คู่มือแม่วัยใส Teenage
คำ นำ
วิธี วิ ก ธี ารดูแ ดูลทารกแรกเกิด กิ เจ้าตัวน้อยใกล้คลอดเข้ามาทุกที สร้างความตื่นเต้นดีใจ ให้คุณพ่อคุณแม่ไม่น้อยเลย แต่ในความดีใจนั้นก็อาจแฝงความกังวลไว้ด้วย กังวลว่าจะดูแลลูกไม่ดี ไม่รู้ต้องเตรียมอะไรก่อนหลังบ้าง วิธีการเลี้ยงลูกฉบับ การดูแลทารกแรกเกิด สำ หรับคุณพ่อคุณแม่มือใหม่กันนะคะ 1. ให้กินนมแม่ อาหารดีที่สุดของลูก 2. ลูกต้องนอนหลับให้เพีย พี งพอ ควรให้ลูกวัยนี้นอนหลับวันละ 18-20 ชั่วโมง 3. ดูแลสะดือน้อย ๆ ให้สะอาดเสมอ 4. สร้างภูมิคุ้มกันด้วย "วัคซีน" 5. ระมัดระวังเรื่องการอาบน้ำ 6. กอดลูกบ่อย ๆ 7. เปลี่ยนผ้าอ้อมเป็นประจำ 8. ไม่พาลูกไปสถานที่แออัด 9. เตรียมของใช้ไว้ให้พร้อม 10. พ่อแม่ช่วยกันแชร์การเลี้ยงลูก
10 ข้อห้ามในการเลี้ยงทารก มีอะไรบ้างที่คุณพ่อคุณแม่มือ ใหม่ต้องระวัง 1. ห้ามเขย่าตัวทารก 2. ห้ามจับ ทารกเหวี่ยง 3. ห้ามออกนอก บ้านก่อน 3 เดือน 4. ห้ามหอมทารก 5. ห้ามกินอาหารเสริม ก่อนถึงวัย 6 เดือน
6. ห้ามดัดขาทารก 7. ห้ามให้ทารกแรก เกิดหลับด้วยท่านอน คว่ำ 8. ห้ามตกแต่งเตียง นอนทารกแรกเกิดมาก เกินไป 9. ห้ามจับทารกใน ขณะมือสกปรก 10. ห้ามใช้ผลิตภัณฑ์ที่ ไม่ใช่ผลิตภัณฑ์สำ หรับ เด็ก
การพลิกตัวและคืบ เมื่อลูกถึงวัย 3 เดือน จะชูศีรษะและไหล่ขึ้นได้โดยใช้แขนวาง ค้ำ ยันพื้น เมื่อเข้าสู่วัย 5 เดือน จะยกศีรษะขึ้น-ลง โดยงอแขน ยันพื้นช่วย ลูกอาจทำ ท่าโยกเยกเคลื่อนที่ไปมา เมื่อเข้าสู่วัย 6 เดือน ลูกก็จะพลิกตัว และคืบเคลื่อนที่ไปข้างหน้าหรือ รื ถอย หลังได้ 6 พัฒนาการสำ คัญ โมเม้นต์ ที่แม่ประทับใจ มาตรฐานการเติบโตของเด็ก ตั้งแต่แรกเกิด-1 ปี โดยเฉลี่ย 1.แรกเกิด : น้ำ หนักประมาณ 3 กก. ส่วนสูงประมาณ 50 ซม. 2.พัฒ พั นาการด้านน้ำ หนัก ทารก3 เดือน : น้ำ หนักประมาณ 5.5 กก. ส่วนสูงประมาณ 60 ซม. 3.พัฒ พั นาการด้านน้ำ หรัก ทารก 6 เดือน : น้ำ หนักประมาณ 7 กก. ส่วนสูงประมาณ 67 ซม. 4.พัฒ พั นาการด้านน้ำ หรัก เด็ก 1 ปี : น้ำ หนักประมาณ 9 กก. ส่วนสูง ประมาณ 75 ซม
ลูกยกศีรษะเองได้ สู่พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหว เมื่อลูกรัก รั เริ่มริ่ผงกศีรษะขึ้น คนเป็นแม่รู้สึ รู้ สึ กลุ้นเหลือเกินว่า ลูกรัก รั จะทำ ได้ดีขึ้นมั๊ย มั๊ ในแต่ ละวัน สิ่งที่ลูกรัก รั วัย 1 เดือน ถึง 1 ปี เดือนจะค่อยๆทำ ได้ เริ่มริ่ตากจากการยกศีรษะ สู่การพลิกตัวและคืบ การนั่ง นั่ การคลาน และการก้าวเดิน การควบคุมศีรษะ เมื่อวัยแรกเกิดลูกน้อยจะคออ่อนมาก และจะเริ่มริ่ชันคอได้ เมื่อย่างเข้าสู่ช่วงวัย 1-2 เดือน แล้วจะยกศีรษะขึ้นตั้ง ตั้ ทํา มุม 45 องศาได้ แม้จะอยู่ในท่าคว่ำ ส่วนปลายเดือนที่ 6 ลูกจะเริ่มริ่ชันคอได้ดี หัน หั ไปดูสิ่งต่างๆได้ถนัดขึ้น เพราะ ควบคุมกล้ามเนื้อคอได้อย่างสมบูรณ์ 6 พัฒนาการสำ คัญ โมเม้นต์ ที่แม่ประทับใจ
การคลาน เมื่อถึงช่วง 6-7 เดือนลูกจะเริ่มริ่คลาน เพราะ กล้ามเนื้อแขน ขา หลัง แข็งแรงเต็มที่ ลูกจะ คลานได้ดี เปลี่ยนจากท่านั่ง นั่ มาเป็นคลานได้ใน 8 เดือน ส่วนวัย 9-10 เดือน เป็นช่วงที่ลูกคลาน ได้คล่อง มือกับเข่าทํางานเข้ากันดี คลานได้ คล่อง คลานหนีคุณแม่ได้แล้วทำ เอาแม่เหนื่อย ได้เลย การนั่ง ลูกเริ่มริ่นั่ง นั่ พิงได้บ้างเมื่อกล้ามเนื้อคอและศีรษะแข็ง แรงพอ โดยเริ่มริ่แสดงให้เ ห้ ห็น ห็ เมื่ออายุ 4 เดือน พอวัย 5 เดือนจะเริ่มริ่นั่ง นั่ ด้วยตัวเองได้ชั่ว ชั่ ครู่ เมื่อเข้าสู่วัย 7 เดือนจะนั่ง นั่ ได้เอง แล้วใช้มือสํารวจของที่เอื้อมถึง แล้วเรื่อ รื่ งการนั่ง นั่ ก็จะกลายเป็นเรื่อ รื่ งสบายๆเมื่อเข้าสู่ 8 เดือนค่ะ 6 พัฒนาการสำ คัญ โมเม้นต์ที่ แม่ประทับใจ
การก้า ก้ วเดิน ดิ ช่ว ช่ งสัปสั ดาห์แ ห์ รกๆจะเห็น ห็ ปฏิกิริยริาสะท้อนกลับของลูก ลู เหมือ มื น การก้าวเดินดิค่ะ คือ อุ้มลูก ลู ให้เ ห้ ท้าแตะพื้น พื้ ลูก ลู จะยกเท้าทําท่าเดินดิ ทันที ช่ว ช่ ง 5 เดือ ดื นถ้าอุ้มให้ยื ห้ น ยื บนพื้น พื้ ลูก ลู จะขย่ม ย่ ตัวขึ้น ขึ้ -ลง เหมือ มื นกระโดด เมื่อ มื่ เข้า ข้ สู่วัสู่ ย วั 8 เดือ ดื น ลูก ลู จะรู้จั รู้ ก จั ารใช้แ ช้ ขนดึง ดึ ตัวเองขึ้น ขึ้ ยืน ยื เกาะสิ่งสิ่ต่างๆรอบตัวได้ และเมื่อ มื่ เข้า ข้ สู่วัสู่ ย วั 9-10 เดือ ดื นลูก ลู ก็จะงอเข่า ข่ เพื่อ พื่ นั่ง นั่ ลงได้ แล้วก็จะยืน ยื ได้เ ด้ ก่ง ก้มตัวหรือ รื นั่ง นั่ ลงเองได้ค ด้ ล่องตั้ง ตั้ แต่ช่ว ช่ งวัย วั 11 เดือ ดื น ขึ้น ขึ้ ไป 6 พัฒนาการสำ คัญ โมเม้นต์ที่ แม่ประทับใจ
ย่อตัวลงนั่งได้ แข้งขัน เดินได้ แต่ก็ยัง ชอบคลาน 1 2 3 4 Destination : No. ยืนได้เอง และยืนได้ตรง พัฒนาการเด็ก 1 ขวบ ลูกวัย 12 เดือนมีพัฒนาการ อะไรที่โดดเด่น พร้อมวิธีเสริมพัฒนาการเด็ก 1 ขวบ พัฒ พั นาการทางร่า ร่ งกายของเด็ก ด็ วัย วั 1 ขวบ ชอบคลานขึ้นลง บันได
ใช้มือขณะเดินได้ ใช้นิ้วชี้สิ่งของและผลักของ ถอด เสื้อผ้าออกได้เอง ชอบเปิดฝากล่องและ ฝาขวด ทำ ท่าเหมือนว่ายน้ำ ในอ่างอาบน้ำ 5 6 7 8
1 มีปมี ฏิกิ ฏิ ริ กิ ย ริ ารุน รุ แรงเมื่อ มื่ จับ จั แยกจากแม่ 2 มีอ มี ารมณ์ขั ณ์ น ขั 3 มีอ มี ารมณ์แ ณ์ ห่ง ห่ การปฏิเ ฏิสธมากขึ้น ขึ้ อย่า ย่ งเช่น ช่ ไม่กิ ม่ น กิ ไม่ไม่ ป ยืน ยื ยัน ยั ความ ต้อ ต้ งการของตนเอง พัฒ พั นาการทางอารมณ์ จิต จิ ใจ เด็กวัย วั 1 ขวบ www.reallygreatsite.com
1 พัฒนาการทางสังคมของ เด็กวัย 1 ขวบที่เด่นชัด 3 2 4 แสดงอารมณ์มากขึ้น และก็เข้าใจ อารมณ์คนอื่นมากขึ้น ระแวงคนแปลกหน้าและสถานที่ ใหม่ ๆ เข้าใจการเล่นเกมง่าย ๆ เป็นกลุ่ม ใครขอของเล่นก็จะให้บ้าง บางครั้งก็ แยกตัวเล่นคนเดียว จะทำ สิ่งต่าง ๆ ได้ดีเมื่อมีคนชมเชย อยู่ข้าง ๆ
พัฒ พั นาการทางสมองของ เด็กวัย วั 1 ขวบที่เด่นชัด ชั 1.ชอบจับ จั ของแยกออกจากกัน กั อย่า ย่ งเช่น ช่ แกะห่อ ห่ ของเล่น ล่ 2.เรีย รี นรู้เรู้รื่อ รื่ งการแทนที่ การหมุน มุ และ การกลับ ลั หัว หั กลับ ลั ท้า ท้ ยของสิ่งสิ่ของ 3.ค้น ค้ หาของเล่น ล่ ที่ม ที่ องไม่เ ม่ ห็น ห็ แต่จำ ต่ จำได้ว่ ด้ า ว่ มีอ มี ยู่ 4.จดจำ เหตุก ตุ ารณ์ต่ ณ์ า ต่ ง ๆ ได้น ด้ านขึ้น ขึ้ และจำ รายละเอีย อี ดได้ม ด้ ากขึ้น ขึ้ 5.เริ่มริ่รู้ว่รู้ า ว่ ตนเองใช้มื ช้ อ มื ถนัด นั ด้า ด้ นไหน
พัฒ พั นาการทางสมองของ เด็กวัย วั 1 ขวบที่เด่นชัด ชั 6.เมื่อ มื่ เกิด กิ ปัญ ปั หาหรือ รื ความผิด ผิ ผลาด จะหาทางแก้ปัก้ ญ ปั หา 7.สามารถแยกของเล่น ล่ ตามสีแ สี ละรูป รู ร่า ร่ งได้ 8.รู้ว่รู้ า ว่ ตัว ตั เองแตกต่า ต่ งจาก สิ่ง สิ่ ของ 9.เลีย ลี นแบบกิริกิยริาท่า ท่ ทางได้ดี ด้ ขึ้ ดี น ขึ้ 10.ไม่ค่ ม่ อ ค่ ยยอมนอน
พัฒนาการทางภาษาของ เด็กวัย 1 ขวบที่เด่นชัด จับโทนเสียงบ่งบอก อารมณ์ได้ 1. 2.พูดเสียงอื่น ๆ ได้มากขึ้น 3.พยายามพูดเสียงต่าง ๆ บางครั้ง ใช้การแผดเสียงเพื่อเรียนรู้ลำ ดับ ของโทนเสียง
ปริมาณอาหารที่แม่ควรรับ ประทานในแต่ละวัน หมายเหตุ * 1 ส่วนของผลไม้ เช่น กล้วยน้ำ ว้า 1 ผล เงาะ 3-4 ผล มังคุด 3-4 ผล ฝรั่งกิมจู ½ ผล เป็นต้น ** 1 ส่วนของไขมัน = น้ำ มันทุกชนิด 1 ช้อนชา เนย ½ ช้อนชา ถั่วลิสง 10 เมล็ด เป็นต้น ควรเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวสูง เช่น ไขมันจากสัตว์ เนย ชีส น้ำ มันปาล์ม น้ำ มันมะพร้าว
อาหารคุณแม่หลังคลอด กินอะไรถึง จะดีต่อตัวเองและลูกน้อย ? 1. นมพร่อง มันเนย 2. ไข่ 3. เนื้อสัตว์ที่ มีไขมันน้อย 4. ปลาแซลมอน 5. ขนมปังโฮลวีต โฮลเกรน หรือธัญพืช พืไม่ขัด ขั สี 6. ข้าวไรซ์เบอร์รี ข้าว กล้อง
7. พืช พื ตระกูลถั่ว 8. กระเทียม 9. ผักและผลไม้ 10. หัวปลี 11. ขิง 12. ฟัก ฟั ทอง
5. ผ้าขนหนู 2. ผ้าห่อตัว 1.ผ้า ผ้ อ้อม 4. ถุงมือ ถุงเท้า หมวก ของใช้เด็กอ่อน ที่จำ เป็นต้องมีก่อนคลอด 3. เสื้อผ้าเด็กอ่อน
10. ชุดที่นอน 7. คอตตอนบัด และสำ ลีแผ่น 9. กระดาษ ทิชชูเปียก ของใช้เด็กอ่อน ที่จำ เป็นต้องมีก่อนคลอด 8. โลชั่นหรือออยล์ 6. แชมพู เครื่องอาบน้ำ สำ หรับเด็กอ่อน
เอกสารสำ หรับ รั แจ้งเกิดบุตร 1.บัต บั รประจำ ตัว ตั ประชาชนผู้ แจ้ง จ้ และของบิด บิ ามารดา 2. สำ เนาทะเบีย บี นบ้า บ้ น ของบิด บิ า มารดา (ถ้า ถ้ มี)มี 3. สำ เนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้า บ้านที่ต้องการจะเพิ่มชื่อเด็กที่เกิด 4. หนังสือรับรองการเกิดที่ออกให้โดยโรงพยาบาลหรือ สถานพยาบาลที่เด็กเกิด (ถ้ามี)
1.เตรีย รี มเอกสารทั้ง ทั้ หมด เพื่อ พื่ นำ ไปยื่น ยื่ ต่อ ต่ นาย ทะเบีย บี นในพื้น พื้ ที่ที่ ที่ เ ที่ ด็ก ด็ เกิด กิ ขั้น ขั้ ตอนในการแจ้งเกิดโดยทั่วไป 2.จากนั้นนายทะเบียนจะตรวจสอบ เอกสารและหลักฐานต่าง ๆ ในการ แจ้งเกิด หรือตรวจสอบว่ามีการแจ้ง เกิดภายในระยะเวลาที่กฎหมาย กำ หนดหรือไม่ 3.เมื่อตรวจเอกสาร เรียบร้อยแล้ว นายทะเบียน จะทำ การเสนอต่อนายอำ เภอ ในพื้นที่เพื่อพิจารณาอนุมัติ ออกสูติบัตร ลงรายการใน สูติบัตร และเพิ่มชื่อในทะเบียน บ้าน 4.นายทะเบียนมอบ สูติบัตรตอนที่ 1 ทะเบียนบ้าน และ เอกสารต่าง ๆ กลับ คืนให้กับผู้แจ้ง แจ้งเกิดลูกเข้าทะเบียนบ้าน ใครต้องเป็นคน ไปแจ้ง การแจ้งเกิดเข้าทะเบียนบ้าน ผู้ที่ต้องเป็นคน ไปแจ้งคือเจ้าบ้าน หรือบิดามารดา ทำ เรื่อง แจ้งต่อนายทะเบียนในพื้น พื้ ที่ที่เด็กเกิด ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่เกิด
วิธีลงทะเบีย บี นเงินอุดหนุนบุตร ผู้ปกครอง สามารถลงทะเบียนได้ในเทศบาล/ตำ บล/ เขต ที่เด็กแรกเกิด และผู้ปกครองอาศัยอยู่จริง ดังนี้ ส่วนภูมิภาค : ลงทะเบียนที่องค์การบริหารส่วนตําบล หรือ เทศบาล และ บริการใหม่ แอปพลิเคชั่นเงินเด็ก ใช้ง่าย สามารถลง ทะเบียนได้ทุกที่ ทุกเวลา โดยผู้ปกครองที่จะลงทะเบียน ผ่านแอปพลิเคชั่นเงินเด็กจะต้องยืนยันตัวตนผ่าน D.DOPA ของกรมการปกครอง ได้ ณ สถานที่ ดังต่อไปนี้ 1. 2. เป็นบิดา มารดา หรือบุคคลอื่นที่เป็นผู้เลี้ยงดูเด็กแรกเกิด เด็กแรกเกิดต้องอาศัยรวมอยู่ด้วย อาศัยอยู่ในครัวเรือนที่มีรายได้น้อย (สมาชิกครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ย ไม่เกิน 100,000 บาท/ คน /ปี) ผู้ปกครองรับเงินผ่านบัญชีที่ผูกบริการพร้อมเพย์ ด้วยเลขบัตร ประจำ ตัวประชาชน คุณสมบัติของผู้ลงทะเบียน ผู้ปกครอง
เด็กที่มีอายุไม่เกินหกปี มีสัญชาติไทย อาศัยอยู่กับผู้ปกครองในครัวเรือนที่มีรายได้น้อย และไม่อยู่ในสถานสงเคราะห์ของหน่วยงานรัฐ หรือเอกชนตามที่อธิบดีกรมกิจการเด็กและเยาวซน ประกาศกำ หนด เด็กแรกเกิด ระบบ IOS ดาวน์โหลดผ่าน App Store ระบบ Android ดาวน์โหลดผ่าน Play Store ลงทะเบียนผ่านแอปพลิเคชันเงินเด็ก หลักฐานในการรับรองสถานะครัวเรือน พร้อมภาพถ่ายบัตรประจำ ตัวเจ้า หน้าที่ของรัฐ บัตรหรือเอกสารอื่นใดที่แสดงสถานะ หรือตำ แหน่งของผู้รับรองคนที่ 1 และผู้รับรองคนที่ 2 ใบรับรองเงินเดือน หรือหนังสือรับรองรายได้ ของสมาชิกในครัวเรือนที่มี รายได้น้อยทุกคน กรณีเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ พนักงานรัฐวิสาหกิจหรือ พนักงานบริษัท เอกสารประกอบการลงทะเบียน ผ่านแอปพลิเคชันเงินเด็ก **ยื่นคำ ร้องขอลงทะเบียนผ่านแอปพลิเคชันเงินเด็ก โดยให้ยืนยันตัวตนผ่าน แอปพลิเคชัน D.DOPA ก่อนพร้อมแนบเอกสารในรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเป็นหลักฐาน ดังต่อไปนี้
ณ หน่วยรับ รั ลงทะเบีย บี น แบบคำ ร้อ ร้ งขอลงทะเบีย บี น (ดร.01) แบบรับ รั รองสถานะของครัว รั เรือ รื น (ดร.02) สูติบัตรเด็กแรกเกิด บัตรประจำ ตัวประชาชนแบบอเนกประสงค์ (Smart Card) ของผู้ปกครอง ใบรับ รั รองเงินเดือน หรือ รื หนังสือรับ รั รองรายได้ ของสมาชิก ในครัว รั เรือ รื นทุกคนที่ประกอบอาชีพ ชี เป็นเจ้าหน้าที่รัฐ รั พนักงานรัฐ รั วิสาหกิจ หรือ รื พนักงานบริษั ริ ษั ท สำ เนาเอกสาร หรือ รื บัตรประจำ ตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ รั บัตรหรือ รื เอกสารอื่นใดที่แสดงสถานะหรือ รื ตำ แหน่งของผู้รับ รั รองคนที่ 1 และผู้รับ รั รองคนที่ 2 เอกสารประกอบการลงทะเบีย บี น ระเบีย บี บกรมกิจการเด็กและเยาวชนว่าด้วยการจ่ายเงินอุดหนุน เพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด พ.ศ. 2565 D.DOPA จะต้องมีก มี าร พิสูจน์ตัวตนก่อนในครั้ง รั้ แรก ณ ที่วาการอำ เภอ หรือ รื สำ นักงาน เขต ตรวจสอบสิทธิผ่านแอปพลิเคชันเงินเด็ก ตรวจสอบสิทธิการลงทะเบียนได้ที่นี่
วิธีการทำ บัตรทองสำ หรับเด็ก และสิทธิที่ลูกน้อยจะได้รับ การทำ บัตรทอง ให้ลูก ต้องใช้เอกสารอะไรบ้าง สำ เนาสูติ สู บัติต บั รของลูก ลู สำ เนาบัตรประชาชน ของพ่อแม่ สำ เนาทะเบียนบ้าน *โดยเอกสารเหล่านี้ คุณพ่อคุณแม่จะต้องเซ็นต์สำ เนาถูกต้องให้เรียบร้อย ลงบนเอกสารทุกใบ เมื่อพร้อมแล้วก็ไปแจ้งทำ บัตรทองกันได้เลย
สิทธิที่ลูกน้อยจะได้รับจาก บัตรประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 1.การฉีดวัคซีนและรับวิตามิน 2.สิทธิการรักษาพยาบาล 3.การตรวจสุขภาพ 4.ได้รับสิทธิการป้องกันโรค 5.การประเมินภาวะโภชนาการ
6 วิธีการคุมกำ เนิด 1. การทานยาคุม 2. การฉีดยาคุม 3. การฝังยาคุม 4. การใช้ถุงยางอนามัย 5.การใส่ห่วงคุมกำเนิด 8. การทำหมัน
อ้างอิง