The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ระบบต่างๆของร่างกายทั้ง 5 ระแบบได้แก่ ระบบย่อยอาหาร ระบบหายใจ ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบภูมิคุ้มกัน และระบบขับถ่าย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by roadtar1518, 2021-03-17 16:33:13

body system

ระบบต่างๆของร่างกายทั้ง 5 ระแบบได้แก่ ระบบย่อยอาหาร ระบบหายใจ ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบภูมิคุ้มกัน และระบบขับถ่าย

GLBOIYO

BODY SYSTEM

digestive system, circulatory system
respirator system, immune system,
excretory system, lymphatic system

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

DTSYIIVGSTEEESM

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

stomach

กระเพาะอาหาร

เปนอวยั วะของทางเดนิ อาหารทีเกียวขอ้ งกับกระบวนการยอ่ ย
อาหารทีผา่ นการเคียวภายในชอ่ งปากมาแล้ว

กระเพาะอาหารยงั เปนอวยั วะทีมสี ภาพแวดล้อมเปน
กรด โดยมกั จะมคี ่า pH อยูท่ ีประมาณ 1-4 โดยขนึ กับอาหารทีรบั

ประทานและปจจยั อืน ๆ นอกจากนใี นกระเพาะอาหารยงั มกี าร
สรา้ งเอนไซมเ์ พอื ชว่ ยในการยอ่ ยอาหารอีกดว้ ย

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

nematocyst

เ ข็ ม พิ ษ

โครงสรา้ งทีพบในสตั วพ์ วกซเี ลนเตอเรตบางชนดิ
มลี ักษณะเปนกระเปาะ ภายในมเี ขม็ พษิ ใชใ้ นการล่า

เหยอื และปองกันตัว

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

jejunum

เ จ จู นั ม

ลําไสเ้ ล็กสว่ นกลาง มคี วามยาวประมาณ 2 ใน 5
สว่ นของลําไสเ้ ล็กทังหมด มหี นา้ ทีดดู ซมึ สาร

อาหารทีถกู ยอ่ ยอยา่ งสมบูรณแ์ ล้วผา่ นเซลล์เยอื
บุผวิ เขา้ สกู่ ระแสเลือด เพอื พาไปยงั ตับ ซงึ เปน

อวยั วะแรกท่ีไดร้ บั สารอาหาร

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

pancreas

ตั บ อ่ อ น

เปนอวยั วะทีอยูด่ า้ นหลังกระเพาะอาหารใกล้กับ
ลําไสเ้ ล็กสว่ นต้น มหี นา้ ทีชว่ ยยอ่ ยอาหารและคมุ

ระดบั นาํ ตาลในกระแสเลือด

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

gallbladder

ถุ ง นํา ดี

เปนอวยั วะในชอ่ งท้องทีทําหนา้ ทีในการเก็บสะสม
นาํ ดี (bile) เพอื ชว่ ยในการยอ่ ยอาหาร โดยจะมี
โครงสรา้ งทีติดต่อกับตับซงึ เปนอวยั วะทีผลิตนาํ ดี
และลําไสเ้ ล็กตอนต้น ซงึ เปนบรเิ วณทีมกี ารปล่อย

นาํ ดอี อกสทู่ างเดนิ อาหาร

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

epiglottis

ฝ า ป ด ก ล่ อ ง เ สี ย ง

ฝาปดกล่องเสยี งทําหนา้ ทีปดทางเขา้ ของชอ่ งเสน้ เสยี งหรอื
ชุดสายเสยี ง(glottis)ซงึ เปนทางเปดระหวา่ งสายเสยี ง
แท้(vocal folds) ในตําแหนง่ ปกติ ฝาปดกล่องเสยี งจะเปด
ขนึ ดา้ นบน แต่ขณะทีกลืนอาหาร กระดกู ไฮออยดจ์ ะยกตัวขนึ
ดนั ใหก้ ล่องเสยี ง (larynx) เลือนขนึ ทําใหฝ้ าปดกล่องเสยี ง
พบั ลงไปตําแหนง่ แนวราบมากขนึ ซงึ จะปองกันไมใ่ หอ้ าหาร
ตกลงไปในท่อลม (trachea) แต่ใหอ้ าหารลงไปใน
หลอดอาหาร (esophagus) ซงึ อยูด่ า้ นหลังกวา่ แทน
ฝาปดกล่องเสยี งเปนหนงึ ในสามโครงสรา้ งกระดกู อ่อนขนาด
ใหญท่ ีประกอบขนึ เปนกล่องเสยี ง

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

villus

วิ ล ลั ส

ต่มุ หรอื ขนขนาดเล็กทียนื ออกมาจากผวิ ดา้ นในของทางเดนิ
อาหาร พบมากทีลําไสเ้ ล็ก ภายในต่มุ หรอื ขนเหล่านจี ะมี
เสน้ เลือดฝอยซงึ ทําหนา้ ทีรบั อาหารทียอ่ ยแล้วเพอื ลําเลียงไป
ยงั เซลล์ต่าง ๆ ในรา่ งกาย

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

esophagus

หลอดอาหาร

เปนอวยั วะของสตั วม์ กี ระดกู สนั หลังทีเปนท่อกลวงประกอบ
ดว้ ยกล้ามเนอื ทีอาหารจะผา่ นจากคอหอยไปยงั กระเพาะอาหาร
ในมนษุ ย์ หลอดอาหารต่อเนอื งกับสว่ นกล่องเสยี งของ
คอหอย(laryngeal part of the pharynx) ทีระดบั ของ
กระดกู สนั หลังสว่ นคอชนิ ที 6

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

ileum

ไ อ เ ลี ย ม

เปนลําไสเ้ ล็กสว่ นสดุ ท้ายปลายสดุ ของ
ไอเลียมต่อกับลําไสใ้ หญ่

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

RRSYEASSTTOPEIMR

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

larynx

ก ล่ อ ง เ สี ย ง

เปนอวยั วะสาํ คัญอยา่ งหนงึ ของรา่ งกาย
มหี นา้ ทีสาํ คัญ 3 อยา่ ง คือ
1.ปองกันอาหารไมใ่ หต้ กไปในหลอดลม
ขณะรบั ประทานอาหาร
2.เปนทางผา่ นของอากาศในการหายใจ
3.เปนสว่ นสาํ คัญในการเกิดเสยี ง

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

gas
exchange

ก า ร แ ล ก เ ป ลี ย น แ ก็ ส

เปนการแลกเปลียนระหวา่ งก๊ซออกซเิ จนกับก๊าซ
คารบ์ อนไดออกไซด์ การแลกเปลียนก๊าซมี 2 สว่ นคือ
สว่ นที1 เปนการแลกเปลียนก๊าซทีถงุ ลมในปอด แล้วนาํ
ออกซเิ จนโดยเลือด ไปแลกเปลียนก๊าซที
สว่ นที 2 คือ เนอื เยอื ของรา่ งกาย

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

parabronchi

แขนงหลอดลม

เปนแขนงของหลอดลมใหญ่ ซงึ อยูใ่ นแต่ละขา้ งของ
ปอด เรมิ ต้นต่อจากหลอดลมใหญล่ ึกเขา้ ไปในเนอื ปอด
หลอดลมเหล่านเี มอื อยูล่ ึกเขา้ ไป ก็จะมกี ารแตกแขนง

แยกยอ่ ยลงไปอีกตามตําแหนง่ ของเนอื ปอด

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

spirometer

เ ค รือ ง ส ไ ป โ ร มิ เ ต อ ร์

เปนการทดสอบสมรรถภาพปอดชนดิ หนงึ ทีวดั
ความจุปอดโดย การหายใจเขา้ -ออก ผา่ นเครอื ง
spirometer เพอื วดั ปรมิ าตรอากาศ ทีเปาออกจาก
ปอดดว้ ยความเรว็ เทียบกับเวลา แล้วนาํ ค่าทีไดม้ า
เปรยี บเทียบกับมาตรฐาน

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

alveolus/air
sac

ถุ ง ล ม

เปนตําแหนง่ ทีมกี ารแลกเปลียน gas ระหวา่ ง
อากาศกับเลือด โดยมเี นอื เยอื
(alveolarcapillary membrane) ทีกันกลาง

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

nasal cavity

โ พ ร ง จ มู ก

อยูถ่ ัดจากรจู มูกเขา้ ไปขา้ งใน ชงึ เปนทีพกั ของอากาศ
ก่อนจะถกู สดู เขา้ ปอด โพรงจมูกทําหนา้ ทีควบคมุ
อุณหภมู แิ ละความชนื ของอากาศ โดย หลอดเลือด
ฝอยชงึ มอี ยูม่ ากมายตามแผน่ เยอื เมอื กจะถ่ายเท
ความรอ้ นออกมาทําใหอ้ ากาศชุม่ ชนื

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

vocal cord

เ ส้ น เ สี ย ง

อยูภ่ ายในกล่องเสยี ง (Larynx) และอยูเ่ หนอื สดุ ต่อจาก
หลอดลม (Trachea) เกิดจากเนอื เยอื เกียวพนั หลายชนดิ
รวมกันขนึ มาเปนเสน้ เสยี ง มจี าํ นวนสองเสน้ สขี าวมุก วาง
ทํามุมกันเปนรปู สามเหลียมหนา้ จวั โดยยอดสามเหลียมชี

ออกมาทางดา้ นหนา้

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

bronchi

หลอดลม

อวยั วะในระบบทางเดนิ หายใจ อยูร่ ะหวา่ งท่อ
ลมสว่ นอกกับถงุ ลมปอด ทําหนา้ ทีเปนทาง
ผา่ นของอากาศเขา้ ออกจากปอดอวยั วะ

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

bronchiole

หลอดลมฝอย

อวยั วะในระบบทางเดนิ หายใจสว่ นล่างในปอด มี
ขนาดไมเ่ กิน 1 มลิ ลิเมตร

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

hemoglobin

ฮี โ ม โ ก ล บิ น

เปนสว่ นประกอบสาํ คัญทีอยูใ่ นแซลล์เมด็ เลือดแดง
มหี นา้ ทีนาํ ออกซเิ จนไปยงั เซลล์และอวยั วะต่าง ๆ

ของรา่ งกาย ฮีโมโกลบนิ มอี งค์ประกอบสาํ คัญ 2 สว่ น
คือ ฮีม: เปนองค์ประกอบของเหล็ก ทําหนา้ ทีเปนตัว

จบั ออกซเิ จน โกลบนิ : เปนโปรตีน มี 2 กล่มุ

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

TSCOYIRRSCYTUELMA

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

cardiac
miscle

ก ล้ า ม เ นื อ หั ว ใ จ

เปนกล้ามเนอื ลายชนดิ หนงึ ทีอยูน่ อกอํานาจจติ ใจ
พบทีหวั ใจ ทําหนา้ ทีในการสบู ฉีดโลหติ ไปยงั ระบบ

ไหลเวยี นโลหติ โดยการหดตัวของกล้ามเนอื

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

blood
clotting

ก า ร บี บ ตั ว ข อ ง เ ลื อ ด

จากการบบี ตัวของหอ้ ง ล่างซา้ ย เปนระยะ
ของการคลายตัวไอโซโวลมู เมตรกิ

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

lymph node

ต่ อ ม นํา เ ห ลื อ ง

เปนเนอื เยอื ในระบบนาํ เหลือง โดยมลี ักษณะเปนก้อน
เล็กๆรปู ไข่ นมุ่ เคลือนทีไดเ้ ล็กนอ้ ย มขี นาดเล็กเปน
มลิ ลิเมตร ในภาวะปกติมกั คลําไมพ่ บเพราะจะอยูป่ น
ไปกับเนอื เยอื ไขมนั และเนอื เยอื เกียวพนั ต่างๆ ต่อม
นาํ เหลืองจะมกี ระจายอยูท่ ัวตัวในทกุ อวยั วะยกเวน้ ใน
สมอง มหี นา้ ทีสาํ คัญ คือเปนตัวดกั จบั สงิ แปลก
ปลอมต่างๆ

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

plasma

พลาสมา

สว่ นประกอบของโลหติ ทีมลี ักษณะเปน
ของเหลวสเี หลืองใสซงึ ประกอบไปดว้ ยสาร
โปรตีน ไดแ้ ก่ อัลบูมนิ โกลบูลิน อิมมูโนโกลบู
ลิน ปจจยั การแขง็ ตัวของเลือด เปนต้น ซงึ มี
สว่ นสาํ คัญในการรกั ษาปรมิ าณนาํ ภายใน
หลอดเลือด ต่อต้านเชอื โรค และชว่ ยในการ
แขง็ ตัวของเลือด

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

lymphocyte

ลิ ม โ ฟ ไ ซ ต์

เปนเมด็ เลือดขาวชนดิ หนงึ ทําหนา้ ทีเปนสว่ นหนงึ
ของระบบภมู คิ ้มุ กันของสตั วม์ กี ระดกู สนั หลัง รวมถึง

มนษุ ย์ อาจแบง่ ออกเปนเซลล์เอ็นเค เซลล์ที และ
เซลล์บี เปนเซลล์ทีพบเปนสว่ นใหญใ่ นระบบนาํ เหลือง

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

venacava

เวนาคาวา

คือ หลอดเลือดดาํ ทีมหี นา้ ทีรบั เลือดเสยี จากสว่ น
ต่างๆของรา่ งกายเขา้ สหู่ วั ใจหอ้ งขวาเพอื สง่ ต่อไป
ยงั ปอด แบง่ เปน 2 เสน้ ไดแ้ ก่ หลอดเลือดเวนาคา

วาดา้ นบน (superior vena cava) และหลอด
เลือดเวนาคาวาดา้ นล่าง (inferior vena cava)

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

left venticle

เ ว น ท ริ เ คิ ล ซ้ า ย

อยูท่ างซา้ ย รบั เลือดจากเอเตรยี มซา้ ย และบบี เลือด
สง่ ไปทางหลอดเลือดแดงใหญ่ เอออรต์ า (aorta) ซงึ
มแี ขนงมากมายไป เลียงทัวรา่ งกาย ทีสว่ นต้นของ
แอออรต์ า มลี ินใหเ้ ลือดจากเวนตรเิ คิล ซา้ ยออกไปได้

แต่จะปดสนทิ ไมใ่ หเ้ ลือดไหลยอ้ นกลับ

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

right
venticle

เ ว น ท ริ เ คิ ล ข ว า

อยูท่ างขวาค่อนไปทางหนา้ รบั เลือดเสยี จากศีรษะ คอ
และแขน ทางหลอดเลือดวนี าคาวาหลอดบน (superior
vena cava) และรบั เลือดดาํ จากสว่ นอก ท้อง เชงิ กราน
และขาโดยทางหลอดเลือดวนี า คาวาหลอดล่าง
(inferior vena cava) และยงั รบั เลือดจากผนงั หวั ใจ
เองดว้ ย

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

arterial
blood
vessle

ห ล อ ด เ ลื อ ด อ า ร์ เ ท อ รี

หมายถึง หลอดเลือดทีนาํ เลือดออกจากหวั ใจ ซงึ จะเปน
เลือดทีมปี รมิ าณออกซเิ จนสงู เปนเลือดทีมสี แี ดงสด ไป
เลียงอวยั วะต่างๆทัวรา่ งกาย ( ยกเวน้ หลอดเลือดทีไปสู่
ปอดชอื pulmonary artery ซงึ จะนาํ เลือดดาํ จากหวั ใจ

ทีมคี ารบ์ อนไดออกไซดส์ งู ไปฟอกทีปอด )

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

pseudo
heart

หั ว ใ จ เ ที ย ม

หวั ใจเทียมเปนอุปกรณท์ ีถกู ออกแบบพเิ ศษ
ทีทําหนา้ ทีเหมอื นเครอื งปมนาํ คอยเพมิ แรง

ดนั สง่ เลือดจากหวั ใจไปเสน้ เลือดและสง่
เลือดไปเลียงสว่ นต่างๆ ของรา่ งกาย

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

ISMYMSTUENME

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

inflam
mation

ก า ร อั ก เ ส บ

เปนการตอบสนองทางชวี ภาพทีซบั ซอ้ นของ
เนอื เยอื หลอดเลือดต่อสงิ กระต้นุ ทีเปนอันตราย
เชน่ เชอื โรค เซลล์ทีเสอื มสภาพ หรอื การระคาย
เคือง ซงึ เปนความพยายามของสงิ มชี วี ติ ทีจะนาํ สงิ
กระต้นุ ดงั กล่าวออกไปและซอ่ มแซมเนอื เยอื ทีถกู
ทําลาย การอักเสบไมใ่ ชอ่ าการของการติดเชอื

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

serum

เ ซ รุ่ ม

ของเหลว ใส สเี หลืองอ่อน สกัดจากเลือดของสตั ว์
เชน่ มา้ งู กระต่าย ทีทําใหเ้ กิดภมู ติ ้านทานเชอื โรค
แล้ว สาํ หรบั นาํ ไปฉีดในคนเพอื ใหเ้ กิดภมู ติ ้านทาน

เชอื โรคนนั

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

memory
cell

เ ซ ล ล์ ค ว า ม จาํ

ทําหนา้ ทีจาํ เชอื ทีเคยพบแล้ว เมอื เชอื เดมิ เขา้ สู่
รา่ งกายอีกครงั เซลล์ความจาํ ก็จะระดมพลเพอื
สรา้ ง immunoglobulin ออกมาในปรมิ าณมาก

ทันทีภายในสปั ดาหแ์ รกทีติดเชอื จงึ สามารถ
กําจดั เชอื โรคออกไปโดยไมท่ ันก่อโรคดงั การติด

เชอื ในครงั แรก

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

T cell

เ ซ ล ล์ ที

ทําหนา้ ทีดา้ นการตอบสนองทางดา้ นเซลล์ เพอื กําจดั สงิ แปลกปลอมหรอื จุลชพี แบง่ เปน
1) เซลล์ CD4 หรอื helper T (Th) cells เปนเซลล์เมด็ เลือดขาวทีมแี อนติเจนชนดิ CD4 บน
ผนงั เซลล์ ทําหนา้ ทีสง่ เสรมิ เรยี กเซลล์เมด็ เลือดขาวอืน เชน่ B cell ในการสรา้ งแอนติบอดี
จาํ เพาะ และ T cells เพอื การเปลียนเปน cytotoxic T cells (CTL) ดงั นนั CD4+ T cells จงึ
มคี วามสาํ คัญมาก เพราะมสี ว่ นรว่ มในการทําใหม้ ภี มู คิ ้มุ กันทังแบบเซลล์และสารนาํ
2) เซลล์ CD8 หรอื killer cells หรอื suppressor cells เปนเซลล์เมด็ เลือดขาวทีมแี อนติเจน
ชนดิ CD8 บนผนงั เซลล์ ทําหนา้ ทีทําลายเซลล์ทีผดิ ปกติหรอื ทีติดเชอื จุลชพี เซลล์เมด็ เลือด
ขาวพวกนจี ะรไู้ ดว้ า่ เซลล์ชนดิ ใดเปนสงิ แปลกปลอม จากทีเซลล์ชนดิ นนั ไมม่ โี มเลกลุ ทีผวิ เซลล์
HLA class I ชนดิ เดยี วกับเซลล์เมด็ เลือดขาวนนั สว่ นสงิ แปลกปลอมทีกระต้นุ ระบบภมู คิ ้มุ กัน
เรยี กวา่ แอนติเจน (antigen)และตําแหนง่ บนแอนติเจนทีจาํ เพาะในการกระต้นุ เรยี กวา่
epitopeแบง่ เปน B-cell epitope กระต้นุ B-cell เพอื สรา้ งแอนติบอดจี าํ เพาะ และ T-cell
epitope กระต้นุ T-cell

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

plasmacell

เ ซ ล ล์ พ ล า ส ม า

เปนเซลล์เมด็ เลือดขาวทีมหี นา้ ทีสรา้ ง antibody ขนสง่
ทางนาํ เลือด (blood plasma) และ ระบบนาํ เหลือง

(lymphatic system) โดยพลาสมาเซลล์นนั ถกู สรา้ ง
ขนึ ทีไขกระดกู (bone marrow) เมอื ออกจากไขกระดกู
ก็จะเปน B cell ก่อนทีจะมกี ารเปลียนแปลงลักษณะมา

เปนพลาสมาเซลล์ พบไดท้ ีต่อมนาํ เหลือง

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

host cell

เ ซ ล ล์ โ ฮ ส ต์

เซลล์เจา้ บา้ นหมายถึงเซลล์ทีใชร้ บั ดเี อ็นเอ
หรอื ยนี เพอื ใหเ้ กิดการเปลียนแปลงสาร
พนั ธุกรรมและทําใหแ้ สดงคณุ ลักษณะที
ต้องการซงึ เซลล์เจา้ บา้ นทีนยิ มนาํ มาใช้ ในการ
รบั ดเี อ็นเอจากการดดั แปลงพนั ธุกรรม

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

immune
system

ร ะ บ บ ภู มิ คุ้ ม ก้ น

ระบบทีประกอบขนึ จากโครงสรา้ งและกระบวนการ
ทางชวี ภาพหลายอยา่ งประกอบกัน มหี นา้ ทีคอย
ปกปองรา่ งกายของสงิ มชี วี ติ จากสงิ แปลกปลอม

โดยเฉพาะจุลชพี ก่อโรค

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

allergen

ส า ร ก่ อ ภู มิ แ พ้

เปนสารทีสามารถกระต้นุ ใหเ้ กิดอาการโรคภมู แิ พ้
ขนึ สารก่อภมู แิ พท้ ีพบบอ่ ยไดแ้ ก่ สารก่อภมู แิ พจ้ าก
ตัวไรฝุน (house dust mites), แมลงสาบ เกสร
ดอกไม,้ ดอกหญา้ ,ฝุนบา้ น,มด,ยุง,เชอื รา,ขนสตั ว์
เลียง เชน่ ขนแมว ขนสนุ ขั สารเคมจี าํ พวกสาร
ระเหย อาหารบางชนดิ เชน่ อาหารทะเล นม ไข่ ถัว
และยาต่างๆ

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

antigen

แ อ น ติ เ จ น

สารแปลกปลอมทีเขา้ ไปในรา่ งกายแล้ว
สามารถกระต้นุ ใหเ้ กิดแอนติบอดขี นึ ได้

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

antibody

แ อ น ติ บ อ ดี

เปนโปรตีนขนาดใหญใ่ นระบบภมู คิ ้มุ กันที
รา่ งกายมนษุ ยห์ รอื สตั วช์ นั สงู อืนๆ สรา้ งขนึ
เพอื ตรวจจบั และทําลายฤทธขิ องสงิ แปลก
ปลอมทีเขา้ มาในรา่ งกาย เชน่ แบคทีเรยี และ
ไวรสั แอนตีบอดแี ต่ละชนดิ จะจดจาํ โมเลกลุ

เปาหมายทีจาํ เพาะของมนั คือ แอนติเจน

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

ETSYOXSCRTYREME

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

pelvis

กรวยไต

เปนอวยั วะทีมลี ักษณะเปนโพรง เปนสว่ นต่อ
กับท่อไต ทําหนา้ ทีรองรบั นาํ ปสสาวะทีกรอง
แล้วจากเซลล์ของไตจากนนั จงึ นาํ สง่ ไปทีท่อ

ไต

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

urinary
bladder

กระเพาะปสสาวะ

เปนอวยั วะทีมรี ปู รา่ งคล้ายบอลลนู อยูห่ ลัง
กระดกู หวั หนา่ วภายในอุ้งเชงิ กรานดา้ นหนา้
มดลกู ของผหู้ ญงิ และจะอยูด่ า้ นหนา้ ต่อทวาร
หนกั ของผชู้ าย มหี นา้ ทีกักเก็บปสสาวะได้
ประมาณ 350-500 มลิ ลิลิตร ผนงั กระเพาะ
ปสสาวะสว่ นใหญป่ ระกอบดว้ ยกล้ามเนอื เรยี บ

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

glomerulus

โ ก ล เ ม อ รู รั ส

เปนกระจุกหลอดเลือดฝอย ทําหนา้ ทีกรองเลือดขนั แรก
อยูท่ ีจุดเรมิ ต้นของหนว่ ยไต (nephron) ซงึ เปน
โครงสรา้ งรปู ท่อทีมหี นา้ ทีกรองเลือดแล้วสรา้ งเปน
ปสสาวะในไต โกลเมอรลู ัสมโี บวแ์ มนแคปซูล
(Bowman's capsule) ล้อมอยู่ นาํ เลือดกรองผา่ น
หลอดเลือดฝอยของโกลเมอรลู ัสเขา้ สโู่ บวแ์ มนแคปซูล
แล้วโบวแ์ มนแคปซูลไล่ของเหลวทีผา่ นการกรองเขา้ สู่
หลอดไตฝอย (renal tubule) ซงึ ยงั เปนสว่ นหนงึ ของ
หนว่ ยไต

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

posterior
pituitary
gland

ต่ อ ม ใ ต้ ส ม อ ง ส่ ว น ห ลั ง

ประกอบดว้ ย มเี ดยี น เอมเี นนส์ (median
eminence) สว่ นทีมเี สน้ ประสาทอยูม่ ากเรยี ก

วา่ พารส์ เนอโวซา (pars nervosa) ทังสอง
สว่ นเชอื มดว้ ยสว่ นทีสาม คือก้านอินฟนดบิ ิ
วลัม (infundibulum) ซงึ ถ้าเปนภาพสามมติ ิ

จะเหน็ วา่ มรี ปู รา่ งคล้ายกรวย

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL

kidney

ไต

เปนอวยั วะสาํ คัญทีสดุ ของระบบนี มี 2 อัน รปู
รา่ งคล้ายเมล็ดถัวดาํ ขนาด 10 x 5.5 เซนติเมตร

อยูบ่ รเิ วณในชอ่ งท้องสองขา้ งของกระดกู สนั
หลังระดบั เอว ทําหนา้ ทีกรองสาร ดดู ซบั นาํ

ไอออน และสารอืนๆ ทีจาํ เปนต่อรา่ งกายกลับเขา้
สกู่ ระแสเลือด และขบั ไอออน และสารอืนๆ ที
รา่ งกายไมต่ ้องการ หรอื มากเกินพอ ออกจาก
รา่ งกาย

AYUTTHAYA WITTHAYALAI SCHOOL


Click to View FlipBook Version