1
2 กรณีศึกษาธุรกิจดิจิทลั 9
สาระสาคญั
การทาธุรกรรมดิจิทลั ในปจั จุบนั งา่ ยและและสะดวกรวดเร็วมากกวา่ ในอดีตค่อนขา้ งมาก อนั เนื่องจาก
ประสิทธิภาพของโครงสร้างพ้ืนฐานต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสมรรถนะของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ขีดความสามารถของ
ซอฟต์แวร์พัฒนาข้ึนมาให้รองรับการทางานข้ามแพลตฟอร์ม หรือแม้กระท่ังความเร็วของระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ชนิดตา่ ง ๆ ในการส่ง-รบั ข้อมลู ปริมาณมาก ๆ ไปมาระหว่างกัน ทาให้ผู้ใช้ หน่วยงาน หรอื องค์กร
ตา่ ง ๆ สามารถทาธรุ กรรมดิจทิ ลั ได้ทุกท่ี ทุกเวลา
สาระการเรยี นรู้
1.ธนาคารอืเล็กทรอนิกส์ (e-Bankin)
2.การตลาดอเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Marketing)
3.สถาบันการศึกษาอิเล็กทรอนิกส์ (e-Institute)
4.การเกษตรกรรมอิเลก็ ทรอนิกส์ (e-Agriculture)
5.โรงพยาบาลอเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Hospital)
6.การขนส่งอิเล็กทรอนิกส์ (e-Transportation)
7.การกีฬาอเิ ลก็ ทรอนิกส์(e-Sports)
8.อตุ สาหกรรมการผลิตอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Manufacturing)
9.ธรุ กิจบันเทิงอิเล็กทรอนิกส์ (e-Entertainment)
10.รฐั บาลอิเลก็ ทรอนิกส์(e-Government)
สมรรถนะประจาหน่วย
1.แสดงความรู้เกยี่ วกับกรณีศึกษาธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั
2. วิพากษก์ รณศี ึกษาธุรกิจดจิ ิทลั
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 6.อธบิ ายเกย่ี วกบั การขนสง่ อเิ ล็กทรอนิกส์
7.อธบิ ายเกีย่ วกบั การกีฬาอเิ ล็กทรอนิกส์
1.อธบิ ายเก่ยี วกับธนาคารอเิ ล็กทรอนิกส์ 8.อธิบายเกี่ยวกบั อตุ สาหกรรมการผลติ อิเล็กทรอนิกส์
2.อธิบายเกีย่ วกับการตลาดอิเล็กทรอนิกส์ 9.อธิบายเกยี่ วกับธรุ กจิ บนั เทิงอเิ ล็กทรอนิกส์
3.อธบิ ายเกยี่ วกับสถาบนั การศกึ ษาอิเล็กทรอนิกส์ 10.อธิบายเกีย่ วกบั รฐั บาลอิเล็กทรอนิกส์
4.อธิบายเก่ยี วกบั การเกษตรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
5.อธิบายเกีย่ วกับโรงพยาบาลอิเล็กทรอนกิ ส์
3
การทาธุรกิจดิจิทัล ในปัจจุบันง่ายและสะดวกรวดเร็วมากกว่าในอดีตค่อนข้างมาก อันเน่ืองจาก
ประสิทธิภาพของโครงสร้างพ้ืนฐานต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสมรรถนะของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ขีดความสามารถของ
ซอฟต์แวร์พัฒนาข้ึนมาให้รองรับกับการทางานข้ามแพลตฟอร์ม หรือแม้กระท่ังความเร็วของระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ชนิดต่าง ๆ ในการส่ง-รับข้อมูลปริมาณมาก ๆ ไปมาระหว่างกันทาให้ผู้ใช้งาน หน่วยงาน หรือ
องค์กรต่าง ๆ สามารถทาธุรกิจดิจิทัลได้ทุกที่ ทุกเวลา ซึ่งในหน่วยการเรียนนี้จะขอยกตัวอย่างธุรกิจดิจิทัลท่ี
เห็นได้ชัดหรือธุรกิจที่มีเปลี่ยนรูปแบบเดิมให้เป็นธุรกิจที่มีการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาช่วยปรับเปลี่ยน
โครงสร้างการบริหารจดั การให้สามารถตอบสนองตอ่ ความต้องการของผบู้ ริโภคไดท้ ันท่วงที
1.ธนาคารอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-Banking)
เป็นการประกอบธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่เก่ียวข้องกับการให้บริการโดยทาธุรกรรมทางการเงิน
ผ่านรบบเครือข่าย เช่น ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ระบบเครือข่ายไร้สายหรือระบบเครอื ข่ายเฉพาะท่ี (Lan-
Man-Wan) เป็นต้น ซึ่งในปัจจุบันแต่ละธนาคารได้มีการพัฒนาธุรกรรมดิจิทัลเพ่ือให้บริการแก่ลูกค้า
หลากหลายรูปแบบทั้งบริการบนเว็บไซต์ หรือแอปพลิเคชันที่สามารถดาวน์โหลดและติดตั้งเพ่ือใช้งานบน
เคร่ืองคอมพิวเตอร์พีซี โน้ตบุ๊ก แท็บเล็ต โทรศัพท์มือถือสมาร์ตโฟน หรืออุปกรณ์พกพาต่าง ๆ เช่น กดเงินโดย
ไม่ใช้บัตร สแกนบิล/QR ชาระเงิน เติมเงิน โอนเงิน จ่ายบิล การลงทุน การแจ้งเตือน การบริการพิเศษหรือ
บรกิ ารผา่ นแบงก้ิงเอเยนต์ เป็นตน้ แสดงได้ดงั ภาพท่ี 9.1 และภาพท่ี 9.2
ภาพที 9.1 เวบ็ ไซต์ scbeasy.com
ที่มา: กลุ่มธนาคารไทยพาณชิ ย์ (2563)
4
ภาพที่ 9.2 แอปพลิเคชันท่ีสามารถดาวน์โหลด
และตดิ ตง้ั เพ่ือใช้งานธรุ กรรมทางการเงนิ
ทีม่ า: กลุ่มธนาคารไทยพาณชิ ย์ (2563)
ซึ่งในอนาคตการให้บริการธุรกรรมดจิ ิทลั ของธนาคารอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ยงั สามารถพฒั นาไดอ้ ีกเร่ือยๆเพื่อ
รองรับความต้องการในการใช้บริการของลูกค้าที่มีจานวนมากเพ่ิมมากขนึ้ อนา่ งต่อเน่อื ง เนอื่ งจากธนาคาร
อิเลก็ ทรอนกิ สท์ าใหเ้ กดิ ความสะดวกและรวดเรว็ ของการทาธรุ กรรมดจิ ิทัลหลายรปู แบบมากขนึ้ อกี ท้ังยงั
ประหยดั ต้นทุนด้านการบรกิ ารและทรัพยากรมนุษย์ลง เปน็ การปรับเปลี่ยนอุตสาหกรรมภาคการเงนิ และการ
ธนาคารเข้าสู่การทาธรุ กิจดิจิทัลเมรูปแบบ
2. การตลาดอเิ ล็กทรอนกิ ส์(e-Marketing)
เปน็ การประกอบธุรกิจพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ ที่เก่ยี วขอ้ งกับการดาเนินกิจกรรมทางการตลาดผ่านระบบ
เครือข่าย เชน่ ระบบเครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต ระบบเครือขา่ ยไรส้ าย หรือระบบเครือข่ายเฉพาะที่(Lan-Man-
Wan) เป็นต้น ซงึ่ ในปจั จบุ ันแต่ละธุรกิจได้มีการพัฒนาธรุ กรรมดิจทิ ลั เพ่ือใหบ้ รกิ ารแกล่ กู ค้าหลากหลาย
รปู แบบทั้งบรกิ ารบนเวบ็ ไซต์ หรอื แอปพลเิ คชนั ที่สามารถดาวน์โหลดและตดิ ตั้งเพื่อใช้งานบนเครอื่ ง
คอมพิวเตอร์พซี ี โน้ตบุ๊ก แทบ็ เล็ต โทรศพั ท์มือถือสมารต์ โฟน หรอื อปุ กรณ์พกต่างต่าง ๆ ซ่งึ มใี ห้บรกิ าร
หลากหลายรูปแบบ เชน่ การไลฟส์ ดขายสินคา้ การสั่ง-ซ้ือสินคา้ ออนไลน์ การโฆษณาผา่ นเวบ็ ไซตห์ รือสื่อสงั คม
ออนไลน์ เปน็ ตน้ แสดงไดด้ ังภาพท่ี 9.3 ภาพท่ี 9.4 และภาพท่ี 9.5
5
ภาพท่ี 9.3 การไลฟ์สดขายสนิ คา้ ผ่าน
Facebook Live
ทม่ี า: Facebook Live (2020)
ภาพท่ี 9.4 การสง่ั -ซ้ือสนิ ค้าออนไลน์
ทม่ี า: shopee(2020)
ภาพท่ี 9.5 การโฆษณาผ่านเว็บไซต์
ทมี่ า: หนงั สือพิมพผ์ ู้จัดการ (2563)
6
3. สถาบนั การศกึ ษาอิเล็กทรอนิกส์(e-lnstiute)
การประกบธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ที่เก่ียวข้องกับการจัดการเรียนการสอน การฝึกอบรม การ
กวดวิชา หรือแม้กระท่ังการถ่ายทอดสดการบรรยายหรือการจัดสัมมนาวิชาการต่าง ๆ ผ่านระบบเครือข่าย
เช่น ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ระบบเครือข่ายไร้สาย หรือระบบเครือข่ายเฉพาะที่ (Lan-Man-Wan) เป็น
ต้น ซ่ึงในปัจจุบันได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเรียนการสอน รายวิชา หลักสูตร คอร์สฝึกอบรม การ
ประชุมหรือสัมมนาทางวิชาการ ไว้ให้บริการแก่ผู้เรียน นิสิต นักศึกษา นักวิชาการ ชาวบ้าน ชุมชนหรือ
ประชาชนทั่วไปหลากหลายรูปแบบท้งั บรกิ ารบนเวบ็ ไซต์ หรือแอปพลเิ คชนั ทสี่ ามารถดาวน์โหลดและติดตั้งเพื่อ
ใช้งานบนเคร่ืองคอมพิวเตอร์พีซี โน้ตบุ๊ก แท็บเล็ต โทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน หรืออุปกรณ์พกพาต่าง ๆซ่ึง
สถาบันการศึกษาอิเล็กทรอนิกส์ที่มีการปรับเปลี่ยนเป็นจัดการเรียนรู้ดิจิทัล เช่น การศึกษาระบบเปิดเพ่ือการ
เรียนรู้ตลอดชีวิต (Thai MOOC) สถาบันกวดวิชา โรงเรียน สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัย หน่วยงานหรือ
องค์กรท่เี กย่ี วข้องกับงานด้านวิชาการหรือการใหค้ วามรู้สูช่ ุมชน เปน็ ตน้ แสดงได้ดังภาพท่ี 9.6 ภาพท9ี่ .7 และ
ภาพที9่ .8
ภาพท่ี 9.6 การศึกษาระบบเปิดเพอ่ื การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต(Thai MOOC)
ทีม่ า: Tthaicberu(2020)
ภาพท9่ี .7 สถาบนั กวดวิชา
ท่มี า: สถาบนั กวดวิชาบ้านครูมด (2563)
7
ภาพที่ 9.8 สถาบนั การศกึ ษา
ทีม่ า: MIT Online Courses (2020)
4. การเกษตรกรรมอเิ ล็กทรอนกิ ส์(e-Agriculture)
เป็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือสารว่าประยุกต์ใช้เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการข้อมูล
ข่าวสารหรือการติดต่อเพื่อการสื่อสารและส่งข้อมูลในระยะไกล อีกท้ังยังนาไปประยุกต์เพื่อประโยชน์ทางด้าน
เกษตรกรรม บางคร้ังอาจจะเรียกว่า เกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture) เช่น ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
อัจฉริยะ (Smart Farm) เกษตรกรรมความแม่นยาสูง (Precision Farming) เป็นต้น แสดงได้ดังภาพที่ 9.9
ภาพท่ี 9.10 และภาพที่ 9.11
8
ภาพท่ี 9.9 ศูนย์วิจัยภูมศิ าสตร์เพื่อประเทศไทย
ทมี่ า: Gistha(2020)
ภาพที่ 9.10 ฟาร์มอัจฉรยิ ะ(Smart Farm)
ทม่ี า: Smartfarmthailand (2020)
ภาพที่ 9.11 เกษตรกรรมความแม่นยาสงู
(Precision Farming)
ที่มา: ศศิวฒั น์ ตันติบุญยานนท์ (2562)
9
5. โรงพยาบาลอเิ ล็กทรอนิกส์(e-Hospital)
เปน็ การประกวดธรุ กิจพาณิชย์ อิเลก็ ทรอนิกส์ ท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การบริการดา้ นสุขภาพต่าง ๆผ่านระบบ
เครือข่าย เช่น ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ระบบเครือข่ายไร้สาย ระบบเครือข่ายเฉพาะที่ (Lan-Man-Wan)
เปน็ ตน้ ซึ่งปจั จบุ นั มใี นรูปแบบบริการบนเว็บไซตห์ รือ application ทสี่ ามารถดาวน์โหลดและติดต้ังเพ่ือใช้งาน
บนเครื่องคอมพิวเตอร์พีซี โน้ตบุ๊ก แท็บเล็ต โทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนหรืออุปกรณ์พกพาต่าง ๆ ซ่ึงคลินิก
โรงพยาบาล สถาบันสุขภาพต่าง ๆ ของรัฐก็ได้มีการปรับเปล่ียนการบริการให้กับลูกค้าหรือประชาชนหลาย
รูปแบบ เช่น ระบบคิวออนไลน์ การดูแลสุขภาพด้วยการใช้เทคโนโลยีอัจฉริยะ (lntelligent halthcare) ตู้
บริการอเนกประสงค์ภาครัฐ (Government Smart Kiosk) เป็นต้น แสดงได้ดังภาพที่ 9.12 ภาพที่ 9.13 และ
ภาพท่ี 9.14
ภาพท่ี 9.12 ระบบคิวออนไลน์
ท่ีมา: โรงพยาบาลสมิคิเวช (2561)
10
ภาพท่ี 9.13 การดลู ะสขุ ภาพด้วยการใชเ้ ทคโนโลยอี จั ฉริยะ(Intelligent healthcare)
ทีม่ า: Adalthailand (2019)
ภาพที่ 9.14 ตบู้ ริการอเนกประสงค์ภาครัฐ
(Government Smart Kiosk)
ทม่ี า: Dga (2020)
6. การขนสง่ อิเล็กทรอนกิ ส์(e-Transportation)
เป็นการประกอบธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งสินค้าและบริการต่าง ๆ ผ่าน
ระบบเครือข่าย เช่น ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ระบบเครือข่ายไร้สาย หรือระบบเครือข่ายเฉพาะที่ (Lan-
Man-Wan) เป็นต้น ซ่ึงในปัจจุบันมีท้ังรูปแบบบริการบนเว็บไซต์ หรือแอปพลิเคชันที่สามารถดาวน์โหลดและ
ติดต้ังเพ่ือใช้งานบนเครื่องคอมพิวเตอร์พีซี โน้ตบุ๊ก แท็บเล็ต บนมือถือสมาร์ทโฟน อุปกรณ์พกพาต่าง ๆ
หน่วยงานภาคขนส่งของเอกชนและภาครัฐ ได้มีการปรับเปล่ียนการบริการให้กับลูกค้าหรือประชาชนหลาย
รูปแบบ เช่น ระบบตรวจสอบและติดตามสินค้า (Track & Trace) ระบบรับ-ส่งพัสดุขนาดเล็ก (Drop &
Pick up) และระบบการขนส่งแบบเรยี มไทม์ เปน็ ต้น แสดงไดด้ ังภาพท่ี 9.15 ภาพท่ี 9.16 และภาพท่ี 9.17
11
ภาพท่ี 9.15 ระบบตรวจสอบและติดตามสินค้า
(Track & Trace)
ทีม่ า: ไปรษณยี ไ์ ทย (2563)
ภาพที่ 9.16 ระบบรบั -ส่ง พสั ดขุ นาดเลก็
(Drop & Pick up)
ที่มา: เซเว่น อเี ลฟเว่น (2563)
ภาพท่ี 9.17 ระบบการขนสง่ แบบเรียลไทม์
ทีม่ า: NOSTRA Logistics (2020)
12
7. การกีฬาอิเล็กทรอนกิ ส์(e-Sports)
เป็นการประกอบธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีเก่ียวข้องกับการกีฬาอิเล็กทรอนิกส์ที่เล่นผ่านระบบ
เครือข่าย เช่น ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ระบบเครือข่ายไร้สาย หรือระบบเครือข่ายเฉพาะเฉพาะที่ (Lan-
Man-Wan) เป็นต้น ซึ่งในปัจจุบันมีรูปแบบการเล่นเป็นกลุ่มทีมหรือบุคคลบนเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชันที่
สามารถดาวน์โหลดและติดต้ังเพื่อใช้งานบนเครื่องคอมพิวเตอร์พีซี โน้ตบุ๊ก แท็บเล็ต โทรศัพท์มือถือสมาร์ท
โฟน หรืออุปกรณ์พกพาต่าง ๆ ปัจจุบันมีอยู่เกมหลายประเภทที่มีการแข่งขันกึ่งอาชีพ หรือระดับมืออาชีพ มี
เงนิ รางวลั ก้อนโตเพอ่ื ดงุ ดูดผู้เข้าชม และเป็นการพัฒนาวงการอตุ สาหกรรมเกมให้เติบโตและกลายเปน็ ธุรกิจทา
เงิน ด้วยมูลค่าสูงถึง 48,000 ล้านบาทต่อปี อีกท้ังยังมีการจัดทัวร์นาเมนต์ในการจัดแข่งกันขึ้นมากมาย เช่น
เวิลด์ไซเบอร์เกมอาร์โอวีเมเจอร์ลึก และอิเล็กทรอนิกส์สปอร์ตชิงแชมป์โลก เป็นต้น แสดงได้ดังภาพที่ 9.18
ภาพท่ี 9.19 และภาพท่ี 9.20
ภาพที่ 9.19 อารโ์ อวีเมเจอร์ลีก ภาพท่ี 9.18 เวลิ ดไ์ ซเบอร์เกมส์
ท่ีมา: WEG (2019) ทีม่ า: Thisisgamethailand (2017)
ภาพท่ี 9.20 อิเล็กทรอนิกส์สปอร์ตชิงแชมป์โลก
ท่ีมา: Apkpure (2020)
13
8. อตุ สาหกรรมการผลิตอเิ ล็กทรอนกิ ส์(e-Manufacuring)
เป็นการประกอบธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ท่ีเกี่ยวข้องกับกระบวนการควบคุมและสั่งการ
อุตสาหกรรมการผลิตโดยอัตโนมัติ ผ่านระบบเครือข่าย เช่น ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ระบบเครือข่ายไร้
สาย หรอื ระบบเครอื ข่ายเฉพาะที่(Lan-Man-Wan) เป็นตน้ ซึ่งในปัจจุบันมอี ุตสาหกรรมการผลิตอิเล็กทรอนิกส์
ที่สามารถควบคุมและส่ังการกระบวนการผลิตผ่านเว็บไซต์ หรือควบคุมและส่ัการผ่านแอปพลิเคชันท่ีสามารถ
ดาวน์โหลดและติดตั้งเพ่ือใช้งานบนเครื่องคอมพิวเตอร์พีซี โน้ตบุ๊ก แท็บเล็ตโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน หรือ
อุปกรณ์พกพาต่าง ๆ ได้หลายอุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
และอตุ สาหกรรมผลติ กระดาษ เปน็ ต้น แสดงได้ดงั ภาพท่ี 9.21 ภาพท่ี 9.22 และภาพท่ี 9.23
ภาพท่ี 9.21 อุตสาหกรรมยานยนต์
ท่มี า: Forbesthailand (2015)
ภาพท่ี 9.22 อตุ สาหกรรมชน้ิ สว่ นอเิ ลก็ ทรอนิกส์
ทมี่ า: Pinterest (2020)
ภาพที่ 9.23 อตุ สาหกรรมผลิตกระดาษ
ท่มี า: Engineefriendv (2020)
14
9. ธรุ กจิ บนั เทิงอิเล็กทรอนิกส์(e-Entertainment)
เป็นการประกอบธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีเกี่ยวข้องกับกระบวนการสตรีมมิ่ง (Streaming) ซึ่งก็
คือ การรับส่งสัญญาณ ถ่ายทอดไฟล์มัลติมีเดียท้ังภาพและเสียงผ่านเครือข่ายระบบอินเทอร์เน็ตด้วยการใช้
เทคโนโลยี 4G หรือ 5G โดยไม่ต้องมีการดาวน์โหลดไฟล์จนครบ ถ้าจะให้เข้าใจง่ายๆก็คือ การLive บน
Facebook หรือ Youtube ด้วยเทคนิคสตรีมมิ่งจะทาให้เราสามารถรับชมวีดีโอทั้งหมดท่ีถูกส่งผ่าน
อินเทอร์เน็ตมายังอุปกรณ์ของเราโดยท่ีไม่ต้องดาวน์โหลดและติดต้ังเพื่อใช้งานบนเคร่ืองคอมพิวเตอร์พีซี
โน้ตบุก๊ แทบ็ เล็ต โทรศัพท์สมารต์ โฟน หรืออปุ กรณพ์ กพาต่าง ๆ ปัจจุบันธุรกจิ นี้มีการเจรญิ เตบิ โตอยา่ งรวดเร็ว
อีกท้ังยังสามารถทากาไรให้บริษัทหรือธุรกิจดิจิทัลประเภทนี้ได้อย่างมหาศาล เนื่องจากพฤติกรรมผู้บริโภค
เปลยี่ นไป มกี ารใชโ้ ทรศพั ท์สมาร์ทโฟนดูสภาพยนต์ฟงั เพลง เล่นเกมส์ออนไลน์ รบั ชมวีดีโอ หรอื แม้กระทั่งอ่าน
สารในรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์จานวนมากข้ึน ซ่ึงมีธุรกิจบันเทิงอิเล็กทรอนิกส์ท่ีบุคคลท่ัวไปรู้จักและใช้งาน
อยู่เป็นงานเป็นประจาทุกวัน เช่น เน็ตฟลิกซ์ (Netfix) ยูทูบ (YouTube) และเฟซบุ๊ก (Facebook) เป็นต้น
แสดงได้ดังภาพที่ 9.24 ภาพท่ี 9.25 และภาพท่ี 9.26
ภาพที่ 9.24 เน็ตฟลกิ ซ์ (Netfix)
ท่ีมา: Netfix (2020)
15
ภาพที่ 9.25 ยูทบู (YouTube)
ทม่ี า: YouTube (2020)
ภาพที่ 9.26 เฟซบุ๊ก (Facebook)
ทม่ี า: Facebook (2020)
16
10. รฐั บาลอเิ ล็กทรอนิกส์(e-Government)
เป็นวิธีการบริหารจัดการภาครัฐ นาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ให้เป็นส่วนหน่ึงของระบบการ
ทางานและปรับเปลี่ยนระบบองค์การให้มีความคล่องตัวและตรวจสอบได้รวดเร็วย่ิงขึ้นเพื่อขจัดปัญหาเชิง
โครงสร้างระบบราชการแบบเดิมที่มีการดาเนินงานหลายขั้นตอนในการอนุมัติ อีกทั้งยังต้องมีทะเบียนและใช้
เอกสารประกอบธุรกรรมมากมาย มคี วามซ้าซ้อนและใช้เวลานการดาเนินกามากเกินไป ทาให้ประชาชนหรือผู้
มาใช้บริการต้องเสียเวลาในการรอคอยและค่าใช้จ่ายค่อนข้างมาก ดังน้ัน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ
ระบบส่ือสารอินเทอร์เน็ต เข้ามาช่วยในการบริหารจัดการและช่วยงงานของภาคราชการให้มีความคล่องตัว
และมปี ระสิทธิภาพย่ิงขน้ึ กว่าเดิม แสดงไดด้ งั ภาพท่ี 9.27
ภาพท่ี 9.27 รัฐบาลอเิ ล็กทรอนกิ ส์(e-Government)
ที่มา: Egov (2020)
17
สรปุ
ธุรกิจดิจิทัลปัจจุบันมีการเปล่ียนรูปแบบเดิมให้เป็นธุรกิจที่มีการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามา
ช่วยปรับเปลี่ยนโครงสร้างการบริหารจัดการให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคได้
ทันท่วงที มีธุรกิจดิจิทัลให้บริการแก่ผู้บริโภคหรือประชาชนมากมาย เช่น ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ (e-
Banking) การตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (e-Marketing) สถาบันการศึกษาอิเล็กทรอนิกส์ (e-Institute)
การเกษตรกรรมอิเล็กทรอนิกส์(e-Agriculture) โรงพยาบาลอิเล็กทรอนิกส์(e-Hospital) การขนส่ง
อิเล็กทรอนิกส์(e-Transportation) การกีฬาอิเล็กทรอนิกส์(e-Sports) อุตสาหกรรมการผลิต
อิเล็กทรอนิกส์(e-Manufacturing) ธุรกิจบันเทิงอิเล็กทรอนิกส์ (e-Entertainment) รัฐบาล
อิเล็กทรอนิกส(์ e-Government) เปน็ ตน้