The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 10 รัฐธรรมนูญกับการเมืองการปกครองของไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phatcharipon111139, 2021-10-28 11:58:04

หน่วยที่ 10 รัฐธรรมนูญกับการเมืองการปกครองของไทย

หน่วยที่ 10 รัฐธรรมนูญกับการเมืองการปกครองของไทย

10หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่

รฐั ธรรมนูญกับการเมืองการปกครองของไทย

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

• หลักการ เจตนารมณ์ โครงสรา้ ง และสาระสาคัญของรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย ฉบับปจั จบุ ัน
• การแบ่งอานาจและการถ่วงดลุ อานาจอธิปไตยทั้ง ๓ ฝา่ ย คอื นิตบิ ญั ญตั ิ บรหิ าร ตุลาการ ตามทรี่ ะบุไว้ในรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย
• การปฏิบัตติ นตามบทบญั ญตั ขิ องรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย ฉบบั ปัจจบุ ัน เกี่ยวกบั สทิ ธิ เสรภี าพ และหน้าท่ี

รฐั ธรรมนญู

รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย

ความหมาย

รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ โดยกาหนดหลักการสาคัญตามระบอบ
ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เช่น สิทธิเสรีภาพและหน้าที่ของประชาชน
หน้าทขี่ องรัฐสภา หน้าท่ีของรัฐบาล การเขา้ ไปมีส่วนรว่ มในทางการเมืองการปกครองของประชาชน

รฐั ธรรมนูญกับการเมอื งการปกครองของไทย

รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย

ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ก า ร นับจาก พ.ศ. ๒๔๗๕ ประเทศไทย มกี าร
ปกครอง จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มา ประกาศใช้รฐั ธรรมนูญหลายฉบบั โดย
สู่ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ฉบับล่าสดุ เป็นฉบับที่ ๒๐ (พ.ศ.2560)
ทรงเป็นประมุข เมื่อพ.ศ. ๒๔๗๕ โดยได้
ประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย

ที่มาของรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย

รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2560

รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย

ท่ีมาของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2550

เกิดความขดั แยง้ ทางการเมอื ง คณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) กรธ. ทาการรา่ งรฐั ธรรมนูญ คณะกรรมการการเลือกต้งั
ท่มี ีแนวโนม้ รนุ แรงและบานปลาย เขา้ ควบคุมอานาจการปกครอง แหง่ ราชอาณาจักรไทย จดั การลงประชามติ

วันที่ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ พ.ศ. ๒๕๕๙ วันที่ ๗ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

มีสาเหตสุ าคัญมาจากการมีความคดิ เห็น มีเปา้ หมายสาคญั เพือ่ ยุติความขดั แยง้ นายมชี ยั ฤชพุ ันธ์ เปน็ ประธาน ผลการออกเสียงประชามติ
ทางการเมืองที่แตกตา่ งกนั ของคนในชาติ สรา้ งความสามัคคี และคืนความสุข ได้ทาการร่างรฐั ธรรมนญู ใหแ้ ลว้ เสร็จ รฐั ธรรมนญู ผา่ นความเห็นชอบ
ด้วยคะแนนเสียง ๑๖,๘๒๐,๔๐๒
ให้แก่ประชาชนชาวไทย ภายใน ๑๘๐ วัน โดยมเี นือ้ หา และมีผู้ไมเ่ ห็นชอบ ๑๐,๙๒๖,๖๔๘
๑๖ หมวด ๒๗๙ มาตรา

ความสาคัญของรัฐธรรมนูญ

ยนื ยนั ความเปน็ รบั รองความเปน็
เอกราช เอกรฐั

กาหนดรปู แบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข
ซ่งึ ทรงใชอ้ านาจอธิปไตยผ่านทางรฐั สภา คณะรัฐมนตรี ศาล

คุ้มครองประชาชนชาวไทย ค้มุ ครองศกั ดิศ์ รคี วามเปน็ มนษุ ย์
ไมว่ า่ จะมีเหลา่ กาเนิดใด เพศใด สทิ ธแิ ละเสรีภาพของประชาชนชาวไทย
หรือนบั ถือศาสนาใดอยา่ งเสมอกนั

หลักการและเจตนารมณข์ องรฐั ธรรมนูญ

1) คุ้มครองสิทธแิ ละเสรภี าพของประชาชน
2) สนบั สนนุ ให้ประชาชนมบี ทบาทและมีสว่ นรว่ มในการปกครองและตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ
3) กาหนดกลไกสถาบนั ทางการเมืองทุกส่วน โดยเฉพาะฝา่ ยนติ บิ ัญญัติและฝ่ายบริหารให้ทาหนา้ ที่ได้
อย่างมีประสิทธภิ าพตามวธิ กี ารปกครองระบอบประชาธิปไตย
4) สรา้ งเสรมิ สถาบันศาลและองคก์ รอสิ ระอ่ืนๆ ให้ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีโดยสจุ รติ และเทยี่ งธรรม
เน้นยา้ คณุ คา่ และความสาคญั ของคุณธรรม จรยิ ธรรม และแนวทางการบรหิ ารบา้ นเมอื งทด่ี ี
อนั เป็นหลกั จรรโลงชาติ

โครงสร้างและสาระสาคัญของรัฐธรรมนูญ

รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 มีโครงสร้างท่ีประกอบดว้ ย 16 หมวด
(มาตรา 1 - 261) และบทเฉพาะกาล (มาตรา 262 - 279) รวมทัง้ ส้ิน 279 มาตรา

โครงสร้างของรัฐธรรมนูญ มลี ักษณะสาคัญ ดงั นี้

กำหนดใหร้ ำชอำณำจกั รไทยมีโครงสรำ้ ง
❑ แบบเอกรัฐหรือรัฐเดี่ยว มีรัฐบาลเดียว ใชอ้ ำนำจบริหำรกิจกำรทงั้ หมดของประเทศ กำหนดให้

ประเทศไทยมีกำรปกครองระบอบประชำธิปไตยอนั มีพระมหำกษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ
❑ แบบรัฐสภา รฐั สภำเป็นสถำบนั กำรเมืองกำรปกครองท่ีมีอำนำจในกำรตรำกฎหมำย และควบคุม

คณะรฐั มนตรใี หบ้ รหิ ำรกิจกำรของประเทศตำมท่ีแถลงไวต้ อ่ รฐั สภำ

โครงสรา้ งและสาระสาคัญของรัฐธรรมนูญ

สาระสาคัญของรัฐธรรมนูญสรปุ ได้ ดงั นี้ รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2560 มบี ทบญั ญัตอิ นั เป็น
สาระสาคัญท่ใี ชป้ กครองประเทศ โดยแบง่ ออกเปน็ 16 หมวด

หมวด 1 บทท่วั ไป หมวด 9 การขดั กนั แหง่ ผลประโยชน์
หมวด 2 พระมหากษตั ริย์ หมวด 10 ศาล
หมวด 3 สิทธิและเสรภี าพของปวงชนชาวไทย หมวด 11 ศาลรัฐธรรมนูญ
หมวด 4 หนา้ ทีข่ องปวงชนชาวไทย หมวด 12 องคก์ รอสิ ระ
หมวด 5 หนา้ ที่ของรฐั หมวด 13 องคก์ รอยั การ
หมวด 6 แนวนโยบายแหง่ รฐั หมวด 14 การปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่
หมวด 7 รัฐสภา หมวด 15 การแก้ไขเพมิ่ เตมิ รฐั ธรรมนูญ
หมวด 8 คณะรัฐมนตรี
หมวด 16 การปฏิรูปประเทศ

การแบง่ อานาจ และการถว่ งดุลอานาจอธิปไตยทงั้ 3 ฝ่ าย
คอื นิตบิ ญั ญัติ บริหาร ตลุ าการ

การแบง่ อานาจ และการถว่ งดุลอานาจอธปิ ไตย

อานาจอธปิ ไตย

➢ อานาจอธิปไตย คือ อานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ เป็นอานาจที่แสดงถึงความ
เปน็ ใหญ่เปน็ อสิ ระไมข่ ึน้ ต่อใคร

➢ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อานาจอธิปไตยเป็นของประชาชน ประชาชนเป็น
ผู้มีอานาจในการปกครองประเทศ แต่ในทางปฏิบัติแล้วการที่จะให้ประชาชนทุกคนมา
จัดการบริหารประเทศน้ันเป็นไปได้ยาก ประชาชนจึงต้องแต่งต้ังตัวแทนที่ตนเองเห็นว่า
เหมาะสมเข้าไปทาหนา้ ทแี่ ทน

รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย

อานาจอธปิ ไตยแบง่ เป็น ๓ ดา้ น

• การใช้ อานาจนิติบัญญัติ ผ่านทางรฐั สภา

• การใช้ อานาจบรหิ าร ผ่านทางคณะรฐั มนตรี

• การใช้ อานาจตลุ าการ ผ่านทางศาล

เปา้ หมายหลกั ของการแบง่ แยกการใชอ้ านาจอธปิ ไตย

คุ้มครองสทิ ธิเสรภี าพและประโยชนข์ อง จากัดขอบเขตอานาจของแตล่ ะฝ่าย ควบคมุ และตรวจสอบการใชอ้ านาจ
ประชาชน อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

แผนผงั การแสดงความสมั พนั ธก์ ารแบง่ แยกการใชอ้ านาจการปกครอง

ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ

พระมหากษตั รยิ ์

ฝ่ายนติ บิ ญั ญัติ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายตลุ าการ

รฐั สภา คณะรัฐมนตรี ศาล

สภาผูแ้ ทนราษฎร วฒุ ิสภา นายกรฐั มนตรี รฐั มนตรี ศาลรฐั ธรรมนูญ
ศาลยตุ ิธรรม
ออกกฎหมาย บงั คับใช้กฎหมาย ศาลปกครอง
เสนอรา่ งกฎหมาย ศาลทหาร
ตรวจสอบการออกกฎหมาย
และการบงั คับใช้กฎหมาย

อานาจนิตบิ ัญญตั ิ

อานาจนติ ิบัญญัติ คือ อานาจในการตรากฎหมายและควบคุมการบรหิ ารราชการแผน่ ดินของฝ่าย
บริหาร สถาบนั ท่ีใชอ้ านาจนติ บิ ญั ญัติคือ รฐั สภา ประกอบไปด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวฒุ สิ ภา โดยมี
ประธานสภาผแู้ ทนราษฎรเปน็ ประธานรฐั สภา
1) สภาผู้แทนราษฎร ประกอบด้วยสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร (ส.ส.) จานวน 500 คน โดยมาจากการเลือกต้ัง

✓ การออกกฎหมาย
✓ การบริหารราชการแผ่นดิน
✓ การให้ความเหน็ ชอบเรือ่ งสาคัญ
✓ การแต่งตัง้ คณะกรรมาธิการสามญั เพ่อื ทากิจกรรมพจิ ารณาสอบสวน

อานาจนิตบิ ัญญตั ิ

2) วฒุ สิ ภา ประกอบดว้ ยสมาชกิ ด้วยสมาชิกจานวน 150 คน มาจากการเลอื กตั้ง 77 คน
และมาจากการสรรหา 73 คน

✓ กลน่ั กรองกฎหมาย
✓ ควบคุมการบรหิ ารราชการแผน่ ดิน
✓ ถอดถอนผดู้ ารงตาแหนง่ ทางการ
✓ ถอดถอนกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามทุจริต

อานาจบริหาร

อานาจบรหิ าร คอื อานาจหนา้ ท่ีในการกาหนดนโยบายและบริหารประเทศใหเ้ ป็นไปตามฝา่ ยนติ ิ
บัญญตั ิตราขน้ึ คณะบคุ คลทที่ าหนา้ ท่ี คอื คณะรัฐมนตรี ประกอบไปดว้ ย นายกรัฐมนตรี 1 คน และรัฐมนตรไี ม่
เกิน 35 คน
อานาจหนา้ ทข่ี องฝา่ ยบรหิ าร

✓ บรหิ ารราชการแผน่ ดิน
✓ อานาจในการออกกฎหมาย

อานาจตลุ าการ

อานาจตุลาการ คอื อำนำจในกำรพิพำกษำพจิ ำรณำคดตี ำ่ ง ๆ เป็นอำนำจท่ีรฐั ธรรมนญู มอบใหศ้ าล
ตลุ ำกำรศำลรฐั ธรรมนญู มีวำระกำรดำรงตำแหนง่ 7 ปี ซง่ึ ศำลแบง่ ออกเป็น 4 ประเภท ไดแ้ ก่
1. ศาลรฐั ธรรมนูญ มหี นา้ ทหี่ ลกั คอื ควบคมุ กฎหมายมิใหข้ ดั แย้งต่อรฐั ธรรมนูญ และพจิ ารณาอานาจหน้าที่ขององคก์ ร
ตา่ ง ๆศาลรัฐธรรมนญู ประกอบด้วยประธานศาลรัฐธรรมนญู 1 คน และตุลาการศาลรัฐธรรมนูญอน่ื อกี 8 คน
2. ศาลยุตธิ รรม มหี นา้ ทห่ี ลักในการพิจารณาพพิ ากษาคดีทง้ั ปวง แบ่งเปน็ 3 ช้นั

1) ศาลชนั้ ต้น พพิ ากษาข้นั แรก มีอานาจทว่ั ไปท้ังแพ่งและอาญา
2) ศาลอทุ ธรณ์ เป็นศาลท่ีพิจารณาคดีเมือ่ คู่ความไมพ่ อใจในคาพิพากษาของศาลชนั้ ตน้
3) ศาลฎกี า เป็นศาลสงู สุด มอี านาจพจิ ารณาพพิ ากษาคดที รี่ ัฐธรรมนญู เสนอต่อศาลฎกี าโดยตรง

อานาจตุลาการ

3. ศาลปกครอง มหี น้าที่หลักในการพิจารณาคดีระหว่างหน่วยราชการ รัฐวิสาหกิจ องคก์ ารปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ
4. ศาลทหาร มอี านาจพิพากษาคดีที่ทาผดิ กฎหมายทหาร

การถว่ งดุลอานาจอธปิ ไตย

การถว่ งดลุ อานาจอธิปไตย การที่รฐั ธรรมนญู ซึ่งเปน็ กฎหมายสงู สุดของประเทศได้
มอบอานาจให้รฐั สภา คณะรัฐมนตรี และศาล เปน็ ผูใ้ ชอ้ านาจอธปิ ไตย มิใหฝ้ ่ายใดฝ่าย
หนึง่ มอี านาจมากจนเกนิ ไป

การถว่ งดุลอานาจอธปิ ไตย

อานาจนิตบิ ญั ญตั ิ (รฐั สภา)

▪ การถว่ งดุลอานาจบรหิ าร โดยการต้งั กระท้ถู าม และ อภิปรายไม่ไวว้ างใจ
▪ การถ่วงดุลอานาจตลุ าการโดยการเลือกบุคคลใหด้ ารงตาแหนง่ ถอดถอนบคุ คล พิจารณางบประมาณ

อานาจบรหิ าร (คณะรฐั มนตรี)

▪ การถ่วงดุลอานาจนิตบิ ัญญตั ิ กรณีท่สี ภาผ้แู ทนราษฎรเกดิ ขอ้ ขัดแยง้ กบั คณะรัฐมนตรี
▪ การถว่ งดลุ อานาจตลุ าการ ถ่วงดุลอานาจตลุ าการดว้ ยการจัดสรรงบประมาณ

อานาจตลุ าการ (ศาล)

▪ การถว่ งดลุ อานาจนติ บิ ญั ญัติ โดยการพจิ ารณาวินจิ ฉยั ในเรอื่ งต่าง ๆ
▪ การถว่ งดุลอานาจบริหาร โดยการพจิ ารณาวนิ ิจฉัย และพพิ ากษาในกรณีตา่ ง ๆ

แนวทางการปฏิบตั ิตนตามบทบัญญตั ิในรฐั ธรรมนูญ
เกย่ี วกับสทิ ธิ เสรภี าพ และหน้าที่

รว่ มมือกับหนว่ ยงานของภาครฐั และเอกชน สง่ เสรมิ และสนับสนุนการดาเนินงาน
เพอื่ คุม้ ครองสทิ ธมิ นุษยชน ขององคก์ รอิสระตามรัฐธรรมนูญ

ร้จู ักใช้สทิ ธิของตนเองและแนะนาใหผ้ อู้ ่ืน เผยแพร่ความร้เู กี่ยวกับสิทธมิ นุษยชน
รจู้ กั ใชแ้ ละรกั ษาสทิ ธิของตนเอง และปลกู ฝงั แนวความคิดเรื่องสิทธมิ นษุ ยชน
ให้แก่ชมุ ชนหรือสงั คมตามสถานภาพและ
เคารพสทิ ธิของกันและกนั
โดยไมล่ ะเมดิ สิทธเิ สรภี าพของผู้อืน่ บทบาททตี่ นพงึ กระทาได้

ปฏบิ ัตติ ามบทบาทหน้าท่ีท่ีเกี่ยวขอ้ ง เช่น
ให้ความร่วมมอื ในการธารงรักษาไว้ซงึ่ สถาบนั ชาติ
ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข


Click to View FlipBook Version