The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by N Natbee Pan, 2022-05-26 03:28:13

Cancer in food

Cancer in food

เรียนรู้และเข้าใจ......
กินอย่างไร

เมื่อเป็นมะเร็ง

ภาวะทุพโภชนาการในโรคมะเร็ง

กินอย่างไร.....เมื่อได้รับการฉายแสง- เคมีบำบัด

โรคมะเร็งและกระบวนการรักษามะเร็ง ขาดสารอาหาร
ส่งผลให้มีผลข้างเคียงของการรักษา กล้ามเนื้ อลดลง
กำลังถดถอย
ทำให้ทานอาหารได้น้อย
กว่าความต้องการพลังงาน
และสารอาหารของร่างกาย

ส่งผลให้น้ำหนักลด
ร่างกายสู้ต่อการรับการรักษาไม่ไหว

โอกาสรอดชีวิตลดน้อยลง

เม็ดเลือดขาวต่ำ

เสี่ยงต่อการติดเชื้อ

ระบบภูมิคุ้มกันบกพร่อง

ภาวะโภชนาการ ชะลอไม่ให้น้ำหนักลด
ที่เพียงพอ เพิ่มคุณภาพชีวิตผู้ป่วย

ทำให้สามารถรักษาได้ต่อเนื่ อง

ลดวันนอนโรงพยาบาล

ต้านทานการติดเชื้อ
เพิ่มอัตราการรอดชีวิตมากขึ้น

พ ลั ง ง า น
และ
โ ป ร ตี น

ที่ ร่า ง ก า ย ค ว ร ไ ด้ รับ ต่ อ วั น

คำนวณหา ตัวอย่าง

น้ำหนักตัวที่ควรจะเป็นของเรา เช่น น.ส.มะเร็ง
ส่วนสูง 160 ซม.

ชาย น้ำหนักที่ควรจะเป็น หาน้ำหนักที่ควรจะเป็น
= ส่วนสูง (ซม.) -100 160 - 105 = 55 Kg

หญิง น้ำหนักที่ควรจะเป็น ควรได้รับพลังงาน
= ส่วนสูง (ซม.) - 105 55 ✖️30 กิโลแคลอรี่

1650 กิโลแคลอรี่

30 แคลอรี่ ( ความต้องการในคนสุขภาวะดี )

อ้างอิง: MAURIZIO MUSCARITOLI -CLINICAL NUTRITION

ผู้ป่วยมะเร็งมีความต้องการ
สารอาหารประเภทโปรตีน

มากกว่าคนปกติ
จากผลข้างเคียงของการรักษา

การได้รับโปรตีนจึงมี
ความสำคัญในการช่วย
เสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกัน

ความต้องการโปรตีน

นำมาคูณด้วยเลข
1.5 ปริมาณโปรตีน
ที่ควรได้รับต่อวัน
55 ✖️1.5 = 82 กรัมโปรตีน

โปรตีนมาจาก 2 แหล่งหลัก ๆ ได้แก่

โปรตีนจากสัตว์ โปรตีนจากพืช ดังนั้น
โปรตีนที่ น.ส.มะเร็ง ควรได้รับ

คือ 82 กรัมโปรตีน


คำนวณหาปริมาณโปรตีน

ที่ควรได้รับ

1 - 1.5 กรัม

สร้างพลังงาน สร้างภูมิคุ้มกัน ต่อน้ำหนักตัวที่ควรจะเป็น

โปรตีนเพียงพอ ภูมิคุ้มกันแข็งแรง

อ้างอิง : MAURIZIO MUSCARITOLI -CLINICAL NUTRITION

ผู้ป่วยมะเร็งมีความต้องการโปรตีน
ในปริมาณที่ค่อนข้างสูง

โปรตีนที่ควรได้รับ คือ1.0 ถึงประมาณ 1.5 กรัม/น้ำหนักตัว/วัน
ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ของผู้ป่วยแต่ละคน

เนื้อสัตว์เป็นแหล่งโปรตีนที่สำคัญ เป็นทางเลือกสำหรับการได้รับโปรตีนอย่างเพียงพอ
โปรตีนจากพืช มีความสำคัญเช่นกัน เป็นโปรตีนที่ได้จากถั่วเหลือง และถั่วอื่น ๆ

เนื้อสัตว์ 1 ส่วนจะมีโปรตีนอยู่ 7 กรัมโปรตีน หรือประมาณ 2 ช้อนกินข้าว

เตาหู้ไข่ ปลาทูครึ่งตัว
1/2 หลอด
ไข่ 1 ฟอง เตาหู้ขาว
หรือไข่ขาว 2 ฟอง 2 ช้อนกินข้าว
(1/2 แผ่น)
เนยถั่ว 1 ช้อนโต๊ะ
นมวัวไขมันต่ำ 1
เนยแข็ง(ชีส) 2 ช้อนโต๊ะ แก้ว ( 230 มล.)

ลูกชิ้น 5-6 ลูก

เนื้อไก่ หมู ปลา ปู กุ้ง หอย ไข่ขาวผง
2 ช้อนกินข้าว หรือเวย์โปรตีน
1 ช้อนผลิตภัณฑ์

ทำอย่างไร…..จะไปถึงเป้าหมาย

ปรับนิดเพิ่มหน่อยจากมื้ออาหารประจำวัน

มื้ออาหาร โปรตีน 50 กรัม โปรตีน 80 กรัม

เช้า มักโรนี ไก่ 2 ช้อนกินข้าว มักโรนี ไก่ 2 ช้อนกินข้าว ไข่สำหรับผัด 2 ฟอง

ว่างเช้า - แซนวิชทูน่า 2 ช้อนโต๊ะ 1ชิ้น

กลางวัน พะโล้เต้าหู้ 3 ช้อนกินข้าว พะโล้เต้าหู้ซี่โครงหมูตุ๋น
ไข่ขาว 1 ฟอง เต้าหู้ 3 ช้อนกินข้าว ซี่โครงหมู 2 ช้อนกินข้าว

เย็น แกงส้มปลานิล ปลานิล 1 ชิ้น แกงส้มปลานิล 1 ชิ้น เนื้อปลาปั่ น 2 ช้อนโต๊ะ

และเต้าหู้ไข่ทรงเครื่อง 1/2 หลอด และเต้าหู้ไข่ทรงเครื่อง 1/2 หลอด

ก่อนนอน นมไขมันต่ำ หรือนมถั่วเหลือง 1 แก้ว นมไขมันต่ำ หรือนมถั่วเหลือง 1 แก้ว
(240 มิลลิตร) (240 มิลลิตร)

ทุกมื้อ ทุกมื้อ กินคู่กับข้าวสวย 1-2 ทัพพี ทุกมื้อ กินคู่กับข้าวสวย 1-2 ทัพพี
จะได้รับโปรตีนรวม 50 กรัม จะได้รับโปรตีนรวม 80 กรัม

กำลังใจจากครอบครัว คนรัก ผู้ป่วยโรคมะเร็งมีความ
เป็นสิ่งสำคัญเช่นเดียวกัน ที่จะทำให้ จำเป็นต้องได้รับปริมาณอาหาร

ผู้ป่วยก้าวข้ามความรุนแรง และสารอาหารที่เหมาะสม
ของโรคได้ เพื่อให้ร่างกายแข็งแรง

พร้อมที่จะทน ต่อผลข้างเคียง
ของการรรักษา ทั้งยังคำนึงถึง
ความชอบและการยอมรับอาหาร

ของผู้ป่วยมะเร็ง

โปรตีน 50 กรัม/วัน (DRI ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวัน)

เทคนิคปรับอาหาร ให้ได้พลังงานและโปรตีนมากขึ้น

ในช่วงที่ได้รับการรักษา ผู้ป่วยอาจทานอาหารได้น้อย ดังนั้น ควรได้รับอาหารที่ให้
พลังงานสูง กินอาหารมื้อเล็ก ๆ วันละหลายมื้อ แทนมื้อใหญ่ 2- 3 มื้อต่อวันแม้ไม่หิว

นมและผลิตภัณฑ์นม อาหารพลังงานสูง
นมไขมันต่ำหรือพร่องมันเนย
ปรับเป็นนมปกติ ข้าวไข่เจียว 1 จาน
พลังงาน 600 kcal/โปรตีน 15 g
เบเกอรี่
แกงจืดเตาหู้ไข่หมูสับ 1 ชาม
ขนมปังแผ่น เติมเนย แยม พลังงาน 119 kcal/โปรตีน 19 g
หรือมาการีน เนยถั่ว บนขนมปัง
กระเพาะปลา 1 ถ้วย
แผ่นเค้ก เติมน้ำผึ้ง อัลมอน พลังงาน 250 kcal/โปรตีน 22 g

ขนมหวาน ข้าวมันไก่ 1 จาน
พลังงาน 600 kcal
ไอศครีมผลไม้
ปรับเป็นไอศรีมนม กะทิ โปรตีน 20 g

เติมน้ำผึ้งในผลไม้ โยเกิร์ต บะหมี่หมูแดง 1 จาน
ขนมหวาน พลังงาน 310 kcal/

น้ำและเครื่องดื่ม โปรตีน 13 g

จากทานน้ำเปล่า ให้ดื่มเครื่องดื่ม ข้าวคลุกกะปิ
ที่มีพลังงานแทน เช่น น้ำผลไม้ นม พลังงาน 630 kcal/โปรตีน 21 g
น้ำสมุนไพร สมู้ทตี้
หรืออาหารทางการแพทย์ ข้าวหมูแดง 1 จาน
พลังงาน 500 kcal/โปรตีน 18 g
ชา หรือกาแฟดำ ปรับเป็น
ดื่ม โกโก้ โอวัลติน ใส่นม ลาบปลาดุก 1 จาน
พลังงาน 140 kcal/โปรตีน 16 g

น้ำพริกอ่อง 1 ถ้วยเล็ก
พลังงาน 165 kcal/โปรตีน 12 g

เมื่ออิ่มง่าย แบ่งทานหลายๆมื้อ ตัวอย่างเมนูอาหาร
1 วัน
ผู้ป่วยมะเร็งจะมีปัญหาอิ่มเร็ว ควรแบ่งมื้อ
อาหารเป็นมื้อเล็ก ๆ อาจแบ่งเป็น 5-6 มื้อ พลังงาน 1600 แคลอรี่

อาหารหลัก 3 มื้อ และอาหารว่าง 2 มื้อ โปรตีน 80 กรัม

มื้ อ เ ช้ า

ข้าวต้มหมูบด + กล้วยน้ำหว้า 1 ผล

ส่วนผสม วิธีทำ
ข้าวสวย 1 ถ้วย 1.หมักหมูสับด้วยซีอิ๋วขาว น้ำมันหอย
น้ำซุปหมู 2.ต้มน้ำ จนเดือด ใส่หมูสับลงไปเป็นก้อน ๆ
หมูบดต้มสุก 30 กรัม ( 2 ช้อนโต๊ะ) 3. พอหมูสุก นำข้าวสวยลงไป ตามด้วยผักชี
ตั้งฉ่าย ต้นหอม ปรุงรสด้วยซีอิ๋ว
ผักชี ต้นหอม ใส่กระเทียมเจียว 1 ช้อนชา
กระเทียมเจียว

ว่างเช้า

ซาลาเปาไส้ถั่วเหลือง 1 ลูก

มื้ อ ก ล า ง วัน

ผัดกระเพราไก่สับราดข้าว+ไข่ดาว 1 ฟอง

ส่วนผสม วิธีทำ
ไก่สับ 45 กรัม (3 ช้อนโต๊ะ) 1. ตั้งกระทะใส่น้ำมันรอให้ร้อนจัด
ใบกระเพรา ตอกไข่ไก่ลงไปทอดจนไข่ดาวกรอบ
พริกแดงจินดา 1 เม็ด 2. ตั้งกระทะใส่น้ำมันให้พอร้อน ใส่กระเทียม
กระเทียม และพริกแดงจินดาลงไปผัดจนหอม
ซอสหอยนางรม ใส่หมูสับลงไปผัด จนหมูเริ่มสุก ปรุงรสด้วย
น้ำปลา ซอสหอยนางรม น้ำปลา และน้ำตาลทราย
น้ำตาลทราย จากนั้นใส่ใบกะเพราลงไป ผัดให้ผักสลด
น้ำมันสำหรับผัด 1 ช้อนโต๊ะ ปิดไฟ
ไข่ไก่ 1 ฟอง
น้ำมัน (สำหรับทอดไข่ดาว) ½ ถ้วยตวง

มื้ อ เ ย็ น มื้ อ ว่า ง บ่ า ย

ข้าวสวย + ต้มยำปลานิล + ผัดบวบใส่กุ้ง เต้าทึงนมสด (น้ำแข็งใส ใส่นมสด)

เครื่องขนมเพิ่มโปรตีน
- ถั่วเขียว
- ถั่วแดง
- ถั่วดำ
- และถั่วเมล็ดแห้ง ต่าง ๆ

ส่วนผสมต้มยำปลานิล วิธีทำ ต้มยำปลานิล

ปลานิล 1 ชิ้น 1. นำปลาล้างแป้งมันให้สะอาด
ต้มหอม ผักใบเลื่อย 2.ต้มน้ำให้เดือดจัด ถึงใส่เกลือและปลาลงไป
3.เมื่อปลาสุกแล้ว ปรุงรสด้วยน้ำปลา มะขามเปียก
มะขามเปียก1 ถ้วยเล็ก
เกลือป่น2-3 ช้อนโต๊ะ และใบมะขามอ่อน ใส่พริกแห้งตำพอหยาบ
น้ำปลา1 ช้อนโต๊ะ
ใบมะขามอ่อน

ส่วนผสมผัดบวบใส่ไข่ วิธีทำ ผัดบวบใส่กุ้ง
บวบ1 ฝัก
กุ้งสด 2 ช้อนกินข้าว 1.ปอกเปลือกบวบ ล้างด้วยน้ำสะอาด หั่นตามชอบ
ไข่ไก่ 1 ฟอง 2.ตั้งกะทะใส่น้ำมัน พอร้อนใส่กระเทียมสับลงผัดให้หอม
แครอท
น้ำมันสำหรับผัด ใส่ไข่ไก่ ขยี้ให้เป็นชิ้น ๆ รอให้ไข่จับตัว ใส่กุ้งสดผัดให้เข้ากัน
กระเทียม 3.ใส่บวบ แครอท ตามด้วยน้ำซุป
น้ำมันหอย 4.ปรุงรสตามชอบ น้ำมันหอย น้ำตาล ซีอิ้วขาว พอบวบสุกยกลง
ซีอิ๊วขาว
น้ำตาลทราย

ก่อนนอน เรียนรู้ไปกับมะเร็ง เมื่อร่างกายต้องการสารอาหาร

อาหารทางการแพทย์ปรุงรสโอวัลติน การทำอาหารเป็นกิจกรรม
ที่ช่วยผ่อนคลายความเครียด
ส่วนผสม ทั้งยัง เป็นการสร้างสรรค์เมนูอาหาร
ผงโอวัลติน 1 ช้อนโต๊ ที่สอดคล้องกับโรคได้ด้วยตัวเอง
อาหารทางการแพทย์ 6 ช้อน เรียนรู้ ดัดแปลง วัตถุดิบได้หลากหลาย
น้ำอุ่น 195 มิลิลิตร ทำให้เพิ่มความอยากอาหาร
ทั้งยังสร้างความสัมพันธ์ที่ดี

ระหว่างคนในครอบครัว

พุ ด ดิ้ ง
ซิ่ ง พ ลั ง ง า น

ส่ ว น ผ ส ม ( สำ ห รั บ 2 ถ้ ว ย )

อาหารทางการ นมพร่อง น้ำตาล มะนาว วนิ ลา เ ก ลื อ ผงวุ้น
แพทย์ 6 ช้อน+ มันเนย 2 ช้อนชา 1 ช้อนชา 1/4 ช้อนชา 1/4 ช้อนชา
200 มล.
น้ำ 170 มล.

น้ำเสาวรส น้ำ เ ป ล่ า น้ำ ผึ้ ง ผงวุ้น
50 กรัม 150กรัม 2 ช้อนชา 1/4 ช้อนชา

วิธีทำ 1.ต้มนมสดกับผงวุ้น คนให้เข้ากัน 10 นาที วิธีทำ 1.ต้มกับผงวุ้น คนให้เข้ากัน 10 นาที
2.เติมน้ำตาล เกลือ คนให้เข้ากัน 2 นาที 2.เติมน้ำผึ้ง คนให้เข้ากัน 2 นาที
3.เติมนมทางการแพทย์ คน 3 นาที 3.เติมน้ำเสาวรส คน 3 นาที
4.เติมน้ำมะนาว ปิดไฟ เติมวนิลา 4. ปิดไฟ

คุ ณ ค่ า ท า ง โ ภ ช น า ก า ร ต่ อ 1 ถ้ ว ย ป ร ะ โ ย ช น์

พลังงาน 230 แคลอรี่ เสริมพลังงานสารอาหารให้ผู้ที่ต้องการพลังงานเพิ่ม
โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต ได้รับวิตามินจากธรรมชาติ
16.5 กรัม 8.2 กรัม 70 กรัม บรรเทาอาการคลื่นไส้ ช่วยกระตุ้นการรับรส

การเลือกใช้
อาหารทางการแพทย์

เมื่อไม่สามารถทานอาหารปกติได้ จากปัจจัยหลาย ๆ อย่าง
อาหารทางการแพทย์ เป็นอาหารทางเลือกที่มีคุณค่าโภชนาการที่ช่วยฟื้ นฟูร่างกายได้
เพิ่มโอกาสในการฟื้ นตัวได้รวดเร็ว มากกว่ากระตุ้นให้ทานเอง และยังสะดวกในการบริโภค
สามารถหาซื้อได้จากร้านขายยาทั่วไป ในโรงพยาบาล และห้างสรรพสินค้าได้

สูตรปกติ ใช้ดื่มแทนอาหาร
หรือดื่มเสริมได้บางมื้อที่ทานได้น้อย
มีหลายยี่ห้อ ให้เลือกจากรสชาติที่ผู้ป่วยยอมรับได้

สูตรโปรตีนสูง ใช้ภายใต้คำแนะนำของ
แพทย์หรือนักโภชนาการ

กินช่วงที่มีการฟื้ นฟูกล้ามเนื้อ

ผู้ป่วยทานได้ ผู้ป่วยทานได้ อาหารทางการแพทย์
น้อยกว่า 75 % สามารถดัดแปลง
น้อยกว่า 50 % ประกอบอาหารได้
ดื่มเสริมระหว่างมื้อ
2-3 แก้ว ดื่มแทนมื้ออาหาร 1 วัน ซุปข้าวโพด / แพนเค้ก
ดื่ม 4-6 แก้ว พานาคอตต้า / สังขยา
แก้วละ 250 แคลอรี่ ให้พลังงาน ไอศกรีม / ฟรุ๊ตสลัด
โปรตีน 10-20 กรัม วุ้นรสต่าง ๆ / พุดดิ้ง
1000-1500 แคลอรี่ สมูทตี้ / เครื่องดื่มต่าง ๆ
โปรตีน 40-60 กรัม แพนงไก่ / บัวลอยนม
ต้มข่าไก่ / ขนมไทย
เวย์โปรตีน ทางการแพทย์
ใช้เมื่อมีคำแนะนำจากแพทย์ เภสัชกร

นักโภชนาการ

ข้อแนะนำ การเลือกใช้วิตามิน
และอาหารเสริม

แนะนำ ข้อมูลป้องกันมะเร็งจาก” กองทุนวิจัยมะเร็งโลก “ แนะนำว่า
ไม่ควรใช้อาหารเสริมในการป้องกันมะเร็ง แต่ควรกินอาหารตามปกติ
ให้หลากหลาย และมีสารอาหารครบถ้วนมากกว่า เพราะอาหารจาก

ธรรมชาติ เป็นแหล่งของวิตามินและแร่ธาตุที่ดีที่สุด

วิตามิน ซี

วิตามิน อี

น้ำมันพืช

วิตามินดี

รับแดด 10 นาที ช่วงเช้า

โฟเลต

ผักใบเขียวเข้ม

วิตามินชนิดเม็ดหรือแคปซูลกินเฉพาะเมื่อแพทย์สั่งเท่านั้น
หากต้องการเสริมวิตามินเพื่อป้องกันการขาด ควรพิจราณาขนาดรับประทานได้
ไม่เกิน DRI ( ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวัน)

ผลข้างเคียง
ของการบำบัดรักษา

โรคมะเร็ง

คลื่นไส้ อ่อนเพลีย

อมน้ำแข็ง จิบเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของโซดา แบ่งอาหารเป็นมื้อเล็ก ๆ ใช้อาหารอ่อน
เลี่ยงอาหารที่มีกลิ่นฉุน รสจัด รสหวาน ใช้แรงเคี้ยวน้อยที่สุด
รับปประทานอาหารแห้ง เช่น แครกเกอร์ พักผ่อนบ่อย ๆ ก่อนมื้ออาหาร
ขนมปังกรอบ
ทานอาหารเย็น เช่น โยเกิร์ต น้ำแข็งใส อิ่มเร็ว -กินได้น้อย
ผลไม้ลอยแก้ว น้ำผลไม้
เลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง ให้เครื่องดื่มที่มีสารอาหารเข้มข้นดื่มระหว่างมื้อ
เสริมอาหารทางการแพทย์
การรับรสเสียไป ทานอาหารมื้อเล็ก ๆ แต่บ่อยครั้ง
หลีกเลี่ยงอาหารย่อยยาก เช่น อาหารทอดมัน
กลั้วคอหรือลิ้น ก่อนรับประทานอาหาร
เสิรฟ์อาหารที่อุณหภูมิร้อน จะช่วยให้กลิ่น ท้องเสีย
และรสดีขึ้น
น้ำมะนาว จะช่วยกระตุ้นการรับรส หรือมีกลิ่นมินท์ ดื่มน้ำให้เพียงพอ เสริมเครื่องดื่มให้พลังงาน
หลีกเลี่ยงใช้ภาชนะพลาสติกหรือโลหะ และเกลือแร่
เลี่ยงอาหารที่ทำให้เกิดแก๊ส เช่น ถั่วเมล็ดแห้ง
แผลในช่องปาก น้ำอัดลม

รับประทานอาหารอ่อน เลี่ยงอาหารรสจัด
รสเผ็ด เครื่องเทศเผ็ดร้อน
เลี่ยงผลไม้ที่เป็นกรด หรือรสเปรี้ยว
เสิร์ฟอาหารอุณหภูมิห้อง ไม่ร้อน ไม่เย็น

อาเจียน นอกจากนี้
ไม่ค่วยดื่มน้ำก่อนรับประทานอาหาร
จิบของเหลวใส เช่น น้ำหวาน น้ำซุปใส เคี้ยวช้า ๆ ให้ละเอียด เพื่อช่วยในการย่อย
ทุก 10-15 นาที หลังอาเจียน การรักษาความสะอาดช่องปาก
จิบน้ำบ่อย ๆ บ้วนปากบ่อย ๆ ด้วยน้ำอุ่น

ความเชื่อด้าน
สุขภาพ

ผู้ป่วยมะเร็ง ยังมีข้อสงสัยในเรื่องการรับประทานอาหารอย่างไร ให้เหมาะสม
1.งดบริโภคโปรตีนประเภทเนื้อสัตว์ เชื่อว่า ทำให้เซลล์มะเร็งเติบโต __,

เนื้อสัตว์ไม่ได้เร่งมะเร็ง แต่ควรรับประทานประเภทเนื้อขาว
เช่น ปลา ไก่ กุ้ง ไข่ เนื้อแดงทานได้ไม่เกิน 500 กรัม/สัปดาห์
ปรุงประกอบโดยการ ต้ม นึ่ง ตุ๋น ผัด มากกว่าปิ้ง ย่าง
หลีกเลี่ยงเนื้อสัตว์แปรรูป ไส้กรอก แฮม รมควัน

2.กินน้ำตาล มะเร็งยิ่งเติบโต _____.
เซลล์มะเร็งไม่ได้พึ่งพาน้ำตาลจากอาหาร

แต่ร่างกายกระตุ้นการสร้างน้ำตาลขึ้นมาให้เซลล์
มะเร็งได้ จากการสลายกล้ามเนื้อ

น้ำตาลสามารถทานได้ปริมาณที่พอเหมาะ
เพื่อป้องกันความเสี่ยงต่อโรคอ้วน เบาหวาน

3.เน้นทานน้ำคั้นจากผักและผลไม้ ____.
ผักหรือผลไม้ กับ น้ำผักหรือผลไม้ ไม่ใช่สิ่งเดียวกัน เพราะน้ำผัก
ผลไม้ ไม่มีใยอาหาร มีน้ำตาลสูง และหากทานน้ำผัก ผลไม้ใน
ปริมาณมาก อาจมีผลกับยาบางชนิด

4. ห้ามดื่มนมวัว_____.
กองทุนวิจัยมะเร็งโลก ประมวลผลทั่วโลก
พบว่า นมวัวไม่ทำให้เป็นมะเร็ง

5. นมถั่วเหลืองมีผลต่อมะเร็งหรือไม่____.
ถั่วเหลือง มีคุณค่าโปรตีนสูง การกินถั่วเหลืองไม่
ได้เพิ่มความเสี่ยง หากทานในปริมาณปกติ แต่
ไม่แนะนำให้ใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่สกัดจาก
ถั่วเหลือง

ข้อแนะนำในการบริโภค

ไขมัน เลือกใช้ไขมันชนิดไม่อิ่มตัว หลีกเลี่ยงอาหารที่มีน้ำมันมาก หรือ
เช่น น้ำมันรำข้าว น้ำมันพืช อาหารใส่กะทิ เพื่อลดอาการอาเจียน
คลื่นไส้
เสริฟอาหารขณะเย็น
ช่วยบรรเทาอาการปวด หลีกเลี่ยงอาหารรสจัดมาก ๆ
เช่น พริกไทย กระเทียม
ทานอาหารที่เคยรับประทาน ทำให้ระคายเคืองให้แก่ผู้ป่วยเคมีบำบัด
แต่เดิมเป็นประจำ ช่วยให้ทานได้ง่าย
ไม่ควรทานอาหารที่ปรุงเสร็จ
เนื้อสัตว์ทุกชนิด ประกอบอาหาร แล้ว ตั้งทิ้งไว้เกิน 2-4 ชั่วโมง
โดยต้ม ลวก นึ่ง ตุ๋น ผัด ทอดได้บ้าง
ควรเลี่ยง ปิ้ ง ย่าง ดิบ
ผัก ผลไม้ ล้างให้สะอาด และเนื้ อสัตว์แปรรูป
โดยเฉาะผลไม้ทานได้ทั้งเปลือก
ปรุงรสให้เค็มพอสมควร
อาหารทุกอย่างควรปรุงให้สุก

ใช้พืชสมุนไพร เป็นส่วนประกอบอาหาร
พบว่าช่วยให้ทานอาหารได้ดี
โดยเฉพาะมะนาว

แนะนำอาหารเหลว ๆ
เพื่อลดการเสียดสีในช่องปาก

การเคี้ยวอาหาร
ควรทำอาหารชิ้นเล็ก นิ่ม กลืนง่าย

ชื่อ วันที่

รอบรู้ เรื่องฉลาก

ฉลากโภชนาการ หมายถึง
ฉลากที่ถูกติดไว้บนผลิตภัณฑ์อาหารหรือเครื่องดื่มสำเร็จรูปชนิดต่างๆ
เพื่อบอกข้อมูลทางด้านโภชนาการ เช่น ปริมาณ คุณค่าทางอาหาร วันที่ผลิต เป็นต้น

การอ่านฉลากโภชนาการที่มีโปรตีน ในผลิตภัณฑ์อาหารต่าง ๆ

หนึ่งหน่วยบริโภค หมายถึง
กิน/ดื่ม ครั้งละ

1 แก้ว หรือ 250 มิลลิตร
หน่วยบริโภคต่อ 1 แก้ว

หมายถึง นมกล่องนี้เมื่อกิน 1 แก้ว
จะได้ปริมาณสารอาหาร 2 หน่วยบริโภค

คุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่ งหน่ วยบริโภค
หมายถึง หากเรากินนมกล่องนี้แต่ละครั้ง

จะได้รับพลังงาน
และสารอาหารที่ระบุเท่าไหร่

ยกตัวอย่าง โปรตีน
กินนม 1 กล่องนี้จนหมด
จะได้รับโปรตีน 14 กรัมโปรตีน

ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน หมายถึง สารอาหารที่ได้รับจาก
การกินครั้งนี้ คิดเป็นสัดส่วนเท่าใดของที่เราได้รับต่อวัน

ประโยชน์ของฉลากโภชนาการ
เพื่อเป็นข้อมูลให้ผู้บริโภคได้เปรียบเทียบข้อมูลสินค้าในชนิดเดียวกัน
เพื่อช่วยให้ผู้บริโภคเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ได้ตามความเหมาะสมและจำเป็นต่อร่างกาย
เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับผู้ป่วยบางประเภท เช่น ผู้ป่วยมะเร็ง
สามารถดูได้ว่าผลิตภัณฑ์ชนิดใดที่มีโปรตีนสูง

Nutrition in
Cancer

ผู้รอดชีวิตจากโรคมะเร็ง มีหลายปัจจัยที่เพิ่มโอกาสในการรอดชีวิต
หรือโอกาสรอดชีวิตลดลง เนื่องจากระยะของโรค วิธีการรักษา
พันธุกรรม อาหารและโภชนาการ การออกกำลังกาย สภาพจิตใจ
และการได้รับการดูแลและกำลังใจที่ดี

กลุ่มงานโภชนศาสตร์
โรงพยาบาลเลิดสิน

เอกสารที่อ้างอิง

1.จงจิตร อังคทะวานิช, โภชนาการและการกำหนดอาหารในโรคมะเร็ง
2. Ensure,เมนูอาหารว่างเสริมพลัง
3. กินอย่างไร..เมื่อฉายแสง-เคมีบำบัด สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์, www.chulacancer.net
4. กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข , ตารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการของอาหารไทย, 2544
5. Maurizio Muscaritoli ,Clinical Nutrition
6. Thai NutriSurvey , โปรแกรมคำนวณปริมาณสารอาหาร


Click to View FlipBook Version