The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การสื่อสารโดยอาศัยคลื่นวิทยุ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tcharllottes, 2021-12-17 01:21:55

การสื่อสารโดยอาศัยคลื่นวิทยุ

การสื่อสารโดยอาศัยคลื่นวิทยุ

การสื่ อสารโดยอาศั ย
คลื่ นวิทยุ

Communication using radio waves



น า ง ส า ว เ บ ญ ญ า ภ า ช อ บ จิ ต 6 . 1 3 เ ล ข ที่ 3 1

สารบัญ

ความหมายของคลื่น 01

03 ระบบของคลื่น

การรับคลื่นวิทยุ 06

10 ประโยชน์ของ
คลื่นวิทยุ

คำนำ

E-book ฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาเกี่ยวกับคลื่นวิทยุ
โดยจะเน้นศึกษาเรื่องความรู้ทั่วไปของคลื่นวิทยุ ส่วนประกอ
คลื่นวิทยุ หลักการทำงานของคลื่นวิทยุ ประโยชน์ ข้อดีและข้อเสีย
ของคลื่นวิทยุ หากผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำขออภัยมา ณ ที่นี้

เบญญาภา ชอบจิต

ความหมายของคลื่นวิทยุ

คลื่นวิทยุ

คลื่นวิทยุ (Radio waves) เป็น
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่เกิด
ขึ้นในช่วงความถี่วิทยุบนเส้น
สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นวิทยุไม่ต้องอาศัยตัวกลางใน
การเคลื่อนที่ มีความถี่ช่วง
104 - 109 Hz ใช้ในการ
สื่อสาร

คลื่นวิทยุ (Radio waves) หรือ
เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า คลื่นพาหะ

(Carier Wave)

ผู้ค้นพบคลื่นวิทยุ

ผู้ค้นพบคลื่นวิทยุ

ไฮน์ริช รูดอล์ฟ เฮิรตซ์ เป็น
คนแรกที่ค้นพบคลื่นวิทยุ

ไฮน์ริช รูดอล์ฟ ปัจจุบันได้มีการนำเอา
เฮิรตซ์ คลื่นวิทยุมาใช้ประโยชน์ใน
การสื่อสารโทรคมนาคมกัน

อย่างกว้างขวางและแพร่

หลาย

โดยสังเกตได้ว่าขณะที่เกิด แสดงว่าจะต้องมีคลื่นชนิด
ประกายไฟฟ้าขึ้นระหว่างขั้ว หนึ่งแผ่กระจายออกจาก ก.
ทั้งสองที่อยู่ชิดกันมากของ มาถึง ข. และเป็นคลื่นที่เรา

วงจร ก. นั้น มองไม่เห็น


ไม่สามารถสัมผัสได้ด้วย
จะมีประกายไฟฟ้าเกิดที่ขั้ว ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ของเรา
ทั้งสองซึ่งอยู่ชิดกันมากของ
คลื่นดังกล่าวนี้เป็น
วงจร ข. ด้วย คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เรียกว่า

คลื่นวิทยุ

ระบบของคลื่นวิทยุมี 2 แบบ คือ ระบบเอเอ็ม และระบบเอฟเอ็ม

ระบบของ
คลื่นวิทยุ

เ อ เ อ็ ม แ ล ะ เ อ ฟ เ อ็ ม

ระบบเอเอ็ม

ระบบเอเอ็มสื่อสารโดยใช้คลื่นเสียงผสมเข้าไป
กับคลื่นวิทยุเรียกว่า "คลื่นพาหะ" โดยแอมพลิ
จูดของคลื่นพาหะจะเปลี่ยนแปลงตามสัญญาณ
คลื่นความถี่ของการซอย ในการส่งคลื่นระบบ

เอเอ็ม สามารถส่งได้ทั้ง "คลื่นดิน" ซึ่งจะ
เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงขนานกับผิวโลก และ
"คลื่นฟ้า" ซึ่งจะไปสะท้อนที่ชั้นบรรยากาศไอโอ
โนสเฟียร์แล้วสะท้อนกลับลงมา จึงไม่ต้องใช้

สายอากาศตั้งสูงรับ

ระบบเอฟเอ็ม

ระบบเอฟเอ็มสื่อสารโดยใช้คลื่นเสียง
ผสมเข้ากับคลื่นพาหะ โดยความถี่ของ
คลื่นพาหะจะเปลี่ยนแปลงตามสัญญาณ
คลื่นเสียง ในการส่งคลื่นระบบเอฟเอ็ม
ส่งคลื่นได้เฉพาะคลื่นดินอย่างเดียว ถ้า
ต้องการส่งให้คลุมพื้นที่ต้องมีสถานี
ถ่ายทอดและเครื่องรับต้องตั้งเสาอากาศ

สูง ๆ รับคลื่นด้วย

ผู้ค้นพบ!

เจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์
เป็นผู้ค้นพบระหว่างการตรวจสอบทางคณิตศาสตร์เมื่อปี
ค.ศ. 1865 จากการสังเกตคุณสมบัติของแสงบางประการที่
คล้ายกับคลื่นและผลการเฝ้าสังเกตกระแสไฟฟ้าและแม่เหล็ก
จึงนำเสนอสมการที่อธิบายคลื่นแสงและคลื่นวิทยุในรูปแบบ
ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เดินทางในอวกาศ

เฮนริค เฮิร์ตซ
ได้สาธิตสมการของแมกซ์เวลล์ว่าเป็นความจริงโดยจำลองการ
สร้างคลื่นวิทยุขึ้นในห้องทดลองของเขา หลังจากนั้นก็มีสิ่ง
ประดิษฐ์ต่าง ๆ เกิดขึ้นมากมาย และทำให้เราสามารถนำ
คลื่นวิทยุมาใช้ในการส่งข้อมูลผ่านห้วงอวกาศได้

นิโคลา เทสลา
บิดาแห่งวงการวิศวกรรมศาสตร์ไฟฟ้า เป็นผู้ประดิษฐ์และค้น
พบสิ่งอำนวยความสะดวกมากมาย อาทิ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแส
สลับ เครื่องวัดความเร็วติดรถยนต์ การกระจายเสียงผ่านวิทยุ
และวิธีการเปลี่ยนสนามแม่เหล็กเป็นสนามไฟฟ้า

กูลเยลโม มาร์โกนี
เป็นผู้ให้กำเนิดวิทยุโทรเลข

ส่วนประกอบของคลื่น

01 สันคลื่น (Crest) 02 ท้องคลื่น (Trough

เป็นตำแหน่งสูงสุดของคลื่น เป็นตำแหน่งต่ำสุดของคลื่น
หรือเป็นตำแหน่งที่มีการกระจัด หรือเป็นตำแหน่งที่มีการกระจัด
สูงสุดในทางบวก สูงสุดในทางลบ

03 แอมพลิจูด (Amplitude) 04 ความยาวคลื่น (Wavelenght)

เป็นระยะการกระจัดมากสุด ทั้ง เป็นความยาวของคลื่นหนึ่งลูกมีค่า
ค่าบวกและค่าลบ เท่ากับระยะระหว่างสันคลื่นหรือ
ท้องคลื่นที่อยู่ถัดกัน
ความยาวคลื่นแทนด้วยสัญลักษณ์
มีหน่วยเป็นเมตร (m)

05 ความถี่ (Frequency) 06 คาบ (Period)

หมายถึง เวลาที่ตำแหน่งใด ๆ เวลาที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่านตำแหน่ง
ในหนึ่งหน่วยเวลา แทนด้วย ใด ๆ ครบหนึ่งลูกคลื่น แทน
สัญลักษณ์ มีหน่วยเป็นรอบ ด้วยสัญลักษณ์ มีหน่วยเป็น
ต่อวินาที หรือ เฮิรตซ์ (Hz) วินาทีต่อรอบ (s)

การรับคลื่ นวิทยุ

ก า ร ทำ ง า น ข อ ง เ ค รื่ อ ง รับ วิ ท ยุ มี อ ยู่ ห ล า ย แ บ บ
โดยมีการทำงานตั้งแต่ง่าย ๆ ไม่ซับซ่อน จนถึง

ซับซ้อนมาก และแบบที่ซับซ้อนมากก็ต้องมี
ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร รับ สั ญ ญ า ณ ไ ด้ ดี ก ว่ า ด้ ว ย

การรับคลื่นวิทยุ

สำ ห รับ ชื่ อ ค ลื่ น วิท ยุ ค ว า ม ถี่ จำ น ว น ค ว า ม ถี่ ก า ร ใ ช้ง า น ใ น
ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย มีดั ง นี้

1 23

ความถี่ต่ำมาก (Very ความถี่ต่ำ (Low ความถี่ปานกลาง

Low Frequency; Frequency; LF) 30- (Medium
VLF) 3-30 KHz
300 KHz ใช้กับวิทยุเอ Frequency; MF)
เอ็มคลื่ นยาว (LW)
300-3,000 KHz ใช้กับ
วิทยุเอเอ็ม
คลื่ นปานกลาง (MW)

4 56

ความถี่สูง (High ความถี่สูงมาก (Very ความถี่สูงยิ่ง (Ultra

Frequency; HF) High Frequency; High Frequency;

3,000-30,000 KHz VHF) 30-300 MHz UHF) 300-3,000

ใช้กับวิทยุเอเอ็ม (M=1 ล้าน) ใช้กับวิทยุ MHz โทรทัศน์ระบบแอ
คลื่ นสั้น (SW) เอฟเอ็ม และโทรทัศน์ นะล็อกช่อง 14-69
ภาคพื้ นดินระบบแอนะ และโทรทัศน์ภาคพื้ น
ล็อก ช่อง 2-12 ดินระบบดิจิทัล

การรับคลื่นวิทยุ

การเรียกขนาดของความถี่ บางครั้งอาจเรียก
ตามความยาวคลื่น ซึ่งหาได้จากความเร็วคลื่น
หารด้วยความถี่ เช่น คลื่นวิทยุเอฟเอ็ม ความถี่
100 MHz ความยาวคลื่นจึงเท่ากับ 3 เมตร
การทราบขนาดความยาวคลื่นมีประโยชน์สำหรับ
การเลือกรับคลื่นวิทยุต่าง ๆ เนื่องจากบางครั้ง
จะเรียกคลื่นวิทยุตามความยาวคลื่น นอกจากนี้
ยังมีประโยชน์สำหรับการเลือกใช้ขนาดแผงสาย
อากาศที่เหมาะสม ซึ่งโดยทั่วไป แผงสายอากาศ
จะใช้ขนาดประมาณ 1 ใน 4 ของความยาวคลื่น

คลื่นวิทยุ: สายอากาศ

1 2

ตัวนำโลหะ สายอากาศของเครื่องส่ง

ซึ่งมกั จะเป็นแบบใดแบบหนึ่งของ กระแสไฟฟ้าจะสร้างคลื่นวิทยุ
ความยาวลวดหรือท่อกลวง ตัวนำ แม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นนี้จะประกอบ
ที่จะใช้สำหรับสายอากาศจะต้องให้ ไปด้วยสนามไฟฟ้าและสนามแม่
กระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวนำนั้นได้ เหล็ก ซึ่งเคลื่อนที่ไปในอากาศ
จากสายอากาศ

3 4

สายอากาศของเครื่องรับ วิทยุ
คลื่นวิทยุ
ความถี่ประชาชน (CB) ต่าง
จะเหนี่ยวนำให้เกิดกระแสไฟฟ้า ใน ก็ใช้สายอากาศสำหรับรับ –
สายอากาศ ซึ่งกระแสไฟฟ้านี้จะเป็น ส่งเหมือนกัน
สัญญาณเข้าของเครื่องรับ

5

สายนำสัญญาณ

จะต่อกับสายอากาศ ภายในสายนำ
สัญญาณจะประกอบด้วยตัวนำลวดคู่
วางใน ช่องว่างระหว่างกันคงที่ หน้าที่
ของสายนำสัญญาณคือ การนำกระแส
ไฟฟ้าโดยปราศจากการแผ่คลื่น แม่เหล็ก
ไฟฟ้า

ประโยชน์ของคลื่นวิทยุ




1 2


จใัสนงาใรหมนกะวยาราัดรระะยใถสหืกป่ะกอรไืลรอกสร้ะะทลาเเีจ่ทชรท่าแศเนำยชบ่งนสเภบัาปญ็นาไรนยร้ะญตสให้นนาวา่บยณา้แงทาี่ลนไดะ้
มเป็นุนษปัย์จทีจ่ัจยะสรัำบคทัญราสบำคหวรัาบม
เป็นไปต่าง ๆ



3

เพื่อส่งสัญญาณที่ผู้ส่งจำเป็นต้องใช้
เครื่องส่งเพื่อส่งสัญญาณ

RADIO GIVES BIRTH
TO A MILLION
IMAGES IN A

MILLION BRAINS

Communication using radio waves


Click to View FlipBook Version