The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานความเป็นเลิศของกศน.ตำบลบางเตยเดือนเมษายนถึงสิงหาคม2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานความเป็นเลิศของกศน.ตำบลบางเตยเดือนเมษายนถึงเดือนสิงหาคม2563

รายงานความเป็นเลิศของกศน.ตำบลบางเตยเดือนเมษายนถึงสิงหาคม2563

รายงานกระบวนการปฏบิ ตั งิ านทเี่ ปน็ เลศิ
(Best Practice)

เดอื นเมษายน - สงิ หาคม ๒๕๖๓
ประจำปงี บประมาณ ปี ๒๕๖๓
เรอื่ ง การสรา้ งโลโกก้ ลมุ่ ผลิตภณั ฑผ์ กั ตบชวา

จัดทำโดย
นางสาวจรุ ีรตั น์ ผลงาม
ครู กศน.ตำบลบางเตย

กศน.ตำบลบางเตย
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอสามโคก
สำนกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั ปทมุ ธานี
สำนกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

สำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

1

คำนำ

สำนักงาน กศน. กำหนดยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2563 เป็นกลไก
สำคัญ ใน การขับเคลื่อนน โยบายรัฐบาลภายใต้การน ำของน ายกรัฐมน ตรีและรัฐมน ตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการ ภายใต้ 6 ยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ ให้ปรากฏเป็นรูปธรรม โดยใช้เป็นกรอบ
ทิศ ท างแ ละ แ น ว ทาง ใน ก าร ว าง แผ น ป ฏิ บั ติก าร และ ร ายง าน ก ร ะ บ ว น ก าร ห รือก าร ปฏิ บั ติ งาน ที่ เป็น เลิ ศ
(Best Practice)เปน็ แบบอย่างที่ดีให้หน่วยงานอื่นนำไปปฏิบัติได้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยอำเภอสามโคกได้นำนโยบายไปสกู่ ารปฏบิ ตั อิ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม มคี ุณภาพ และประสิทธิภาพ

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสามโคก ได้จัดทำรายงาน
กระบวนการหรือการปฏิบัติงานท่ีเป็นเลิศ (Best Practice)เป็นแบบอย่างที่ดีให้หน่วยงานอื่นนำไปปฏิบัติได้
นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานสำนักงาน กศน. นโยบายของจังหวัด
ปทุมธานี อำเภอสามโคก ตลอดจนบริบท ความต้องการของประชาชนในพ้ืนท่ีมากำหนดเป็นแนวปฏิบัติ
กำหนดเป็นวิสัยทัศน์ พันธกิจ เปา้ ประสงค์ เพอ่ื ให้งานประสบผลสำเรจ็ เนน้ กลุม่ เป้าหมายตามภารกจิ ในพื้นที่
เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างมีคุณภาพทั่วถึง ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน ชุมชน เพื่อให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้
ผู้รับบรกิ ารได้รับการศกึ ษาทม่ี คี ุณภาพไดม้ าตรฐานและมคี ุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

รายงานกระบวนการหรือการปฏบิ ัติงานท่เี ป็นเลศิ (Best Practice)เป็นแบบอยา่ งทด่ี ใี ห้หน่วยงาน
อื่นนำไปปฏิบัติได้ เล่มน้ี สำเร็จลุลวงด้วยดี เป็นไปตามเป้าหมาย ด้วยความร่วมมือของบุคลากร ภาคี
เครือข่าย และผู้เก่ียวข้องร่วมกันระดมความคดิ เหน็ วิเคราะห์จดุ เด่น จดุ ดอ้ ย โอกาส อุปสรรค (SWOT) นำผล
การปฏิบัติงานในปีงบประมาณท่ีผ่านมา โดยทบทวน ปรับปรุง แก้ไขและพัฒนา เพื่อกำหนดเป็นแผนงาน
โครงการและกิจกรรมต่างๆ ในการพัฒนางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของอำเภอสาม
โคก ให้มีประสทิ ธภิ าพ สนองตอบความตอ้ งการของประชาชนในพน้ื ท่ี

หวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานกระบวนการหรือการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice)เป็น
แบบอย่างทด่ี ีใหห้ นว่ ยงานอน่ื นำไปปฏิบัติได้ เล่มนี้ จกั เป็นกรอบทิศทางการปฏิบตั ิงาน และการประสานแผน
ของบุคลากรและผู้เก่ียวข้อง เพ่ือให้การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย บรรลุตาม
วตั ถปุ ระสงค์ มคี ุณภาพตามทีก่ ำหนดไว้ ตลอดจนเปน็ ประโยชน์ต่อหนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้องสบื ไป

กศน.ตำบลบางเตย
สิงหาคม ๒๕๖3

2

สารบญั หนา้

คำนำ 4
สารบัญ ๑4
๑7
บทท่ี 1 บรบิ ท กศน.ตำบลบางเตย
บทท่ี ๒ บทบาทหนา้ ท่แี ละภารกจิ กศน.ตำบล
บทที่ ๓ ผลการดำเนินงาน

ภาคผนวก
คณะผู้จัดทำ

3

บทท่ี ๑

บรบิ ทตำบล/กศน.ตำบลบางเตย

4

ข้อมลู พืน้ ฐานกศน.ตำบลบางเตย
บริบทของตำบลบางเตย
สภาพท่ัวไปของตำบล
ลักษณะที่ตงั้

ตำบลบางเตย ต้ังอยู่ในเขตการปกครองของอำเภอสามโคก ประกอบไปด้วยจำนวนหมู่บ้านทั้งหมด
๑๐ หมู่บา้ น ได้แก่ หมู่ท่ี ๑ บ้านลำลาด , หมู่ที่ ๒ บ้านบางเตย ,หมู่ท่ี ๓ บ้านตากแดด ,หมู่ท่ี ๔ บ้านลาดด้วน
,หมู่ท่ี ๕ บ้านคลองอ้ายจาม ,หมู่ที่ ๖ บ้านคลองลิง หมู่ที่ ๗ ,๘, ๙ บ้านบางเตย ,หมู่ท่ี ๑๐ บ้านลาดบัว
นอกจากน้ี ตามประวัติศาสตร์ตอนต้นรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พ.ศ.๒๒๐๓ กล่าวว่า สมิงกับพวก
๑๐ คน พาชวนชาวเมืองมอญเมาตะมะ จำนวน ๕,๐๐๐ คน อพยพหนีความเดือดร้อนมาจากพม่า มาท่ีพระ
บรมโพธิสมั ภารของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชและให้ต้งั บ้านเรอื น อยทู่ ี่สามโคก
อาณาเขตตำบล : ทิศเหนือ ตดิ ตอ่ ต.คลองควาย อ.สามโคก จ.ปทุมธานี
ทิศใต้ ตดิ ตอ่ ต.สามโคก อ.สามโคก จ.ปทมุ ธานี
ทิศตะวนั ออก ติดตอ่ แม่นำ้ เจ้าพระยา
ทิศตะวนั ตก ติดต่อ ต.บ่อเงิน ,ต.คูขวาง และ ต.คูบางหลวง อ.ลาดหลมุ แกว้ จ.ปทุมธานี

จำนวนประชากรในเทศบาลตำบลบางเตย
หมบู่ า้ น ดังนี้ หมู่ ท่ี ๑ บ้านลำลาด , หมู่ที่ ๒ บา้ นบางเตย ,หม่ทู ี่ ๓ บา้ นตากแดด ,หมู่ที่ ๔ บา้ นลาด

ดว้ น ,หมู่ท่ี ๕ บา้ นคลองอ้ายจาม ,หมู่ท่ี ๖ บ้านคลองลงิ หมทู่ ่ี ๗ บา้ นบางเตยหม่ทู ่ี ๗ ,หมู่ที่ ๘ บ้านบาง
เตยหม่ทู ี่ ๘ , หม่ทู ่ี ๙ บ้านบางเตยหมทู่ ๙่ี ,หมทู่ ่ี ๑๐ บา้ นลาดบัว

แหลง่ น้ำ
- ลำคลอง
- บอ่ บาดาล
การระบายนำ้
เทศบาลตำบลบางเตยจะเปน็ ลกั ษณะของการระบายนำ้ ไม่ทัน เนอ่ื งจากพืน้ ที่ทางกายภาพมีลักษณะ

ลาดเอยี งไมม่ ากนกั และมีชุมชนตงั้ อย่บู ริเวณรมิ คลองบนพ้ืนท่ีทางระบายนำ้ จึงทำใหเ้ กดิ ปญั หาน้ำท่วมการ
ประปาในเขตเทศบาลตำบลบางเตยมีระบบการประปาแต่เพียงบางส่วนประชาชนสว่ นใหญ่ใชน้ ้ำจากแม่น้ำลำ
คลองและนำ้ ฝนมาเพ่ือ

5

๑. ครัวเรือนทใ่ี ชบ้ ริการน้ำประปา จำนวน ๑,๐๐๕ หลงั คาเรือน
๒. หนว่ ยงานเจ้าของกิจการน้ำประปาของสว่ นท้องถิน่ จำนวน - แห่ง
๓. นำ้ ประปาที่ผลิตได้ จำนวน - ลกู บาศก์เมตร/วัน
๔. น้ำประปาท่ีตอ้ งการใช้ จำนวน ๑,๑๒๐ ลูกบาศกเ์ มตร/วัน
๕. แหล่งน้ำดบิ สำหรับผลิตนำ้ ประปา จำนวน - แหง่
ไฟฟ้า
การบริการด้านไฟฟ้าในเขตเทศบาลตำบลบางเตย ดำเนนิ การโดยการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดปทุมธานี
ในปัจจุบันสามารถ ขยายเขตไฟฟ้าเพ่ือให้บริการแกป่ ระชาชนตามถนนสายต่างๆเกือบครอบคลุมทุกพ้นื ท่ีของ
เทศบาลแล้ว และมีหน่วยบริการผู้ใช้ไฟฟ้า อำเภอสามโคก ซึ่งต้ังอยู่ในหมู่ท่ี ๙ แต่การให้บริการไฟฟ้าแสง
สว่างสาธารณะตามถนนหลายสาย ในเทศบาลยงั ไมเ่ พยี งพอเทา่ ที่ควร

การสอ่ื สาร
- จำนวนโทรศัพทพ์ น้ื ฐาน ๖๓๗ หมายเลข
- จำนวนโทรศัพท์สาธารณะ ๕๒ หมายเลข

ลักษณะการใช้ท่ีดนิ
การตั้งถ่ินฐานและการใช้ประโยชน์ท่ีดินปัจจุบันของเทศบาลตำบลบางเตย มีลักษณะการตั้งชุมชนข้ึน

หนาแนน่ บรเิ วณรมิ ฝั่งแมน่ ้ำ เจา้ พระยา สามารถจำแนกการใช้ประโยชน์ท่ดี นิ
๑. การใช้ท่ีดนิ ประเภทที่อย่อู าศัย จะกระจายตัวอยู่โดยท่วั ไปในชุมชนบางเตย กระจายตัวอยู่ตามริม

แม่น้ำเจา้ พระยา สว่ นใหญเ่ ป็นบ้านเด่ียวความสูงประมาณ ๑-๒ ช้นั เป็นส่วนใหญ่
๒. การใชท้ ่ีดินประเภทพาณิชยกรรม ต้ังอยู่บริเวณรมิ แมน่ ้ำเจา้ พระยาสว่ นใหญ่จะเป็นบ้านแถวและ

บรเิ วณทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข ๓๑๑๑ (ปทุมธานี-สามโคก-เสนา) ส่วนใหญเ่ ป็นตึกแถว
๓. การใช้ที่ดินประเภทอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่เป็นลักษณะของอุตสาหกรรมก่อสร้างท่อคอนกรีต

อตุ สาหกรรมต่อและซ่อมเรือ อุตสาหกรรมแปรรูปไม้ มีลักษณะเป็นโรงงานขนาดกลางและขนาดใหญ่ มีกำลัง
เคร่ืองขนาดใหญ่ในการผลติ มที ตี่ ง้ั อยู่บริเวณริมแมน่ ้ำเจ้าพระยาเปน็ ส่วนใหญ่เนื่องจากสะดวกในการขนสง่ ทาง
น้ำ

๔. การใช้ที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา มีจำนวน ๔ แห่ง ได้แก่ โรงเรียนวัดจันทน์กะพ้อ
โรงเรียนวดั บางเตยนอก โรงเรียนวดั บางเตยใน และโรงเรียนปทมุ วทิ ยา

๕. การใชท้ ่ีดินประเภทสถาบันศาสนา ในชุมชนมี วัด ๕ แห่ง ได้แก่ วดั จันทน์กะพ้อ วัดบาง
เตยกลาง วัดบางเตยนอก วดั บางเตยใน วัดดอกไม้ มัสยิด ๑ แห่ง ได้แก่ มัสยิดมีอุสลาม หมู่ที่ ๘ และ
ศาลเจ้า ๒ แหง่

๖. การใช้ท่ีดินประเภทสวนสาธารณะและพักผ่อนหย่อนใจในเทศบาลมี ลักษณะของสนามเด็กเล่น
และสวนย่อมกระจายอยตู่ ามชมุ ชน ในเขตเทศบาล ซึง่ เป็นลกั ษณะของสวนยอ่ มขนาดเลก็

๗. การใช้ท่ีดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ตั้งอยู่บริเวณริมทาง
หลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๑๑๑ (ปทุมธานี-สามโคก-เสนา)ซ่ึงเทศบาลตำบลบางเตยและหน่วยราชการที่
เก่ยี วขอ้ งในท้องท่ีจะตอ้ งอยู่ใกล้เคียงในบริเวณที่ตง้ั ของท่วี า่ การอำเภอสามโคก

๘. การใช้ทีด่ ินประเภทชนบทและเกษตรกรรม ไดแ้ ก่ พ้ืนท่ีโดยรอบชุมชนรวมทงั้ พนื้ ทชี่ นบททัว่ ไป

6

เสน้ ทางการคมนาคม
การคมนาคมและขนส่ง

๑. สภาพถนนปัจจุบัน เทศบาลตำบลบางเตย สามารถติดต่อระหว่างชุมชนได้อย่างสะดวก มีเส้นทาง
คมนาคมสายสำคัญ คือ ทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๑๑๑ (ปทุมธานี - สามโคก-เสนา)ท่ีเช่ือมโยงกับตัว
จังหวัดปทุมธานี และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๗ เป็นทางหลวงพิเศษสามารถเช่ือมต่อทางหลวง
หมายเลข ๓๑๑๑ ได้สภาพถนน โดยส่วนใหญ่พ้ืนท่ีผิวจราจรบนถนนสายหลัก อยู่ในสภาพดี บริเวณที่มี
ปัญหา ได้แก่ ถนนในชุมชน ซ่ึงมีขนาดเขตทางคับแคบ ไม่มีท่อระบายน้ำเป็นระบบและถนนบางแห่งมี
สภาพผิวจราจรชำรดุ ทรดุ โทรมสมควรไดร้ บั การพฒั นาต่อไประบบและโครงขา่ ยถนน การเชอื่ มโยงการจราจร
ระหว่างถนนแต่ละสายในปัจจุบันยังขาดความต่อเนื่องที่ดี ในอนาคตควรมีการ ปรับปรุง ระบบโครงข่าย
คมนาคมเพื่อรองรบั จำนวนท่ีเพ่ิมมากขน้ึ ในอนาคต

๒. การขนส่งผู้โดยสาร ปัจจุบันเทศบาลตำบลบางเตย เป็นลักษณะของป้ายรถประจำทางบริเวณทาง
หลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๑๑๑ (ปทมุ ธานี-สามโคก-เสนา) และตามซอยของถนนสายเทศบาลต่าง ๆ ท่อี ยูใ่ น
เขตเทศบาลความปลอดภัยในชวี ิตและทรัพย์สนิ

การสาธารณสุข
-โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพประจำตำบลบางเตย ๑ แหง่

ข้อมลู อาชีพของตำบล : อาชพี หลกั ทำนา อาชพี เสริม รบั จา้ ง
ข้อมลู สถานทส่ี ำคัญของตำบล :

๑.วัดจันทน์กะพอ้ ม. ๓
๒.วัดดอกไม้ ม. ๙
๓.วดั บางเตยกลาง ม. ๙
๔.วดั บางเตยนอก ม. ๙
๕.วัดบางเตยใน ม. ๗
๖.ทวี่ า่ การอำเภอสามโคก
๗.ที่ทำการไปรษณยี ์สามโคก
๘.สถานีตำรวจตรวจคนเขา้ เมอื ง อ.สามโคก
๙.สว่ นราชการระดบั อำเภอ
สถานศึกษามีดงั น้ี
๑. โรงเรียนวัดจนั ทรก์ ะพอ้ ตัง้ อยบู่ รเิ วณวัดจันทร์ หมูท่ ่ี ๓
๒. โรงเรียนวัดบางเตยนอก ตั้งอยู่ในบริเวณวัดบางเตยนอก หมทู่ ี่ ๙
๓. โรงเรยี นวัดบางเตยใน ต้ังอยู่ในบริเวณวดั บางเตยใน หมูท่ ี่ ๗
๔. โรงเรยี นปทมุ วทิ ยา ต้งั อยู่ตรงข้ามโรงเรียนวดั บางเตยนอก หมูท่ ี่ ๙
๕. กศน.ตำบลบางเตย หมู่ที่ ๙

แหล่งเรยี นรู้

๑.วดั จนั ทนก์ ะพอ้
๒.ชมรมผสู้ งู อายุวัดจันทร์กะพอ้
๓.บา้ น ๑,๐๐๐ ไม้
๔.ศนู ย์เรียนรู้ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหมป่ ระจำตำบบางเตย

7

ประเพณีทอ้ งถ่ิน

- ตกั บาตรน้ำผึ้ง

- ตักบาตรพระร้อย
- ผีกระโหลกผีกระลา
- มอญซอ้ นผา้

- ลกู หนู
- สะบ้าดดี

ข้อมลู ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ

ลำดับท่ี วทิ ยากร/ชำนาญการ จดุ เดน่ /เนอื้ หาการเรยี นรู้ ทต่ี งั้
๑. นางจรรยา ล้ิมสวุ รรณ การทำผลติ ภัณฑ์จากสมนุ ไพร ม.๔ ต.บางเตย
ม.๔ ต.บางเตย
๒. นางสงั เวียน บุญสร้าง การผลติ ดอกไม้จากผ้าใยบัว ม.๕ ต.บางเตย

๓. นายประสงค์ รามสิทธ์ิ การเพาะเหด็ ชนดิ ต่างๆ ม.๗ ต.บางเตย

๔. นางสาวศริ ิมาพร ต้นไม้มงคล บายศรีปากชาม ม.๖ ต.บางเตย
สวุ รรณทพั พะ แหล่งเรยี นรเู้ ศรษฐกิจพอเพียง
ม. ๕ ต.บางเตย
๕ นางสมจติ ผลงาม

๖ นายสญั ญา ฐานหมัน่ ศูนย์การเรยี นรปู้ รัชญาเศรษฐกจิ
พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่
ประจำตำบลบางเตย

8

ข้อมูลกศน.ตำบลบางเตย

ช่อื สถานศึกษา : กศน.ตำบลบางเตย เลขที่ ๒๓๑ หมู่ที่ ๙ ตำบลบางเตย อำเภอสามโคก จงั หวัดปทุมธานี

รหสั ไปรษณีย์ ๑๒๑๖๐ จดั ตงั้ วนั ที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๔๘ ณ บริเวณวดั บางเตยนอก

พกิ ัดท่ตี งั้ : ๑๔.๐๖๘๒๕๐๔ ๑๐๐.๕๒๕๙๓๕๙

โทรศพั ท์พ้ืนฐาน : ๐๒๕๙๓๔๕๐๔ , ๐๙๕๙๖๐๙๒๙๓

website : https://bangteynews.makewebeasy.com/

fanpage : https://www.facebook.com/profile.php?id=๑๐๐๐๐๙๖๘๒๙๕๔๕๓๓&ref=bookmarks

พ้ืนทต่ี ำบล : เทศบาลตำบล

ลกั ษณะพน้ื ที่ : ชมุ ชนเมอื ง

เครอื ขา่ ยหลกั : วดั ,มสั ยดิ ,โบสถ์(สถานที่ทางศาสนา)

ลักษณะทต่ี ง้ั : กศน.ตำบลในวดั

ลกั ษณะการใช้ไฟฟา้ : ใชร้ ่วมกบั หน่วยงานอน่ื

น้ำปะปา :น้ำประปา

Internet :ใชส้ าย

Wifi : มี

คอมพวิ เตอร์ : ๑ เครื่อง

การป้องกัน computer : ระบบป้องกันไวรัส

ผูใ้ ช้ (Internet/Wifi)/เดอื น :๘๐ คน

ผูใ้ ชบ้ รกิ าร กศน./เดอื น : ๘๐ คน

อุปกรณ์สำนักงาน :

โต๊ะ : ๑๒ ตัว

เก้าอี้ : ๓๐ ตวั

โทรทัศน์ :๑ เครือ่ ง

เครือ่ งเลน่ CD/DVD : ๐ เคร่ือง

เครื่องโทรสาร : ๐ เครื่อง

จานดาวเทยี ม : ๑ ชดุ

9

คณะกรรมการ กศน.ตำบลบางเตย ประธานกรรมการ
๑. พระครโู สภณศาสนคุณ รองประธาน
๒. นายศักดด์ิ า ชนนยิ ม กรรมการ
๓. นางพรนิภา พวงดี
กรรมการ
๔. นายอำนวย ผลงาม
กรรมการ
๕. นางกาญจนา ชยั ประภา
กรรมการ
๖. นางบุญเลอ่ื น โพธิ์นอก กรรมการ
๗. นายสัญญา ฐานหมั่น กรรมการ
๘. นางจรูญ เผือกเจยี ม กรรมการ
๙. นางสาวกาญจนา โรจนะนาค กรรมการ
๑๐.นายอนชุ า ผลงาม กรรมการ
๑๑.นายมนสั นันท์ ทรงโภคิน กรรมการ
๑๒.นางสมจิต ผลงาม กรรมการและเลขานุการ
๑๓.นางสาวจุรรี ตั น์ ผลงาม
อาสาสมคั ร กศน.ตำบลบางเตย
๑.นางสมจติ ผลงาม
๒.นางพเยาว์ พานิชเจรญิ รัตน์
๓.นางบญุ เลอื่ น โพธ์นิ อก
๔.นางสมบรู ณ์ เชอื้ เชยี ง
๕.นางสาวทวี แซ่โง้ว
๖.นายมนัสนนั ท์ ทรงโภคนิ
๗.นางสาวอัญญารัตน์ อารยะสมั พนั ธ์
๘.นางสาวมาลี สายดว้ ง

อาสาสมัครส่งเสรมิ การอา่ น กศน.ตำบลบางเตย
๑. นายมนัสนันท์ ทรงโภคนิ
๒. นางกาญจนา โรจนะนาค
๓. นายอตพิ ร แก้วชาติ

10

การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม กศน. ตำบลบางเตย (SWOT Analysis)

จากการวเิ คราะหข์ อ้ มูลพ้นื ฐานสภาพแวดล้อมภายในและภายนอก ของกศน.ตำบลบางเตย ซง่ึ พบว่า
มศี ักยภาพทส่ี ำคัญ ดงั นี้
การดำเนินงาน

กศน.ตำบลบางเตย มีหน้าที่ในการจัดการศึกษานอกโรงเรียน โดยมุ่งให้ประชาชนได้รับการศึกษา
เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง โดยการผสมผสานการศึกษาในระบบโรงเรียน และการศึกษานอกระบบ
โรงเรยี น รวมไปถึงการศึกษาตามอัธยาศยั เพ่อื ใหป้ ระชาชนไดร้ ับการศกึ ษาตลอดชีวติ
ปรัชญา

คิดเป็น สรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ พัฒนาอาชีพอย่างย่ังยืน
วิสัยทัศน์

กศน.ตำบลบางเตย จัดและส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ให้กับประชาชน
ในชุมชนทุกคน ไดเ้ รียนร้อู ยา่ งตอ่ เน่ืองตลอดชีวิต และดำเนินชีวติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพื่อ
การมีอาชีพอยา่ งย่ังยืน
ตารางวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายในองคก์ ร

จดุ แข็ง (S : Strength) จดุ อ่อน (W : Weakness)

๑. ครู กศน.ตำบล มที ักษะ ความรดู้ า้ นการใช้ส่ือ อาสาสมัคร/เครอื ขา่ ยบางส่วน

เทคโนโลยีสารสนเทศ และมีการพฒั นาตนเองอย่าง ขาดการพฒั นาทักษะด้านการใชส้ อ่ื เทคโนโลยี

ตอ่ เนือ่ ง สารสนเทศในการรว่ มจดั กจิ กรรม

๒. ตำบลบางเตย มวี ิทยากรสอนหลักสุตรวชิ าชีพระยะ

สั้นทห่ี ลากหลาย

๓. ตำบลบางเตย มภี มู ิปญั ญาท้องถน่ิ แหลง่ เรยี นรู้ที่

หลากหลายรองรับความต้องการของผ้เู รียนและ

ผูร้ ับบรกิ าร

๔. กศน.ตำบลบางเตย มีหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นท่ี ผู้เรียนบางคนไม่สามารถรว่ มทำกิจกรรมพฒั นา
คุณภาพชีวิตของผเู้ รียน (กพช.) จำนวน ๒๐๐
หลากหลาย สอดคล้องกับความต้องการของ ช่ัวโมง
กล่มุ เปา้ หมาย
๕. ครู กศน.ตำบลบางเตย มกี ารพัฒนาหลกั สูตร

รายวิชาเลอื กใหส้ อดคลอ้ งกับบริบทของชุมชนและ
กลมุ่ เปา้ หมาย

11

ตารางวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายในองค์กร

จุดแข็ง (S : Strength) จุดออ่ น (W : Weakness)

๖. มนี กั ศกึ ษาครบตามเกณฑ์ที่สถานศกึ ษากำหนด ๑. ผ้เู รยี นสว่ นใหญ่มีพ้ืนฐานความรู้ไม่เทา่ กนั ทำให้

๗. ผู้เรยี นวิชาชีพหลกั สูตรระยะส้นั สามารถนำ เป็นอุปสรรคต่อการจัดการเรยี นการสอนของ กศน.

ความรู้จากการเรียนไปประกอบอาชพี ได้ ตำบล

๘. ผู้เรยี นส่วนใหญม่ คี วามตั้งใจเรยี น ใฝ่รูแ้ ละใฝ่ ๒. ผู้เรยี นบางคนตอ้ งประกอบอาชพี ทำใหไ้ ม่

เรยี น สามารถเรยี นรูด้ ้วยตนเองอยา่ งต่อเน่อื ง สามารถมาเรยี น

๙. ผูเ้ รียนส่วนใหญ่มที กั ษะดา้ นการใช้สอ่ื เทคโนโลยี และไม่มาสอบตามกำหนดได้

สารสนเทศประกอบการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง ๓. ผู้เรียนสว่ นใหญเ่ ป็นประชากรแฝง มีภาระต้อง

๑๐. กศน.ตำบลบางเตย มีการใชส้ ื่อการสอนตรง ประกอบอาชีพเล้ยี งดูครอบครวั และมกี ารย้ายถิ่น

ตามหลักสตู รและสาระการเรียนรรู้ ายวิชาทก่ี ำหนด ฐานบ่อย ส่งผลกระทบต่อการจดั การเรยี นการสอน
๑๑. กศน.ตำบลบางเตย มกี ารจัดทำแผนจัดการ ของ กศน.ตำบล
เรียนรู้ครบทุกรายวชิ า ทุกระดับการศกึ ษาในแต่ละ ๔.ผู้เรียนอาชพี ต้องการขยายตลาดการจำหน่าย
ภาคเรียน
สนิ คา้ ในชมุ ชนใหม้ พี ื้นทก่ี ว้างข้นึ
5.สินคา้ ต้องการโลโกเ้ พ่ือการจำหนา่ ย

๑๒.กศน.ตำบลบางเตย ต้ังอยู่ในพ้ืนทช่ี มุ ชน มคี วาม กศน.ตำบลบางเตย ไม่เป็นเอกเทศใชอ้ าคารรว่ มวัด
สะดวกในการคมนาคม ผู้เรียนและผ้รู ับบริการมี บางเตยนอก
ความสะดวกในการเดนิ ทางและรับบรกิ ารทาง
การศกึ ษา

12

ตารางวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอกองค์กร

โอกาศ (O :Opportunities) อปุ สรรค (T: Threats)

๑.กลุ่มเป้าหมายท่ีให้ความสนใจ และความสำคัญต่อ -พน้ื ทีใ่ นกศน.ตำบลเป็นพนื้ ทก่ี ว้างในการเดนิ ทางมี

การศึกษาอีเป็นจำนวนมาก จึงสามารถสร้างผลงานใน ระยะทางไกลจากการเข้าร่วมกิจกรรม
เชงิ ปรมิ าณและเชิงคณุ ภาพท้ังกล่มุ เป้าหมายทขี่ าดโอกาส -มีปญั หาด้านส่งิ แวดลอ้ มมลพษิ ทางนำ้

ทางการศึกษาและได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจาก

สถานศึกษาในระบบในการช่วยจัดการศึกษา ร่วมเป็น

คณะกรรมการต่างๆมากมาย

๒.มหี ลักสตู รและกิจกรรมสอดคล้องกับความตอ้ งการ ความต้องการของหลักสตู รมีมากแตง่ บประมาณไม่

ของประชาชนและหลากหลาย เพียงพอในการจดั กิจกรรม

๓.มกี รอบแนวทางการดำเนนิ งานทช่ี ัดเจน ประชาชนสว่ นใหญ่มอี าชพี รับจ้างจงึ ไม่ค่อยไมม่ เี วลาให้
การศึกษา

พนั ธกิจ กศน.ตำบลบางเตย
พันธกิจท่ี ๑ จดั และสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
พันธกิจท่ี ๒ สง่ เสริม สนบั สนุนการมีงานทำเพ่ือพัฒนาสมรรถนะของประชาชนอย่างย่ังยืน

พนั ธกจิ ที่ ๓ ส่งเสรมิ สนับสนุนการมสี ว่ นรว่ มของภาคีเครือข่ายในการจดั การศึกษาตลอดชวี ิตเพ่ือการ
มงี านทำ
พนั ธกิจที่ ๔ สง่ เสริมการนำวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาพฒั นาอาชพี ให้มงี านทำและมีประสทิ ธภิ าพ
พันธกิจท่ี ๕ พัฒนาบุคลากรและระบบการปฏิบัติงานให้สามารถปฏิบัติงานอ่ืน ๆ ตามท่ีได้รับ
มอบหมายเพื่อสง่ เสริมการมีงานทำของประชาชนไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ
พนั ธกิจท่ี ๖ จัดการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยโดยใชก้ ิจกรรมส่งเสริมการอ่านและบ้านหนังสือชุมชน
โดยนำเทคโนโลยีทางการศึกษาและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาประยุกต์ใช้ให้เกิด
ประสิทธิภาพในการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

13

บทท่ี ๒
บทบาทหนา้ ทแ่ี ละภารกิจ กศน.ตำบล

14

บทบาทและภารกจิ กศน.ตำบล
แนวทางการดำเนินงานของ กศน. ตำบล

กศน.ตำบลจะมีการปรับบทบาทภารกิจให้สอดคลอ้ งกับนโยบายรฐั บาลและบริบทของพืน้ ท่ี ตลอดจน
รองรบั การเปน็ ประชาคมอาเซยี นมากข้นึ ภายใตก้ ารขบั เคล่ือนการดำเนินงาน 4 ศูนยก์ ารเรยี นรู้ ไดแ้ ก่

1) ศนู ยเ์ รียนรเู้ ศรษฐกจิ พอเพียงและทฤษฎใี หม่
เปน็ ศนู ยก์ ลางการส่งเสริม จดั กระบวนการการเรียนรู้ และหนว่ ยประสานงานแหล่งเรยี นรหู้ ลักปรชั ญา
เศรษฐกิจพอเพียงภายในชุมชน ดำเนินงานร่วมกับกองอำนวยการรักษาความม่ันคงภายในราชอาจักร
(กอ.รมน.)
2) ศูนย์สง่ เสรมิ พัฒนาประชาธปิ ไตยตำบล (ศส.ปชต.)
เพื่อสร้างการเรียรู้และความเข้าใจท่ีถูกต้องเก่ียวกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยท่ีมี
พระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นพระประมุข โดยเฉพาะสทิ ธิและหนา้ ที่ในระบอบประชาธิปไตยบูรณาการความรว่ มมือ
กับคณะกรรมการการเลือกต้งั (กกต.)
3) ศูนย์ดจิ ทิ ลั ชุมชน
ซึ่งบรหิ ารจัดการฐานข้อมูลทจ่ี ำเป็นสำหรับ กศน. และชมุ ชน เพ่อื ใหม้ ีความรู้และรบั รู้ทีเ่ ท่าทนั ปรับตัว
ให้สอดคล้องกบั การเปลยี่ นแปลงของสงั คมโลกยุคดจิ ิทลั
4) ศนู ย์การศึกษาตลอดชีวิตชุมชน
เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาในระบบการศึกษา นอกระบบการศึกษา และการศึกษาตาม
อัธยาศยั ให้มคี ณุ ภาพท่ีสอดคล้องกบั นโยบายทางการศึกษา โดยยดึ ชุมชนเปน็ ฐานในการดำเนินงาน โดย กศน.
ตำบลมีบทบาทเป็นผู้ประสานงานและอำนวยความสะดวก

บทบาทภารกิจหนา้ ทข่ี องครู กศน.ตำบล
ครู กศน.ตำบลเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการจัดการให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนอย่าง

ต่อเนอื่ งตลอดชวี ติ ดังน้นั จึงมบี ทบาทหน้าที่ทส่ี ำคญั ในการขับเคลอื่ น กศน.ตำบลดังกล่าวคอื
1. การวางแผนจัดการเรียนรูต้ ลอดชวี ิต โดยมีกระบวนการทำงาน ดังนี้
1.1 ศึกษาสำรวจชุมชนโดยละเอียดเพ่ือจัดทำฐานข้อมูลชุมชน ซ่ึงประกอบด้วยข้อมูลประชากร

จำแนกตามตามอายุเพศ อาชีพ ฯลฯ ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพทางภุมิศาสตร์ ประวัติชุมชน ข้อมูลด้านอาชีพ
รายได้ ขอ้ มูลทางสังคม ประเพณีวัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ

1.2 จัดทำเวทีประชาคมร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อร่วมกัน
จัดทำแผนชุมชน ที่ระบุความต้องการในการพัฒนาชุมชนความต้องการการเรียนรู้ หรือการศึกษาต่อ ฯลฯ
ของประชาชนในชมุ ชน

1.3 จัดทำโครงการด้านการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยท่มี าจากแผนชุมชนเนอต่อ
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย อำเภอเพือ่ ขอรบั การสนับสนนุ และประสาน ของความ
ร่วมมือจากภาคเี ครอื ข่าย

1.4 ประสานงานแสวงหาความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย องค์กรปรครองส่วนท้องถ่ิน ตลอดจน
อาสาสมัครต่าง ๆ เพอ่ื ร่วมจดั กิจกรรมการศึกษา ตามอธั ยาศัยของชุมชนท่ีรับผิดชอบ

2. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ของ กศน. ตำบล โดยจำแนกกิจกรรมการเรียนการสอน ดงั น้ี
2.1 การสง่ เสริมการรหู้ นังสือ
2.2 การจัดการศกึ ษาในหลกั สตู รการศึกษานอกระบบรบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
2.3 การจัดการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตรระยะสั้นเพื่อการพัฒนาอาชีพ (วิชาทำมาหากิน) การ
พฒั นาทักษะชีวิตและการพัฒนาสังคมและชมุ ชน

15

2.4 การจัดกิจกรรมสง่ เสริมการอ่าน
2.5 การจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาชุมชนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพยี ง หรอื การส่งเสริมวสิ าหกจิ ชมุ ชน
ท้งั น้คี รู กศน. ตำบลจะมีบทบาทหลกั เปน็ ผู้อำนวยความสะดวก (Facilitater) ให้กลุ่มเป้าหมายผู้รบั บรกิ าร
ไดร้ ับประสบการณก์ ารเรียนรู้ โดยมีกระบวนการทำงาน คือ
1) วางแผนการเรียนรู้รว่ มกับผู้เรยี น ในแต่ละกิจกรรม/หลักสูตรเกี่ยวกบั วธิ ีเรียน เวลาเรยี น การใช้
สื่อหรอื แบบเรียน และการวดั ผลประเมนิ ผล
2) ประสานงานเพ่ือจัดหาวิทยากร หรือผู้สอนในแต่ละรายวิชาหรือแต่ละหลักสูตรร่วมกับ กศน.
ตำบล และจัดส่งผู้เรยี นไปเรียนรตู้ ามแผนที่วางไว้
3) ให้คำปรึกษาแนะนำ และเป็นพ่ีเลี้ยงช่วยเหลือให้ผู้เรียนได้เรียนรุ้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ัง
คอยช่วยแกไ้ ขปัญหาในการเรยี นและการสอนตลอด หลักสูตร
4) ประสานงานกบั กศน.อำเภอ เพื่อจัดหาสอื่ และวัสดุอุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการเรยี นรู้ของผู้เรียน
ในแต่ละหลกั สตู ร
5) ประสานงานกับ กศน. อำเภอ เกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลในแต่ละหลักสูตร เพื่อให้
ผูเ้ รียนบรรลผุ ลตามวตั ถุประสงคข์ องโครงการหรือจดุ มุง่ หมายของหลกั สตู ร
6) สรุปผลและรายงานผลการจัดกิจกรรมเรียนรู้ต่อ กศน.อำเภอ
3. การให้บริการการเรียนรู้ใน กศน.ตำบล โดยเฉพาะกิจกรรมศูนย์ข้อมูลข่าวสารของชุมชน
ศูนย์บริการชมุ ชน ซ่ึงนอกเหนือจากการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ เช่น
3.1 กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่าน และมมุ หอ้ งสมุดชมุ ชน
3.2 การให้บรกิ ารส่อื การเรียนรตู้ า่ ง ๆ เช่น โทรทศั น์ วีดีทศั น์ รายการวิทยเุ พ่ือการศึกษา
3.3 การประสานงานสนบั สนุนศูนยซ์ ม่ สรา้ งเพ่ือชุมชน (Fit it Center) หรอื ชา่ งชนบท
4. การสนับสนุนกิจกรรมของชุมชน ทั้งด้านสังคม วัฒนธรรม ประเพณี รวมท้ังสนับสนุนการใช้
บริการของประชาชนในชุมชน เพื่อเป็นที่พบปะแลกเปล่ียนเรยี นรู้กันภายในชมุ ชน รวมทั้งสนับสนุนการจัด
กิจกรรมขององค์กรหรือหน่วยงานภาครัฐอื่น ฟ และส่งเสริมการจัดตั้งกลุ่มหรือชมรมในชุมชน เช่น กลุ่ม
แม่บ้าน กลุ่มเยาวชน ชมรมผู้สูงอายุ ชมรมคุ้มครองผุ้บริโภค สภาเด็กและเยาวชน และองค์กรนักศึกษา
กศน. เปน็ ตน้
5. การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ในชุมชน โดยการประสานขอความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย
องคก์ รชุมชนผูร้ ู้ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ ตลอดจนภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่นเพือ่ ร่วมเป็นอาสาสมัคร กศน. อาสาสมัครสง่ เสริม
การอ่าน เปน็ ต้น

16

บทท่ี ๓
รายงานกระบวนการหรอื การปฏิบัติงานท่เี ป็นเลศิ (Best Practice)

เป็นแบบอยา่ งทีด่ ใี ห้หนว่ ยงานอ่นื นำไปปฏบิ ตั ไิ ด้

17

รายงานกระบวนการหรือการปฏิบตั ิงานทเ่ี ป็นเลศิ (Best Practice)
เป็นแบบอย่างท่ีดีให้หน่วยงานอนื่ นำไปปฏบิ ัตไิ ด้
-------------------------------------

ช่ือผลงาน การสร้างโลโก้กลมุ่ ผลิตภัณฑจ์ ากผักตบชวา
สนับสนนุ นโยบาย จดุ เน้นการดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน.
1. ความสอดคลอ้ งกับนโยบายและจดุ เนน้ การดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ด้านการพัมนาดำลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพ่ือสร้างขีดความสามารถในการ
แขง่ ขันของประเทศ

2.2 พัฒนากำลังคนให้เป็น “Smart Digital Persons (SDps)” ท่ีมีทักษะด้านภา และทักษะดิจิทัล
เพือ่ รองรับการพฒั นาประเทศ

1) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ Digital เพ่อใหป้ ระชาชน มีความรพู้ ื้นฐานด้าน Digital และความร้เู ร่ือง
กฎหมาย วา่ ด้วยการกระทำความผดิ เกย่ี วกับคอมพวิ เตอรส์ ำหรบั การใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจำวนั รวมทงั้ การ
พัฒนา และการเข้าส่อู าชพี

2) สร้างความรู้ความเข้าใจและทักษะพ้ืนฐานให้กับประชาชน เก่ียวกับการทำธุรกิจและการค้า
ออนไลน์ (พาณิชยอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์) เพ่อื รว่ มขบั เคลอื่ นเศรษฐกิจดจิ ทิ ัล

๒.ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั
๒.๒ พัฒนาทักษะใหป้ ระชาชนเพือ่ การสรา้ งมูลคา่ เพมิ่ ใหก้ ับสินค้าและบรกิ าร
๑) พัฒนาทักษะและส่งเสริมให้ประชาชนประกอบธุรกิจการค้าออนไลน์ (พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์)มี

การใช้ความคิดสร้างสรรค์ เชิงนวัตกรรมในการประกอบอาชีพ สร้างทักษะอาชีพท่ีสูงข้ึนใหก้ ับประชาชนเพ่ือ
รว่ มขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ ดิจทิ ัล

๒) ส่งเสรมิ ให้ประชาชนใช้เทคโนโลยี ในการทำช่องทางเผยแพรแ่ ละจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจ
ชุมชนให้เป็นระบ บครบวงจรและสนับสนุนการจำหน่ายสินค้าละผลิตภัณฑ์ผ่านศูนย์จำหน่ายสินค้าแ ละ
ผลิตภัณฑ์ออนไลน์ กศน. (ONIE Online Commerce Center : OOCC) เพ่ือจำหน่ายสินค้าออนไลน์ระดับ
ตำบล รวมท้ังดำเนินการเปิดศนู ยใ์ หค้ ำปรึกษา OOCC กศน. เพอื่ เปิดชอ่ งทางในการใหค้ ำปรกึ ษากับประชาชน
เกยี่ วกบั การค้าออนไลน์เบ้อื งต้น
สอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ กศน.

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รียนการศกึ ษาต่อเน่อื ง
ประเด็นท่ี 1 ผู้เรยี นการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื งมคี วามร้คู วามสามารถ และหรือทกั ษะ และหรอื

คุณธรรมเป็นไปตามเกณฑก์ ารจบหลักสตู ร
ประเด็นที่ 2 ผู้จบการศกึ ษาตอ่ เนื่อง สามารถนำความรู้ทไ่ี ดไ้ ปใช้ หรอื ประยุกต์ใช้ บนฐาน

ค่านิยมร่วมของสงั คม
มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจดั การเรยี นรกู้ ารศึกษาต่อเนอ่ื ง
ประเด็นท่ี 1 หลกั สูตรการศกึ ษาต่อเน่อื งมีคุณภาพ
ประเด็นที่ 2 วทิ ยากรการศึกษาตอ่ เนื่อง มีความรู้ ความสามารถ หรอื ประสบการณ์ตรงตาม
หลกั สูตรการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง
ประเดน็ ที่ 3 สอ่ื ท่ีเอ้ือตอ่ การเรยี นรู้
ประเด็นท่ี 5 การจัดกระบวนการเรยี นรูก้ ารศกึ ษาต่อเนื่อง ทม่ี คี ุณภาพ

18

วธิ ีการปฏิบตั สิ ู่ความเป็นเลิศ Best Practice
ขั้นตอนการดำเนนิ งาน FLOW CHART

ศกึ ษำสภำพปัจจบุ นั ปัญหำและควำมตอ้ งกำร

ประชมุ ปรกึ ษำ หำรือ สรำ้ งควำมตระหนกั ใหก้ บั ชุมชน

ดำเนนิ กำรสรำ้ งชอ่ งทำงกำรสือ่ สำร

ดำเนนิ กำรจดั กิจกรรมตำมวัตถปุ ระสงค์

กำรตดิ ตำม

รำยงำนผลกำรดำเนินงำน

ประเมินผล และดำเนนิ กำรอย่ำงตอ่ เนอื่ ง

ชือ่ เจ้าของผลงาน
การสร้างโลโกก้ ล่มุ ผลิตภัณฑ์จากผักตบชวา

เกร่ินนำความเปน็ มา
ด้วยกระทรวงศึกษาธิการและสำนักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ให้

ความสำคัญในเร่ืองของการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาประเทศ และส่งเสริมให้คนไทยมีนิสัยใฝ่รู้ใฝ่เรียน
สนับสนุนให้คนไทยมีการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพ่ือให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดี โดยเฉพาะในด้านการศึกษาได้นำ
เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม มาบูรณาการใช้ในการจัดการเรียนการสอน ซึ่งช่วยให้ผู้เรียนเข้าถึงแหล่ งเรยี นรู้ โดยไม่
จำกัดเวลา ไม่จำกัดสถานท่ี ตอบสนองความสนใจและความพร้อมท่ีแตกต่างของแต่ละบุคคล ผู้เรียนสามารถ
เรียนรูไ้ ดอ้ ยา่ งกวา้ งขวางทั้งในห้องเรยี นและนอกหอ้ งเรยี น ทำให้การเรียนการสอนเกิดข้ึนได้ตลอดเวลา

ผักตบชวาจัดได้ว่าเป็นวัชพืชท่ีกำลังสร้างความเดือดร้อนให้แก่ประชากรและส่ิงแวดล้อมในหลาย
ประเทศท่วั โลก และความลำบาก สร้างความรำคาญน้ีทเ่ี ป็นสาเหตุทผ่ี ลกั ดนั ให้นักวิทยาศาสตร์หาวิธีการต่าง ๆ
เพ่ือกำจัดผักตบชวา ที่มีอยู่อยา่ งแพรห่ ลาย สาเหตุท่เี ป็นเชน่ นเ้ี พราะพืชน้ำชนิดนี้สามารถแพร่พันธุ์ได้เร็วเพยี ง
4 เดือน มันจะขยายพันธุ์ได้ถึง 1,200 ต้น ถึงแม้ผักตบชวาจะตกอยู่ในถิ่นแห้งแล้ง แต่เมล็ดของมันก็มี
ความสามารถจะดำรงชีวิตได้นานเป็นปี ดงั นั้น เมื่อเมลด็ ได้รับนำ้ จะแตกใบได้อีก จงึ ทำให้ผกั ตบชวากลายมา
เป็นวัชพืชน้ำ ท่ีเจริญเติบโตอย่างหนาแน่นตามแหล่งน้ำต่าง ๆ ก่อให้เกิดปัญหาแก่แหล่งน้ำในหลายท้องที่
ดงั เช่น เจริญเติบโตในพื้นที่เพาะปลูก ก่อให้เกิดปัญหาแก่งแยง่ ธาตุอาหาร ความช้ืน แสงแดด และบางชนิดมี
สารยับย้ังการเจริญเติบโตของพืชปลูกนอกจากน้ีผักตบชวายังเป็นอุปสรรคทางการชลประทาน มีผลทำให้
ความเร็วของนั้นในคลองส่งน้ำลดลงซากพืชที่ตายจะทบั ถมกนั ทำให้แหลง่ น้ำนัน้ ต้ืนเขิน เป็นอุปสรรคต่อการทำ
ประมง และปัญหาทางสิ่งแวดล้อม ทำให้การแลกเปล่ียนก๊าซระหว่างน้ำกับบรรยากาศลดลง เป็นอุปสรรค

19

ทางดา้ นการสาธารณสุขเน่ืองจากเป็นที่พักอาศัยของพาหะนำโรคและปัจจบุ ัน โลกได้เข้าสู่ยุคระบบเศรษฐกิจ
และสังคมดจิ ิทัลทเี่ ทคโนโลยีดจิ ทิ ัล ไม่ได้เป็นเพียงเครื่องมือสนบั สนนุ การทำงาน เช่นทีผ่ า่ นมาอีกตอ่ ไป หากแต่

จะหลอมรวมเข้ากับวิถีชีวิตของคนอย่างแท้จริง และส่งผลให้กิจการเปล่ียนแปลงโครงสรา้ ง รูปแบบกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจ กระบวนการผลิต การค้า การบริการ และกระบวนการทางสังคม อิทธพิ ลของเทคโนโลยีดิจิทัล
ดังกล่าวจึงเป็นทั้งโอกาส และความท้าทายของประเทศในการวางแนวทางการดำเนินการด้วยการนำ
เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพ่ือแก้ไขปัญหาท่ีสั่งสมมานาน และเพิ่มโอกาสในการพัฒนา
เศรษฐกจิ และสังคม การพัฒนาประเทศไทยไปสู่การเป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้ว มคี วามมั่นคง มั่งค่ังและยั่งยืน
ในระยะยาวตามนัยของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ร่างกรอบยุทธศาสตรช์ าติระยะ
๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. ๒๕๖๐ -
๒๕๖๔ และแนวคดิ ประเทศไทย ๔.๐ : โมเดลขบั เคลอ่ื นสคู่ วามมัน่ คง มงั่ ค่ัง และย่งั ยืน ไดม้ ีการกล่าวถึงการนำ
เทคโนโลยดี จิ ิทัล มาใช้เป็นเคร่อื งมอื สำคัญในการพฒั นาระบบเศรษฐกิจที่ตง้ั อยู่บนพ้ืนฐานของการใชน้ วตั กรรม
การปฏริ ปู กระบวนการทางธุรกิจ การผลติ การค้า การบริการ และการยกระดบั คณุ ภาพชีวิตของประชาชน

กศน.ตำบลบางเตย จึงเล็งเห็นเมื่อมีการนำมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ต่างๆ เชน่ สานตะกร้า กระเป๋า
กล่องทิสชู ฯลฯ ได้จัดกิจกรรมศูนย์ฝึกอาชีพให้แก่ประชาชน ชุมชนคันทรีพาร์ค ๑5 หมู่ 4 ตำบลบางเตย
อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี เพื่อพัฒนาอาชีพท่ีมีอยู่ให้ดีขนึ้ ทันเวลาทันเหตุการณ์ของโลกในปัจจุบันและ
จดั ต้ังศนู ย์ OOCC กศน.ตำบลบางเตย ชอ่ งทางในการรกระจายสนิ คา้ และการจัดจำหนา่ ยสนิ ค้าและสร้างโลโก้
เพ่ือการขาย
ประเด็นปญั หา/ความตอ้ งการ

๑. การศกึ ษา
๒. ศาสนา/ศิลปวฒั นธรรม
๓. อาชพี
๔. สังคม/ชมุ ชน
๕. การอ่าน
๖. สขุ ภาพ/อนามัย
๗. กลุ่มเปา้ หมายพเิ ศษ (ผู้สูงอายุ/คนพกิ าร)
๘. การกระจายสินคา้
๙. ปญั หาส่งิ แวดลอ้ มมลพษิ ทางนำ้
อาชพี ปัญหา/ความตอ้ งการ
- ไมม่ อี าชีพเสริม
- รายได้ไมเ่ พยี งพอ
- นำ้ ไมเ่ พียงพอต่อการเกษตร แนวทางแกไ้ ข
- จัดตั้งกลุ่มอาชพี สตรี
- สง่ เสริมสนิ คา้ OTOP เช่น ให้ความร้ดู ้านการบรหิ ารจดั การกลุ่ม การตลาด และดา้ นคุณภาพสินค้า
- ส่งเสริมและใหค้ วามรกู้ ลุม่ ตีมีด, ธุรกิจสว่ นตัวและกลุม่ ผลติ รองเท้า
- อบรมใหค้ วามรู้เรื่องการทำปุ๋ยหมัก ปยุ๋ ชวี ภาพ, เพาะเห็ด, การเล้ียงไก่ กบ และปลา, การปลูกผัก
สวน ครัวทัง้ เรื่องของการปลูกและการบำรุงรักษา
- ช่องทางการกระจายหรือจำหน่ายสินค้า
- สนิ ค้าต้องการโลโก้เพ่ือการจำหน่าย

20

กำหนด(รา่ ง) แผนการดำเนินงาน
- จัดทำแบบสำรวจข้อมูลพ้นื ฐานด้านการศกึ ษา

- จัดทำเวทีเสวนาระดับแกนนำ/กลมุ่ ตา่ งๆ เช่น คณะกรรมการหมู่บ้าน อาชพี แมบ่ า้ น อสม. ฯลฯเพื่อ
ช้ีแจงและสร้างความเข้าใจของกลุม่
- จัดทำเวทีเสวนาระดบั หมบู่ ้านเพื่อวเิ คราะห์ข้อมูลเพอ่ื จดั ทำแผนการดำเนนิ งาน จัดทำแผนงาน

โครงการ
- ดำเนนิ งานตามแผนงาน/ประเมนิ ผล/สรปุ

วัตถปุ ระสงค์
1.เพ่อื ใหส้ ามารถเปล่ยี นวชั พชื ที่ไม่มคี ุณคา่ ให้เปน็ พืชเศรษฐกิจ สรา้ งการกระจายรายได้สู่ชมุ ชน

เปน็ อย่างดี

2.เพื่อให้ประชาชนรู้จกั การประดิษฐ์เครือ่ งจักสานนำมาใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจำหลาย ๆ ชนิด เช่น

กระจาด กระบงุ ตะกร้า

3.เพือ่ เป็นการชว่ ยลดมลภาวะทางน้ำ

4. เพือ่ การสรา้ งโลโก้เพื่อการจำหนา่ ย

เปา้ หมาย
เชงิ ปรมิ าณ

ประชาชนท่ัวไปจำนวน 15 คน

เชงิ คณุ ภาพ

ผเู้ รียนสามารถเปลย่ี นวัชพืชทไี่ ม่มีคุณค่าให้เป็นพชื เศรษฐกิจ สร้างการกระจายรายไดส้ ู่ชุมชนและรูจ้ กั

การประดษิ ฐเ์ ครื่องจกั สานนำมาใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ ประจำหลาย ๆ ชนิด เช่น กระจาด กระบงุ ตะกร้า รวมถงึ

การการช่วยลดมลภาวะทางน้ำและการสรา้ งโลโก้เพือ่ การจำหน่าย

ปัจจัยปอ้ น(I) กระบวนการ(P) ผลลัพธ(์ O)

ปัจจยั ทใ่ี ชใ้ นการทำงาน ข้ันตอน วธิ กี าร กลวธิ ี ผลผลิต/ผลกระทบ

วัสดุ อุปกรณ์ วัตถุดิบ แรงงาน ๑ .มี ก า ร ป ร ะ ส า น ง า น แ ล ะ ผู้เรยี นจำนวน 15 คนสามารถเปลีย่ น

เงินทุน ทรัพยากรต่างๆ รวมไป เตรยี มการจดั ทำแผน วัชพืชที่ไมม่ ีคุณคา่ ให้เปน็ พชื เศรษฐกจิ

ถึงเวลาและสถานท่ี ๒. วางแผนการจดั กิจกรรมรว่ มกบั สร้างการกระจายรายไดส้ ู่ชุมชนและ

ชมุ ชน โดยการรว่ มประชุม รู้จักการประดษิ ฐเ์ ครอ่ื งจักสานนำมาใช้
ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจำหลาย ๆ ชนดิ
ประชาคม หาความต้องการจาก
ชมุ ชนอยา่ งแทจ้ ริง
๓. ปฏิบัติงานตามแผนงานโดยใช้ เชน่ กระจาด กระบุง ตะกร้า รวมถงึ
การการชว่ ยลดมลภาวะทางน้ำ และ
ประชาชนเปน็ สำคัญ

๔. มีการตรวจสอบการดำเนิน สามารถนำวัสดุในชุมชนมาพฒั นาเปน็

โครงการอยา่ งใกลช้ ดิ อาชีพเพอ่ื เพ่มิ รายได้และการสรา้ งโลโก้

เพ่ือประโยชน์สูงสดุ ของประชาชน เพือ่ การจำหนา่ ย
๕. นิเทศ ติดตามผลอย่างต่อเน่ือง

เพื่อการต่อยอดในการวางแผนจัด

กิจกรรมอย่างต่อเนื่องเพื่อสร้าง

ความย่งั ยนื

21

ผลสำเร้จท่ีดแี ละภาคภมู ิใจ
ผู้เรียนจำนวน 2 คนสามารถเปลี่ยน
วัชพืชที่ไม่มีคุณค่าให้เป็นพืชเศรษฐกิจ
สร้างการกระจายรายได้สู่ชุมชนและ
รู้จักการประดิษฐเ์ คร่ืองจักสานนำมาใช้
ประโยชน์ในชีวิตประจำหลาย ๆ ชนิด
เช่น กระจาด กระบุง ตะกร้า รวมถึง
การการช่วยลดมลภาวะทางน้ำ นำไป
ประกอบอาชีพ ได้เสนอสิน ค้าทาง
ออนไลน์และส่งพัสดุถึงลูกค้า และ
สามารถนำวัสดุในชุมชนมาพัฒนาเป็น
อาชีพเพื่อเพ่ิมรายได้และการสร้างโลโก้
เพื่อการจำหน่าย
จุดเดน่ /ผลลพั ธ์
สง่ เสริมอาชีพการทำผลิตภัณฑ์จากผักตบชวา ของกศน.ตำบลบางเตย จุเดดน่ คือในอำเภอสามโคกยัง
ไม่มีผู้ประกอบการอาชีพนี้ และใช้วัสดุในท้องถิ่นที่มี สามารถลดปัญหามลภาวะทางน้ำโดยไม่ใช่การตัด
ผกั ตบชวาท้ิงและมีผู้เรียนสามารถนำผลิตภัณฑ์เสนอขายทางออนไลน์ผ่าน faceook ของตนองได้รวมถงึ การ
สรา้ งโลโกเ้ พื่อการจำหน่ายตามรูปแบบของสำนกั วาน กศน.
วิธกี ารดำเนนิ การ
วธิ ีการปฏิบตั ิสู่ความเป็นเลิศ Best Practice
ขน้ั ตอนการดำเนินงาน FLOW CHART

ศกึ ษำสภำพปัจจบุ นั ปัญหำและควำมตอ้ งกำร

ประชมุ ปรกึ ษำ หำรือ สรำ้ งควำมตระหนกั ใหก้ ับชุมชน

ดำเนนิ กำรสรำ้ งช่องทำงกำรส่อื สำร

ดำเนนิ กำรจดั กจิ กรรมตำมวตั ถปุ ระสงค์

กำรตดิ ตำม

รำยงำนผลกำรดำเนนิ งำน

ประเมนิ ผล และดำเนินกำรอย่ำงตอ่ เนอื่ ง

22

แผนการดำเนนิ งานในปงี บประมาณ ๒๕๖๓

ดา้ นการวางแผน (P)

ท่ี แผนการปฏบิ ัตงิ าน ระยะเวลา ผูร้ บั ผดิ ชอบ หมายเหตุ

๑ -สำรวจปญั หาและความตอ้ งการ เมษายน ๒๕๖๓ - นางสาวจรุ รี ัตน์ ผลงาม
- ผใู้ หญ่สมร ฟา้ คุ้ม
๒ -มกี ารประสานงานและเตรยี มการจดั ทำ เมษายน ๒๕๖๓ - นางพิวารา พิมปดั ชา
แผน -นางรตั นา จติ รสี าร

- นางสาวจรุ ีรตั น์ ผลงาม
- ผใู้ หญ่สมร ฟา้ คุ้ม
- นางพวิ ารา พมิ ปดั ชา
-นางรัตนา จิตรีสาร

๓ -การวางแผน หาความตอ้ งการรว่ มกบั เมษายน ๒๕๖๓ - นางสาวจรุ ีรตั น์ ผลงาม
ชุมชนและดำเนนิ การสร้างช่องทางการ สิงหาคม ๒๕๖๓ - ผใู้ หญ่สมร ฟ้าคมุ้
สอ่ื สาร สิงหาคม ๒๕๖๓ - นางพิวารา พิมปดั ชา
สิงหาคม ๒๕๖๓ -นางรตั นา จิตรีสาร
๔ - ปฏบิ ตั งิ านตามแผนงานโดยดำเนินการ สิงหาคม ๒๕๖๓
สิงหาคม ๒๕๖๓ - นางสาวจุรีรัตน์ ผลงาม
จัดกจิ กรรมตามวตั ถปุ ระสงค์ - ผูใ้ หญ่สมร ฟ้าคุม้
- นางพวิ ารา พมิ ปดั ชา
๕ -ลงบันทกึ ข้อมลู ในรับการนิเทศ -นางรัตนา จิตรีสาร

๖ -การตดิ ตาม - นางสาวจุรีรัตน์ ผลงาม
- ผใู้ หญ่สมร ฟา้ คมุ้
๗ -รายงานผลการดำเนินงาน - นางพิวารา พมิ ปดั ชา
-นางรตั นา จติ รีสาร
8 ประเมนิ ผล และดำเนนิ การอยา่ งตอ่ เนื่อง
- นางสาวจรุ รี ตั น์ ผลงาม
- ผ้ใู หญ่สมร ฟ้าคุ้ม
- นางพิวารา พิมปัดชา
-นางรัตนา จิตรสี าร

- นางสาวจุรรี ัตน์ ผลงาม
- ผูใ้ หญ่สมร ฟา้ คุ้ม
- นางพวิ ารา พิมปัดชา
-นางรตั นา จิตรีสาร

- นางสาวจุรรี ตั น์ ผลงาม
- ผู้ใหญส่ มร ฟ้าคมุ้
- นางพวิ ารา พิมปัดชา
-นางรัตนา จติ รสี าร

23

ดา้ นการดำเนนิ การ (D)
การประเมินผลท่ีได้รับจากการปฏิบัติ เพื่อตรวจสอบ ว่าการปฏิบัติตามแผนงานสามารถบรรลุ

เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ตามท่ีกำหนดคืกการสง่ เสริมอาชีพการทำผลติ ภัณฑ์จากผกั ตบชวา ของกศน.ตำบล
บางเตย ในอำเภอสามโคกยังไม่มผี ู้ประกอบการอาชีพน้ี และใช้วัสดุในท้องถิ่นที่มี สามารถลดปัญหามลภาวะ
ทางน้ำโดยไม่ใช่การตัดผักตบชวาท้ิงและมีผู้เรียนสามารถนำผลิตภัณฑ์เสนอขายทางออนไลน์ผ่าน faceook
ของตนองได้สร้างโลโกเ้ พ่อื การจำหน่ายตามรปู แบบของสำนกั วาน กศน.
ด้านการตรวจสอบและประเมินผล (C)

พิจารณาจำนวนร้อยละผู้จบหลักสูตรในแต่ละหลักสูตรของผู้เรียนและผู้รับบริการให้เป็นไปตาม
ตวั ช้ีวดั ทีก่ ำหนดมีการสร้างโลโก้เพอ่ื การจำหน่ายตามรปู แบบของสำนักวาน กศน.
ผลสำเรจ็ ที่สามารถเป็นแบบอยา่ งทด่ี ี (Best Practice) ใหห้ นว่ ยงานอ่นื นำไปปฏบิ ตั ิได้

ผู้เรียนจำนวน 19 สามารถเปลี่ยนวัชพืชท่ีไม่มีคุณค่าให้เป็นพืชเศรษฐกิจ สร้างการกระจายรายได้สู่
ชมุ ชนและรู้จกั การประดษิ ฐ์เครื่องจักสานนำมาใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจำหลาย ๆ ชนิด เชน่ กระจาด กระบุง
ตะกรา้ รวมถึงการการช่วยลดมลภาวะทางน้ำ นำไปประกอบอาชีพไดเ้ สนอสินคา้ ทางออนไลนแ์ ละสง่ พัสดถุ ึง
ลกู ค้า และสามารถนำวัสดุในชมุ ชนมาพัฒนาเปน็ อาชีพเพือ่ เพ่ิมรายได้จำนวน 2 คน
ดา้ นการปรบั ปรุงและพัฒนาผลการปฏบิ ตั งิ าน (A)

๑. สรุปผลการปฏิบัติงาน หรอื ความสำเรจ็ ของงานทไี่ ด้ดำเนนิ การ
๒. วางระบบการการตลาดแบบออนไลน์ ทำเว็ปไซด์ใหเ้ ข้มแขง็
๓. แผนการดำเนินคร้ังที่ ๒ การออกแบบบรรจุภัณฑ์และแบรนผลติ ภัณฑอ์ อกแบบวธิ กี ารโฆษณาเป็น
ภาพวดี โี อ
๔. เพม่ิ ผลตภัณฑ์เช่น การเพ่ิมรปู แบบของกระเปา่ , จดั ทำเป็นตัวกนั กระแทก,จดั จำหน่ายเฉพาะเส้น
ผกั ตบชวา
ปจั จยั ป้อน
๑. วัสดุ อุปกรณ์ วัตถุดบิ สามารถหาไดจ้ ากในพืน้ ท่แี ละชมุ ชนผักตบชวาไม่ตอ้ งซื้อไปตดั จากลำ
คลองได้เลยและใชท้ ้ังต้นโดยไม่ท้ิงส่วนใดให้เป็นขยะหรือมลพิษต่อไป
๒. แรงงาน ผเู้ รยี นส่วนใหมเ่ ปน็ แม่บา้ นในการสานสว่ นผทู้ ไ่ี ปเก็บวสั ดุนน้ั ปน็ หนา้ ทขี่ องสามแี ละลกู ชาย
๓. เงินทุน ใชท้ นุ เริ่มตน้ ไม่สูงเนือ่ งจากวัสดหุ าไดจ้ าก สามาชิกรวมตัวก่อตงั้ เป็นกลมุ่ อาชีพขอทุนจาก
กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
๔. ทรัพยากรต่างๆ ไดม้ าจากท้งถ่ินและในพ้ืนท่ี
๕. รวมไปถงึ เวลาและสถานที่ เวลาเรยี นเหมาะสมกับรปู แบบท่จี ัดทำและขอต่อยอดเรยี นรปู แบบต่ไป
เงือ่ นไข/ปัจจยั ท่ีส่งผลตอ่ ความสำเรจ็
1. ผูบ้ ริหารให้ความสําคัญและสนบั สนุนการพัฒนาระบบงาน
2. การมีส่วนรว่ มของบคุ ลากรทม่ี สี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง
3. การประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยที ่ีเหมาะสม
4. ความพร้อมของอุปกรณ์วัสดุในทอ้ งถน่ และในพื้นที่
5. ผู้เรยี นมคี วามพรอ้ มและความต้งั ใจนำไปประกอบอาชพี
6. วิทยากรในพนื้ ท่ีและใหค้ ำปรึกษาตลอดเวลาหลงั จากสอนเรียบรย้ แลว้

24

ปญั หาอปุ สรรคท่ีเกิดขน้ึ ในการปฏบิ ัตงิ าน และแนวทางในการแกไ้ ข
ผักตบชวาใชเ้ วลาในการตากให้แห้งเป็นระยะเวลานานเพอ่ื การปอ้ งกนั การเกดิ เชื้อรา

ขอ้ เสนอแนะในการปฏบิ ตั งิ านท่ีจะทำให้ดยี ง่ิ ขึน้
มีการต่อยอดพัฒนาผลติ ภัณฑ์ใหเ้ ขาสู่ระบบวสาหกจิ หรือโอทอปชุมชน

การเผยแพร่
1. เผยแพร่ผลงานผา่ นเวบ็ ไซต์ facebook กศน.ตำบลบางเตย กศน.อำเภอสามโคก จงั หวดั ปทมุ ธานี

2. เผยแพร่ผลงานให้กับ กลมุ่ facebookfanpang oocc กศน.ตําบลบางเตย อําเภอสามโคก

25

รปู แบบโลโก้

26

ผปู้ ระสบความสำเร็จ

27

คณะผจู้ ัดทำ

คณะทปี่ รึกษา ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอสามโคก
ครู คศ.1
1. นางกญั ญา โมลาศน์ ครู อาสาสมคั รฯ
2. นางสาวอุษา ผลศริ ิ
3. นางสาวประภา โพธเ์ิ ขยี ว ครู กศน.ตำบล

คณะผู้จัดทำ ครู กศน.ตำบล

นางสาวจรุ ีรัตน์ ผลงาม

ผูเ้ รยี บเรยี งและจกั พมิ พ์

นางสาวจุรรี ตั น์ ผลงาม

28


Click to View FlipBook Version