คํายมื จากภาษา
ตา่ งประเทศ
สารบัญ หน้า
ปก 1
สารบญั 2
ภาษาบาลี 3-5
ภาษาสนั สกฤต 6-8
ภาษาเขมร 9-11
ภาษาจีน 12-14
ภาษาองั กฤษ 15-17
ภาษามลายู 18-19
ภาษาชวา 20-21
ภาษาบาลี
ภาษาบาลีภาษาบาลี
ภ า ษ า บ า ลี เ ป็ น ภ า ษ า ใ น ต ร ะ กู ล อิ น โ ด - ยุ โ ร เ ปี ย น รู ป ลั ก ษ ณ ะ ภ า ษ า เ ป็ น ภ า ษ า มี
วิ ภั ต ติ ปั จ จั ย คื อ จ ะ ต้ อ ง เ ป ล่ี ย น รู ป คาํ ต า ม เ พ ศ พ จ น์ ห รื อ ก า ล ภ า ษ า บ า ลี มี ถ่ิ น
กํา เ นิ ด ใ น แ ค ว้ น ม ค ธ ป ร ะ เ ท ศ อิ น เ ดี ย บ า ง ที จึ ง เ รี ย ก ว่ า " ภ า ษ า ม ค ธ " เ ข้ า ม า ป ะ ป น
อ ยู่ ใ น ภ า ษ า ไ ท ย เ พ ร า ะ ส า เ ห ตุ จ า ก ก า ร ย อ ม รั บ นั บ ถื อ ศ า ส น า พุ ท ธ ข อ ง ค น ไ ท ย
เ ป็ น สาํ คั ญ
ห ลั ก ตั ว ส ะ ก ด ตั ว ต า ม ภ า ษ า บ า ลี
1 . คาํ บ า ลี เ มื่ อ มี ตั ว ส ะ ก ด ต้ อ ง มี ตั ว ต า ม
2 . พ ยั ญ ช น ะ ที่ เ ป็ น ตั ว ส ะ ก ด ไ ด้ คื อ พ ยั ญ ช น ะ แ ถ ว ที่ 1 , 3 , 5
3 . พ ยั ญ ช น ะ แ ถ ว ที่ 1 ส ะ ก ด พ ยั ญ ช น ะ แ ถ ว ท่ี 1 , 2 ใ น ว ร ร ค เ ดี ย ว กั น ต า ม เ ช่ น
สั ก ก ะ ทุ ก ข์ สั จ จ ะ มั จ ฉ า อิ ต ถี หั ต ถ์ บุ ป ผ า เ ป็ น ต้ น
4 . พ ยั ญ ช น ะ แ ถ ว ท่ี 3 ส ะ ก ด พ ยั ญ ช น ะ แ ถ ว ท่ี 3 , 4 ใ น ว ร ร ค เ ดี ย ว กั น เ ป็ น ตั ว ต า ม
เ ช่ น พ ยั ค ฆ์ พุ ท ธ อั ค คี อั ช ฌ า สั ย อ วิ ช ช า เ ป็ น ต้ น
5 . พ ยั ญ ช น ะ แ ถ ว ที่ 5 ส ะ ก ด พ ยั ญ ช น ะ ทุ ก ตั ว ใ น ว ร ร ค เ ดี ย ว กั น ต า ม ไ ด้ เ ช่ น สั ง ข์
อ ง ค์ ส ง ฆ์ สั ญ ช า ติ สั ณ ฐ า น สั น ด า ป สั น ธ า น สั ม ผั ส สั ม พั น ธ์ คั ม ภี ร์ อั ม พ ร
เ ป็ น ต้ น
6 . พ ยั ญ ช น ะ เ ศ ษ ว ร ร ค เ ป็ น ตั ว ส ะ ก ด ไ ด้ บ า ง ตั ว เ ช่ น อั ย ก า มั ล ลิ ก า วิ รุ ฬ ห์ ชิ ว ห า
เ ป็ น ต้ น
ตั ว อ ย่ า ง คํา ภ า ษ า บ า ลี
กิตติ กิเลส กิริยา กีฬา เขต ขณะ คิมหันต์ จตุบท จิต จุฬา โจร เจดีย์ จุติ
ฉิมพลี ญาติ ดิถี ดารา ดุริยะ เดชะ ทัพพี ทิฐิ นาฬิกา นิพพาน นิลุบล ปฏิทิน
ปฏิบัติ ปฐพี ปกติ ปัญญา ปัจจัย บุคคล บัลลังก์บุปผา โบกขรณี ปฐม ปัญหา
พยัคฆ์ พรหม ภัตตา ภิกขุ ภริยา มัจจุราช มัจฉา มัชฌิม มหันต์ เมตตา มิจฉา
มเหสี มุสา มัสสุ รัตนา โลหิต วัตถุ วิชา วิญญาณ วิตถาร วิริยะ วิสุทธิ์ วุฒิ สงกา
สังข์ สงฆ์ สูญ สิริ สันติ สัญญาณ เสมหะ สัจจะ สติ โสมนัส อิทธิ อัคคี อัจฉรา
อนิจจา อัชฌาสัย อายุ อาสาฬห โอวาท โอรส โอกาส อุบล
ภาษาสันสกฤต
ภาษาสนั สกฤต
ภ า ษ า สั น ส ก ฤ ต
ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาในตระกูลอินโด-ยุโรเปียน รูปลักษณะภาษาเป็นภาษา มีวิ
ภัตดิปัจจัยเช่นเดียวกับภาษาบาลี ชาวอินเดียถือว่าภาษาสันสกฤตเป็นภาษาช้ันสูง
คัมภีร์ และบทสวดต่าง ๆมักจะจารึกเป็นภาษาสันสกฤต ภาษาสันสกฤตเข้ามาปะปน
อยู่ในภาษาไทยเพราะคนไทยเคยยอมรับนับถือศาสนาพราหมณ์ ซ่ึงบันทึกคาํ สอน
ด้วยภาษาสันสกฤตมาก่อน แม้จะยอมรับนับถือศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจําชาติ
แ ล้ ว ก็ ต า ม แ ต่ ค น ไ ท ย ก็ ยั ง ยึ ด ถื อ ป ฏิ บั ติ ใ น พิ ธี ก ร ร ม บ า ง อ ย่ า ง ข อ ง ศ า ส น า พ ร า ห ม ณ์ ม า
จนถึงปัจจุบัน คนไทยจึงศึกษาภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตควบคู่กันไป
การสร้างคาํ ในภาษาสันสกฤต
1. การสมาส (ดูภาษาบาลี) เช่น ศิลป + ศาสตร์ = ศิลปศาสตร์, มานุษย + วิทยา =
ม า นุ ษ ย วิ ท ย า
2. การสนธิ (ดูภาษาบาลี) เช่น คณ + อาจารย์ = คณาจารย์, ภูมิ + อินทร์ = ภูมินทร์
3.การใช้อุปสรรค คือการเติมพยางค์ประกอบหน้าศัพท์เป็นส่วนขยายศัพท์ ทําให้
ความหมายเปลี่ยนแปลงไป เช่น วิ - วิเทศ, สุ - สุภาษิต, อป - อัปลักษณ์,
อา - อารักษ์
ข้ อ สั ง เ ก ต
1. ภาษาสันสกฤตจะใช้สระประสม ไอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦา คําประสมสระไอเม่ือเป็นคาํ
ไทยใช้สระแอ (ไวทย - แพทย์)
2. ภาษาสันสกฤตจะใช้พยัญชนะ ศ ษ ฑ (บาลีใช้ ส, ฬ) เช่น กรีฑา, ศิลป, ษมา
3. ภาษาสันสกฤตมีพยัญชนะประสมและ รร ใช้ เช่น ปรากฏ, กษัตริย์ ; ครรภ์,
จั ก ร ว ร ร ดิ
ตั ว อ ย่ า ง คาํ ภ า ษ า สั น ส ก ฤ ต
กั ล บ ก ก ร ร ณ ก ร ร ม ก ษั ต ริ ย์ กั ล ป์ ก า ร บู ร กี ร ติ โ ก ร ธ ก รี ฑ า เ ก ษ ม ก ษั ย เ ก ษี ย ณ เ ก ษี ย ร
เ ก ษ ต ร ค ร ร ชิ ต ค ร ร ภ์ จั ก ร จั ก ร ว า ล จั น ท ร า จุ ฑ า ดั ส ก ร ท ร ม า น ท รั พ ย์ ท ฤ ษ ฎี ทิ ศ
ท ห า ร ก ษิ ณ ทั ศ นี ย์ ทิ พ ย์ นั ก ษั ต ร น มั ส ก า ร น า ที น ฤ ค หิ ต นิ ต ย า นิ ท ร า น ฤ ม ล เ น ต ร
บุ ษ บ า บ ร ร พ ต บุ ษ ก ร บุ รุ ษ ป ร ะ เ ท ศ ป ร ะ ที ป ป ร ะ พั น ธ์ ป ร ะ พ ฤ ติ ป ร ะ เ ว ณี ป ร ะ ม า ท
ป ร ะ โ ย ค ป ร ะ ถ ม ภั ก ษ า ภิ ก ษุ ม ฤ ต ยู ม นุ ษ ย์ ม นั ส ม า รุ ต มิ ต ร ม น ต รี ไ ม ต รี
ม หั ศ จ ร ร ย์ ยั ก ษ า ลั ก ษ ณ ะ ว ร ร ค ว ร ร ณ ะ วั ส ดุ พ ร ร ษ า พ ย า ย า ม พ ฤ ศ จิ ก า ย น
วิ ท ยุ พิ ส ด า ร วิ เ ศ ษ เ พ ศ ศั พ ท์ ศ า ส น า ศ า ส ต ร า ศึ ก ษ า ศิ ล ป ะ ศิ ษ ย์ ศุ ก ร์ ศู น ย์ ศ รี
เ ศี ย ร สั ต ย์ สั น โ ด ษ ส ม ป ฤ ดี ส ต รี ส ว ร ร ค์ ส ร ร พ สุ ว ร ร ณ ส ถ า ป น า ส ดุ ดี ส ก ล ส กุ ล
อั ก ษ ร อ า ต ม า อั ศ จ ร ร ย์ อั ธ ย า ศั ย อ า ร ย ะ อ ว ก า ศ อ า จ า ร ย์ อ า ทิ ต ย์ อุ ท ย า น
ภาษาเขมร
ภาษาเขมร
ภาษาเขมร
ภาษาเขมรเป็นภาษาคาํ โดด จัดอยู่ในตระกูลมอญ-เขมร คาํ ด้ังเดิมส่วนใหญ่เป็นคาํ พยางค์
เดียวและเป็นคาํ โดดถือเอาการเรียงคาํ เข้าประโยคเป็นสําคัญเช่นเดียวกับภาษาไทยแต่มี
ลักษณะบางอย่างต่างไปจากภาษาไทยไทยกับเขมรมีความสัมพันธ์กันมาเป็นเวลาอัน
ยาวนาน จึงทําให้มีการหยิบยืมถ้อยคาํ ภาษาของกันและกัน ไทยยืมคําภาษาเขมรมาใช้เป็น
จาํ นวนมากภาษาเขมรนอกจากจะใช้กันในประเทศกัมพูชาแล้ว ยังใช้กันในบรรดาคนไทยเชื้อ
สายเขมรทางจังหวัดต่างๆบางจังหวัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก
ของประเทศไทยด้วยคาํ เขมรเข้าสู่ภาษาไทยโดยทางการเมือง ทางวัฒนธรรมและทาง
ภูมิศาสตร์เรายืมคําเขมรมาใช้โดยการทับศัพท์ทับศัพท์เสียงเปล่ียนไปและเปลี่ยนเสียง
เปล่ียนความหมาย
ลั ก ษ ณ ะ ภ า ษ า เ ข ม ร
1. ภาษาเขมรเป็นภาษาคาํ โดด คําส่วนใหญ่มีเพียง 1 - 2 พยางค์ ใช้อักษรขอมหวัด
มีพยัญชนะ 33 ตัว เหมือนภาษาบาลี คือ วรรคกะ ก ข ค ฆ ง , วรรคจะ จ ฉ ช ฌ ญ
วรรคฏะ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ , วรรคตะ ต ถ ท น ธ วรรคปะ ป ผ พ ภ ม , เศษวรรค ย ร ล
วสหฬอ
2. ภาษาเขมรไม่มีวรรณยุกต์แต่อิทธิพลคํายืมบางคําให้เขมรมีรูปวรรณยุกต์ (+) ใช้
3. ภาษาเขมรมรสระจม 18 รูป สระลอย 18 รูป แบ่งเป็นสระเดี่ยวยาว 10 เสียง สระ
ผสม 2 เสียง ยาว 10 เสียง สระเด่ียวสั้น 9 เสียง สระประสม 2 เสียง สั้น 3
เ สี ย ง
4. ภาษาเขมรมีพยัญชนะควบกลา้ํ มากมาย มีพยัญชนะควบกลํา้ 2 เสียง ถึง 85
หน่วย และพยัญชนะควบกล้ํา 3 เสียง 3 หน่วย
ตั ว อ ย่ า ง ภ า ษ า เ ข ม ร ใ น ภ า ษ า ไ ท ย
กระชับ กระโดง กระเดียด กระบอง กระบือ กระท่อม กระโถน กระพัง ตระพัง ตะพัง
กระเพาะ กระแส กังวล กําจัด กําเดา รัญจวน ลออ สกัด สนอง สนุก สดับ สบง
สังกัด สไบสําราญ สรร สาํ โรง แสวง แสดง กําแพง กาํ ลัง ขนาน ขจี โขมด จัด เฉพาะ
ฉบับ เชลย โดยทรวง ถนน บายศรี ประกายพรึก ปรับ ประจาน โปรด
เผด็จ ผจญ ผจัญ เผอิญ เผชิญ เพ็ญเพลิง เพนียด ระลอก
ภาษาจนี
ภาษาจีน
ภาษาจีน
ภาษาจีนมีรูปลักษณะภาษาเป็นภาษาคําโดด เช่นเดียวกับภาษาไทยไม่มีเสียงควบกลา้ํ มี
เสียงสูงตาํ่ มีการสร้างคาํ ข้ึนมาใช้ใหม่ มีโครงสร้างประโยคเช่นเดียวกัน การเรียงลาํ ดับคาํ
เข้าประโยคก็เช่นเดียวกับภาษาไทยต่างกันแต่ว่าภาษาจีนเอาคุณศัพท์ไว้หน้านาม เอากริยา
วิเศษณ์ไว้หน้ากริยาและมีเงื่อนไขอ่ืน ๆ อีกและมีลักษณะนาม ประเทศจีนมีเนื้อที่กว้างใหญ่
ไพศาล ภาษาจีนจึงแตกต่างกันไปอย่างมากจนกลายเป็นภาษาถิ่นต่าง ๆ ท่ีสําคัญคือ
ภาษากวางตุ้ง ภาษาจีนแคะ ภาษาฮกเกี้ยน ภาษาแต้จิ๋ว ภาษาไหหลาํ ภาษาเซียงไฮ้ ภาษา
นิงโปหรือเลี่ยงโผ และภาษาจีนกลาง ซ่ึงเป็นภาษาราชการปัจจุบันนิยม เรียกว่า "ภาษา
แมนดา-ริน" ไทยและจีนเป็นชนชาติท่ีมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้อง กันมาเป็นเวลาอัน
ยาวนานมากตั้งแต่ก่อนสมัยประวัติศาสตร์ไทยมาถึงสมัยปัจจุบัน ถ้อยคาํ ภาษาจีนจึงเข้า
มาปะปนอยู่ในภาษาไทยมากมายจากหลายสาเหตุ ท้ังความสัมพันธ์ทางด้านถ่ินที่อยู่
อาศัยตามสภาพภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์ทางด้านเชื้อชาติ ความสัมพันธ์ทางด้าน
ประวัติศาสตร์ ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมและประเพณี ความสัมพันธ์ทางด้านการ
ค้า เป็นต้น เรายืมคําภาษาจีนมาใช้หลายลักษณะ เช่น ทับศัพท์ทับศัพท์เสียงเปล่ียนไป
ใช้คาํ ไทยแปลคาํ จีน ใช้คําไทยประสมหรือซ้อนกับคาํ จีนเป็นต้น
ลักษณะภาษาจีน
ภาษาจีนมีลักษณะคล้ายคลึงกับภาษาไทยมาก คือเป็นภาษาคําโดดและมีเสียง
วรรณยุกต์ใช้เช่นเดียวกันเม่ือนําคาํ ภาษาจีนมาใช้ในภาษาไทยซ่ึงมีวรรณยุกต์และสระ
ประสมใช้จึงทาํ ให้สามารถออกเสียงวรรณยุกต์และสระตามภาษาจีนได้อย่างง่ายดายคํา
ภาษาจีนยังมีคาํ ที่บอกเพศในตัวเช่นเดียวกับภาษาไทยอีกด้วย เช่น เฮีย(พี่ชาย), ซ้อ(พ่ี
สะใภ้), เจ๊ (พ่ีสาว),
นอกจากนี้การสะกดคาํ ภาษาจีนในภาษาไทยยังใช้ตัวสะกดตรงตามมาตราตัวสะกดท้ัง
8 มาตรา และมีการใช้ทัณฑฆาตหรือตัวการันต์ด้วยประมวลคาํ ยืมจากภาษาจีนที่ใช้บ่อย
ข้อสังเกต
1. นาํ มาเป็นช่ืออาหารการกิน เช่น ก๋วยเตี๋ยว เต้าทึง แป๊ะซะ เฉาก๊วย จับฉ่าย เป็นต้น
2. เป็นคาํ ท่ีเกี่ยวกับสิ่งของเคร่ืองใช้ที่เรารับมาจากชาวจีน เช่น ตะหลิว ตึก เก้าอี้ เก๋ง ฮวงซุ้ย
3. เป็นคาํ ท่ีเกี่ยวกับการค้าและการจัดระบบทางการค้า เช่น เจ๋ง บ๋วย หุ้น ห้าง โสหุ้ย เป็นต้น
4. เป็นคําท่ีใช้วรรณยุกต์ตรี จัตวา เป็นส่วนมาก เช่น ก๋วยจ๊ับ กุ๊ย เก๊ เก๊ก ก๋ง ตุ๋น เป็นต้น
ตัวอย่างคํายืมที่มาจากภาษาจีน
กงสี กงฉิน กงไฉ่ กงเต็ก ก๋วยเต๋ียว ก๋วยจั๊บ เกาหลา กุ๊ย เก๊ เก๊ก เก้ียว เก๊ียว เก๊ียะ กุยเฮง เก๊ก
ก๋ง เก้าอ้ี ขาก๊วย เข่ง จับกัง จับฉ่าย จับย่ีกี จันอับ เจ๊ง เจี๋ยน เจ เฉาก๊วย เซ้ง เซียน แซ่
แซยิด เซ็งล้ี ซาลาเปา ซิ้ม ตะหลิว เต๋า ตุน ตุ๋น แต๊ะเอีย เต้าหู้ เต้าฮวย เต้าเจ้ียว โต๊ะ ไต้ก๋ง
ตังเก บ๊วย บะฉ่อ บะหม่ี บู๊ ปุ้งกี๋ ปอเป๊ียะ แป๊ะเจี๊ยะ พะโล้ เย็นตาโฟ หวย ยี่ห้อ ล้ินจี่ ห้าง
หุ้น เอ๊ียม โสหุ้ย เฮงซวย ฮวงซุ้ย ฮ่องเต้ อ้ังโล่
ภาษาอังกฤษ
ภาษาองั กฤษ
ภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาในตระกูลอินโด-ยุโรเปียนมีวิภัตติปัจจัย เช่นเดียวกับภาษา
บาลี-สันสกฤต ภาษาอังกฤษได้รับความนิยมใช้เป็นภาษาเพ่ือการส่ือสารมากท่ีสุด มี
ประเทศต่าง ๆ ยอมรับภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ ภาษาอังกฤษจึงกลาย เป็นภาษา
สากลของชาวโลก คนไทยได้ศึกษาภาษาอังกฤษเป็นภาษาท่ีสองมาเป็นเวลานาน จน
ภาษาอังกฤษเข้ามามีอิทธิพลต่อชีวิตของคนไทยมากข้ึน ท้ังในด้านการพูดและการเขียน
ส่ือสารในชีวิตประจําวัน โดยเฉพาะในปัจจุบันคนไทยศึกษาความรู้และวิทยาการต่างๆ จาก
ตาํ ราภาษาอังกฤษ และสนใจเรียนรู้ภาษาอังกฤษกันมากข้ึน คาํ ยืมจากภาษาอังกฤษจึง
หลั่งไหลเข้ามาในภาษาไทยมากขึ้นทุกขณะ ท้ังในวงการศึกษา ธุรกิจ การเมือง การบันเทิง
เป็นต้น
ลักษณะภาษาอังกฤษ
1. ภาษาอังกฤษมีการเปลี่ยนแปลงรูปคําหรือเติมท้ายศัพท์ในลักษณะต่างๆ
กันเพ่ือแสดงลักษณะไวยากรณ์ เช่น การบอกเพศ พจน์ กาล (go-went-gone) หรือทําให้
คําเปลี่ยนความหมายไป
2. คําในภาษาอังกฤษมีการลงนาํ้ หนัก ศัพท์คําเดียวกันถ้าลงนํ้าหนักต่างพยางค์กันก็ย่อม
เปล่ียนความหมายและหน้าที่ของคาํ เช่น record – record
3. ภาษาอังกฤษมีตัวอักษร 26 ตัว สระเดี่ยว(สระแท้) 5 ตัว สระประสมมากมาย
4. ภาษาอังกฤษมีพยัญชนะควบกล้าํ มากมาย ท้ังควบกลา้ํ 2 เสียง 3 เสียง 4 เสียง ปรากฏ
ได้ทั้งต้นและท้ายคํา เช่น spring, grease, strange พยัญชนะต้นควบ desk, past, text
พยัญชนะท้ายควบ
ตั ว อ ย่ า ง คํา ทั บ ศั พ ท์ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ที่ มี ใ ช้ ใ น ภ า ษ า ไ ท ย
ก ร า ฟ ก า ร์ ตู น กิ๊ บ ก ลู โ ค ส กั ป ตั น แ ก๊ ส กุ๊ ก เ กี ย ร์ แ ก๊ ง แ ก ล ล อ น ค ริ ส ต์ ม า ส
ไ ด น า โ ม ไ ด โ น เ ส า ร์ ค รี ม ค ล อ รี น ค อ น ก รี ต ค ลิ นิ ก ค อ น เ สิ ร์ ต ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ คุ ก กี้
เ ค เ บิ ล เ ค ร ดิ ต แ ค ป ซู ล เ ค า น์ เ ต อ ร์ แ ค ล อ รี โ ค ว ต า ช อ ล์ ก ช็ อ ก โ ก เ ล ต เ ช็ ค เ ช้ิ ต
เ ชี ย ร์ โ ช ว์ ซี เ ม น ต์ เ ซ ล ล์ ไ ซ เ ร น ดี เ ซ ล ด อ ล ล า ร์ ดี เ ป ร ส ชั่ น เ ต็ น ท์ ท อ น ซิ ล เ ท อ ม
แ ท็ ก ซี่ แ ท ร ก เ ต อ ร์ นิ โ ค ติ น นิ ว เ ค ลี ย ร์ นี อ อ น นิ ว เ ค ลี ย ส โ น้ ต ไ น ล อ น บ ล็ อ ก
เ บ น ซิ น แ บ ค ที เ รี ย ป ลั๊ ก ปิ ก นิ ก เ ป อ ร์ เ ซ็ น ต์ พ ล า ส ติ ก พี ร ะ มิ ด ฟ ลู อ อ รี น ฟ อ ร์ ม า
ลี น ฟั ง ก์ ชั น ฟ า ร์ ม ฟิ สิ ก ส์ ม อ เ ต อ ร์ มั ม มี่ ม า เ ล เ รี ย โ ม เ ล กุ ล ไ ม ล์ ไ ม โ ค ร โ ฟ น
ไ ม โ ค ร เ ว ฟ ยิ ป ซั ม ยี ร า ฟ ริ บ บิ้ น เ ร ด า ร์ ลิ ก ไ น ต์ ลิ ป ส ติ ก เ ล เ ซ อ ร์ วั ค ซี น วิ ต า มิ น
ไ ว โ อ ลิ น
ภาษามลายู
ภาษามลายู
ภ า ษ า ม ล า ยู
ภ า ษ า ม ล า ยู ห รื อ ภ า ษ า ม า เ ล ย์ ปั จ จุ บั น เ รี ย ก ว่ า ภ า ษ า ม า เ ล เ ซี ย จั ด เ ป็ น ภ า ษ า คาํ
ติ ด ต่ อ ( A g g l u t i n a t i v e L a n g u a g e ) อ ยู่ ใ น ต ร ะ กู ล ภ า ษ า ช ว า - ม ล า ยู มี วิ ธี ก า ร ส ร้ า ง
คํา ใ ห ม่ โ ด ย วิ ธี เ อ า พ ย า ง ค์ ม า ต่ อ เ ติ ม คาํ ทํา ใ ห้ ค ว า ม ห ม า ย เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ไ ป จ า ก เ ดิ ม
คาํ ใ น ภ า ษ า ม ล า ยู ส่ ว น ใ ห ญ่ จ ะ มี ส อ ง พ ย า ง ค์ แ ล ะ ส า ม พ ย า ง ค์ ม า เ ล เ ซี ย กั บ ไ ท ย
เ ป็ น ป ร ะ เ ท ศ ที่ มี เ ข ต แ ด น ติ ด ต่ อ กั น จึ ง มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ใ ก ล้ ชิ ด กั น ม า เ ป็ น เ ว ล า น า น
ภ า ษ า ม า ล า ยู เ ข้ า ม า ป ะ ป น อ ยู่ ใ น ภ า ษ า ไ ท ย ม า ก พ อ ส ม ค ว ร โ ด ย เ ฉ พ า ะ ใ น ส่ี จั ง ห วั ด
ช า ย แ ด น ภ า ค ใ ต้ ไ ด้ แ ก่ ย ะ ล า ปั ต ต า นี น ร า ธิ ว า ส แ ล ะ ส ตู ล ยั ง ค ง ใ ช้ ภ า ษ า ม ล า ยู
ส่ื อ ส า ร ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จํา วั น อ ยู่ เ ป็ น จาํ น ว น ม า ก
ตั ว อ ย่ า ง คาํ ทั บ ศั พ ท์ ภ า ษ า ม ล า ยู ที่ มี ใ ช้ ใ น ภ า ษ า ไ ท ย
ก ร ง ก ร ะ ดั ง ง า ก ร ะ จ ง ก ะ พ ง ก ร ะ จู ด ก ะ ล ะ ปั ง ห า ก ร ะ แ ช ง ก ะ ล า สี ก ะ ลุ ม พี กํา ย า น
กาํ ปั่ น กุ ญ แ จ จั บ ป้ิ ง จาํ ป า ด ะ ต ลั บ ทุ เ รี ย น บู ดู ป า เ ต๊ ะ มั ง คุ ด ส ล ะ ส ลั ก ส ล า ตั น
ส ลั ด สุ จ ห นี่ โ ส ร่ ง ห นั ง
ภาษาชวา
ภาษาชวา
ภาษาชวา
ภาษาชวา ปัจจุบันเรียกว่าภาษาอินโดนีเซีย เป็นภาษาคาํ ติดต่ออยู่ในตระกูล
เดียวกับภาษามลายู ภาษาชวาท่ีไทยยืมมาใช้ส่วนมากเป็นภาษาเขียน ซึ่งรับมาจาก
วรรณคดีเร่ืองอิเหนา เป็นส่วนใหญ่ ถ้อยคําภาษาเหล่าน้ีใช้ส่ือสารในวรรณคดี และใน
บทร้อยกรองต่าง ๆ มากกว่าคาํ ที่นํามาใช้สื่อสารในชีวิตประจําวัน
ตัวอย่างคาํ ทับศัพท์ชวาที่มีใช้ในภาษาไทย
กระจับปี่ การะบุหนิง กระยาหงัน กิดาหยัน จินดาหนา จินดาหรา ซ่าโบะ ซ่าหร่ิม
ดะหมัง ดาหงัน ดาลัด ติกาหลัง ตุนาหงัน นากาสาหรี บายสุหรี บุษบามินตรา บุหงัน
บุหงาราํ ไป บุหงาประหงัน บุหรง บุหลัน ปะตาระกาหลา ปะตาปา ปะหนัน
ป้ันเหน่ง ปาตี พันตุ มะงุมมะงาหลา มะตาหะรี มิรันตี มาลาตี ยาหยี ยิหวา
ระตู ระเด่น วิรงรอง, วิรังรอง สะการะ สะตาหมัน สะการะตาหรา หวันยิหวา
อสัญแดหวา อังกะลุง
จบเเล้วค่ะ
จัดทําโดย :น.ส ธวัลฤทัย ค้ามาก ม.5/2 เลขท่ี 2