ได้รับมอบหมายเข้าใจภาระงานและความรับผิดชอบงานนิเทศภายในโรงเรียน 5) คณะครูในโรงเรียนมีส่วนร่วมในการสรรหาผู้รับผิดชอบงานนิเทศภายในโรงเรียน มาตรฐานที่ 2 โรงเรียนมีระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการวางแผนการนิเทศ 1) มีข้อมูลพื้นฐานที่จ าเป็นที่ต้องใช้ในการนิเทศ ดังนี้ 1.1) ข้อมูลแสดงสภาพการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู 1.2) ข้อมูลแสดงความต้องการพัฒนาของครู 1.3) นโยบายของหน่วยงานระดับเหนือในการพัฒนาครู 2) ข้อมูลสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง 3) การจัดเก็บข้อมูลสะดวกและน าไปใช้ประโยชน์ได้ทันที 4) มีการน าข้อมูลที่ได้จัดเก็บมาใช้ประโยชน์ในการวางแผน 5) มีข้อมูลย้อนหลังอย่างน้อย 2 ปี มาต รฐานที่ 3 โรงเรียนมีแผนการนิเทศที่ตอบสนองความต้องการพัฒ น าครูข องค รู และของโรงเรียน 1) มีแผนนิเทศที่มีสาระส าคัญ ดังนี้ 1.1) ความส าคัญและความจ าเป็นที่ต้องพัฒนาครู 1.2) จุดเน้นที่ต้องพัฒนา
5 1.3) กิจกรรมการนิเทศและรายละเอียดของแต่ละกิจกรรม ได้แก่ วัตถุประสงค์ เป้าหมายขั้นตอนการดาเนินงาน ระยะเวลา สื่อและเครื่องมือที่จ าเป็น วิธีการวัดประเมินผลกิจกรรม การนิเทศ 1.4) แผนนิเทศของโรงเรียนตอบสนองความต้องการพัฒนาของครูและของโรงเรียน 1.5) บุคลากรมีส่วนร่วมในการวางแผนการนิเทศตามบทบาทหน้าที่ของตน 1.6) การเขียนสาระส าคัญของแผนการนิเทศแต่ละส่วนสอดคล้องสัมพันธ์กัน มาตรฐานที่ 4 โรงเรียนด าเนินการตามแผนการนิเทศที่วางไว้ 1) มีผู้รับผิดชอบด าเนินการตามแผน 2) ผู้รับผิดชอบรับทราบ และด าเนินการตามแผนการนิเทศ 3) คณะครูรับทราบแผนนิเทศของโรงเรียน 4) ผู้นิเทศด าเนินการได้ตามแผนการนิเทศ 5) มีการบันทึกการด าเนินการและผลการด าเนินการของแต่ละกิจกรรม มาตรฐานที่ 5 โรงเรียนประเมินผลตามแผนการนิเทศอย่างเป็นระบบและน าผลการประเมิน มาปรับปรุงการนิเทศของโรงเรียน 1) มีการวางแผน ประเมินผลตามแผนนิเทศ 2) แผนการประเมินผลตามแผนนิเทศ ประกอบด้วย 2.1) สิ่งที่จะประเมิน 2.2) สภาพความส าเร็จและเกณฑ์การประเมิน 2.3) วิธีการและเครื่องมือประเมิน 2.4) แหล่งข้อมูลผู้ประเมิน 3) มีรายงานผลตามแผนนิเทศของโรงเรียนที่ครอบคลุมสาระส าคัญ ดังนี้ 3.1) แผนนิเทศปีการศึกษาที่จะประเมิน 3.2) การด าเนินการตามแผนนิเทศและผลการดาเนินการของแต่ละกิจกรรม 3.3) ผลตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรมการนิเทศแต่ละกิจกรรม 3.4) อุปสรรค/ปัญหาในการด าเนินการ 4) คณะครูมีส่วนร่วมในกิจกรรมการประเมิน 5) น าผลการประเมินไปพิจารณาวางแผนนิเทศของโรงเรียนในปีต่อไป เพื่อให้การนิเทศ เป็นไปตามมาตรฐาน แผนการนิเทศเป็นเสมือนเข็มทิศของการนิเทศ ซึ่งต้องวางแผนโดยอิงหลักการ ทฤษฎี ความหมายการนิเทศภายในโรงเรียน นักการศึกษาหลายท่าน ได้ให้ความหมายของการนิเทศภายในโรงเรียน ไว้ดังนี้ วัชรา เล่าเรียนดี (25๕๐ : 1๒๐) กล่าวถึง การนิเทศภายในโรงเรียนว่าเป็นกระบวนการ นิเทศการศึกษา และกิจกรรมต่าง ๆ ที่มุ่งพัฒนาการเรียนการสอนที่จัดด าเนินการในโรงเรียน โดยบุคลากรในโรงเรียนเป็นหลัก ซึ่งประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน คณะครูและบุคลากรอื่น ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาในโรงเรียนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในโรงเรียนโดยตรง
6 ฉวีวรรณ พันวัน (2552 : 9) กล่าวว่า การนิเทศภายในโรงเรียน หมายถึง กระบวนการ ร่วมกันทางการศึกษา ของผู้บริหารโรงเรียนและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ให้มีคุณภาพ และเกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุดแก่ผู้เรียน ท าให้ผู้เรียนพัฒนาเต็มตามศักยภาพตามจุดหมาย ของหลักสูตร พัชรี ศานติอาวรณ์ (2552: 12) กล่าวว่า การนิเทศภายใน คือ กระบวนการท างาน ร่วมกันของบุคลากรทางการศึกษา โดยการระดมสรรพก าลัง สนับสนุนการด าเนินงาน เพื่อให้ครู สามารถปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอน ที่ตรงกับความต้องการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพและ ต่อเนื่องส่งผลให้นักเรียนมีคุณภาพและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามจุดหมายของหลักสูตร สรุปได้ว่า การนิเทศภายในโรงเรียน หมายถึง กระบวนการด าเนินงานร่วมกัน ของผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเพื่อการแก้ไขปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลส่งผลให้นักเรียนได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพ ตามเป้าหมายการศึกษาที่ก าหนดและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น จุดมุ่งหมายของการนิเทศภายในโรงเรียน ในการด าเนินงานการนิเทศภายในโรงเรียนจ าเป็นต้องมีจุดมุ่งหมายในการด าเนินงาน เพราะจุดมุ่งหมายจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถมองเห็นแนวทางในการท างาน ซึ่งจะช่วยให้การนิเทศ บรรลุผล มีนักการศึกษาก าหนดจุดมุ่งหมายการนิเทศภายในโรงเรียนไว้ ดังนี้ กรองทอง จิรเดชากุล (2550 : 4) ได้กล่าวถึง จุดมุ่งหมายของการนิเทศ ภายในโรงเรียน ดังนี้ 1. เพื่อปรับปรุงคุณภาพของการจัดการศึกษาให้ได้มาตรฐานใกล้เคียงกัน 2. เพื่อให้บุคลากรภายในสถานศึกษามีความรู้ ความสามารถ มีความคุ้นเคยและใกล้ชิด ปัญหามากที่สุด 3. เพื่อให้บรรยากาศในการนิเทศมีความเป็นกันเอง และสามารถปฏิบัติงานนิเทศ ได้อย่างต่อเนื่อง ธีรศักดิ์ เลื่อยไธสง (2550 : 2) ได้กล่าวถึง จุดมุ่งหมาย ของการนิเทศภายในไว้ 4 ประการ ดังนี้ 1. พัฒนาคน คือ เน้นความรู้ ทักษะ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดี 2. พัฒนางาน คือ เน้นภารกิจหลัก ได้แก่ การสอน เทคนิควิธีการสอน 3. ประสานสัมพันธ์ คือ เน้นความร่วมมือ ความเข้าใจ ความเป็นน้ าหนึ่งใจเดียวกัน 4. สร้างขวัญ และก าลังใจ คือ เน้นการส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ให้เกิดความมั่นใจในการท างาน กระทรวงศึกษาธิการ (2552 : 33) ได้ให้ความหมายจุดมุ่งหมายของการนิเทศไว้ว่า 1. เพื่อช่วยผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนให้เกิดการปรับปรุงพัฒนาการจัดการศึกษา ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 2. เพื่อพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับความต้องการของ ชุมชน สังคม ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทุกด้าน
7 3. เพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษาปฏิรูประบบบริหาร โดยให้ทุกคนมีส่วนรับผิดชอบโดยให้ ทุกคนมีส่วนรับผิดชอบและชื่นชมในผลงาน 4. เพื่อให้เกิดการประสานงานและความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระหว่าง ผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ชุมชน สังคม สรุปได้ว่า จุดมุ่งหมายการนิเทศการศึกษา เป็นกระบวนการด าเนินการร่วมกันระหว่าง ผู้บริหารและครูในโรงเรียน ในการให้ค าแนะน าช่วยเหลือให้ค าปรึกษา เสนอแนะแก่ผู้ร่วมงานเกี่ยวกับ กระบวนการส่งเสริมสนับสนุน และให้ความร่วมมือเพื่อปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้พัฒนา คุณภาพการศึกษาของนักเรียนให้มีประสิทธิภาพตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย หลักการนิเทศภายในโรงเรียน การนิเทศในโรงเรียน จะต้องมีหลักการเพื่อเป็นแนวทางในการด าเนินการนิเทศทั้งนี้ เพื่อให้การนิเทศบังเกิดมีประสิทธิภาพ และบรรลุวัตถุประสงค์ ซึ่งมีนักวิชาการได้น าเสนอไว้ ดังนี้ ธีรศักดิ์ เลื่อยไธสง (2550 : 2) ได้น าเสนอ หลักการของการนิเทศภายใน ดังนี้ 1. ด าเนินการตามกระบวนการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง 2. ส่งเสริมให้ครูทุกคนมีส่วนร่วมและรับผิดชอบ 3. กิจกรรมการนิเทศตรงกับความต้องการจ าเป็นในการพัฒนาครู 4. จัดสภาพแวดล้อม และแหล่งวิทยาการให้เอื้อต่อการด าเนินงาน 5. สร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี และเสริมสร้างขวัญก าลังใจแก่ครู ชารี มณีศรี (2550 : 27 – 28) ได้กล่าวถึงสาระของหลักการนิเทศการศึกษาไว้ดังนี้ 1. การนิเทศการศึกษาเป็นการช่วยกระตุ้นประสานงานและแนะน าให้เกิดความเจริญ งอกงามแก่ครูโดยทั่วไป ๒. การนิเทศต้องอยู่บนรากฐานของประชาธิปไตย 3. การนิเทศเป็นกระบวนการส่งเสริมสร้างสรรค์ 4. การนิเทศกับการปรับปรุงหลักสูตรเป็นงานที่เกี่ยวพันกัน 5. การนิเทศคือการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ 6. การนิเทศมุ่งส่งเสริมบ ารุงขวัญ กรองทอง จิรเดชากุล (2550 : 5) กล่าวว่า การนิเทศภายในโรงเรียนมีหลักการดังนี้ 1. การด าเนินการนิเทศจะต้องด าเนินการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องตามขั้นตอน กระบวนการนิเทศภายในโรงเรียน 2.บุคลากรที่เป็นหลักส าคัญในการด าเนินการพัฒนาระบบนิเทศภายในโรงเรียน คือ ผู้บริหารสถานศึกษา 3. การนิเทศภายในโรงเรียน จะต้องสอดคล้องกับความต้องการและความจ าเป็น ในการพัฒนาครูและนักเรียน สรุปได้ว่า หลักการนิเทศภายในโรงเรียนก็คือ ผู้นิเทศต้องมีความรู้ความเข้าใจในหลัก การนิเทศอย่างถูกต้อง ตรงประเด็น มีระบบและขั้นตอนที่ชัดเจน การนิเทศที่ดีต้องสอดคล้องกับ
8 ความต้องการจ าเป็นในการพัฒนาครู และนักเรียนการด าเนินงานจะต้องเป็นระบบและต่อเนื่อง อยู่บนฐานทางวิทยาศาสตร์ ความเป็นประชาธิปไตย ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และเน้นให้บุคคล มีส่วนในการท างานเน้นความร่วมมือร่วมใจ และใช้ความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงาน รวมทั้งจัด บรรยากาศและสภาพแวดล้อมในการท างานที่ส่งเสริมให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามเป้าหมาย คือมุ่งที่ครูเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในทางที่ดีขึ้น อีกทั้งส่งเสริมให้ครูได้แสดงถึง ความสามารถและปฏิบัติการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป กระบวนการนิเทศภายในโรงเรียน การนิเทศภายในโรงเรียน ถือเป็นเครื่องมือที่ส าคัญยิ่งของผู้บริหารโรงเรียนในการสร้าง ความร่วมมือร่วมใจของบุคลากรในโรงเรียน ให้เกิดการพัฒนาตนเองในการท างานเพื่อผลส าเร็จ ของการบริหารการศึกษา การนิเทศภายในโรงเรียนมีลักษณะการปฏิบัติเช่นเดียวกับกิจกรรมอื่น ๆ ต้องอาศัยกระบวนการ ขั้นตอนในการด าเนินงานอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง ส าหรับยึดเป็นแนวทาง ไปสู่เป้าหมายที่พึงประสงค์ ซึ่งในกระบวนการนิเทศนี้มีนักวิชาการได้ให้แนวคิดไว้ ดังนี้ นพพรพรรณ ญาณโกมุท และคณะ (๒๕๕๘ : ๑๓๒) ได้น าเสนอกระบวนการนิเทศภายใน ตามแนวคิดการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) ดังนี้ ขั้นที่ 1 สร้างความร่วมมือ (Participation) เป็นขั้นที่ผู้บริหารและคณะครู ร่วมกัน วิเคราะห์สภาพปัญหาการนิเทศและการจัดการเรียนรู้ และความต้องการของครูโดยด าเนินการ ดังนี้ 1. จัดประชุม ระดมสมอง ร่วมกันวิเคราะห์สภาพบริบทของโรงเรียน ขอบข่าย ภารกิจงานการนิเทศภายใน เพื่อน าไปเป็นข้อมูลในการก าหนดแนวทางการด าเนินการ วิเคราะห์ จุดเด่น จุดด้อยเพื่อน ามาก าหนดจุดที่ต้องการพัฒนา ดังนี้ 1.1 วิเคราะห์ความต้องการจ าเป็นของการนิเทศภายใจและการจัดการเรียนรู้ 1.2 วิเคราะห์ปัญหาด้านการนิเทศภายในและการจัดการเรียนรู้ 1.3 วิเคราะห์ขอบข่ายงานด้านการนิเทศภายในและการจัดการเรียนรู้ของครู 2. สนทนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นวิธีการที่ให้ครูน าประสบการณ์ในการจัด การเรียนรู้ของแต่ละคนมาแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน ร่วมกันคิดแก้ปัญหาและเลือกวิธีการที่เหมาะสม โดยมีเป้าหมายร่วมกัน ที่ส าคัญผู้บริหารต้องให้อิสระในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้อ านาจ ในการตัดสินใจ ยอมรับฟัง ความคิดเห็นของคณะครูในการก าหนดประเด็นและวิธีการ 3. สรุปปัญหาและความต้องการ ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์สภาพบริบท ปัญหา และความต้องการในการจัดการเรียนรู้ของครู ร่วมกันเลือกประเด็นและวิธีการที่จะปรับปรุง หรือพัฒนา 4. ก าหนดเป้าหมายในการนิเทศและเงื่อนไขความส าเร็จ สร้างขวัญก าลังใจ ในการด าเนินการ ขั้นที่ 2 การวางแผนการนิเทศ (Plan) เป็นขั้นตอนที่ผู้บริหารและคณะครู ประชุม ปรึกษาหารือร่วมกันวางแผนการด าเนินการ ก าหนดวัตถุประสงค์ แต่งตั้งคณะท างาน และจัดท า ปฏิทินการด าเนินงาน โดยมีรายละเอียด ดังนี้
9 1. ประชุมคณะครูให้ความรู้ความเข้าใจในสิ่งที่จะด าเนินการว่าต้องมีความรู้ ความสามารถอย่างไรบ้าง มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับความส าคัญและความจ าเป็นที่ต้องมี การนิเทศภายใน และเปิดโอกาสให้ครูได้แสดงความคิดเห็นในบทบาทหน้าที่ของแต่ละคน 2. ผู้บริหารและคณะครู ร่วมกันก าหนดวัตถุประสงค์ ขอบข่าย ขั้นตอน และวิธีการ ในการนิเทศ 3. ผู้บริหารและคณะครู ร่วมกันก าหนดบทบาท หน้าที่ ชี้แจงบทบาทหน้าที่ ของทุกคน ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการท างานร่วมกันให้ชัดเจน พร้อมวิธีการในการด าเนินการ ตามบทบาทของตน 4. ผู้บริหารและคณะครู ร่วมกันออกแบบเครื่องมือในการนิเทศ สร้างเครื่องมือ และ ศึกษาวิธีการใช้เครื่องมือ เช่น แบบสังเกตการสอน 5. ผู้บริหารและคณะครูร่วมกันก าหนดปฏิทินการนิเทศ ก าหนดระยะเวลา ขั้นที่ 3 น าแผนสู่การปฏิบัติ (Action) ในขั้นตอนนี้เป็นการด าเนินการตามแนวคิดของ การศึกษาชั้นเรียน มีขั้นตอนในการด าเนินการ 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การจัดการเรียนรู้ (Learning) มีการด าเนินการ ดังนี้ 1.1 ด้านหลักสูตร โดยมีการวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา เพื่อศึกษาหลักการ จุดหมาย โครงสร้าง เวลาเรียน แนวการด าเนินการ สิ่งที่ส าคัญ คือ การจัดการเรียนรู้ตามที่หลักสูตร ต้องการโดยให้ครูผู้สอนมีส่วนร่วม 1.2 การจัดท าก าหนดการสอน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1.2.1 ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้และมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นของกลุ่มสาระ การเรียนรู้ที่จะจัดท าหลักสูตรเพื่อให้เข้าใจเป้าหมายและทิศทางการจัดการเรียนรู้ 1.2.2 วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น เพื่อก าหนดสาระการเรียนรู้ช่วงชั้น และก าหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายปี รายภาค สาระการเรียนรู้ช่วงชั้นเป็นการก าหนดเนื้อหาที่ จะต้องเรียนโดยค านึงถึงจุดเน้นของหลักสูตร ความต้องการของผู้เรียน ความต้องการของท้องถิ่นและ ชุมชน จ านวนเวลาที่จัดการเรียนรู้ในแต่ละสัปดาห์ วัยและระดับชั้น ส่วนการก าหนดผลการเรียนรู้ ที่คาดหวังรายปี รายภาคเรียนนั้น เป็นการระบุถึงความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะของผู้เรียน ซึ่งจะเกิดขึ้นหลังจากการเรียนรู้ในแต่ละปี/ภาค ผู้สอนจะต้องวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้แต่ละ ช่วงชั้นออกมาเป็นผลการเรียนรู้ที่คาดหวังไว้ในแต่ละชั้นปี และน าการเรียนรู้มาก าหนดในแผนการจัด การเรียนรู้ 1.3 การจัดท าแผนการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย 1.3.1 สาระส าคัญ เป็นการเขียนในลักษณะเป็นความคิดรวบยอด 1.3.2 จุดประสงค์การเรียนรู้ เขียนในลักษณะจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ซึ่งเมื่อผู้เรียน ได้ลงมือปฏิบัติทุกพฤติกรรมในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ของหน่วยการเรียนรู้แล้วจะบรรลุผล ตามตัวชี้จัด และมาตรฐานการเรียนรู้ที่ก าหนดไว้ในแต่ละหน่วย 1.3.3 สาระการเรียนรู้ เป็นการเขียนเนื้อหาสาระในลักษณะเป็นประเด็นส าคัญสั้น ๆ สอดคล้องกับเนื้อหาสาระที่ก าหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้
10 1.3.4 กิจกรรมการเรียนรู้ ระบุวิธีสอน กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เทคนิค การสอนที่หลากหลาย เมื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้ดังกล่าวครบถ้วนแล้วผู้เรียนจะบรรลุจุดประสงค์ ในการเรียนรู้ และเมื่อเรียนจบครบทุกแผน ผู้เรียนจะได้ความรู้ ทักษะกระบวนการและคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ครบถ้วนตามเป้าหมายการเรียนรู้ของตัวชี้วัด 1.3.5 การประเมินผลต้องครอบคลุมด้านความรู้ ด้านทักษะกระบวนการ ด้านทัศนคติ ควรมีการวัดผลตามสภาพจริง และก าหนดแนวทางให้ชัดเจนโดยเน้นการวัดจาก การปฏิบัติ สามารถประเมินได้ทั้งระหว่างเรียน และประเมินสรุปรวม 2. ด าเนินการจัดการเรียนรู้และนิเทศ (Do) 2.1 ประชุมก่อนสอน โดยการประชุมปรึกษาหารือและวางแผนร่วมกันระหว่าง ผู้บริหารและคณะครู ในการด าเนินงานและการวางแผนชี้แจงวัตถุประสงค์ในการนิเทศ ให้ความรู้ เกี่ยวกับการด าเนินการจัดการเรียนรู้ เข้าใจบทบาท ทั้งเป็นผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศ วิธีการนิเทศ และวิธีการในการสังเกต การใช้เครื่องมือสังเกตการสอน ประเด็นที่จะสังเกตและวิธีการบันทึกผลการ สังเกต 2.2 ปฏิบัติการสอนและการสังเกตการสอน เป็นการด าเนินการจัดการเรียนรู้ ตามแผนการจัดการเรียนรู้ โดยการน าแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างไปใช้จริงในชั้นเรียน ผู้นิเทศ จะเป็นผู้สังเกตการสอนและมีการบันทึกข้อมูล ข้อสังเกตต่าง ๆ ในชั้นเรียน พร้อมทั้งมีการสังเกต พฤติกรรมของครูผู้สอนและผู้เรียนอย่างละเอียดเพื่อเป็นข้อมูล 2.3 ประชุมหลังสอนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับครู เพื่อพิจารณา วิเคราะห์ข้อมูล จากการสังเกตการสอน และร่วมกันพิจารณาประเด็นที่ควรมีการปรับแก้และพัฒนาต่อไป และร่วมกัน ทบทวนแผนการนิเทศ การจัดการเรียนรู้ของครูระหว่างการสังเกตการสอน สรุปข้อคิดเห็น เกี่ยวกับ การจัดการเรียนรู้ของครูที่ได้รับการนิเทศ 2.4 บันทึกผลการสอนและการสังเกตการสอน เป็นการบันทึกผลการสังเกตการสอน กันและกัน ร่วมกันสรุปและบันทึกผล 3. การสะท้อนความคิดและประเมินสรุป (Reflecting and Evaluating) เป็นขั้นตอนที่น า ผลจากการบันทึกการสอนและการสังเกตการสอนมาร่วมอภิปรายและสะท้อนผล โดยเน้นที่การจัด กิจกรรม ในขั้นนี้คณะครูและผู้เกี่ยวข้องทุกคนร่วมรับรู้ และพิจารณาว่าควรปรับปรุงในขั้นตอนใดบ้าง โดยด าเนินการ ดังนี้ 3.1 แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสรุปผลการจัดการเรียนรู้ของครู โดยร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูล จากการปฏิบัติการสอนและการสังเกตการสอน น าเสนอข้อสังเกตที่ค้นพบ ร่วมกันประเมินผลว่า ประเด็นใดบ้างที่ดีควรคงไว้ และประเด็นใดที่ควรมีการเปลี่ยนแปลงและปรับปรุง 3.2 น าผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาต่อไป และวางแผนในการจัดการเรียนรู้ ในหน่วยการจัดการเรียนรู้ต่อไป วีระศักดิ์ ชมพูค า (2550 : 275 – 277) กล่าวถึง ขั้นตอนกระบวนการนิเทศภายใน โรงเรียนโดยสรุปไว้ดังนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการ เป็นขั้นเริ่มต้นที่จะได้ข้อมูล จากการศึกษาเพื่อไปประกอบการตัดสินใจ การวางแผน และก าหนดทางเลือกต่อไป ในการพัฒนาครู
11 จะต้องพัฒนาให้ตรงกับความต้องการของครู ขั้นตอนการพัฒนาการเรียนการสอน จึงควรเริ่มที่การหา ความต้องการจ าเป็นของครูโดยใช้วิธีการต่าง ๆ ได้แก่ สัมภาษณ์ครูผู้สอน สัมภาษณ์นักเรียน ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ส ารวจความต้องการ และการเยี่ยมเยียนและดูการจัดการเรียน การสอนในโรงเรียน เป็นต้น การใช้วิธีการเหล่านี้ อาจใช้เพียงวิธีเดียวหรือหลาย ๆ วิธีรวมกันก็ได้ สิ่งที่ค านึงถึงในขั้นตอนนี้ คือ การจัดท าข้อมูลให้เห็นเป็นรูปธรรมชัดเจนเพื่อให้โรงเรียนหรือครู เกิดความตระหนักถึงความต้องการจ าเป็นในอันที่จะต้องมีการปรับปรุงหรือพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อด าเนินการพัฒนาคุณภาพหรือยกระดับคุณภาพของนักเรียน ขั้นที่ 2 การวางแผนและการก าหนดทางเลือก การวางแผน คือ การพิจารณาและตัดสินใจ อย่างมีเหตุผลตามหลักวิทยาศาสตร์ในการก าหนดวัตถุประสงค์ และเป้าหมายที่พึงประสงค์ ซึ่งรวมถึง การก าหนดการเลือก การปฏิบัติรายละเอียด ขั้นตอนการท างานอย่างมีระบบ ที่สะดวกแก่การปฏิบัติ และเป็นทางเลือกที่ดีที่สุดโดยโรงเรียนจะต้องร่วมกันวางแผน จัดท าเป็นโครงการนิเทศภายใน โรงเรียนขึ้นอย่างชัดเจน ขั้นที่ 3 การสร้างและพัฒนาสื่อเครื่องมือ หรือวิธีการนิเทศ ขั้นนี้เป็นการก าหนดหลักสูตร หรือเนื้อหาสาระในการนิเทศ โดยน าผลที่ได้จากการส ารวจความต้องการจ าเป็น การจัดเตรียมเอกสาร ที่ใช้ในการนิเทศ สื่อต่าง ๆ เช่น วีดีทัศน์ ซีดี ก าหนดรายละเอียดของวิธีการนิเทศ และวิธีติดตามผล และการรายงานผล ขั้นที่ 4 การปฏิบัติการนิเทศขั้นนี้สามารถท าได้ 2 ลักษณะ คือ นิเทศเพื่อตรวจสอบและ เพื่อส่งเสริมคุณภาพการศึกษา โดยก าหนดวิธีการนิเทศออกเป็น 2 วิธี คือ การนิเทศทางตรง หมายถึง การออกนิเทศด้วยตนเอง และนิเทศทางอ้อม หมายถึง การนิเทศด้วยการใช้สื่อ และเครื่องมือนิเทศ การนิเทศท าได้หลายวิธีทั้งวิธีนิเทศรายบุคคล นิเทศภายนอก ป ระสานการนิเทศภายใน นิเทศเป็นกลุ่มตั้งแต่ให้ค าปรึกษา สาธิต อภิปราย ประชุมกลุ่มย่อย ประชุมปฏิบัติการ ประชุมอบรม สัมมนา การฝึกงาน ดูงานทัศนศึกษา จัดนิทรรศการ สังเกตการสอน แต่ละวิธีมีข้อดี ข้อจ ากัด ของตนเองและ มีความเหมาะสมที่ใช้ต่างสถานการณ์กัน ในขั้นตอนการวางแผนได้มีการเลือกสรรและ ก าหนดวิธีการนิเทศไว้เป็นขั้นตอนแล้ว จึงปฏิบัติงานนิเทศไปตามแผนที่วางไว้โดยค านึงถึง วัตถุประสงค์ และให้สอดคล้องกับเวลาที่ก าหนด ขั้นที่ 5 การประเมินผลและรายงานผล เป็นขั้นตอนการตรวจสอบการปฏิบัติงาน รวบรวม ปัญหาที่ปฏิบัติแต่ละขั้นตอน เพื่อหาแนวทางแก้ไข การประเมินขั้นสุดท้ายเป็นการเปรียบเทียบ ผลงาน เมื่อได้มีการปฏิบัติการนิเทศแล้วจะต้องมีการประเมินผลการปฏิบัติงาน ถ้ามีการก าหนด กิจกรรมปฏิบัติการนิเทศไว้เป็นขั้นตอนก็อาจจะประเมินผลเมื่อจบทีละขั้นตอนเพื่อทราบผล การปฏิบัติงานว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่ ถ้ายังไม่ดีก็จะได้น ามาพิจารณาหาเหตุผลและ น าไปปรับปรุงแก้ไขใหม่อีก การปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น ให้มีผลการเรียนการสอนดีขึ้นก็คือ การพัฒนาการเรียนการสอนนั่นเอง เมื่อผลการเรียนการสอนในขั้นตอนแรกดีแล้วก็ปฏิบัติ และประเมินขั้นตอนต่อ ๆ ไปจนถึงขั้นสุดท้ายจึงประเมินผลรวมอีกครั้งเมื่อเป็นที่พอใจ ก็น ามาขยาย ผลต่อไป เมื่อน าไปขยายผลก็ต้องนิเทศติดตามผลต่อไปอีก
12 การประเมินผลท าได้หลายวิธี เช่นการสังเกตพฤติกรรมของครูและนักเรียน การสัมภาษณ์ การร่วมอภิปราย การใช้แผนการเรียนรู้ ตลอดจนพิจารณาจากผลงาน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน ผลจากการนิเทศที่เกิดขึ้นในโรงเรียน ได้แก่ 1. โรงเรียนจัดกิจกรรมวิชาการได้ดียิ่งขึ้น 2. ครูเปลี่ยนพฤติกรรม 3. ผลการเรียนของนักเรียนดีขึ้น 4. นักเรียนที่จบแล้วไปเรียนต่อ หรือประกอบอาชีพได้ตามความแตกต่างระหว่างบุคคล ของนักเรียนและสามารถด ารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข มีอาชีพที่พอใจ เมื่อสิ้นสุดกระบวนการนิเทศภายใน ตามแผนที่วางไว้แล้วจะต้องมีการสรุปจัดท ารายงาน ผลการนิเทศภายในโรงเรียนไว้อย่างชัดเจน ส าหรับน าเสนอผู้เกี่ยวข้องและน าไปเป็นข้อมูลสารสนเทศ ในการน าไปเป็นแบบอย่างหรือพัฒนางานนิเทศภายในโรงเรียนต่อไป ข้อมูลย้อนกลับ ภาพที่ 1 กระบวนการนิเทศภายใน หน่วยศึกษานิเทศก์ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (๒๕๖๒ : ๑๐ - ๑๑) ได้จัดล าดับขั้นตอนกระบวนการนิเทศเป็น 5 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ ๑ การศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการ เป็นการก าหนดปัญหาและความต้องการในแก้ปัญหาหรือพัฒนา ดังนี้ ๑.๑ การจัดท าข้อมูลสารสนเทศพื้นฐาน เพื่อเป็นข้อมูลในการพิจารณาวางแผน การด าเนินงาน ๑.๒ การแลกเปลี่ยนระดมความคิด วิเคราะห์เพื่อหาสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นและ ความต้องการ ในการพัฒนาตามบริบทของหน่วยงาน การศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการ การวางแผนและ การก าหนดทางเลือก การสร้างสื่อ เครื่องมือ และพัฒนาวิธีการ การประเมินผลและรายงานผล การปฏิบัติการนิเทศ
13 ๑.๓ การจัดล าดับปัญหาและเลือกปัญหาที่เป็นความจ าเป็นหรือต้องการในล าดับ เร่งด่วนหรือ ล าดับที่เห็นว่าส าคัญที่สุด ๑.๔ การสร้างการรับรู้ระหว่างผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศ ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การประชุม การสัมมนา ฯลฯ เพื่อสร้างวิสัยทัศน์หรือสร้างเป้าหมายร่วมกันในการด าเนินงาน ขั้นที่ ๒ การวางแผนการนิเทศ เป็นการน าปัญหาและความต้องการ ก าหนดรายละเอียดของกิจกรรมในการจัดท า แผนนิเทศ ดังนี้ ๒.๑ ก าหนดแนวทาง/วิธีการการพัฒนาที่หลากหลายตามปัญหาที่เกิดขึ้น ตามความต้องการ และจ าเป็น มีการใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้วิชาทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) และการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) เป็นเครื่องมือส าคัญ ในการพัฒนาวิชาชีพครูและการพัฒนา ผู้เรียนอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ๒.๒ เลือกแนวทาง/วิธีการในการพัฒนาโดยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ๒.๓ วางแผนการด าเนินงานพัฒนา ๑) การประชุมเตรียมการนิเทศ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจร่วมกัน ๒) สร้างคณะนิเทศ เป็นทีมงานในการนิเทศร่วมกัน ๓) ก าหนดประเด็นการนิเทศ เป็นการก าหนดเนื้อหาที่จะนิเทศ ๔) ก าหนดระยะเวลาในการนิเทศ โดยก าหนดระยะเวลาในการนิเทศ ที่เหมาะสมกับ การแก้ปัญหาและการพัฒนา ๕) ก าหนดวิธีการนิเทศและกิจกรรมการนิเทศที่เหมาะสมตามสภาพปัญหา และ ความต้องการ เช่น การประชุมสัมมนา การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสังเกตชั้นเรียน การสาธิต การบันทึกวิดีโอ และการถ่ายภาพ การสัมภาษณ์ การ Coaching & Mentoring ฯลฯ โดยเน้นการใช้ ICT ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การใช้ Line Application การใช้ Clip Video การ Conference การใช้ Video Line You Tube Facebook Live เป็นต้น ๒.๔ จัดท าแผนนิเทศ ประกอบด้วย หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เป้าหมาย แผนการ ด าเนินการ กิจกรรมส าคัญ ปฏิทินการปฏิบัติงาน ทรัพยากรที่ต้องการ เครื่องมือนิเทศ ผลที่คาดว่าจะได้รับ ขั้นที่ ๓ การสร้างสื่อและเครื่องมือนิเทศ สื่อและเครื่องมือนิเทศเป็นสิ่งที่จะช่วยให้การนิเทศมีประสิทธิภาพ บรรลุ วัตถุประสงค์ และเป็นสิ่งที่จะช่วยเก็บรายละเอียดที่ผู้รับการนิเทศไม่สามารถแสดงออกมาได้ และ สามารถเก็บข้อมูลน ามาเปรียบเทียบผลที่เกิดขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนา และสิ่งที่ท าให้มี ความเข้าใจตรงกันระหว่างผู้นิเทศและ ผู้รับการนิเทศ ๓.๑ สร้างสื่อการนิเทศที่ท าให้การนิเทศบรรลุวัตถุประสงค์ เช่น วิธีการนิเทศ ทักษะการ นิเทศ เทคนิคการนิเทศ โดยเป็นสื่อที่สอดคล้องคล้องในยุคศตวรรษที่ ๒๑ เน้นการใช้ ICT ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การใช้ Line Application การใช้ Clip Video การ Conference การใช้ Video Line You Tube Facebook Live เป็นต้น
14 ๓.๒ สร้างเครื่องมือการนิเทศเพื่อเก็บข้อมูลเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาและ พัฒนา ตรวจสอบ ติดตามความก้าวหน้าของการด าเนินงาน และการประเมินผลการด าเนินงาน ซึ่งเป็นเครื่องมือที่มีคุณภาพ ใช้ง่าย สามารถเก็บข้อมูลที่ตอบประเด็นปัญหาความต้องการ และเป็นประโยชน์ในการแก้ปัญหา ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา ขั้นที่ ๔ การปฏิบัติการนิเทศ ด าเนินการนิเทศตามวิธีการการนิเทศและกิจกรรมการนิเทศที่ก าหนด ๔.๑ ประชุมเตรียมการก่อนการนิเทศ เพื่อสร้างความเข้าใจของผู้นิเทศ ให้การนิเทศ เป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ ๔.๒ นิเทศตามขั้นตอน ระยะเวลา และใช้เครื่องมือตามที่ก าหนด ๔.๓ การสะท้อนผลการนิเทศ ๔.๔ ปรับปรุงและพัฒนาการด าเนินงาน ขั้นที่ ๕ การประเมินผลและรายงานผล ๕.๑ ประเมินความก้าวหน้าของการด าเนินงาน เช่น การด าเนินงานของผู้รับ การนิเทศ เพื่อ น าผลไปปรับปรุงแนวทางการด าเนินงาน ๕.๒ ประเมินผลการนิเทศเมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติการนิเทศตามระยะเวลาที่ต้องการ ในการน า ผลไปใช้ในการพัฒนา หรือในแต่ละปีการศึกษา ๕.๓ รายงานผลการนิเทศต่อผู้เกี่ยวข้อง ๕.๔ น าผลการนิเทศที่เป็นปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะไปพัฒนาการนิเทศ ในครั้งต่อไป สรุปได้ว่า กระบวนการนิเทศภายในโรงเรียนเป็นขั้นตอนการด าเนินงานอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง โดยสรุปกระบวนการนิเทศภายในที่เป็นระบบประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ขั้นที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการ ขั้นที่ 2 ขั้นวางแผนและการก าหนดทางเลือก ขั้นที่ 3 การสร้างสื่อเครื่องมือและวิธีการ ขั้นที่ 4 การปฏิบัติการนิเทศ ขั้นที่ 5 การประเมินผลและ รายงานผล ซึ่งกระบวนการทั้ง 5 ขั้นที่กล่าวมา ผู้บริหารโรงเรียนสามารถน าไปปรับใช้ในโรงเรียนได้ ตามความเหมาะสม เพื่อยึดเป็นแนวทางในไปสู่เป้าหมายที่พึงประสงค์และเพื่อให้การจัดการศึกษา ของโรงเรียนเป็นไปตามจุดมุ่งหมายของการศึกษาต่อไป ขอบข่ายงานนิเทศภายในโรงเรียน การนิเทศภายใน เป็นการนิเทศการปฏิบัติงานตามขอบข่ายงานในโรงเรียนตามภาระหน้าที่ การบริหารงานในโรงเรียน 4 ฝ่าย ตามกฎกระทรวงซึ่งก าหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอ านาจ การบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550 อาศัยอ านาจตามความในมาตรา 5 และมาตรา 39 วรรคสองแห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (ซึ่งแก้ไขเมเติมโดยพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติฉบับที่ 2 พ.ศ.2545) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการออกกฎกระทรวง ไว้ ดังต่อไปนี้"ให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการหรือเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พิจารณาด าเนินการกระจายอ านาจการบริหารและการจัดการศึกษาในด้านวิชาการด้านงบประมาณ
15 ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารทั่วไปไปยังคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือสถานศึกษาในอ านาจหน้าที่ของตน แล้วแต่กรณีในเรื่องดังต่อไปนี้ ๑. ด้านการบริหารงานวิชาการ มีภาระหน้าที่ 17 อย่างด้วยกัน คือ 1.1 การพัฒนาหรือการด าเนินการเกี่ยวกับการให้ความเห็นการพัฒนาสาระหลักสูตร ท้องถิ่น 1.2 การวางแผนงานด้านวิชาการ 1.3 การจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา 1.4 การพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา 1.5 การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ 1.6 การวัดผล ประเมินผล และด าเนินการเทียบโอนผลการเรียน ๑.7 การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา 1.8 การพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่งเรียนรู้ 1.9 การนิเทศการศึกษา 1.10 การแนะแนว 1.1 1 การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา 1.12 การส่งเสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการ 1.13 การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิซาการกับสถานศึกษาและองค์กรอื่น 1.14 การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน สถานประกอบการและสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา 1.15 การจัดท าระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา 1.16 การคัดเลือกหนังสือ แบบเรียนเพื่อใช้ในสถานศึกษา 1.17 การพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 2. ด้านการบริหารงานงบประมาณ มีภาระหน้าที่ 22 อย่างด้วยกันคือ 2.1 การจัดท าแผนงบประมาณ 2.2 การจัดท าแผนปฏิบัติการใช้จ่ายเงินตามที่ได้รับจัดสรร 2.3 การอนุมัติการใช้จ่ายงบประมาณที่ได้รับจัดสรร 2.4 การขอโอนและการขอเปลี่ยนแปลงงบประมาณ 2.5 การรายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณ 2.6 การตรวจสอบติดตามและรายงานการใช้งบประมาณ 2.7 การตรวจสอบติดตามและรายงานการใช้ผลผลิตจากงบประมาณ 2.8 การระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา 2.9 การปฏิบัติงานอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมายเกี่ยวกับกองทุนเพื่อการศึกษา 2.10 การบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการศึกษา 2.11 การวางแผนพัสดุ 2.12 การก าหนดรูปแบบรายการ หรือคุณลักษณะเฉพาะของครุภัณฑ์ หรือสิ่งก่อสร้าง 2.13 การพัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการจัดท าและจัดหาพัสดุ
16 2.14 การจัดหาพัสดุ 2.15 การควบคุมดูแล บ ารุงรักษาและจ าหน่ายพัสดุ 2.16 การจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สิน 2.17 การเบิกเงินจากคลัง 2.18 การรับเงิน การเก็บรักษาเงิน และการจ่ายเงิน 2.19 การน าเงินส่งคลัง 2.20 การจัดท าบัญชีการเงิน 2.21 การจัดท ารายงานทางการเงินและงบการเงิน 2.22 การจัดท าหรือจัดหาแบบพิมพ์บัญชี ทะเบียน และรายงาน 3. ด้านการบริหารงานบุคคล มีภาระหน้าที่ 20 อย่างด้วยกันคือ 3.1 การวางแผนอัตราก าลัง 3.2 การจัดสรรอัตราก าลังข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 3.3 การสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง 3.4 การเปลี่ยนต าแหน่งให้สูงขึ้น การย้ายข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 3.5 การด าเนินการเกี่ยวกับการเลื่อนขั้นเงินเดือน 3.6 การลาทุกประเภท 3.7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน 3.8 การด าเนินการทางวินัยและการลงโทษ 3.9 การสั่งพักราชการและการสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน 3.10 การรายงานการด าเนินการทางวินัยและการลงโทษ 3.11 การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ 3.12 การออกจากราชการ 3.13 การจัดระบบและการจัดท าทะเบียนประวัติ 3.14 การจัดท า บัญชีรายชื่อและให้ความเห็นเกี่ยวกับการเสนอขอพระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณ์ 3.15 การส่งเสริมการประเมินวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 3.16 การส่งเสริมและยกย่องเชิดชูเกียรติ 3.17 การส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ 3.18 การส่งเสริมวินัย คุณธรรมและจริยธรรมส าหรับข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา 3.19 การริเริ่มส่งเสริมการขอรับใบอนุญาต 3.20 การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 4. ด้านการบริหารทั่วไป มีภาระหน้าที่ 21 อย่างด้วยกันคือ 4.1 การพัฒนาระบบและเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ 4.2 การประสานงานและพัฒนาเครือข่ายการศึกษา 4.3 การวางแผนการบริหารงานการศึกษา
17 4.4 งานวิจัยเพื่อพัฒนานโยบายและแผน 4.5 การจัดระบบการบริหารและพัฒนาองค์กร 4.6 การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงาน 4.7 งานเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 4.8 การด าเนินงานธุรการ 4.9 การดูแลอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม 4.10 การจัดท าส ามะโนผู้เรียน 4.11 การรับนักเรียน 4.12 การเสนอความเห็นเกี่ยวกับเรื่องการจัดตั้ง ยุบ รวมหรือเลิกสถานศึกษา 4.13 การประสานการจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย 4.14 การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา 4.15 การทัศนศึกษา 4.16 งานกิจการนักเรียน 4.17 การประชาสัมพันธ์งานการศึกษา 4.18 การส่งเสริม สนับสนุนและประสานการจัดการศึกษาของบุคคล ชุมชน องค์กร หน่วยงานและสถาบันสังคมอื่น 4.19 งานประสานราชการกับส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น 4.20 การจัดระบบการควบคุมภายในหน่วยงาน 4.21 แนวทางการจัดกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการลงโทษนักเรียน ทักษะการนิเทศการศึกษา หน่วยศึกษานิเทศก์ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (๒๕๖๔ : ๑๒) ได้กล่าวว่า ทักษะที่ส าคัญในการนิเทศการศึกษา ควรจะทักษะ ๓ ด้าน ที่ผสมผสานกลมกลืนกันไป ได้แก่ ๑. ทักษะทางมนุษย์ (Human Skill) ที่น ามาใช้ในการนิเทศการศึกษา ได้แก่ 1) การให้ความส าคัญและตอบสนอง ต่อความแตกต่างระหว่างบุคคล 2) การวิเคราะห์จุดอ่อนและจุดแข็งของแต่ละบุคคล 3) เห็นความส าคัญ เห็นคุณค่าของแต่ละบุคคล 4) มีการรับรู้ที่ชัดเจน 5) สามารถสร้างความตระหนักและความผูกพันของครู ต่อเป้าหมายของสถานศึกษา 6) ทักษะในการน าการอภิปราย การฟัง เพื่อพัฒนางานได้อย่างราบรื่น 7) การสร้างความร่วมมือระหว่างกัน กระตุ้นให้เกิดความร่วมมือ 8) การแก้ปัญหาและความขัดแย้ง 9) การเป็นแบบอย่างที่ดีของครู
18 ๒. ทักษะทางเทคนิค (Technical Skill) ทักษะทางด้านเทคนิค เป็นทักษะที่ผสมระหว่างการน าความรู้และความสามารถ ในการท างานในหน้าที่ของตน ในเรื่องการสอน หลักสูตร การวัดและประเมินผล ผู้นิเทศต้องมีความรู้ และประสบการณ์เกี่ยวกับการสอนในรายวิชาต่าง ๆ และต้องมีความช านาญในการสอนอย่างน้อย 1 วิชา ส่วนผู้นิเทศด้านทักษะอาชีพ ต้องมีความรู้ด้านงานวิชาชีพทั้งในทางทฤษฎีและปฏิบัติ และ ต้องมีทักษะและเทคนิคต่าง ๆ ที่จะน ามาใช้ในกระบวนการนิเทศ ได้แก่ 1) การตั้งเกณฑ์ในการเลือกใช้วิธีสอนและสื่อการสอน 2) การวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตการสอน 3) การสร้างและเขียนวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ที่ชัดเจน วัดได้ 4) การน างานวิจัยทางการศึกษามาใช้ในการนิเทศ 5) การพัฒนากระบวนการวัดและประเมินผลการสอน 6) การสาธิตการสอนและการฝึกปฏิบัติการสอน ๓. ทักษะทางการจัดการ (Managerial Skill) ทักษะทางการจัดการ เป็นความสามารถของผู้นิเทศที่จะท าให้เกิดความร่วมมือ ของบุคคลในการท างานร่วมกัน การสร้างความก้าวหน้าและการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน เพื่อเกิดผลผลิตและความสัมฤทธิ์ผลของงานตามจุดมุ่งหมายของโรงเรียน ทักษะการจัดการ ของผู้นิเทศในบทบาทหน้าที่ผู้นิเทศได้แก่ ทักษะการวางแผน การจัดสายงาน การจัดองค์การ การควบคุม และการตัดสินใจ ทักษะทางการจัดการที่น ามาใช้ในการนิเทศการศึกษา ได้แก่ 1) ความสามารถในการวิเคราะห์ความต้องการของสถานศึกษาและชุมชน 2) ประเมินค่าความต้องการของครูหรือผู้รับการนิเทศก่อนที่จะท าการนิเทศ 3) การเป็นผู้น าด้านการจัดการเรียนการสอน 4) การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมในการจัดการเรียนการสอนและการศึกษา 5) การวางแผนงานอย่างมีระบบ 6) ความสามารถในการมอบหมายงาน 7) การรู้จักใช้เวลาที่เหมาะสม 8) การจัดสรรทรัพยากรให้ทั่วถึง 9) การลดความเครียดในการท างาน
19 ๒. การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ความหมายของการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) คือ การเรียนที่เน้นให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับการเรียน การสอน กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดขั้นสูง (Higher-Order Thinking) ด้วยการวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินค่า ไม่เพียงแต่เป็นผู้ฟัง ผู้เรียนต้องอ่าน เขียน ตั้งค าถาม และถาม อภิปราย ร่วมกัน ผู้เรียนลงมือปฏิบัติจริง โดยต้องค านึงถึงความรู้เดิมและความต้องการของผู้เรียนเป็นส าคัญ ทั้งนี้เปลี่ยนบทบาทจากผู้รับความรู้ไปสู่การมีส่วนร่วมในการสร้างความรู้ (ส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2562: 4-5) ความหมายของการจัดการเรียนรู้เชิงรุก การจัดการเรียนรู้เชิงรุก คือ การออกแบบการเรียนรู้และการจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียน ปฏิบัติจริง สร้างองค์ความรู้ ผ่านการคิดขั้นสูง (Higher-Order Thinking) การได้ปฏิบัติงาน สร้างสรรค์งานและน าเสนองานด้วยตัวเอง (หน่วยศึกษานิเทศก์ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน. 2562: 7) ลักษณะของการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ลักษณะของการจัดการเรียนรู้เชิงรุก มีดังนี้ 1. เป็นการพัฒนาศักยภาพการคิด การแก้ปัญหา และการน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ 2. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดระบบการเรียนรู้ และสร้างองค์ความรู้โดยมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน ในรูปแบบของความร่วมมือมากกว่าการแข่งขัน 3. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้สูงสุด 4. เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูล ข่าวสาร สารสนเทศ สู่ทักษะการคิดวิเคราะห์ และประเมินค่า 5. ผู้เรียนได้เรียนรู้ความมีวินัยในการท างานร่วมกับผู้อื่น 6. ความรู้เกิดจากประสบการณ์ และการสรุปของผู้เรียน 7. ผู้สอนเป็นผู้อ านวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วยตนเอง จากลักษณะการเรียนรู้แบบ Active Learning ดังกล่าว จึงควรมีกระบวนการจัดการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกัน ดังนี้ 1. จัดการเรียนรู้ที่พัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแก้ปัญหาและการน าความรู้ ไปประยุกต์ใช้ 2. จัดการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้สูงสุด 3. จัดให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้และจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง 4. จัดให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ทั้งในด้านการสร้างองค์ความรู้ การสร้างปฏิสัมพันธ์ ร่วมกันสร้างความร่วมมือกันมากกว่าการแข่งขัน 5. จัดให้ผู้เรียนเรียนรู้เรื่องความรับผิดชอบร่วมกัน การมีวินัยในการท างานและการแบ่ง หน้าที่ความรับผิดชอบในภารกิจต่าง ๆ
20 6. จัดกระบวนการเรียนที่สร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนอ่าน พูด ฟัง คิดอย่างลุ่มลึก ผู้เรียน จะเป็นผู้จัดระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง 7. จัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิดขั้นสูง 8. จัดกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูล ข่าวสาร หรือสารสนเทศและหลักการ ความคิดรวบยอด 9. ผู้สอนจะเป็นผู้อ านวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วย 10. จัดกระบวนการสร้างความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ การสร้างองค์ความรู้และการสรุป ทบทวนของผู้เรียน ความส าคัญของการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) หน่วยศึกษานิเทศก์ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2562: 4-5) กล่าวถึง ความส าคัญของการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ดังนี้ 1. Active Learning ส่งเสริมการมีอิสระทางด้านความคิดและการกระท าของผู้เรียน การมีวิจารณญาณ และการคิดสร้างสรรค์ ผู้เรียนจะมีโอกาส มีส่วนร่วมในการปฏิบัติจริงและมีการใช้ วิจารณญาณในการคิดและตัดสินใจในการปฏิบัติกิจกรรมนั้น มุ่งสร้างให้ผู้เรียนเป็นผู้ก ากับทิศทาง การเรียนรู้ค้นหาสไตล์การเรียนรู้ของตนเอง สู่การเป็นผู้รู้คิด รู้ตัดสินใจด้วยตนเอง (Metacognition) เพราะฉะนั้น Active Learning จึงเป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา ความคิดขั้นสูง (Higher order thinking) ในการมีวิจารณญาณ การวิเคราะห์ การคิดแก้ปัญหา การประเมิน ตัดสินใจ และการสร้างสรรค์ 2. Active Leaning สนับสนุนส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือกันอย่างมีประสิทธิภ าพ ซึ่งความร่วมมือในการปฏิบัติงานกลุ่มจะน าไปสู่ความส าเร็จในภาพรวม 3. Active Learning ท าให้ผู้เรียนทุ่มเทในการเรียน จูงใจในการเรียน และท าให้ผู้เรียน แสดงออกถึงความรู้ความสามารถ เมื่อผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรมอย่างกระตือรือร้น ในสภาพแวดล้อมที่เอื้ออ านวย ผ่านการใช้กิจกรรมที่ครูจัดเตรียมไว้ให้อย่างหลากหลาย ผู้เรีย น เลือกเรียนรู้กิจกรรมต่าง ๆ ตามความสนใจและความถนัดของตนเอง เกิดความรับผิดชอบและทุ่มเท เพื่อมุ่งสู่ความส าเร็จ 4. Active Learning ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่ก่อให้เกิดการพัฒนาเชิงบวกทั้งตัวผู้เรียน และตัวครู เป็นการปรับการเรียนเปลี่ยนการสอน ผู้เรียนจะมีโอกาสได้เลือกใช้ความถนัด ความสนใจ ความสามารถที่เป็นความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different) สอดรับกับแนวคิด พหุปัญญา (Multiple Intelligence) เพื่อแสดงออกถึงตัวตนและศักยภาพของตัวเอง ส่วนครูผู้สอน ต้องมีค วามต ระหนักที่ จะป รับเป ลี่ยนบทบ าท แส วงห าวิธีก าร กิจกรร มที่ห ล ากห ล าย เพื่อช่วยเสริมสร้างศักยภาพของผู้เรียนแต่ละคน สิ่งเหล่านี้จะท าให้ครูเกิดทักษะในการสอน และมีความเชี่ยวชาญในบทบาท หน้าที่ที่รับผิดชอบ เป็นการพัฒนาตน พัฒนางาน และพัฒนาผู้เรียน ไปพร้อมกัน
21 ตัวอย่างรูปแบบ/เทคนิคการจัดการเรียนรู้ที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แบบ Active learning การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สามารถจัดได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับ วัตถุประสงค์ของกิจกรรมการเรียนรู้ เนื้อหา เวลา และจ านวนผู้เรียน ดังตัวอย่างต่อไปนี้ (วิทวัส ดวงภุมเมศ และวารีรัตน์ แก้วอุไร. 2560, เยาวเรศ ภักดีจิตร. 2557, มนธวัล สาทักรัมย์. 2565) 1. การเรียนรู้แบบแลกเปลี่ยนความคิด (Think-Pair-Share) คือการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ ที่ให้ผู้เรียนคิดเกี่ยวกับประเด็นที่ก าหนดแต่ละคน ประมาณ 2-3 นาที (Think) จากนั้นให้ แลกเปลี่ยนความคิดกับเพื่อนอีกคน ประมาณ 3-5 นาที(Pair) และน าเสนอความคิดเห็นต่อผู้เรียน ทั้งหมด (Share) 2. การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Collaborative learning group) คือ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ท างานร่วมกับผู้อื่น โดยจัดเป็นกลุ่มๆ ละ 3-6 คน 3. การเรียนรู้แบบทบทวนโดยผู้เรียน (Student-led review sessions) คือการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทบทวนความรู้และพิจารณาข้อสงสัยต่าง ๆ ในการปฏิบัติ กิจกรรมการเรียนรู้ โดยครูจะคอยช่วยเหลือกรณีที่มีปัญหา 4. การเรียนรู้แบบใช้เกม (Games) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้สอนน าเกมเข้า บูรณาการในการเรียนการสอน ซึ่งใช้ได้ทั้งขั้นการน าเข้าสู่บทเรียน การสอน การมอบหมายงาน และ หรือขั้นการประเมินผล 5. การเรียนรู้แบบวิเคราะห์วีดีโอ (Analysis or reactions to videos) คือการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ให้ผู้เรียนได้ดูวีดีโอ 5-20 นาที แล้วให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น หรือสะท้อน ความคิดเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู อาจโดยวิธีการพูดโต้ตอบกัน การเขียน หรือ การร่วมกันสรุปเป็นรายกลุ่ม 6. การเรียนรู้แบบผู้เรียนสร้างแบบทดสอบ (Student generated exam questions) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนสร้างแบบทดสอบจากสิ่งที่ได้เรียนรู้มาแล้ว 7. การเรียนรู้แบบกระบวนการวิจัย (Mini-research proposals or project) คือการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่อิงกระบวนการวิจัย โดยให้ผู้เรียนก าหนดหัวข้อที่ต้องการเรียนรู้ วางแผนการ เรียน เรียนรู้ตามแผน สรุป ความรู้หรือสร้างผลงาน และสะท้อนความคิดในสิ่งที่ได้เรียนรู้ หรืออาจ เรียกว่าการสอนแบบโครงงาน (Project based learning) หรือ การสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based learning) 8. การเรียนรู้แบบกรณีศึกษา (Analyze case studies) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ให้ผู้เรียนได้อ่านกรณีตัวอย่างที่ต้องการศึกษา จากนั้นให้ผู้เรียนวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือแนวทางแก้ปัญหาภายในกลุ่ม แล้วน าเสนอความคิดเห็นต่อผู้เรียนทั้งหมด 9. การเรียนรู้แบบแผนผังความคิด (Concept mapping) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ให้ผู้เรียน ออกแบบแผนผังความคิด เพื่อน าเสนอความคิดรวบยอด และความเชื่อมโยงกันของกรอบ ความคิด โดยการใช้เส้นเป็นตัวเชื่อมโยง อาจจัดท าเป็นรายบุคคลหรืองานกลุ่ม แล้วน าเสนอผลงานต่อ ผู้เรียนอื่นๆ จากนั้นเปิด โอกาสให้ผู้เรียนคนอื่นได้ซักถามและแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม 9. รูปแบบวงจรการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน (5E Learning Cycle Model) เป็นรูปแบบการ สอนที่น่าสนใจ และสามารถใช้ได้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีขั้นตอนดังนี้ (พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และ พเยาว์ ยินดีสุข. 2562)
22 9.1 ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) เป็นขั้นกระตุ้นให้นักเรียนมีแรงจูงใจ ในการสร้างบทเรียน โดยการใช้ค าถามของครูและนักเรียนเป็นผู้ระบุปัญหาที่สนใจศึกษา 9.2 ขั้นส ารวจและค้นหา (Exploration) เป็นขั้นที่นักเรียนต้องก าหนดแนวทาง ในการรวบรวมข้อมูล เพื่อตั้งสมมติฐานโดยจินตนาการวิธีแก้ปัญหา แล้วเลือกวิธีแก้ปัญหาที่ดีที่สุด เพื่อหาแนวทางแก้ไข 9.3 ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) เป็นขั้นที่นักเรียนน าข้อมูลจากการ ส ารวจ การวิเคราะห์ แปลผล สรุปผล และน าเสนอผลที่ได้ โดยนักเรียนจะสร้างสรรค์ผลผลิตตาม ขั้นตอนที่วางแผนไว้ท าให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครูกับนักเรียน และนักเรียนกับนักเรียน ด้วยกัน 9.4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) เป็นขั้นที่นักเรียนน าความรู้ที่ได้ไปใช้เชื่อมโยงกับ ความรู้เดิม หรือน าแนวคิดที่ได้ค้นคว้าเพิ่มเติมไปอธิบายเหตุการณ์ที่ท าให้เกิดความรู้ที่กว้างขวางขึ้น โดยนักเรียนจะสร้างสรรค์ผลผลิตตามขั้นตอนที่ได้วางแผนไว้ 9.5 ขั้นประมวลผล (Evaluation) เป็นขั้นสุดท้าย โดยนักเรียนจะประเมินการเรียนรู้ ในด้านกระบวนการปฏิบัติและผลงาน ซึ่งนักเรียนต้องปรับปรุงกระบวนการออกแบบขั้นตอน การปฏิบัติจนถึงผลงานของกลุ่ม แล้วอาจอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ซึ่งอาจเกิดปัญหาใหม่ ที่สามารถน าไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้ นอกจากนี้ มีเทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning สามารถสร้างให้เกิดขึ้นได้ทั้ง ในห้องเรียนและนอกห้องเรียน รวมทั้งสามารถใช้ได้กับนักเรียนทุกระดับ ทั้งการเรียนรู้เป็นรายบุคคล การเรียนรู้แบบกลุ่มเล็ก และการเรียนรู้แบบกลุ่มใหญ่ ครอบคลุมวิธีการจัดการเรียนรู้หลากหลายวิธี เช่น 1. การเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning) 2. การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ (Experiential Learning) 3. การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) 4. การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) 5. การเรียนรู้ที่เน้นทักษะกระบวนการคิด (Thinking Based Learning) 6. การเรียนรู้จากการสืบค้น (Inquiry-Based Learning) การพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ก าหนดเป้าหมาย ในการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ (ส านักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. 2565) 1. ผลผลิตที่เกิดจากการเรียนรู้ (Output) ได้แก่ มาตรฐานและตัวชี้วัดของแต่ละกลุ่มสาระ การเรียนรู้ 2. ผลลัพ ธ์ที่เกิดจ ากก ารเรียน รู้ (Outcomes) ได้แก่ สมรรถน ะที่ จ าเป็น 5 ด้ าน โดยมีรายละเอียดดังนี้
23 1) มาตรฐานและตัวชี้วัดของกลุ่มสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายส าคัญของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน จะระบุสิ่งที่ ผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน สะท้อนให้ทราบว่า ต้องการอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร ตัวชี้วัด เป็นพฤติกรรมย่อย ๆ ที่มาจากมาตรฐานการเรียนรู้ ระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรู้ และปฏิบัติได้มีความเฉพาะเจาะจงเป็นรูปธรรม น าไปใช้ในการก าหนดเนื้อหา จัดท าหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์ส าคัญส าหรับการวัดประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน ตัวชี้วัดแต่ละตัวจะมีลักษณะของพฤติกรรมแตกต่างกันตามทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ สามารถแบ่งได้ออกเป็น 3 กลุ่มพฤติกรรม ดังนี้ 1.1 ตัวชี้วัดด้านความรู้ (Knowledge: K) เป็นพฤติกรรมด้านสติปัญญาที่สมอง ต้องประมวลผลหรือท างานก่อนถึงจะแสดงพฤติกรรมเหล่านี้ออกมา เช่น ระดับพฤติกรรมด้าน สติปัญญาของบลูม (ปรับปรุงใหม่) แบ่งเป็น 6 ระดับ คือ 1) ความรู้ความจ า 2) ความเข้าใจ 3) น าไปใช้ 4) วิเคราะห์ 5) ประเมินค่า และ 6) สร้างสรรค์ 1.2 ตัวชี้วัดด้านทักษะกระบวนการ (Skill: S) เป็นพฤติกรรมด้านกายภาพของ ผู้เรียนที่ต้องใช้อวัยวะหลายส่วนท างานร่วมกันอย่างเป็นระบบและเป็นขั้นตอน เช่น ระดับพฤติกรรม ด้านทักษะของบลูม แบ่งเป็น 6 ระดับ คือ 1) การรับรู้2) กระท าตามแบบหรือเครื่องชี้แนะ 3) การ หาความถูกต้อง 4) การกระท าอย่างต่อเนื่อง และ 6) การกระท าได้อย่างเป็นธรรมชาติเป็นต้น 1.3 ตัวชี้วัดด้านคุณลักษณะ (Attribute: A) เป็นพฤติกรรมด้านคุณลักษณะ เชิงคุณธรรมจริยธรรมที่แฝงอยู่ในร่างกายของคนเรา รวมทั้งค่านิยม เจตคติเช่น ระดับพฤติกรรมด้าน จิตพิสัยของบลูม แบ่งเป็น 5 ระดับ คือ 1) การรับรู้2) การตอบสนอง 3) การเกิดค่านิยม 4) การจัดระบบ 5) เกิดเป็นบุคลิกภาพ สมรรถนะ สมรรถนะเป็นความสามารถของบุคคลในการใช้ความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณลักษณะต่าง ๆ ที่ตนมีในการท างาน หรือการแก้ปัญหาต่าง ๆ จนประสบความส าเร็จในระดับใดระดับหนึ่ง ซึ่งสมรรถนะสามารถวัดและประเมินผลได้ (ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 2562) สอดคล้อง กับนิยามความหมายที่องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organization for Economic Co-operation and Development (OECD)) ดังภาพประกอบ 2
24 ภาพที่ 2 ทักษะและการศึกษาแห่งอนาคต: การศึกษา 2030 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราชการ 2551 ได้ก าหนดสมรรถนะที่เป็น ผลลัพธ์ที่เกิดจากการเรียนรู้ไว้ 5 สมรรถนะ ได้แก่ 2.1 ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรม ในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยน ข้อมูลข่าวสาร และประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจา ต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผล และความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภ าพโดยค านึงผลกระทบ ที่มีต่อตนเองและสังคม 2.2 ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อน าไปสู่การสร้างองค์ ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 2.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาและมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยค านึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 2.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการน ากระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการด าเนินชีวิตประจ าวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การท างาน และ การอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและ ความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและ สภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
25 2.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยี ด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการ เรียนรู้ การสื่อสาร การท างาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้องเหมาะสม และมีคุณธรรม การวัดและประเมินผลตามมาตรฐานและตัวชี้วัดในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ 1) การวัดและประเมินผลตัวชี้วัดด้านความรู้ (Knowledge: K) เครื่องมือวัดพฤติกรรมด้านความรู้ (Knowledge: K) ในการวัดพฤติกรรมด้านสติปัญญา ได้แก่ แบบทดสอบ ซึ่งมี 2 แบบ คือ ข้อสอบแบบเลือกตอบ และข้อสอบแบบเขียนสอบ โดยข้อสอบ ทั้งสองรูปแบบมีทั้งข้อดีและข้อจ ากัดที่แตกต่างกัน เพื่อใช้วัดพฤติกรรมด้านสติปัญญาในระดับความรู้ ความจ า ความเข้าใจ การน าไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมินค่า และการสร้างสรรค์ ดังภาพประกอบ 3 ภาพที่ 3 ทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม 2) การวัดและประเมินผลตัวชี้วัดด้านทักษะกระบวนการ (Skill: S) การวัดและประเมินผลด้านทักษะกระบวนการ เป็นการประเมินการปฏิบัติของผู้เรียน โดยก าหนดประเด็นพิจารณาและเกณฑ์ในการตรวจให้คะแนนของงานแต่ละชิ้น เช่น การวางแผน การลงมือปฏิบัติ หรือกระบวนการท างาน ผลผลิต และคุณลักษณะของผู้เรียน การประเมินด้านทักษะกระบวนการ (Skill) ตัวอย่างเครื่องมือประเมิน 1. แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) 2. แบบมาตรประมาณค่า (Rating Scale) 3. แบบประเมินการปฏิบัติ 4. แบบบันทึกพฤติกรรม
26 3) การวัดและประเมินผลตัวชี้วัดด้านคุณลักษณะ (Attribute: A) คุณลักษณะเป็นพฤติกรรมที่แฝงอยู่ร่างกายของเด็ก มีธรรมชาติของการวัดและประเมิน ดังต่อไปนี้ - การวัดคุณลักษณะเป็นการวัดทางอ้อม ไม่สามารถวัดได้โดยตรงจากประสาทสัมผัส ทั้ง 5 จ าเป็นต้องวัดทางอ้อม โดยอาศัยการสังเกตพฤติกรรมทางกายและวาจาที่เราคาดว่าเป็นผล สะท้อนให้เห็นถึงอารมณ์และความรู้สึก - คุณลักษณะมีลักษณะเป็นนามธรรม ไม่สามารถสังเกตได้โดยตรง ท าให้เกิด ความล าบากในการอธิบายในแง่ของปริมาณและคุณภาพ จึงต้องมีการพัฒนาเทคนิควิธีในการวัดผล และประเมินผล - การวัดมีความคลาดเคลื่อนได้ง่าย เนื่องจากอารมณ์หรือความรู้สึกอาจเปลี่ยนแปลงได้ ตามสถานการณ์ เงื่อนไข วุฒิภาวะ และประสบการณ์ของผู้ที่ถูกวัด การวัดคุณลักษณะ จึงต้องการ เครื่องมือที่มีความเชื่อมั่นสูง - การวัดคุณลักษณะไม่มีถูกผิดเหมือนข้อสอบที่ใช้ในการวัดความสามารถทางด้านสมอง ค าตอบของผู้ที่ถูกวัดเพียงแต่บอกให้ทราบว่า ถ้าผู้ถูกวัดได้ประสบกับเหตุการณ์ หรือสถานการณ์ อย่างหนึ่งอย่างใดตามที่ก าหนดให้ เขาจะตัดสินใจเลือกกระท าอย่างไร สิ่งที่เขาเลือกกระท าจะเป็น เพียงตัวแทนของความคิดความเชื่อในสิ่งที่คิดว่าเขาพร้อมที่จะประพฤติปฏิบัติเท่านั้น - แหล่งข้อมูลในการวัดสามารถวัดได้จากหลายฝ่าย ได้แก่ จากบุคคลที่เราต้องการวัด จากบุคคลผู้ใกล้ชิด และจากการสังเกตของผู้วัดเอง ซึ่งพฤติกรรมแสดงออกของบุคคลนั้น อาจไม่ใช่ คุณลักษณะที่แท้จริงของเขาก็เป็นได้การแสดงพฤติกรรมของเขาอาจมีสาเหตุเบื้องหลังแอบแฝงอยู่ อาจท าเพื่อหวังผลประโยชน์ - การวัดต้องใช้สถานการณ์จ าลอง เป็นเงื่อนไขให้ผู้ถูกวัดตอบข้อค าถามหรือแสดง พฤติกรรม ขั้นตอนในการประเมินตัวชี้วัดด้านคุณลักษณะ สามารถด าเนินการ ดังนี้ 1) ศึกษาความหมายหรือนิยามเชิงปฏิบัติการของตัวชี้วัดที่เป็นคุณลักษณะที่ต้องการวัด 2) จ าแนกพฤติกรรมบ่งชี้ จากนิยามเชิงปฏิบัติการของของตัวชี้วัดที่เป็นคุณลักษณะ 3) ก าหนดวิธีการและรูปแบบเครื่องมือในการประเมินตัวชี้วัดที่เป็นคุณลักษณะ 4) น าพฤติกรรมบ่งชี้เป็นรายการในการเก็บรวบรวมข้อมูลของเครื่องมือประเภทต่าง ๆ 5) ก าหนดเกณฑ์ในการตัดสินการผ่าน/ไม่ผ่านของตัวชี้วัด 6) ด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล 7) น าผลที่ได้ไปเทียบกับเกณฑ์การตัดสินและน าผลการการตัดสินผ่าน/ไม่ผ่านของ ตัวชี้วัด
27 การวัดและประเมินสมรรถนะผู้เรียน การประเมินสมรรถนะผู้เรียน เป็นการประเมินความสามารถของผู้เรียนในการใช้ความรู้ ทักษะ เจตคติและคุณลักษณะในการปฏิบัติงานหรือการแก้ปัญหาจนประสบผลส าเร็จบรรลุ ตามเป้าหมาย โดยมีหลักการประเมินสมรรถนะ ดังนี้ 1) เป็นการประเมินเพื่อการพัฒนาและการตัดสินผลการเรียน ที่ให้ความส าคัญกับการน าผล การประเมินไปพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้เต็มตามศักยภาพ 2) เป็นการประเมินแบบบูรณาการหรือแบบองค์รวม ที่เป็นการพิจารณาคุณภาพของผู้เรียน ที่ครอบคลุมทั้งในด้านความรู้ ทักษะ เจตคติและคุณลักษณะของผู้เรียน ซึ่งสามารถพิจารณาได้จาก ข้อมูลหลายแหล่ง ทั้งการประเมินผลงานการปฏิบัติงาน การแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ การร่วมกิจกรรม/โครงงาน ที่สะท้อนสมรรถนะของผู้เรียน 3) เป็นการประเมินที่ต้องใช้วิธีการที่หลากหลายที่มีความเที่ยงตรง ยุติธรรม เชื่อมั่นได้ สอดคล้องตามสภาพปัจจุบันที่เป็นจริง และมีข้อมูลสารสนเทศเพียงพอต่อการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน และการตัดสินใจ 4) เป็นการประเมินที่เน้นหลักแห่งกัลยาณมิตร (friendly) ที่ช่วยเสริมสร้างพลังบวกให้แก่ ผู้เรียน โดยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการออกแบบและท าการประเมิน รวมทั้งได้รับทราบ ถึงผลการประเมินและแนวทางในการพัฒนาตนเองให้มีสมรรถนะที่สูงขึ้น
28 3. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (PLC) P : Professional Learning Community (PLC) จากการสังเคราะห์เอกสารการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา (ส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2560: 4 - 49) เอกสารที่เกี่ยวข้องกับชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ (พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข. 2561ก: 338-345, 2561ข: 127-175) และเอกสารที่เกี่ยวข้องของส านักงานเลขาธิการคุรุสภา (สมศักดิ์ ดลประสิทธิ์. 2561: 10 - 15, ไพฑูรย์ สินลารัตน์. 2561: 16 - 25, สุวิมล ว่องวาณิช. 2561: 26 - 40) สามารถสรุป เป็นแนวทางการด าเนินการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาพัทลุง เขต 1 ได้ดังนี้ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) คือ การรวมกลุ่มของบุคคล ได้แก่ ครูผู้สอน สถานศึกษา บุคลากรทางการศึกษา ในการพัฒนาการ เรียนรู้จากการปฏิบัติแลกเปลี ่ยนเรียนรู้ และสะท้อนคิดอย ่างต ่อเนื ่อง โดยมีเป้าหมาย เพื่อพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนและคุณภาพการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นส าคัญ ซึ่งส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 1 ได้ก าหนดการน ารูปแบบ PLC ไปใช้ ในสถานศึกษา 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) สร้างความตระหนัก (Realize) 2) สร้างทีมและแนวทาง (Form Team & Team Procedure) 3) สร้างการเรียนรู้ (Do & See) 4) สะท้อนผลการเรียนรู้ (Reflect) และ 5) ปรับปรุงใหม่ (Redesign) โดยบันทึกลงในแบบ PLC-2, PLC-3, PLC-4, และ PLC-R หลักการของแนวคิด PLC มีหลักในการด าเนินการ ดังนี้ 1. เป็นวัฒนธรรมการท างานแบบรวมตัว ร่วมใจ ร่วมพลัง และร่วมเรียนรู้ 2. มีเป้าหมายเพื่อการเรียนรู้ของนักเรียน ที่เกิดจากครูร่วมกันเรียนรู้เพื่อหาแนวทาง พัฒนา 3. เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง มีการปรับปรุงพัฒนาต่อเนื่อง 4. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิพากษ์ สะท้อนการพัฒนา ความส าคัญของการ PLC การด าเนินการ PLC ในสถานศึกษาและส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 1 ควรมีกระบวนการที่ชัดเจนและเป็นระบบ โดยมีความส าคัญกับครูผู้สอน และบุคลากร ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ดังนี้ 1. ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสะท้อนคิดอย่างต่อเนื่อง ในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ ของครูผู้สอนและคุณภาพการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นส าคัญ 2. เป็นตัวชี้วัดที่ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาต้องด าเนินการตามมาตรฐานส านักงานเขต พื้นที่การศึกษาและตามนโยบายของต้นสังกัด 3. ครูผู้สอนสามารถน าไปใช้ประโยชน์ในการขอมีวิทยฐานะหรือเลื่อนวิทยฐานะ ตามเกณฑ์ว 21/2560
29 ขั้นตอนการน ารูปแบบ PLC ไปใช้ในสถานศึกษา ตามกระบวนการ 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1. สร้างความตระหนัก (Realize) เพื่อให้ตระหนักถึงความส าคัญ ในประเด็นดังต่อไปนี้ 1) สร้างการรับรู้ร่วมกันเกี่ยวกับแนวทาง PLC เพื่อแก้ปัญหาการจัดการจัดการเรียนรู้ 2) วิเคราะห์ผลการเรียนรู้ เช่น หลักสูตร กลุ่มสาระการเรียนรู้ ฯลฯ 3) ก าหนดเป้าหมายร่วมกัน แนวทางการด าเนินงาน 1) ประชุม/สนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีร่องรอยหลักฐานในการด าเนินการ เช่น บันทึก การประชุม เป็นต้น 2) จัดท าแผนการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ในสถานศึกษา 3) จัดท าค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ของสถานศึกษา หลักฐาน/ร่องรอยการด าเนินการ 1) บันทึกการประชุม 2) แผนการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ในสถานศึกษา 3) ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ของสถานศึกษา 2. สร้างทีมและแนวทาง (Team Forming & Team Proceeding) 2.1 สร้างทีมเรียนรู้ (Team Forming) ทีมเรียนรู้คือ การรวมกลุ่มคนตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป (ไม่ควรเกิน 8 คน) ที่มี วัตถุประสงค์/ปัญหาเดียวกัน เช่น ทีมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน ทีมครูที่สอนในระดับชั้น เดียวกัน ทีมผู้บริหาร เป็นต้น เพื่อก าหนดแนวทางการแก้ปัญหา/พัฒนาร่วมกัน ซึ่งแต่ละทีมควร ประกอบด้วยบุคคลอย่างน้อย 3 ฝ่าย ดังนี้ 1) ครูผู้สอน (Model Teacher) 2) ครูร่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 3) ผู้เชี่ยวชาญ (Expert) เช่น หัวหน้ ากลุ่มสาระ/ฝ่ายวิชาการ ผู้บริหาร สถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ ผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก อาจารย์จากมหาวิทยาลัย เป็นต้น แนวทางการด าเนินงาน 1) หาทีมที่มีวัตถุประสงค์/ปัญหาเดียวกัน มี 3 ฝ่าย ตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป 2) จัดท าบันทึกการขอจัดตั้งกลุ่มชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) หลักฐาน/ร่องรอยการด าเนินการ บันทึกการขอจัดตั้งกลุ่มชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) 2.2 สร้างแนวทาง (Team Procedure) โดยทีมเรียนรู้ด าเนินการสร้างแนวทางดังนี้ 2.2.1 วิเคราะห์สภาพปัญหา (Analyze) คือ ค้นหาปัญหา/ความต้องการ ของทีมเรียนรู้
30 แนวทางการด าเนินงาน 1) พิจารณาเลือกประเด็นที่มีความส าคัญเร่งด่วนเพื ่อจะด าเนินการ แก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning 2) ร่วมกันเสนอปัญหา/ประเด็นที่ต้องการพัฒนา ที่เกี่ยวข้อง จากประเด็นที่ทีมร่วมกันเลือก อย่างน้อยคนละ 1 ปัญหา โดยเน้นที่การเรียนรู้ของนักเรียนเป็นส าคัญ และควรมีข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ตัวอย่างค าถามในการสนทนาเพื่อค้นหาปัญหา ดังนี้ การสนทนาเพื่อค้นหาปัญหาเกี่ยวกับการเรียนรู้ของนักเรียน เช่น นักเรียนมีปัญหาในการเรียนรู้จากหัวข้อที่ทีมเลือกอย่างไร นักเรียนมีความจ าเป็นต้องได้รับการพัฒนาในเรื่องใดที่เกี่ยวกับ หัวข้อที่ทีมเลือก นักเรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนรู้อย่างไร การสนทนาเพื่อค้นหาปัญหาเกี่ยวกับการเลือกวิธีการจัดการเรียนรู้เช่น ต้องปรับเนื้อหาหรือกิจกรรมเพื่อนักเรียนที่มีความแตกต่าง ระหว่างบุคคลหรือไม่ อย่างไร สิ่งที่จะสร้างเพื่อจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนเหมาะสมหรือไม่ เทคนิควิธีที่พัฒนาขึ้นท าให้นักเรียนได้เรียนรู้ดีขึ้นหรือไม่ วิธีการวัดประเมินผลมีประสิทธิผลหรือไม่ 2.2.2 ออกแบบแนวทางการแก้ปัญหา (Procedure) คือ การร่วมกันหา แนวทาง/ออกแบบการแก้ปัญหา แนวทางการด าเนินงาน 1) ร่วมกันเสนอแนวทางการแก้ปัญหาจากปัญหาที ่เลือกไว้แล้ว อย่างน้อยคนละ 1 แนวทาง โดยอาจใช้วิธีการดังนี้ (1) จากเรื่องเล่าเร้าพลัง/บอกเล่าประสบการณ์ที่แก้ปัญหาได้ส าเร็จ (2) ค้นหาตัวอย่าง/รูปแบบที่ประสบความส าเร็จ (3) ถามผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ที่มีประสบการณ์ให้ข้อเสนอแนะ 2) ตัดสินใจเลือกแนวทาง/รูปแบบ/วิธีการ/นวัตกรรมในการแก้ปัญหา ตัวอย่าง วิธีการ/นวัตกรรมในการแก้ปัญหา เช่น เทคนิคการสอน ต่างๆ โดยเน้นการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) การสังเกตการณ์ การเยี่ยมชั้นเรียน 3) ออกแบบแนวทางการแก้ปัญหา โดยเขียนรายละเอียดที ่จะ ด าเนินการเพื่อตอบค าถาม ดังนี้ ท าอะไร (What) เพื่อตอบวัตถุประสงค์การด าเนินการ ท ากับใคร (Who) เพื่อก าหนดบุคคล เช่น ระดับชั้น จ านวน นักเรียน ท าเมื่อไหร่ (When) เพื่อก าหนดเวลาการด าเนินการ
31 ท าอย่างไร (How to) เพื่อออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้บรรลุ เป้าหมาย เช่น กิจกรรม รายละเอียดวิธีการด าเนินการ เครื่องมือ เป็นต้น 4) เขียนแผนการจัดการเรียนรู้และเตรียมสื่อต่าง ๆ หลักฐาน/ร่องรอยการด าเนินการ 1) แบบตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้ 2) แผนการจัดการเรียนรู้/สื่อการเรียนรู้ 3. สร้างการเรียนรู้ (Do & See) ทีมเรียนรู้น าแนวทางที่ทีมก าหนดร่วมกันไปใช้แก้ปัญหา/พัฒนา เช่น การศึกษาชั้นเรียน การสังเกตการจัดการเรียนรู้ การเยี่ยมชั้นเรียน เป็นต้น แนวทางการด าเนินงาน 1) ปฏิบัติการจัดการเรียนรู้/ทีม PLC ร่วมสังเกตการณ์ 2) บันทึกผลหลังสอน/บันทึกการสังเกตการณ์จัดการเรียนรู้ หลักฐาน/ร่องรอยการด าเนินการ 1) แบบการสังเกตการจัดการเรียนรู้ แบบประเมินพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ 2) แบบบันทึกหลังสอน 4. สะท้อนผลการเรียนรู้ (Reflect) ทีมเรียนรู้น าผลจากการเรียนรู้ร่วมกันมาสะท้อนผล แนวทางการด าเนินงาน 1) ร่วมสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้/สังเกตการณ์ 2) สรุปผลการสะท้อน 3) เสนอแนะแนวทางการปรับปรุง/พัฒนา หลักฐาน/ร่องรอยการด าเนินการ 1) แบบ PLC สะท้อน (Reflect & Redesign) 2) ผลการสะท้อนผลและปรับปรุงพัฒนา 5. ปรับปรุงใหม่ (Redesign) น าผลการสะท้อนผลการเรียนรู้มาปรับปรุงใหม่/พัฒนา/สร้างสรรค์ต่อยอด ในการ PLC วงรอบต่อไป แนวทางการด าเนินงาน 1) น าผลการสะท้อนผลการเรียนรู้มาปรับปรุงใหม่/พัฒนา/สร้างสรรค์ต่อยอด 2) น าผลการปรับปรุงเสนอในการ PLC วงรอบต่อไป หลักฐาน/ร่องรอยการด าเนินการ แบบบันทึกการปรับปรุงใหม่/พัฒนา/สร้างสรรค์ต่อยอด (ที่สถานศึกษาอาจก าหนดขึ้นเอง) เครื่องมือที่ใช้ด าเนินการ PLC ของสถานศึกษานั้น ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต
32 1 ได้สร้างเครื่องมือเป็นแนวทางในส่วนที่ 4 ของเอกสารเล่มนี้ สถานศึกษาอาจปรับประยุกต์ใช้ตาม บริบทของสถานศึกษา จากรายละเอียดขั้นตอนการด าเนินการดังกล่าว สามารถสรุปเป็น Flow Chart ขั้นตอนการน ารูปแบบ PLC ไปใช้ในสถานศึกษา ดังภาพที่ 4 ภาพที่ 4 Flow Chart ขั้นตอนการน ารูปแบบ PLC ไปใช้ในสถานศึกษา วิธีการ/นวัตกรรม สร้างแนวทาง ค้นหาปัญหา/ความต้องการของทีม PLC สร้างความตระหนัก สร้างทีม PLC ออกแบบแนวทางการจัดการเรียนรู้ แลกเปลี่ยน/เสนอแนะ สร้างการเรียนรู้ ปรับปรุงใหม่ สะท้อนผลการเรียนรู้ ไม่บรรลุผล เผยแพร่ นวัตกรรม/Best Practices บรรลุผล
33 4. แนวทางการจัดท าผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) แนวทางการจัดท าผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ซึ่งส านักงาน นวัตกรรมการจัดการศึกษา ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กล่าวไว้ ดังนี้ (แนวทางการด าเนินกิจกรรมถอดบทเรียน (Best Practice) : 2-8) นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง แนวคิด การปฏิบัติ รวมถึงสิ่งใหม่ ทั้งที่เป็นรูปธรรม และนามธรรม ซึ่งแต่ละบุคคลหรือแต่ละสังคมพิจารณาว่า คือ สิ่งที่ท าให้เกิดการปฏิบัติใหม่และเป็น สาเหตุที่ท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อสิ่งที่มีอยู่เดิม และเกิดการเปลี่ยนแปลงในแง่ที่ท าให้เกิด การพัฒนาขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ ผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) หมายถึง วิธีการท างานที่ดีที่สุดในแต่ละเรื่อง ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ในทุกงาน/หน่วยงาน เกิดจากหลายช่องทาง ทั้งตัวผู้น า ผู้ร่วมงาน ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย หรือภาวะปัญหาและการริเริ่มสร้างสรรค์พัฒนาที่มีขั้นตอน ในหน่วยงานทางการศึกษา อาจจะมี Best Practice อยู่แล้ว ทั้งด้านบริหาร ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านคุณภาพ หรือ ด้านอื่น การจะพิจารณาว่าเป็นวิธีปฏิบัติที่ดีหรือไม่มีข้อควรค านึง เช่น ภารกิจที่แท้จริง การลดเวลา ค่าใช้จ่าย ได้ผลผลิตเท่าเดิมหรือเพิ่มขึ้น ใช้เป็นมาตรฐานการปฏิบัติ เกิดความพึงพอใจของ ผู้รับบริการ มีการบันทึกเขียนรายงาน เพื่อการศึกษาพัฒนาและเผยแพร่ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการ บริหารจัดการ การเรียนการสอน และอาจน าไปสู่การตอบแทนหรือให้รางวัลในลักษณะต่าง ๆได้ รายละเอียดขั้นตอนการจัดท าผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) เกิดจากความต้องการของครูผู้สอน ที่จะปรับปรุงแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาการเรียนการสอน ผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบโครงการต้องการ ปรับปรุง พัฒนาการขับเคลื่อนโครงการให้มีคุณภาพ และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยมีขั้นตอน ในการจัดท าผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) แต่ละขั้นตอนมี ดังนี้ ขั้นตอนที่ ๑ : การก าหนดวัตถุประสงค์ในการจัดท าผลงาน/นวัตกรรม เมื่อระบุปัญหาได้ชัดเจนแล้ว สิ่งส าคัญที่ต้องด าเนินการ คือ ต้องก าหนดวัตถุประสงค์ในการ จัดท าผลงาน/นวัตกรรมให้ชัดเจนและต้องเป็นวัตถุประสงค์ที่เป็นไปได้เพราะหากไม่มีการก าหนด วัตถุประสงค์ ของการจัดท าผลงาน/นวัตกรรมไว้จะท าให้ขาดทิศทางในการด าเนินงานและ การประเมินผลส าเร็จของผลงาน/นวัตกรรม ขั้นตอนที่ ๒ : การศึกษาค้นคว้าเพื่อก าหนดกรอบแนวคิดในการจัดท าผลงาน/นวัตกรรม เป็นขั้นที่จะก าหนดกรอบแนวคิดของกระบวนการในการจัดท าผลงาน/นวัตกรรม ที่จะจัดท า ขึ้นโดยจ าเป็นต้องศึกษาค้นคว้าหลักวิชา แนวคิด ทฤษฎี ศึกษาวิธีสอน และผลงานการวิจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องตรงกับวัตถุประสงค์ในการจัดท าผลงาน/นวัตกรรม ที่ก าหนดไว้แล้วน ามาผสมผสานกับ ความคิดและประสบการณ์ของตนเอง เพื่อสร้างเป็นต้นแบบของผลงาน/นวัตกรรมที่จะน ามาใช้ แก้ปัญหาหรือก่อนตัดสินใจเลือกใช้นวัตกรรมอะไรควรต้องมีการศึกษาค้นคว้าเป็นอย่างดีมาก่อนและ มีข้อสังเกตเกี่ยวกับประเด็นนี้ ๓ ข้อ คือ ๑. นวัตกรรมที่เหมาะสม คือนวัตกรรมที่สามารถถอดหรือแก้ปัญหาของนักเรียนได้อย่าง แท้จริง โดยสามารถพิสูจน์ได้จากการตรวจสอบว่าเมื่อน ามาใช้แล้วช่วยท าให้บรรลุวัตถุประสงค์ ที่ต้องการได้
34 ๒. นวัตกรรมต้องมีความส าคัญและมีคุณประโยชน์การพิจารณ าความส าคัญและ คุณประโยชน์ของนวัตกรรมให้ดูที่เหตุผลความจ าเป็นของปัญหา ถ้ามีข้อมูลแสดงว่าผลการ ด าเนินงาน/นักเรียน ส่วนใหญ่มีความบกพร่องในวัตถุประสงค์นี้ และมีผลกระทบร้ายแรง ต่อการด าเนินงาน/การเรียนรู้ของผู้เรียน ก็เห็นควรสนับสนุนว่าสมควรสร้างนวัตกรรมนั้นได้ ๓. ก่อนตัดสินใจเลือกใช้นวัตกรรม ควรศึกษาคุณลักษณะหรือเงื่อนไขของนวัตกรรมประเภท นั้น ลักษณะเนื้อหาวิชาที่ใช้นวัตกรรม ทฤษฎีและหลักการที่เกี่ยวข้อง รวมถึงตัวอย่างการใช้นวัตกรรม ของคนอื่น ๆ ที่ผ่านมา ขั้นตอนที่ ๓ : การสร้างต้นแบบของผลงาน/นวัตกรรม เมื่อตัดสินใจได้ว่าจะเลือกจัดท าผลงาน/นวัตกรรมชนิดใด ครูผู้บริหารโรงเรียน ผู้รับผิดชอบ ต้องศึกษาวิธีการจัดท านวัตกรรมชนิดนั้น ๆ อย่างละเอียด เช่น การพัฒนาการจัดท าบทเรียนส าเร็จรูป เรื่องเลขยกก าลังวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เป็นต้น ต้องศึกษาค้นคว้าวิธีการจัดท า บทเรียนส าเร็จรูปว่ามีวิธีการจัดท าอย่างไร จากเอกสารต าราที่เกี่ยวข้อง แล้วจัดท าต้นแบบบทเรียน ส าเร็จรูปให้สมบูรณ์ ตามข้อก าหนดของวิธีการท าบทเรียนส าเร็จรูป และต้นแบบของนวัตกรรมที่ดี ควรมีองค์ประกอบย่อย ๆ ดังนี้ ๑. ชื่อผลงาน/นวัตกรรม ๒. วัตถุประสงค์ของการใช้ผลงาน/นวัตกรรม ๓. ทฤษฎีหรือหลักการที่ใช้ในการสร้างผลงาน/นวัตกรรม ๔. ส่วนประกอบของผลงาน/นวัตกรรม ๕. ลักษณะทางเทคนิค ๖. แนวการใช้ผลงาน/นวัตกรรม ขั้นตอนที่ ๔ : ตรวจสอบเพื่อปรับปรุงคุณภาพของผลงาน/นวัตกรรมต้นแบบ การตรวจสอบต้นแบบของผลงาน/นวัตกรรมที่จัดสร้างขึ้นเสร็จแล้วจะด าเนินการ ๒ ลักษณะ คือ การตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญและการตรวจสอบโดยการทดลองใช้กับนักเรียนครูและบุคลากร ทางการศึกษา ขั้นตอนที่ ๕ : น าผลงาน/นวัตกรรมไปใช้ เป็นการน าผลงาน/นวัตกรรมไปใช้เพื่อพัฒนาคุณลักษณะของนักเรียน ครูและบุคลากร ทางการศึกษาที่ก าหนดไว้ไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง/ประชากร โดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงทดลองแบบใด แบบหนึ่ง แต่หากเป็นไปได้ควรเป็นการวิจัยทดลองเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม การน าไปใช้ในขั้นนี้เป็นการน าไปใช้เพื่อพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียนครูและบุคลากร ทางการศึกษา โดยใช้นวัตกรรมที่สร้างขึ้น จึงจ าเป็นต้องใช้รูปแบบการทดลองที่มีการควบคุมอย่าง รัดกุม เพื่อดูผลสัมฤทธิ์ผลของนวัตกรรมในการพัฒนาคุณลักษณะของนักเรียนครูและบุคลากร ทางการศึกษา ตามจุดประสงค์ที่ก าหนดไว้ ถ้าการน าไปใช้ในขั้นนี้ไม่ปรากฏผลในการพัฒนาคุณลักษณะอย่างชัดเจนจ าเป็นต้องทบทวน วิธีด าเนินการน าไปใช้หรือการควบคุมตัวแปรต่าง ๆ ว่ารัดกุมเพียงพอหรือไม่ เพื่อการอภิปรายผลการ น าไปใช้ได้อย่างมีเหตุผล หรือมิฉะนั้นอาจจะต้องท าการน าไปใช้ใหม่กับกลุ่มตัวอย่างอื่น ๆ เพิ่มเติมขึ้น อีกครั้ง
35 ขั้นตอนที่ 6 : ประเมินผลการใช้นวัตกรรม เป็นกระบวนการในการตรวจสอบหรือพิจารณาตัดสินคุณลักษณะของผลงาน/นวัตกรรม เพื่อก าหนดคุณค่า คุณภาพ ความถูกต้อง ความเหมาะสม โดยใช้เกณฑ์การประเมินเป็นหลัก ในการพัฒนา และแก้ไขปรับปรุง ขั้นตอนที่ 7 : สรุป รายงานและเผยแพร่ หากผลการน าไปใช้เป็นที่น่าพอใจ กล่าวคือ สามารถยืนยันคุณภาพของผลงาน/นวัตกรรม ที่สร้างขึ้นควรมีการสรุปรายงานและเผยแพร่ผลงาน/นวัตกรรมนั้น
36 แนวทางการจัดท าผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ภาพที่ 5 ขั้นตอนการจัดท าผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice)
37 รายละเอียดการเขียนรายงานผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การเขียนรายงานผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) มีองค์ประกอบ ดังนี้ ๑. ความส าคัญของผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ๑.๑ เหตุผลที่เกิดจากแรงบันดาลใจความจ าเป็น ปัญหา หรือความต้องการที่จัดท า ผลงาน/ นวัตกรรม ๑.๒ ระบุแนวคิดหลักการส าคัญที่เกี่ยวข้องกับผลงาน หรือนวัตกรรมที่น ามาใช้อ้างอิง ในการออกแบบผลงานหรือนวัตกรรม ๒. วัตถุประสงค์และเป้าหมายของผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ๒.๑ วัตถุประสงค์เขียนให้สอดคล้องกับความส าคัญของผลงาน/นวัตกรรม ๒.๒ เป้าหมายระบุจ านวนผลงาน/นวัตกรรมและหรือกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ผลงาน/ นวัตกรรม ระบุเป้าหมายเชิงปริมาณและคุณภาพ (เป้าหมายเชิงปริมาณ ประกอบด้วย เป้าหมาย จ านวน ผลงานและหรือกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ผลงาน/นวัตกรรม) ๓. กระบวนการผลิตผลงาน/นวัตกรรม หรือขั้นตอนการด าเนินงาน ๓.๑ ค้นหาผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศโดยการวิเคราะห์ตาราง (๓ สดมภ์) ด าเนินงาน สดมภ์ที่ 1 (ผลงานที่ภาคภูมิใจ/ส าเร็จ) สดมภ์ที่ 2 (ข้อมูลที่ยืนยันความส าเร็จ) สดมภ์ที่ 3 (วิธีการท า/ปฏิบัติ How to) ระบุชื่อและลักษณะ ของผลงาน (สื่อ,กระบวนการ, รูปแบบ) ระบุเอกสาร/หลักฐาน/ร่องรอย ที่ยืนยันความส าเร็จของผลงาน/ นวัตกรรม วิธีการ/กระบวนการผลิต/ กระบวนการด าเนินงาน โดยระบุกิจกรรมส าคัญใน การด าเนินงานอย่างร้อยรัดตั้งแต่ เริ่มต้นจนประสบผลส าเร็จ ค าอธิบาย ตารางวิเคราะห์ (Best Practice) สดมภ์ที่ ๑ ผลงานที่ภาคภูมิใจ/ส าเร็จระบุชื่อและลักษณะของผลงาน (สื่อ, กระบวนการ, รูปแบบ) ด้วยวิธีการค้นหา Best Practice เพื่อดูสิ่งที่เราคิดว่าเจอแล้ว ใช่แล้ว และคิดว่าเป็น Best Practice ของเรา จริง ๆ แล้ว ใช่ หรือ ไม่ มีสิ่งที่ช่วยในการค้นหาง่าย ๆ ดังนี้ - การวิเคราะห์บริบท ความคาดหวังของหน่วยงาน/สังคม/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - พิจารณาว่า PDCA ได้ครบวงจรหรือยัง - ขั้นตอนนั้นเป็น “นวัตกรรม” หรือไม่ - ตั้งค าถามว่านวัตกรรมนั้น 1) นวัตกรรมนั้นคืออะไร (What)
38 2) นวัตกรรมนั้นท าอย่างไร (How) 3) นวัตกรรมนั้นท าเพื่ออะไร (Why) - วิเคราะห์ปัจจัยที่ส าเร็จและบทเรียนที่ได้เรียนรู้ สดมภ์ที่ ๒ ข้อมูลที่ยืนยันความส าเร็จ ระบุเอกสาร/หลักฐาน/ร่องรอยที่ยืนยันความส าเร็จ ของผลงาน/ นวัตกรรม โดยพิจารณาจากเกณฑ์การพิจารณา Best Practice ก ารพิ จ ารณ าว่ าสิ่งที่ผู้เขียน คิด ว่าเป็น Best Practice นั้น ผู้อ่ านมีเกณ ฑ์ง่าย ๆ ในการพิจารณาว่าเป็น Best Practice หรือไม่ ดังนี้ ๑. สอดคล้องกับ “ความคาดหวัง” ของหน่วยงาน/โรงเรียน/ชุมชน/ผู้ปกครอง/ผู้เกี่ยวข้อง ๒. มี PDCA จนเห็นแนวโน้มของตัวชี้วัด ๓. ผู้เขียนบอกเล่าได้ว่า “ท าอะไร What” “ท าอย่างไร How” “ท าไมจึงท า Why” ๔. ผลลัพธ์เป็นไป/สอดคล้อง/สะท้อนตามมาตรฐานหรือข้อก าหนด ๕. เป็นสิ่งที่ “ปฏิบัติได้จริงและเห็นผลแล้ว”ไม่ใช่แนวคิด หรือ ทฤษฎี สดมภ์ที่ ๓ วิธีการท า/ปฏิบัติ (How to) อธิบายวิธีการท า/กระบวนการผลิต/กระบวนการ ด าเนินงาน โดยระบุกิจกรรมส าคัญในการด าเนินงานอย่างร้อยรัดตั้งแต่เริ่มต้นจนประสบผลส าเร็จ มี วิธีการเขียน Best Practice โดยเขียนในรูปแบบ/องค์ประกอบ ดังนี้ ๑. ข้อมูลทั่วไป ๒. ผลงาน/ระบบงานที่เป็น Best Practice (ดีอย่างไร How) ซึ่งอาจเขียนโดย การ แยกเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑ ขั้นตอนการด าเนินงาน หรือ Flow Chart (แผนภูมิ) ของระบบงานที่ท า ส่วนที่ ๒ วิธีการและนวัตกรรมที่เป็น Best Practice หรืออาจเขียนบอกเล่า ขั้นตอน การด าเนินงานจนส าเร็จเป็นผลงานที่ดีเลิศเป็นความเรียงก็ได้ ๓. ปัจจัยเกื้อหนุน (ดีเพราะอะไร What) หรือปัจจัยแห่งความส าเร็จ/ความ ภาคภูมิใจ และบทเรียนที่ได้รับ ๔. ผลการด าเนินงาน (ดีแค่ไหน Why) ซึ่งอาจจะเอาไว้ในหัวข้อที่ ๒ ก็ได้ ทั้งนี้ ควรเน้นตัวชี้วัด ส าคัญต่าง ๆ ที่แสดงให้เห็นแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง ซึ่งอาจใช้แผนภูมิหรือกราฟ แสดงให้เห็นถึง การเปลี่ยนแปลงการด าเนินงานจนเกิดผลส าเร็จ และอาจมีแผนงานในอนาคตด้วยก็ ได้ ๓.๒ การออกแบบผลงาน/นวัตกรรม น าเสนอผลงานนวัตกรรมในรูปแบบ Flowchart 3.๓ การด าเนินงานตามกิจกรรม อธิบายรายละเอียดตามขั้นตอนของกิจกรรมที่ ออกแบบ ไว้ใน Flowchart 3.๔ ประสิทธิภาพของการด าเนินงาน มีผลการปฏิบัติงานปรากฏชัดเจนในแต่ละขั้นตอน สามารถน าไปปฏิบัติได้จริง มีวิธีการหรือองค์ความรู้ใหม่ ที่ส่งผลต่อเป้าหมายและการพัฒนาอย่างมี คุณภาพ 3.๕ การใช้ทรัพยากรและงบประมาณ ประยุกต์ใช้ทรัพยากรและงบประมาณที่มีอยู่ อย่าง เหมาะสม คุ้มค่า สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนหรือหน่วยงาน
39 ๔. ผลการด าเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับ ระบุผลการด าเนินงานที่เกิดตามวัตถุประสงค์ ผลสัมฤทธิ์ของงาน ประโยชน์ที่ได้รับ 4.1. ผลที่เกิดตามวัตถุประสงค์ ที่ก าหนดไว้ มีหลักฐานหรือข้อมูลประกอบชัดเจน 4.2 ผลสัมฤทธิ์ของงาน สามารถแก้ปัญหาและพัฒนางานได้สอดคล้องกับสถานการณ์ ตรงตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายอย่างครบถ้วน 4.3 ประโยชน์ที่ได้รับ สิ่งที่ได้เรียนรู้หรือประสบการณ์จากการพัฒนาผลงาน/นวัตกรรม ท าให้มีองค์ความรู้เกิดทักษะกระบวนการ สามารถพัฒนาผลงาน/นวัตกรรม และให้เกิดประสบการณ์ การจัดการเรียนรู้ร่วมกัน เป็นแบบอย่างต่อสาธารณชนได้ ๕. ปัจจัยความส าเร็จ ระบุบุคคล หน่วยงาน องค์กรหรือวิธีการที่ช่วยให้งานประสบผลส าเร็จตามจุดประสงค์ การด าเนินงานมีประสิทธิภาพส่งผลต่อคุณภาพของผลงาน/นวัตกรรม โดยปัจจัยความส าเร็จ ที่น าเสนอ ต้องเกี่ยวข้องและสอดคล้องกับผลงานที่น าเสนอ ๖. บทเรียนที่ได้รับ (Lesson Learned) สิ่งที่ได้เรียนรู้ค้นพบอะไรที่เกิดจากการพัฒนาผลงาน/นวัตกรรมอาจจะเป็นการค้นพบ วิธีการ ขั้นตอนรูปแบบที่เกิดขึ้นใหม่ หรือแนวทางการพัฒนาเพิ่มเติมให้ประสบความส าเร็จมากยิ่งขึ้น ๗. การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ/รางวัลที่ได้รับ ระบุข้อมูลที่ท าให้เห็นร่องรอยหลักฐาน ช่องทางการเผยแพร่ผลงาน/นวัตกรรม การน าไปใช้ และการยกย่องชมเชย รางวัลที่ได้รับ 7.1 การเผยแพร่ มีการเผยแพร่ผลงานในระดับต่าง ๆ โดยปรากฏร่องรอยหลักฐาน ที่ชัดเจน 7.2 การได้รับการยอมรับ รางวัลที่ได้รับ ผลงานได้รับการยอมรับในระดับต่าง ๆ ๘. ข้อเสนอแนะ ระบุข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ ในการน าผลงาน/นวัตกรรม ไปใช้
40 ส่วนที่ 3 แนวทางการขับเคลื่อนการนิเทศภายในโรงเรียน ที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) แนวทางการขับเคลื่อนการนิเทศภายในโรงเรียนที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 1 ซึ่งด าเนินการโดยผู้มีส่วน เกี่ยวข้องในระดับต่าง ๆ ดังนี้ ระดับส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา การด าเนินการขับเคลื่อนการนิเทศภายในโรงเรียนที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 1 ด าเนินการ ดังนี้ 1. ศึกษาวิเคราะห์นโยบายในการขับเคลื่อนการนิเทศภายในโรงเรียนที่ส่งเสริมการจัดการ เรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 2. จัดท าแนวทางการนิเทศภายในโรงเรียนที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 1 3. ก าหนดตัวชี้วัดความส าเร็จในการขับเคลื่อนการนิเทศภายในโรงเรียนที่ส่งเสริมการจัดการ เรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 4. สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการด าเนินงาน และเครื่องมือที่ใช้ในการนิเทศ ติดตามการด าเนินงาน 5. สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการนิเทศภายในโรงเรียนที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ให้กับผู้บริหาร ครูผู้สอน และบุคลากรทางการศึกษาทุกคน 6. ส่งเสริม สนับสนุน นิเทศ ก ากับ ติดตาม การน าแนวทางการนิเทศภายในโรงเรียนที่ส่งเสริม การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ไปสู่การปฏิบัติ 7. ส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการด าเนินงานที่เป็นแบบอย่างได้/ ผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศด้านการนิเทศภายในโรงเรียนที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 8. สะท้อนและทบทวนผลการด าเนินงาน และน าผลไปใช้ในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 9. ประเมินผลการด าเนินงานการนิเทศภายในโรงเรียนที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 10. เสริมสร้างขวัญก าลังใจแก่ผู้บริหาร ครูผู้สอน และสถานศึกษาที่น าแนวทางสู่การปฏิบัติ ที่เป็นแบบอย่างได้/มีผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
41 บทบาทของผู้เกี่ยวข้องในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ผู้บริหารการศึกษา 1. ก าหนดแนวทางในการขับเคลื่อนการนิเทศภายในโรงเรียนที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ เชิงรุก (Active Learning) ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และการบริหารจัดการที่เอื้อต่อการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษา 2. ส่งเสริม สนับสนุน และอ านวยความสะดวกด้านปัจจัยต่าง ๆ ให้มีความพร้อมและเอื้อ ในการปฏิบัติงาน 3. ประสานความร่วมมือจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ในการเข้ามามีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน การนิเทศภายในโรงเรียนที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 4. นิเทศ ก ากับ ติดตาม อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ทั้งในระดับส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษา และระดับสถานศึกษา 5. ด าเนินการให้มีการสะท้อน ทบทวน และประเมินผลการด าเนินงานอย่างต่อเนื่อง 6. น าผลการสะท้อน ทบทวน และการประเมินผลการด าเนินงาน ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาต่อไป บุคลากรทางการศึกษา 1. วิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา และจัดท าฐานข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับความต้องการ จ าเป็นในการพัฒนา 2. ออกแบบวิธีการ/โครงการ/กิจกรรม เพื่อพัฒนาผู้บริหาร ครูผู้สอน และบุคลากรทางการศึกษา ให้มีคุณภาพตามแนวทางที่ก าหนด 3. ด าเนินโครงการ/กิจกรรม เพื่อพัฒนาผู้บริหาร ครูผู้สอน และบุคลากรทางการศึกษา ให้มี คุณภาพในการด าเนินการนิเทศภายในโรงเรียนที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 4. ร่วมสะท้อน ทบทวน ประเมินผลการด าเนินงาน และน าผลมาพัฒนาการจัดกิจกรรม อย่างต่อเนื่อง 5. รายงานผลการด าเนินงานต่อผู้เกี่ยวข้อง ระดับสถานศึกษา การด าเนินการขับเคลื่อนการนิเทศภายในโรงเรียนที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ในระดับสถานศึกษา ด าเนินการ ดังนี้ 1. ศึกษาวิเคราะห์แนวทางการนิเทศภายในโรงเรียนที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 1 2. สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการนิเทศภายในโรงเรียนที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ให้กับครูผู้สอน และผู้เกี่ยวข้อง 3. ก าหนดตัวชี้วัดความส าเร็จของการขับเคลื่อนการนิเทศภายในโรงเรียนที่ส่งเสริมการจัด การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ในระดับสถานศึกษา ทั้งผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และ นักเรียนอย่างชัดเจน
42 3. จัดท าแผนการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการด าเนินงานการนิเทศภายในโรงเรียน ที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 4. นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการด าเนินงานการนิเทศภายในโรงเรียนที่ส่งเสริม การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 5. สะท้อนและทบทวนผลการด าเนินงาน และน าผลไปใช้ในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 6. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการด าเนินงานที่เป็นแบบอย่างได้/ผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการนิเทศภายในโรงเรียนที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ในระดับสถานศึกษา 7. เสริมสร้างขวัญก าลังใจแก่ครูผู้สอน และผู้เกี่ยวข้องที่มีผลการด าเนินงานที่เป็นแบบอย่างได้/ มีผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ 8. สรุปรายงานและเผยแพร่ผลการด าเนินงาน บทบาทของผู้เกี่ยวข้องในระดับสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา 1. ก าหนดแนวทางในการขับเคลื่อนการนิเทศภายในโรงเรียนที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ เชิงรุก (Active Learning) 2. ส่งเสริม สนับสนุน และอ านวยความสะดวกในการด าเนินการนิเทศภายในโรงเรียนที่ส่งเสริม การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 3. ประสานความร่วมมือจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ในการขับเคลื่อนการด าเนินการนิเทศภายใน โรงเรียนที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 4. นิเทศ ก ากับ ติดตาม การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ของครู อย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง 5. ด าเนินการสะท้อน วิพากษ์ ทบทวน เพื่อการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน 6. ประเมินผลการด าเนินงาน และน าผลไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไป ครูผู้สอน 1. วิเคราะห์นักเรียนเป็นรายบุคคล และจัดท าฐานข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับความสนใจ ความถนัดและความต้องการเป็นรายบุคคล อาจใช้กระบวนการ PLC โดยใช้ประเด็นดังต่อไปนี้ การสนทนาเพื่อค้นหาปัญหาเกี่ยวกับการเรียนรู้ของนักเรียน เช่น นักเรียนมีปัญหาในการเรียนรู้อย่างไร นักเรียนมีความจ าเป็นต้องได้รับการพัฒนาในเรื่องใด นักเรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนรู้อย่างไร การสนทนาเพื่อค้นหาปัญหาเกี่ยวกับการเลือกวิธีการจัดการเรียนรู้เช่น การปรับเนื้อหา/กิจกรรมเพื่อนักเรียนที่มีความแตกต่างระหว่างบุคคลอย่างไร สิ่งที่จะสร้างเพื่อจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนเหมาะสมหรือไม่ เทคนิควิธีที่พัฒนาขึ้นท าให้นักเรียนได้เรียนรู้ดีขึ้นหรือไม่ วิธีการวัดประเมินผลมีประสิทธิผลหรือไม่
43 2. ออกแบบกิจกรรม สื่อ แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพ ดังนี้ 2.1 เลือกวิธีการ/นวัตกรรมในการแก้ปัญหา เช่น เทคนิคการสอนต่างๆ โดยเน้นการเรียนรู้ เชิงรุก (Active Learning) 2.2 เขียนแผนการจัดการเรียนรู้และตรวจสอบโดยใช้แบบตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้ 2.3 ประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ โดยประเมินด้วยตนเอง หรือประเมินโดยเพื่อนครู/ หัวหน้าวิชาการ/ผู้บริหารสถานศึกษา 2.4 ปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ตามค าแนะน า/ข้อเสนอแนะ 3. จัดการเรียนรู้และจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพ ดังนี้ 3.1 การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ตามแนวทางในแผนการจัดการเรียนรู้ 3.2 มีการสังเกตการจัดการเรียนรู้ โดยใช้แบบการสังเกตการจัดการเรียนรู้/แบบประเมิน พฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ และแบบบันทึกหลังสอน 4. ร่วมสะท้อน ทบทวน และประเมินผลการด าเนินงาน และน าผลมาพัฒนาการจัดกิจกรรม อย่างต่อเนื่องกับทีม PLC โดยใช้แบบ PLC (Reflect & Redesign) แล้วน าผลการสะท้อนผลการเรียนรู้ มาปรับปรุงใหม่/พัฒนา/สร้างสรรค์ต่อยอดในการ PLC วงรอบต่อไป 5. รายงานผลการด าเนินงานต่อผู้เกี่ยวข้อง
ส่วนที่ 4 เครื่องมือนิเทศภายในโรงเรียนในการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เครื่องมือที่ใช้ในการนิเทศการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) มีรายละเอียดดังนี้ 1. ก่อนการจัดการเรียนรู้ได้แก่ แบบตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการจัด การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) โดยครูผู้สอนประเมินตนเอง หรือประเมินโดยผู้อื่น ได้แก่ เพื่อน ครู หัวหน้าฝ่ายวิชาการ ผู้บริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ 2. ระหว่างการจัดการเรียนรู้ได้แก่ แบบประเมินพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ตามแนวทาง การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) โดยผู้สังเกตการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน เช่น เพื่อนครู หัวหน้าฝ่ายวิชาการ ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้เชี่ยวชาญภายนอก ศึกษานิเทศก์ เป็นต้น 3. หลังการจัดการเรียนรู้ได้แก่ แบบสะท้อนผลหลังการสังเกตการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ แบบสะท้อนผลของทีม PLC (Reflect & Redesign) เป็นแบบบันทึกการนิเทศการจัดการเรียนรู้ เชิงรุก (Active learning) โดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC โดยผู้สังเกตการจัดการเรียนรู้ ร่วมกับครูผู้สอนสะท้อนผลร่วมกัน นอกจากนี้ มีตัวอย่างแผนการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC และตัวอย่างแบบบันทึก การขอจัดตั้งกลุ่มชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) เพื่อให้สถานศึกษาที่จะน าไปประยุกต์ใช้ได้ ตามบริบทของสถานศึกษา
45 แบบตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการจัดการเรียนรู้เชิงรุก(Active Learning) ชื่อครูผู้สอน........................................................โรงเรียน............................................................... กลุ่มสาระการเรียนรู้......................................ระดับชั้น...............หน่วยที่................เรื่อง......................... แผนการจัดการเรียนรู้ที่..................เรื่อง................................................................................................ ค าชี้แจง แบบตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) มีองค์ประกอบ 3 ด้าน ได้แก่ เป้าหมายการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการ เรียนรู้ ให้ท่านพิจารณาแผนการจัดการเรียนรู้ แล้วท าเครื่องหมาย ในช่องที่ตรงกับความคิดเห็น ของท่านและให้ข้อเสนอแนะ องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ มี ไม่มี ข้อเสนอแนะ 1. ด้านเป้าหมายการเรียนรู้ 1.1เป้าหมายการเรียนรู้มีความสอดคล้องกับมาตรฐาน การเรียนรู้และตัวชี้วัด 1.2 สาระการเรียนรู้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 1.3เป้าหมายการเรียนรู้ครอบคลุมความรู้ทักษะ และ คุณลักษณะของผู้เรียน 1.4มีการระบุชิ้นงาน/ภาระงานสอดคล้องกับมาตรฐาน การเรียนรู้และตัวชี้วัด 1.5เนื้อหามีการเชื่อมโยงกับชีวิตประจ าวัน/ชุมชน 1.6มาตรฐานการเรียนรู้ กิจกรรมการจัดการเรียนรู้และ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้มีความสอดคล้องกัน 2. ด้านกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ 2.1 น าเข้าสู่บทเรียนด้วยค าถาม ปัญหาหรือสถานการณ์ที่ น่าสนใจ 2.2 มีการเชื่อมโยงความรู้เดิมของผู้เรียน 2.3 มีสถานการณ์ปัญหากระตุ้นการคิดขั้นสูงของผู้เรียน 2.4 กิจกรรมกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน 2.5 ผู้เรียนมีส่วนร่วมลงมือปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง 2.6 ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการใช้ความคิดขั้นสูง (คิดวิเคราะห์ คิดประเมินค่า หรือคิดสร้างสรรค์)